Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ภาควัดอบอุ่น

คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ภาควัดอบอุ่น

Description: คัมภีร์ปฏิรูปมนุษย์ภาควัดอบอุ่น

Search

Read the Text Version

o ๐o IrfflTflrn Ih tIb.WbBlliniliilillii.Hlliillli'.iilU iHlilll 1ท่1แ|-1111;'ท่1[โ|ทท:แแ' iทn.. ..iillll.. .Liilili.' iโiทn!rทnโ\" iTnrnrnnMinrnnrmmmBmBnHramnnii ตอนที่ ๑ พุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง เรียบLรืยงจากพระธรรมเทศนา Iti www.kalyanamitra.org

คัมภีร์ปฏิเปมษ{โ ภาค วัดอบอุ่น ตอนที่ ๑ พุทธวิธืแก้ป้ญหาวัดร้าง พระภาวนาวิริยคุณ (เผด็จ ทตฺต?โว) www.kalyanamitra.org

คำ นำ นับตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว การพัฒนา \"เศรษฐกิจ\" กับ \"จิตใจ\" ต้องก้าวไปพร้อมกัน เพราะสองเรื่องนี้เปรียบเสมือนขา ทั้งสองข้างของคนเราที่จะต้องมืความสมดุลกัน หากขาดหายไป ข้างใดข้างหนึ่ง หรีอพิกลพิการไปข้างใดข้างหนึ่ง ย่อมเกิดความ เสืยสมดุล ทำ ให้หกคะมํ่าควํ่าคะเมนได[ดยง่าย ด้วยเหตุนี้ การ พัฒนาเศรษฐกิจกับจิตใจไปด้วยกัน จึงเท่ากับเป็นการกำหนด ชะตากรรมแห่งความอยู่รอดของประเทศ โดยมืความเจริญ รุ่งเรืองหรีอตกตํ่าเป็นเดิมพัน รัดอบรุ่น)(ตอนท ๑ พุทธวธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ' {๕) ค่านำ www.kalyanamitra.org

สำ หรับในทางปฏิบัตินั้น แท้ที่จริงแล้ว การพัฒนาเศรษฐกิจ กับจิตใจ ก็คือ การสร้างพลเมืองให้มีทั้งครามเก่งและศวามดีอยู่ ในคนๆ เดียรกัน เพราะบ้านเมืองที่มีแต่คนเก่งแต่ไม่มีคนดี ย่อม มีแต่การเอารัดเอาเปรียบชิงดีชิงเด่นเดีอดร้อนวุ่นวาย บ้านเมืองที่ มีแต่คนดีแต่ไม่มีคนเก่งย่อมล้าหลังถูกเบียดเบียนรังแกได!ดยง่าย ดังนั้น หัวไจสำคัญของบ้านเมืองจึงอยู่ที่ทุกครอบครัวต้องมี คักยภาพไนการสร้างคนเก่งและคนดีไหัเกิดขึ้นไนวงส์ตระกูล แต่อุปสรรคสำคัญที่ทำไหัการสร้างคนเก่งและคนดีล้มเหลว นั้น ก็คือ อบายมุข โดยเฉพาะข้อที่ร้ายแรงที่สุดก็คือ การคบคน พาล เพราะคนพาลนั้นไม่ว่าไปที่ได ย่อมมีแต่ชักชวนโน้มน้าวไห้ ผู้อื่นเห็นดีเห็นงามกับการดื่มสุรา เที่ยวสถานเริงรมย์ทำผิดประเวณี เล่นการพนัน ประพฤติตนเป็นมิจฉาชีพด้วยการทำมาหากินอยู่บน ความทุกข์ความเดีอดร้อนของผู้อื่นไปตลอดทาง คนพาลอยู่ที่ไหน จึงมีแต่ความวิบัติล่มจมอยู่ที่นั่น แม้มีทรัพย์สินเงินทองนับ หมื่นล้านแสนล้านก็ล้างผลาญไห้หมดไปไดไนเวลาไม่นานนัก ด้วยเหตุนี้ พระสัมมาส้มพุทธเจ้าจึงตรัสว่า อบายมุข คือ ต้นเหตุแห่งครามฉิบหายท้งปรงไครก็ตามที่ไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุข แม้เพียงทดลองเล่นๆ เพราะความอยากลอง หรีอทำไปด้วยความ คึกคะนองก็ตาม เมื่อไปติดไจกับความสนุกที่ฉุดลงล่ความหายนะ อย่างลืมตัวเสิยแล้ว ถึงแม้คนๆ นั้นจะเคยเป็นคนดีแสนดีเพียง ไดก็ตาม แต่สุดท้าย ความดีก็จะหมดลง กลายเป็นคนชั่รอย่าง คำ นำ (๖) ^ วัดอบอุ่น(ตอนทั๋ ® ทุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้ไง) www.kalyanamitra.org

สมบูรณ์แบบ โดยพร้อมจะใช้ความเก่งกาจของตนเป็นกำลัง ในการแพร่ระบาดความชั่วให้กระจายไปทั่วทั้งลังคมทันที สาเหตุที่ทำให้คนติดอบายมุขกลายเป็นคนชั่วอย่างสมบูรณ์ แบบได้นั้น ก็เพราะเมื่อคนเรามีวินิจฉัยชั่ว มองเห็นความวิบัติเสีย หายว่าเป็นสิงที่ดีเสียแล้ว คนๆ นั้น ไม่ว่าคิด พูด ทำ สิงใด ย่อม ไม่คำนึงถึงคิลธรรมของด้วเอง คิลธรรมซองสังคม คิลธรรมของ เศรษฐกิจ และคิลธรรมของบุดรหลานที่กำลังมองดูสัวเองเป็น แบบอย่างแม้แต่นิดเดียว นับจากนั้นเป็นต้นไป ย่อมสามารถทำ ทุกสิงทุกอย่างได้ โดยปราศจากความรับผิดชอบต่อความเดือด ร้อนเสียหายที่จะติดตามมาในภายหลังทั้งของผู้อื่นและของส่วนรวม คนที่มีพฤติกรรมไร้ความรับผิดชอบต่อส่วนรวมเช่นนี้ ย่อม ไม่หลงเหลือความเป็นมิตรแท้ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอีกต่อไป มิหนัาชํ้า ยังมีแต่จ้องหาทางปอกลอก พูดจาหลอกลวง ประจบ ประแจงเอาใจ เพื่อชักชวนในทางวิบัติเสียหาย หากมีความผิด พลาดใดเกิดขึ้น ก็พร้อมหนีเอาตัวรอด พร้อมจะทรยศหักหลัง พร้อมจะเหยียบยํ่าชํ้าเติมให้จมดิน บ้านเมืองที่มีพลเมืองจมอยู่ในอบายมุขนั้น ย่อมไม่มีทาง ทำ ให้การพัฒนาเศรษฐกิจกับจิตใจไปด้วยกันได้อย่างแน่นอนส่วน คนที่ประกอบอาดีพอบายมุขนั้น ก็คือคนที่ทำมาหากินอยู่บน ความทุกข์ความเดือดร้อนของผู้อื่น โดยไม่มีความรับผิดชอบต่อ ส่วนรวม วัดอบอุ่น(ตอนท ® พุทธวิธแก้ปัญหาวัตร้าง) (๗) คำ นำ www.kalyanamitra.org

อบายมุขจึงเป็นตัวการทำลายชาติบ้านเมืองอย่างแท้จริง เพราะทำให้คนดีกลายเป็นคนเลว คนเก่งกลายเป็นคนชั่ว ตราบ ใดที่ปล่อยให้อบายมุขครองเมือง การพัฒนาเศรษฐกิจกับจิตใจ ย่อมไม่มืวันทำได้สำ เร็จอย่างแน่นอน ด้วยเหตุนี้เอง นับตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว การสร้างวัดเพื่อ เป็นโรงเรียนสอนดีลธรรมให้เต็มแผ่นติน จึงเป็นชั่งจำเป็นที่ตัอง สร้างขึ้นมา โดยให้กระจายอยู่ประจำทั่วทุกหมุ่บ้าน เพทะบรรพชน ชาวพุทธในยุคก่อน ต่างตระหนักดีว่า \"ความเก่งที่เกิดขึ้นกับคนพาล ชั่งเป็นอบายมุขข้อที่ร้าย แรงที่สุด ย่อมมืแด่นำความวิบ้ติแยหายมาให้แก่บ้านเมือง\" ท่านจึงรีบเร่งขวนขวายตะเกียกตะกายช่วยกันสร้างวัดบำรุง รักษาวัด สืบทอดประเพณีทำบุญของชาวพุทธเรื่อยมาอย่างต่อ เนื่องไม่ขาดสาย แม้แต่ข้วิดก็ยอมอุทิศพลีให้ได้ เพื่อสร้างวัดให้ ลูกหลานไตัมืโรงเรียนสอนดีลธรรมประจำหมู่บ้านของตัวเอง เพราะฉะนั้น การสร้างวัดเพื่อเป็นโรงเรียนสอนดีลธรรม จึง เท่ากับเป็นการป้องกันปัญหาอบายมุข ไม่ให้เกิดขึ้นกับบุตรหลาน แบบตัดไฟแต่ต้นลม ขณะเดียวกันก็เป็นการแก้ปัญหาที่มีอยู่แล้ว ด้วยการใช้วัดเป็นสถานที่ด้กดสิทธสร้างกำลังใจ เพื่อเลิกอบายมุข ให้ได้อย่างเด็ดขาด ขณะเดียวกัน ก็สามารถพัฒนาเศรษฐกิจกับ จิตใจไปพร้อมๆ กัน โดยอาสัยวัดเป็นกำลังในการเผยแผ่ พระธรรมคำสอนของพระสัมมาลัมพุทธเจ้า เพื่อสร้างพลเมืองให้ เป็นคนเก่งและคนดี คำ นำ ' (๘) ' วัดรบรุ่น(ตอนที่ ® ทุทธวธแก้ปัญหาวัดร้-ง) www.kalyanamitra.org

ดังนั้น การสร้างวัดให้กระจายอยู่ทั่วประเทศมากเห่าใด ยิ่ง เป็นการเพิ่มการผลิดคนเก่งและคนดีให้แก่บ้านเมืองมากเห่านั้น ทั่งเห่ากับว่าเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจกบจิตใจไปดัวยกันทนทีโดย สามารถยึดเอาแนวทางการทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปประยุกต์ให้กับการพัฒนาบ้านเมืองไดั โดยปริยาย การทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสัมมาสัมพทธเจ้า นั้น สามารถสรุปโดยย่อได้ ๔ ขั้นดอน ขั้นตอนที่ ๑ ทรงสร้างพระภิกษุผู้ทำหน้าที่เป็นครูสอนดีล ธรรมประจำท้องถิ่นให้เต็มแผ่นดิน ขั้นตอนที่ ๒ ทรงส่งเสริมชาวพุทธให้สร้างวัดเพิ่อเป็น โรงเรียนสอนดีลธรรมประจำท้องถิ่นให้เต็มแผ่นดิน ขั้นตอนที่ ฅ ทรงสร้างความสามัคคีของชาวพุทธดัวย อปริหานิยธรรม® ให้เกิดขั้นทั้งแผ่นดิน โดยมีพุทธบัญญัติให้ หมั่นประชุมพร้อมเพรียงกันที่วัดประจำท้องถิ่นของแต่ละหมู่บ้าน เพื่อถือติลฟังธรรมสร้างบุญกุศลในทุกวันพระ(วัน ๘ คํ่า, ๑๕ คํ่า) พร้อมกันทั้งประเทศ ขั้นตอนที่ ๔ ทรงบ้ญญัดิ \"อริยริน้ย\" คือคุณสมบ้ดิ มาตรฐานของคนดีและหน้าที่ประจำทิศ ๖ เพื่อสร้างวัฒนธรรม ชาวพุทธให้เกิดขั้นทั้งแผ่นดิน โดยผลสัพธ์ที่ไดัก็คือ การสร้าง ® อปรํหานยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็นไปเพื่อความเจริญของฝ่ายบ้านเมืองและฝ่ายสงม์ วัดอบอุ่น(ตอนที่ ๑ ทุทธวธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ^ (๙) ^ คำ นำ www.kalyanamitra.org

สังคมปลอดอบายมุชที่เป็นแหล่งผลิตพลฒืองที่มีทั้งดวามเโ!ง และความดีให้กับประเทศชาติบ้านเมือง สำ หร้บรายละเอียดการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งสีฃั้นตอน นั้น พระพุทธองค์ทรงย่อลงส่ภาคปฏิบัติด้วยวิธีการง่ายๆ เหลือ เพียงคำเดียว นั่นคือคำว่า\"ปฏิรูปเทส ๔\"ได้แก่ อาวาสเป็นที่สบาย อาหารเป็นที่สบาย บุคคลเป็นที่สบาย ธรรมะเป็นที่สบาย โดย ขอเพียงชาวพุทธแต่ละท้องถิ่นคืกษาและปฏิบัติให้ครบถ้วนทั้งลื ประการนี้ วัดเพื่อการสอนคืลธรรมประจำท้องถิ่น หรือโรงเรียน เพื่อการสอนคืลธรรมประจำท้องถิ่น ย่อมกลายเป็นบุญสถานอัน สักดิ้สิทธี้ที่ทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้ตามพุทธประสงค์ ณ ที่แห่งนั้นท้นทีและนั่นก็จะกลายเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและจิตใจ ด้วยการเผยแผ่พุทธธรรมควบคู่กันไปโดยปริยาย สำ หร้บรายละเอียดของปฏิรูปเทส ๔ในแต่ละข้อนั้นหนังลือ ชุด\"วัดอบอุ่น\"นี้จะนำเสนอรายละเอียดไปตามลำดับๆ ต่อไปโดย แบ'งออกเป็น ๖ ตอน ได้แก่ ตอนที่ ๑ พุทธวิธีแกัป็ญหาวัดร้าง ตอนที่ ๒ ปฏิรูปเทส ๔ สูตรสำเร็จการบริหารวัด ตอนที่ ฅ อาวาสเป็นที่สบาย ตอนที่ ๔ อาหารเป็นที่สบาย ตอนที่ ๔ บุคคลเป็นที่สบาย ตอนที่ ๖ ธรรมะเป็นที่สบาย คำ นำ (๑๐)' วัดอบอุ่น(ตอนที่ ๑ พุทธวิธีแก้ปัญทาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

สำ หรับเนื้อหาของหนังสือชุดวัดอบอุ่นทั้ง ๖ ตอนนื้ คณะ ผู้จัดทำได้ทยอยรวบรวมและเรียบเรียงขึ้นจากพระธรรมเทศนาของ พระเดชพระคุณพระภาวนาวิริยคุณ(หลวงพ่อทัดตรโว) รองเจ้า อาวาสวัดพระธรรมกาย ซึ่งเป็นการให้\"โอวาทหลังฉัน\" แก่พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา เจ้าหน้าที่อาสาสมัคร ตลอดจน ญาติโยมที่เดินทางมาฟ้งพระธรรมเทศนา ณ วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวงจ.ปทุมธานีตั้งแต่ปีพุทธด้กราช๒๕๓๓ เป็นต้นมา จวบจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๕๓)ซึ่งนับเป็นการแสดง พระธรรมเทศนาด้วยความวิริยอุตสาหะในการสร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ สร้างคนให้เป็นคนดี อย่างอุทิศชีวิตเป็น เดิมพัน ทั้งนื้ก็เพื่อความเจริญรุ่งเรีองของพระพุทธศาสนาโดย ส่วนรวมเป็นเป้าหมายสำคัญ สำ หรับหนังสือ วัดอบอุ่น เล่มแรกนื้ ขอนำเสนอเฉพาะ ตอนที่ ๑ พุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง เป็นปฐมเริ่มก่อน เพื่อให้ สอดคล้องกับ โครงการบวชพระ ๑,๐๐๐๐,๐๐๐ รูป และโครงการ บวชอุบาสิกาแก้ว ๑,๐๐๐,๐๐๐ คน ตามดำริของ พระเดช พระคุณพระราชภาวนาวิสุทธิ (หลวงพ่อธมมชโย) เจ้าอาวาส วัดพระธรรมกาย เพื่อเพิ่มจำนวนพระภิกษุและจำนวนซาวพุทธมา ช่วยกันแก้ปัญหาวัดร้างให้หมดสินไปจากผืนแผ่นดินไทยในระยะ เวลาอันรวดเร็ว ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของการคณะสงฆ์ทั่วทุก จังหวัดทั้งสังฆมณฑล นับเป็นการรวมพลังของการคณะสงฆ์ทั้ง ประเทศที่น่าอนุโมทนาสาธุการของมนุษย์และเทวดาเป็นอย่างยิ่ง วัด&บอุ่น)(ตอนทึ่ ๑ ทุท!ทธแก้ปัญหาวัดร้าง) คำ น่า www.kalyanamitra.org

ท้ายที่สุดนี้ คณะผู้จัดทำต้องขอกราบขอบพระคุณในความ กรุณาของพระเดชพระคุณหลวงพ่อทั้งสองเป็นอย่างยิ่ง และขอ อัญเชิญบารมีธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และ พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย บารมีธรรมของพระเดชพระคุณ หลวงปูวัดปากนํ้า ภาษีเจริญพระมงคลเทพมุนี(สดจนฺทสโร)บารมี ธรรมของคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ได้ โปรดคุ้มครองพระเดชพระคุณหลวงพ่อทั้งสอง ให้มีสุขภาพ สมบูรณ์แข็งแรง เป็นเสาหสักในการถ่ายทอดพระธรรมคำสั่งสอน ทั้งมวลในพระพุทธศาสนาให้แก่สิษยานุสิษย์ตลอดกาลนาน อนึ่ง หากมีฃ้อผิดพลาดประการใดในหนังสือเล่มนี้ ไม่ว่าจะ เป็นด้านหสักธรรม หรือด้านหสักภาษาก็ตาม คณะผู้จัดทำต้อง ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย และพร้อมที่จะน้อมร้บคำแนะนำจากผู้อ่าน ทุกท่านด้วยความขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่ง คณะผู้จัดทำ กองวิชาการ อาศรมบัณฑิต ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ คำ นำ (๑๒) \" วัดอบอุ่น(ตอนที่®ทุทธวิธีแก้ปัญหาวัดราง) www.kalyanamitra.org

สารบัญ คำ นำ (๑) วัด แดนศักดิสิทธเพื่อการบรรลุธรรม ๓ วัดคือสถานที่ชนิดใด ๓ เป้าหมายแท้จริงในการสร้างวัด ๔ วัดเป็นรากฐานการศึกษาและสังคมสงเคราะห์ประจำท้องถิ่น ๕ วัดเป็นรากฐานการพัฒนาบ้านเมือง ๗ วัดเป็นสัญสักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรือง ๑๐ วิวัฒนาการการสร้างวัด ๑๕ ๑. วัดเพื่อการเผยแผ่ ๑๖ วัตถุประสงค์หลักของการสร้างวัดเพื่อการเผยแผ่ ๑๗ เวฬุวนาราม :พุทธอารามแห่งแรกในพระทุทธ- ศาสนา ๑๙ เซตวนาราม :ศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองของ พระพุทธศาสนา ๒๑ บุพพาราม : ต้นแบบพุทธอาราม เพื่อการฝึก ๒๒ นักเผยแผ่พระพุทธศาสนา วดอมรุ่น(ตอนที่ ๑ ทุทธวิธแก้ปัญหาวัดร้ไง) ^(๑๓) ^ สารบัญ www.kalyanamitra.org

๒. วัดเพื่อการสิกษา ๒๓ วัตถุประสงค์หลักของการสร้างวัดบ้าน ๒๓ อัมพาฏกวัน: พุทธอารามเพี่อความมั่นคงของ พระพุทธศาสนา ๓๒ ฅ. วัดเพื่อการบรรลุธรรม ๓๖ วัตถุประสงค์หลักของการสร้างวัดปา ๓๗ วัดปามาติกคาม:ลังฆารามเพี่อการบรรลุอรหัตผล ๔๐ ปัญหาวัดราง (£(s) ๑. วัดที่ไม่มีวันร้าง ๕๒ ๒. หน้าที่สำคญฃองวัดต่อลังคม ๕๕ ฅ. ความเกือกูลต่อพระพุทธศาสนาของพระภิกษุและ ญาติโยม ๕๗ ๔. เหตุแห่งความสินสูญของพระพุทธศาสนา ๖๑ ๔. พวใจแห่งความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา ๖๓ ๕.๑) โอวาทสำหร้บพระนวกะ ๖๓ ๕.๒) โอวาทสำหรับพระมัชฌิมะ ๖๕ ๕.๓) โอวาทสำหร้บพระเถระ ๖๙ ๖. ความเคารพในธรรมอย่างอุทิศสิวิตเป็นเติมพัน ๗๔ ๖.๑) การอุทิศชีวิตเป็นเดิมพันของพระลัมมา- ลัมพุทธเจ้า ๗๕ สารบัญ ^ (๑๔) วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ® ทุทรวิธแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

๖.๒) การอุทิศชีวิตเบนเดิมพันของพระปัจเจก พุทธเจ้า ๗๗ ๖.๓) การอุทิศชีวิตเป็นเดิมพันของพระอรหันต สาวกในยุคพุทธกาล ๗๙ ๖.๔) การอุทิศชีวิตเป็นเดิมพันของพระภิกษุผู้ ปรารภความเพียรในยุคพุทธกาล ๘๐ ๖.๕) การอุทิศชีวิตเป็นเดิมพันของพระภิกษุในยุค ปัจจุบัน ๘๓ ๖.๖) การปาเพ็ญภาวนาอย่างอุทิศชีวิตเป็นเดิมพัน เป็นเส้นทางเก่าของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ ๘๘ ๗. วัดย่อมไม่มีวันร้าง เมื่อยังมีพระภิกษุผู้บำเพ็ญ ภาวนาอย่างอุทิศชีวิตเป็นเดิมพัน ๙๑ ป้างามด้วยพระภิกษุผู้ปรารภความเพียร ๙๑ วัดงามด้วยหมู่สงฆ์ผู้รู้ชัดโลกุตรธรรม ๙๕ วัดอบอุ่น(ตอนที่ ๑ พุทธวิธีแก้ปัPJหาวัคร้าง) (๑๕) ^ สารบัญ www.kalyanamitra.org

วัดยิ่งมีอาสาสมัครประจำท้องถิ่นอยู่มากเท่าใด ย่อมกลายเป็น ศูนย์กลางการสร้างมิตรแท้ให้แก่สังคม ไปโดยอัตโนมัติ www.kalyanamitra.org

วัด แดนศักดึ^สิทธเพื่อการบรรลุธรรม วัดคือสถานทีชนิดใด วัด ไม่ว่าจะตั้งอยู่ ณ สถานที่ใดๆ ย่อมเป็นสถานสักดสิทธี้ ของชาวพุทธทั้งที่เป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์ หากใครเข้าไปสัมผัส ถึงความร่มรื่น สะอาด สงบ ความน่าเคารพกราบไหว้ของพระ รัตนตรัย ทั่วบริเวณ ย่อมก่อให้เกิดบรรยากาศแห่งการประพฤติ ปฏิบัติธรรมขึ้นมาจับใจ พร้อมที่จะละชั่ว ประพฤติชอบ ประกอบ ความเพียรอย่างเคร่งครัด เพื่อทำใจให้ผ่องใสทันที วัดอบอุ่น {ตอนทึ๋ « ทุทธวธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ^ ๓ ^ วัด แดนสักดึ๋สิทธ์เพื่อการบรรลุธรรม www.kalyanamitra.org

เป้าหมายแท้จริงในการสร้างวัด วัดทั้งน้อยและใหญ่ ไม่ว่าจะสร้าง ณ แห่งหนตำบลใด โดย เฉพาะวัดในประเทศไทย ต่างมีเป้าหมายหลักๆ ๔ ประการ คือ ๑. เพื่อเป็นสถานที่สร้างพระภิกษุดี มีคุณภาพให้ พระพุทธศาสนา รวมทั้งเป็นที่อยู่อาลัย และทำการ อบรมลังสอนประชาชนไปพร้อมๆ กันด้วยโดยย่อ วัด คือ สถานที่สร้างพระให้เป็นพระดีตามพุทธประสงค์ ๒. เพื่อเป็นสถานที่สร้างประชาชนในชุมชนนั้นๆ ให้ เป็นพุทธศาสนิกดีทั้งหญิงและชาย โดยอาลัยพระ ภิกษุในวัดนั้นๆ ที่ได้ร้ปการอบรมดีแล้ว ช่วยเมตตา ลังสอน อบรมให้ โดยย่อคือเป็นโรงเรียนสอนดีล ธรรมในพระพุทธศาสนาให้แก่มหาชนทุกระดับ รวม ทั้งพระภิกษุเองด้วย ฅ. เพื่อเป็นสถานที่ประพฤติปฏิบัติธรรมร่วมกันทั้งชุมชน ตั้งแต่ให้ทาน รักษาคืล ฟังเทศน์ เจริญภาวนา ฯลฯ ร่วมกัน ตลอดจนร่วมประกอบพิธีกรรมลักดสิทธใน พระพุทธศาสนา เช่น มาฆบูชา วิสาขบูชา อาสาฬหบูชา เข้า-ออกพรรษา เป็นต้น ๔. เพื่อเป็นสถานที่ปลูกฝืงวัฒนธรรมการสร้างบารมี ร่วมกันอย่างเป็นป็กแฝนของชาวพุทธอย่างทั่วถึง พร้อมเพรียงทั้งประเทศ โดยยึดหลักการปฏิบัติตน ฬั แดนสักดสิทธ์พึ่อการบรรลุธรรม วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ๑ พุทธวํธแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

ตามหน้าที่ประจำทิศ ๖® อย่างเคร่งครัด เพื่อให้เกิด มิตรแห้°หรือพลเมืองดี พร้อมๆ กันทั้งประเทศโดย ไม่ต้องพื่งพารัฐบาล วัดเป็นรากฐานการสิกษาและสังคมสงเคราะห์ ประจำท้องถิ่น นับตั้งแต่โบราณกาลมา ชาวพุทธต่างตระหนักว่า ๑. คนเราอยู่ลำพังคนเดียวไม่ได้ ต่างต้องพื่งพาอาสัยกัน และกัน ๒. ความรู้ที่เกิดขึ้นกับคนพาลนั้น ย่อมมีแต่นำความ วิบัติเสิยหายมาสู่บ้านเมือง เพราะต่างใช้ความรู!ปใน ทางที่ผิด ๓. บุญเท่านั้น เป็นที่พื่งอันแท้จริงทั้งโลกนี้และโลกหน้า ๔. การสร้างบุญเป็นทีม ย่อมได้บุญมาก ชักนำให้เกิด ความสามัคคีของชุมชนได้รวดเร็วมาก ชาวพุทธจึงนิยมสร้างวัดไว้ประจำเกือบทุกๆ ชุมชน ในชุม ชนใหญ่ๆ สร้างไว้ถึง ๓ - ๔ วัด มืทั้งวัดที่สร้างโดยกษัตริย์ ประจำแคว้น เศรชฐีประจำเมือง ชาวบ้านประจำถิ่น ® หน้าที่ประจำทิศ๖หมายถงหน้าที่ของตัวเราและ๖กลุ่มที่ต้องปฏิบัติต่อกันให้ครบถ้วนเพึ๋อสร้าง-รักษา-พัฒนา คนติขนในสังคมไม่ขาดสาย จนเกัดเป็น ■เครือข่ายคนติ\" ขึ้นรอบตัว ได้แก่ พ่อแม่ ครูอาจารย์ คู่ครอง เพื่อน บริวาร สมณะ มิตรแท้หมายกงมิตรติ๔ประ๓ทได้แก่มิตรมิอุปการะมากมิตรร่วมทุกข์ร่วมสุขมิตรแนะประโยชน์มิตร มินํ้าไจรักใคร่ วัดอบอุ่น(ตอนที่ ๑ ทุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ^ ๕ ^'' วัด แดนด้กดสิทธ์เพื่อการบรรลุธรรม www.kalyanamitra.org

เพราะเหตุนี้ การมีวัดเป็นโรงเรียนสอนสีลธรรมประจำ ท้องถิ่น การมีพระภิกษุเป็นครูสอนสีลธรรมประจำท้องถิ่น การ ฝึกหัดบุตรหลานให้รู้จักร่วมกันสร้างบุญใหญ่ด้วยการทำทาน รักษาภิล เจริญภาวนา การร่วมกันปฏิบัติศาสนกิจต่างๆ ที่วัดตั้ง แต่หัวเทำกำปัน จึงเป็นเรื่องจำเป็น ศาสนกิจเหล่านี้ ยิ่งมีมากยิ่งทำมากเท่าใด ยิ่งเป็นเหมีอน หลักประกันความร่มเย็นเป็นสุขของครอบครัว ชุมชน ลังคมใน ท้องถิ่นนั้นๆ มากเท่านั้นเพราะเมื่อความรู้เกิดขึ้นกับคนดีแล้ว ย่อม แสดงว่า บ้านเมีองย่อมมีแต่ \"มิตรแท้\" มากกว่า \"มิตรเทียม\" มี คนใจบุญมากกว่าคนใจบาป เมื่อท้องถิ่นทุกแห่งมีแต่มิตรแท้อยู่เป็นจำนวนมาก อาสา สมัครที่จะทำงานด้วยความเสียสละเพื่อท้องถิ่น ด้วยหัวใจรักบุญ กุศลย่อมมีอยู่จำนวนมาก ความทุ่มเทชีวิตจิตใจด้วยความรักบ้าน เกิดเมีองนอน จึงกลายเป็นแรงผลักด้นให้เกิดการพัฒนาบ้าน เมีองไปล่ความเจริญรุ่งเรีอง มีทั้งความเจริญก้าวหน้าในการ ประกอบล้มมาอาชีพ และความเจริญร่มเย็นเป็นสุขในการอยู่ร่วม กันด้วยดีลธรรมประจำใจ วัดในท้องถิ่นใดที่มีด้กยภาพในการสร้างคนในชุมชนให้เป็น \"มิตรแท้\" วัดแห่งนั้นย่อมกลายเป็น \"ศูนย์กลางการสร้างอาสา สมัครพัฒนาท้องถิ่น\" ไปโดยอัตโนมัติ วัด แดนสักดํ่สิทธ์พอการบรรลุธรรม ๖ วัดอบร่น(ตอนทึ่ ® พุทธวํธีแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

วัดยิ่งมีอาสาสมัครประจำท้องถิ่นอยู่มากเท่าใด ย่อมกลาย เป็น \"ศูนย์กลางการสร้างมิตรแท้ให้แก่สังคม\"ไปโดยอัตโนมัติ เมื่อสังคมได้รับประโยชน์จากการสร้างมิตรแท้ของวัดเพิ่ม มากขึ้นเท่าใด วัดจึงไม่ได้มีฐานะอยู่แค่เป็นโบราณสถานที่เก็บของ เก่าประจำท้องถิ่นเท่านั้น แต่กลายเป็น \"ศูนย์กลางสถาบันการ สีกษาประจำท้องถิ่น\" ไปโดยอัตโนมัติ โดยท่าหน้าที่วางรากฐาน สีลธรรมลงไปในจิตใจคนในท้องถิ่นนั้นๆ ในทุกระดับการสีกษา ทุกระดับฐานะความเป็นอยู่ เพิ่อให้คนในท้องถิ่นนั้นๆ ประกอบ สัมมาอาชีพด้วยความสงบ ต่างดำเนินชีวิตร่วมกันอย่างมีความสุข และเป็นคนดีของสังคม พร้อมที่จะโอบอุ้มหอบหิ้วกันและกัน ป่าเพ็ญประโยชน์เพิ่อส่วนรวม บังเกิดเป็นบุญกุศลต่อๆ ไป วัดเป็นรากฐานการพฒนาบานเมือง ชาวพุทธในยุคก่อน แมีไม่ได้มีเทคโนโลยีที่ท้นสมัยเหมีอน ยุคนี้ แต่จับประเด็นความเจริญรุ่งเรืองของสังคมได้ถูกต้องว่า การ พัฒนาที่แท้จริงต้องเริ่มจากการพัฒนาใจของประชาชนส่วนใหญ่ ให้ละอายความชั่ว กสัวความบาป ร้กบุญกุศลยิ่งต้วยชีวิต จึงใช้ วัดเป็นศูนย์กลางการปลูกฝ็งสีลธรรมให้กับประชาชนทั้งบ้านทั้งเมีอง ด้วยเหตุนี้ นอกจากจะท่าให้วัดเป็นสถานที่ด้กดสิทธิ้ประจำ ชุมชน ประจำท้องถิ่น ประจำประเทศแล้ว ยังทำให้ประเทศที่ นับถือพระพุทธศาสนาในยุคนั้น กลายเป็นดินแดนด้กดิ้สิทธี้ ประจำทวีปขึ้นมาทันที วัดอบอุ่น(ตอนที่ ๑ พุทธวิธีแก้ปัญหาวัดราง) ''\" ๗ ^ วัด แดนศักดสิทธ์!,ฟ้อการบรรลุธรรม www.kalyanamitra.org

แม้แต่ประเทศไทยเองก็เช่นกัน ครั้งหนึ่งก็เคยเป็นดินแดน ทองของพระพุทธศาสนาที่เต็มไปด้วยความกักดสิทธิ้ของวัดวา อารามที่น่าเลื่อมใส การทำทาน รักษากัล เจริญภาวนาถือเป็น เรื่องปกติของคนทั้งบ้านทั้งเมือง อบายมุขก็อับเฉา ซบเซา การ สร้างวัดวาอารามเพื่อเป็นโรงเรียนสอนการสืกษาและกัลธรรม ประจำหยู่บ้าน ถือเป็นเรื่องปกติที่ต้องช่วยกัน หมู่บ้านใหม่ๆ ที่ เกิดขึ้นแต่ละแห่งจะต้องมืวัดใหม่ๆประจำหมู่บ้านเกิดขึ้นด้วยเสมอ ดังปรากฏหลักฐานคือ วัดวาอารามที่สร้างขึ้นมาเป็นเวลาหลาย ร้อยปี ซึ่งมือยู่จำนวนหลายหมึ่นวัดที่หลงเหลืออยู่ตามหมู่บ้าน หลายหมื่นแห่งตราบมาถึงทุกวันนี้ ทั้งนี้ เพราะเมื่อคนส่วนใหญ่ในบ้านเมืองเป็น\"ผู้มีสืลธรรม\" แล้ว แม้มิใช่ญาติโดยสายโลหิต ย่อมกลายเป็น \"มิตรแท้\" ต่อกัน เมือผู้คนทังบ้านทังเมืองเป็น \"มิตรแท้\" ต่อกันโดยญาติ ธรรมแล้ว ย่อมทำในลื่งที่ตรงกับ \"หัวใจการสืกษา\" ที่กส่าวว่า \"ความรู้ที่เกิดขึ้นกับคนดีนั้น ย่อมมีแต่นำความเจริญรุ่งเรือง มาให้ เพราะมีแต่จะใท้ความllปในทางที่คูกที่ควร\" ผลที่ตามมาก็คือ บรรยากาศของการส่งเสริมคืลธรรม ย่อม เกิดขึ้นทั่วบ้านทั่วเมือง อบายมุข ซึ่งเป็นอาชีพที่หากินบนความ วิบ้ติของผู้อื่น จะไม่ถูกปล่อยให้ระบาดท่วมบ้านท่วมเมืองเป็น อันขาด วัด แดนศักดสิทธ์เพีอการบรรลุธรรม ๘ ^ วดรบรุ่น(ตอนทึ่ ๑ ทุทไทธีแก้ปัญหาวัดร!ง) www.kalyanamitra.org

ความก้าวหน้าด้านเศรษฐกิจและความร่มเย็นด้านศีลธรรม ได้เจริญรุ่งเรืองไปคู่ก้น ผู้คนก็มีศีลมีธรรม มีปกติยิ้มแย้มแจ่มใส ทักทายไหว้ก่อน ไม่หน้าหงิกหน้างอใส่ก้น ไม่คิดจ้องจะกินเลือด กินเนื้อกันวัดวาอารามก็ไม่ถูกทิ้งร้างมีแต่สร้างเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เพิ่อ ให้มีจำนวนเพียงพอกับประชากรในหมู่บ้าน การเลี้ยงชีพของคนส่วนใหญ่ในยุคนั้น ก็ไม่เอารัดเอา เปรืยบก้น มีแต่สงเคราะห์ช่วยเหลือก้น การจัดการระบบ เศรษฐกิจของบ้านเมีอง ก็วางแผนเพิ่อความอยู่รอดร่วมก้น ไม่ใช่ แบบปลาใหญ่ไล่กินปลาเล็ก ประชาชนทั้งประเทศก็มีความรักก้น เหมีอนพิ่น้อง เพราะต่างก็เต็มใจที่จะร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน ยินดีที่ จะอิ่มด้วยกันอดด้วยกัน และตังใจไปสวรรค์อย่างพร้อมหน้า พร้อมตาก้น การเลืยสละเพิ่อประโยชน์สุขของคนส่วนรวมในบ้านเมีองนื้ จึงเป็นสิ่งที่ทำด้วยความเต็มใจ ไม่ใช่การขู่เข็ญบังคับ เพราะทำ ด้วยความรักความห่วงใยพิ่น้องร่วมชาติของตน และไม่ใช่ เป็นการทำเพียงลำพังคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นการช่วยกันคนละไม้ คนละมีอ \"ความสามัคคี\"จึงเกิดขึ้นเป็นปีกแผ่นทั้งบ้านทั้งเมีองโดย มีสายบุญ สายธรรมเป็นเครื่องร้อยรัดมัดใจ บ้านเมีองที่มีแต่ความสามัคคีนั้น จะเกิดขึ้นมาได้ก็ต่อเมื่อมี \"วัดเปีนศูนย์กลางการสร้างมิตรแทัให้กับสังคม\" เพราะฉะนั้น วัด ที่เป็นวัดตรงตามพุทธประสงค์ยิ่งมีจำนวนมากเท่าใดยิ่งเป็นการเพิ่ม วัดอบอุ่น(ตอนที่ ๑ Vjทธวิธีแก้ปัญทาวัดร้าง) ^ sf ^ วัค แดนฟ้กดึ๋สิทธ์เฟือการบรรลุธรรม www.kalyanamitra.org

\"สถาปันการสีกษาด้านสีลธรรมสำหรับสร้างมิตรแห้ให้แก่บ้าน เมือง\" มากเท่านั้น วัดเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรือง ด้วยเหตุที่วัดเป็นทั้งรากฐานการสีกษาประจำท้องถิ่นและ รากฐานการพัฒนาบ้านเมืองนี้เอง วัดจึงเป็นสัญลักษณ์แห่งความ เจริญรุ่งเรืองของบ้านเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านจิตใจ บ้านเมืองในยุคใดที่มืวัดจำนวนมากทั้งน้อยและใหญ่ ^ช่อฟ้าไสว ตั้งใจอบรมลังสอนประชาชน พระภิกษุก็ท่องปน พระธรรมคัมภีร์กันทั้งวัด ย่อมแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทั้ง เศรษฐกิจและจิตใจของผู้คนในประเทศนั้นว่ามือยู่มากมหาศาล ขนาดไหนๆ คัตรูหมู่ร้ายใดๆ ย่อมครั่นคร้าม ในทางตรงกันข้าม บ้านเมืองในยุคใดที่มืวัดเสิอมโทรม รกร้างอยู่มาก ย่อมแสดงถึงความทรุดโทรมตกตํ่าทางด้านสีลธรรม การท่ามาหากินย่อมฝืดเคือง มหาชนย่อมจมอยู่ในอบายบุขทั้ง บ้านทั้งเมือง บ้านเมืองใดที่มือบายมุขระบาด บ้านเมืองนั้นย่อมมืแต่ ความแตกแยก ประชาชนย่อมไร้สีลธรรมแม้อยู่ในครอบครัว เดียวกัน ก็ประพฤติต่อกันเยี่ยงคัตรู อาณาจักรใหญ่ๆ จึงถึงกาล ล่มสลายหายไปจากแผนที่โลกครั้งแล้วครั้งเล่า รัด แดนสักส์สิทธ์เพึอการบรรลุธรรม ๑๐ ^ รัดอบรุ่น(ตอนที่ ® พุทธวธีแก้ปัญหาวัดรั1ง) www.kalyanamitra.org

ดังนั้นการสร้างวัดทั้งน้อยและใหญ่ทั้งใกล้และไกลบ้านเมือง ให้เจริญรุ่งเรืองเหมาะแก่การประพฤติปฏิบัติธรรมตามอริยประเพณี จึงเป็นเรื่องที่ชาวพุทธทุกคนต้องสีกษๆให้เกิดความเข้าใจอย่าง ถ่องแท้ จะได้ช่วยกันสร้าง-พัฒนา-รักษาวัดประจำท้องถิ่น ให้เป็น โรงเรืยนสอนสืลธรรมที่เหมาะสมกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นอยู่ ทุกวัน ทั้งนี้เพิ่อให้ครอบครัว ชุมชน สังคมในท้องถิ่นนั้นๆ มีแต่ ความสงบสุขร่มเย็น ลูกหลานชาวพุทธในย่านนั้นๆ ก็จะได้เป็น บัณฑิตนักปราชญ์ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีสืลธรรมประจำใจ ย่อมนำความรู้วิชาการทางโลกไปสร้างความดีให้เกิดความเจริญ กัาวหน้าทางด้านเทคโนโลยี และความเจริญรุ่งเรืองของดีลธรรม ในจิตใจ โดยไม่ยอมให้สถานประกอบอบายมุขทั้งหลายเป็นแหล่ง เพาะคนพาล ซึ่งเป็นต้นตอแห่งมิตรเทียมลอยหน้านำความวิบัติ เสิยหายมาทำลายความเจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าของท้องถิ่นและ ประเทศชาติในภายหสังนั่นเอง วัดรบอุ่น(ตอนที่ ® พทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ^ ๑๑ ^ วัด แดนสักดํ่สิทธ์เฟือการบรรลุธรรม www.kalyanamitra.org

การเพิ่มขึ้นของจำนวนวัด การเพิ่มขึ้นของจำนวนพระภิกชุ- การเพิ่มขึ้นของจำนวนชาวพุทธในแต่ละท้องถิ่นนั้น จึงต้องอาสัยกำลังของ เศรษฐี และ คฤหบดี ประจำท้องถิ่น ในการทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทั้งใน เสิงกว้าง และ เรงลึก ไปควบคู่กัน -=#<^ www.kalyanamitra.org

วิวัฒนาการ การสรางวัด -- การสร้างวัดมีมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล เริ่มตั้งแต่ครั้งเสด็จ โปรดพระเจ้าพิมพิสาร หลังจากตรัสรู!ด้ประมาณ ๙ เดือน โดย ในยุคนั้น มีการสร้างวัดแบ'งออกเป็น ๓ ประ๓ท ประ๓ทที่ ๑ คือ วัดเพื่อการเผยแผ่ ประ๓ทที่ ๒ คือ วัดเพื่อการสิกษา ประ๓ทที่ ๓ คือ วัดเพื่อการบรรลุธรรม วัดอบอุ่น(ตอนที่ a ทุท!รวทีแก้ปัญหาวัดร้าง) ๑๕ ^ วิวัฒนาการ การสร้างวัด www.kalyanamitra.org

ว้ดทั้งสามประ๓ทนื้มีขนาดพื้นที่ สักษณะของท้องถิ่นและ ลำ ดับการเกิดขึ้นก่อนหสังที่แดกด่างสัน แด่มีสักษณะส่งเสเม สันในด้านการทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทำ ให้พระภิกษุใน ยุดนั้น แม้อยู่ด่างวัดสัน แด่ก็ทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาร่วม สันได้อย่างมีเอกภาพเป็นหนึ่งเดียวสัน ดังต่อไปนี้ ๑. วัดเพื่อการเผยแผ่ วัดเพื่อการเผยแผ่ หมายถึง วัดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็น \"ศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาประจำยุค\" มีขนาดพื้นที่ กว้างใหญ่หลายร้อยหลายพันไร่ เป็นอุทยานร่มรื่น อาคารสถานที่ ใหญ่โตมโหฬาร รูปทรงแสดงถึงความดักดสิทธและความสง่างาม ก่อสร้างด้วยงบประมาณจำนวนมาก ตกแต่งด้วยวัสดุที่ทรง คุณค่าพิเศษ มีความประณีตอลังการ นิยมสร้างอยู่ในเขตปาแถบ ชานเมีอง นอกเมีองหลวงของอาณาจักร โดยสามารถใช้เป็นที่อยู่ จำ พรรษาของพระภิกษุได้ไมตากว่า สิหมื่นรูป® และสามารถจัด ประชุมใหญ่ของชาวพุทธได้ไม่ตํ่ากว่า ห้าสัานคน'® ® อริยวังสสูตร, องฺ.จตุกๆ.อ. ๓๕/๒๘/๘๗ (มมร.) ^ ว่าต้วยบุคคลผู้มสังโยชน!นภายในและใพาย!;อก. องฺ.ทุก.อ. ๓๓/๒๘®/๓๗® (มมร.) วิวัฒนาการ การสร้างวัด ^ ๑๖ ^ วัดอบร่น(ตอนที่ ๑ ทุทธวิธีแก้ปัญทาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

วัตธุประสงค์หลกของการสร้างวัดเพื่อการเผยพ,ผ่ คือ ๑) เพื่อใสัเป็นที่ประทับจำพรรษาของพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าและเป็นศูนย์กลางการทรงงานเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาให้ขจรขจายไปทั่วทุกแว่นแควัน ๒) เพื่อให้เป็นสถานที่ประชุมสงฆ์ทั้งแผ่นดินที่เดินทาง รอนแรมมาเข้าเฝ็าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตลอดเวลาทั้ง กลางวันและกลางคืนโดยไม่เวันแต่ละวัน ฅ) เพื่อให้เป็นสถานที่แกอบรมพระภิกษุให้เป็นนักเผยแผ่ ก่อนจะส่งกระจายออกไปยังท้องถิ่นต่างๆ ทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ ๔) เพื่อให้เป็นสถานที่ฟ็งธรรมและประกอบบุญกุศลของ พระราชาและซาวเมืองหลวง ซึ่งนิยมมารวมประชุม กันที่วัดในเวลาเย็น หสังเสร็จสินภารกิจการงานใน แต่ละวันแล้ว ๔) เพื่อให้เป็นสถานที่เห้ดชูจรรโลงความเจริญรุ่งเรือง ของพระพุทธศาสนาให้ปรากฏขึ้นในสายตาของชาว โลกในยุคนั้น อันจะก่อความเลื่อมใสศรัทธาแก่ผู้ยัง ไม่เลื่อมใสศรัทธา และผู้ที่เลื่อมใสศรัทธาอยู่แล้วก็ เกิดความเลื่อมใสยิ่งๆ ขึ้นไป ๖) เพื่อให้เป็นสถานที่ประกอบบุญใหญ่ประจำแควันโดย มีพระราชาและชาวพุทธเป็นเจ้าภาพร่วมกันทั้งแผ่นดิน วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ๑ พุทธวธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ๑๗ ^ วิวัฒนาการ กพฝ็ร้างวัด www.kalyanamitra.org

ในสมัยทุทธกาล บุคคลที่สร้างวัดเพื่อการเผยแผ่นี้ ส่วนใหญ่ ได้แก่\"พระราชา\"ผู้ปกครองแคว้น และ\"อัครมหา!.ศรชฐี\"ประจำ แคว้น ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการปกครองบริหารและพัฒนาสังคม เศรษฐกิจของบ้านเมืองในยุคนั้น เนื่องจากได้พังพระธรรมคำสอน จากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยตรงแล้ว ต่างก็ประจักษ์ชาบชึ้งว่าพระ ธรรมคำสอนนั้นสามารถนำพาผองชนให้หลุดพันจากทุกข์ใน วัฏสงสารได้จริง จึงประกาศตนเป็นคัษย์ของพระบรมศาสดา ทุ่มเท กำ สังทรัพย์และก่าสังสติปัญญา เพื่ออุปถัมภ์คํ้าจุนพระภิกษุสงฆ์ และอำนวยความสะดวกในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปทั่ว ทุกแว่นแคว้น ด้วยการสร้างวัดให้เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาขึ้นในบ้านเมืองของตัวเอง ในสมัยพุทธกาล ประเทศอินเดียแปงเป็นสิบหกแคว้นใหญ่ ได้แก่ อังคะ, มคธ, กาสิ, โกศล, วัชชี, มัลละ, เจตี, วังสะ, กุรุ, ปัญจาละ, มัจฉะ, สุรเสนะ, อัสสกะ, อวันตี, คันธาระ, ถัมโพชะ และห้าแคว้นเล็ก ได้แก่ สักกะ, โกลิยะ, ภัคคะ, วิเทหะ, และ อังคุตตราปะ แคว้นที่เป็นอาณาจักรใหญ่ครอบครองแคว้นส่วนใหญ่ คึอ \"แคว้นมคธ\" ถับ \"แคว้นโกศล\" พระราชาและมหาเศรษฐีของ ทั้งสองแคว้นนี้ มืบทบาทสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา อย่างยิ่ง โดยเฉพาะการสร้างวัดเพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา มีจำ นวนถึง ฅ อารามใหญ่ ได้แก่ วิวัฒนาการ การสรางวัด ๑๘ ^ วัดอบรุ่น(ตอนทึ่ ๑ ทุทธวิธีแก้ปัญหาวัตร้าง) www.kalyanamitra.org

เวฬุวนาราม พุทธอารามแห่งแรกในพระพุทธศาสนา พระเจ้าพิมพิสาร พระราชาแห่งแคว้นมคธเป็นผู้สร้างถวาย โดยดัดแปลงอุทยานส่วนพระองค์ ซึ่งตั้งอยู่นอกเมืองราชคฤห์ (นครหลวงของแคว้นมคธ) มืเนื้อที่กว้างขวาง ใหญ่โต ร่มรื่นด้วย ปาไผ่ อาคารและถาวรวัตถุต่างๆ ส่วนมากเป็นเครื่องไม้สร้างอย่าง แข็งแรง ทนทาน ประณีต สมกับที่กษัตริย์เป็นผู้ทรงสร้างถวาย เวฬุวนารามมืความสำคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างมาก เนื่องจาก (๑) เป็นวัดแห่งแรกที่บังเกิดขึ้นในพระพุทธศาสนา (๒) เป็นว้ดที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศโอวาทปาฏิ- โมกข์ในวันมาฆบูชา ซึ่งเป็นหสักธรรมแม่บทการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยเป็นการประชุมกันเป็น ครั้งแรกของพระอรหันต์สาวก จำ นวน๑,๒๕๐รูปโดย สถานที่ไม่แออัดดับแคบ (๓) เป็นวัดศูนย์กลางการเผยแผ่และอบรมปลูกฝึงสืล ธรรมให้แก่ประชาชนในระยะต้นพุทธกาล ต่อเมื่อ พระองค์เสด็จไปประทับที่เชตวนาราม กรุงสาวัตถี แคว้นโกศล ก็ทรงมอบหมายให้พระสารีบุตร อัคร สาวกเบื้องขวา พระอรหันตสาวกผู้เลิศด้วยปัญญา อยู่ วัคอบอุ่น(ตอนทึ่ Q ทุท!!ว๊ธนก้ปัญหาวัดร้าง) ^ ๑®' วัวัฒนาการ การฝ็วั1งวัด www.kalyanamitra.org

บริหารควบคุมบัญชางานแทนพระองค์ และใช้เป็น ศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในบริเวณภาค กลางของประเทศอินเดียตลอดมา (๔) เป็นที่ตั้งสถูปบรรจุพระธาตุของพระโมคคัลลานะพระ อัครสาวกเบื้องซ้าย พระอรหันตสาวกผู้เลิศด้วยฤทธื้ ให้พุทธศาสนิกชนได้เคารพสักการะ (๕) เป็นที่พักจำพรรษาของพระอรหันต์ ๕๐๐ รูป ซึ่งเช้า ร่วมการประชมปรมสังคายนาตลอดระยะเวลา ๓ เดีอน เพื่อรวบรวมเรียบเรียงพระธรรมวินัยของพระสัมมา สัมพุทธเจ้า ให้เป็นหมวดหมู่ สะดวกแก่การดีกษา และการเผยแผ่ โดยมีพระเจ้าอชาตคัตรู เป็นองค์ อปถัมภ์ วิวัฒนาการ การสร้างรัด ^ ๒๐ ^ รัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ® พุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

เซตวนาราม ศูนย์กลางความเจริญรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนา อนาถบิณฑิกะเศรษฐี มหาเศรษฐีผู้เลิศด้วยการถวายทาน เป็นผู้สร้างถวายโดยชื้ออุทยานของเชื้อพระวงส์นามว่า \"เจ้าเซต\"ซึ่ง ตั้งอยู่นอกเมืองด้านทิศใต้ของกรุงสาวัตถี (นครหลวงของแคว้น โกศล) มาดัดแปลงเป็นพระอาราม การก่อสร้างอาคารและ ถาวรวัตถุต่างๆ ทำ อย่างประณีต งดงาม และแข็งแรงทนทานเป็น พิเศษ รวมค่าที่ดินและค่าก่อสร้างเป็นเงินทั้งสินถึง ๕๔๐ ล้าน กหาปณะ คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๒,๑๖๐ ล้านบาท(๑ กหาปณะ เท่ากับ ๔ บาท) ในคัมภีร์ศาสนากล่าวชมว่า แม้พระราชวังของ พระเจ้าปเสนทิโกศลพระราชาผู้ทรงอา•นภาพยิ่งใหญ่ที่สุดในสม้ยนั้น ก็ยังสวยสู้เชตวนารามใม่ใด้ เชตวนาราม เป็นพระอารามที่มืความสำคัญอย่างยิ่งในการ เผยแผ่พระ•พุทธศาสนาและปลูกฝังคิลธรรมให้กับประชาชนควบคู่ กับเว'ฬุวัน พระสัมมาล้มพุทธเจ้าทรงประทับและแสดงพระธรรม เทศนาโปรดประชาชนอยู่ที่พระอารามนี้นานถึง ๑๙ พรรษา จึง กลายเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา บริเวณภาคเห'นือ และภาคตะวันตกของประเทศควบคู่กับบุพพาราม วัด&บอุ่น(ตอนที่ ร)พุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) '' lo® วิวัฒนาการ การสร้างวัด www.kalyanamitra.org

บุพพาราม ต้นแบบพุทธอารามเพื่อการ1เกนักเผยแผ่พระพุทธศาสนา นางวิสาขา มหาอุบาสิกาผู้เลิศด้วยการถวายทาน เป็นผู้ สร้างถวายโดยชื้อที่ดินนอกเมืองด้านทิศตะวินตกของกรุงสาวัตถี หลังจากสถาปนิกออกแบบแปลนแผนผังดีแล้ว จึงลงมือก่อสร้าง อารามนี้ขึ้นในบริเวณทุ่งนารกร้าง โดยมีพระโมคคัลลานะ พระ อรหันต์ผู้เลิศด้วยฤทธิเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างใช้เวลาทั้งหมด ๑' เดือน การก่อสร้างจึงแล้วเสร็จ อาคารที่สร้างเป็นทรงปราสาท ๒ ชั้น แต่ละชั้นมีอยู่ ๔๐๐ ห้อง จัดเป็นส่วนๆ โดยแยกเป็นที่อยู่ของ พระผู้ชำนาญพระวินัยส่วนหนึ่งของพระผู้ชำนาญพระสูตรส่วนหนึ่ง ของผู้ชำนาญพระอภิธรรมส่วนหนึ่ง เป็นที่พักของภิกชุอาพาธส่วน หนึ่ง เป็นห้องพยาบาลส่วนหนึ่ง เป็นที่พักของพระอาคันตุกะส่วน หนึ่ง และห้องอื่นๆ อีกครบถ้วน ยอดปราสาทเป็นรูปหม้อนํ้าทรง สูง ทำ ด้วยทองคำเป็นพุทธบูชา เมึ่อสร้างเสร็จแล้วก็ปลูกต้นไม้ทำ สวนปาพาให้ร่มเย็นตลอดบริเวณค่าใช้จ่ายรวมทั้งสินถึง ๒๗๐ ล้าน กหาปณะ คิดเป็นเงินไทยประมาณ ๑,๐๘๐ ล้านบาท เนึ่องจากบุพพารามเป็นพระอารามที่มืแบบแปลนแผนผังดื มาก ดังนั้นจึงใช้เป็นมาตรฐานในการสร้างวัดในสมัยต่อๆ มา พระ ลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงประทับฉลองศรัทธาอยู่ที่พระอารามนี้ถีง ๖ พรรษานางวิสาขาก็ได้ทำนุบำรุงโดยถวายภัตตาหารและปัจจัยอื่นๆ แก่พระภิกษุผู้อยู่ในอารามจนตลอดชีวิต วํวัฒนาการ การสร้า«ด ๒๒ ร้ดอบอุ่น(ตอนที่ ๑ ทุทฟ้รแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

๒. วัดเพื่อการสิกษา วัดเพื่อการสีกษาโบราณเรียกว่า \"คามวาสี\"หรีอ \"วัดบ้าน\" หมายถึง วัดที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็น \"โรงเรียนสอนสีลธรรมประจำ ท้องถิ่น\" สำ หรับพระภิกษุและชาวบ้านที่อยู่ในท้องถิ่นนั้นๆ ได้มี โอกาสสืกษาพระธรรมคำสอนอย่างทั่วถึง คำ ว่า \"คามวาสี\" (คา-มะ-วา-สิ) ในพจนานุกรมเพื่อการ สืกษาพุทธศาสตร์ฉบ้บ \"คำวัด\" ของ พระธรรมกิตติวงส์ (ทองดี สุรเตโช ปธ.๙,ราชบ้ณฑิต)ได้ให้ความหมายไว้ว่า คามวาสี แปลว่า ผู้อยู่ในหมู่บ้าน ผู้ประจำอยู่ในหมู่บ้าน คามวาสีหมายถึง ภิกษุที่พำนักอยู่ตามวัดในหมู่บ้านหรีอใน ตัวเมีอง มีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทางคันถธุระคือสืกษา เล่าเรียนพระปริยัติธรรม มีภารกิจคือการบริหารปกครอง การเผยแผ่ธรรม และการก่อสร้างปฏิสังขรณ์วัดวาอารามเป็นหลัก เรียกกันทั่วไปว่า พระบ้านพระเมือง ซึ่งเป็นคู่กับคำว่า อรัญญวาสี คือ พระป่า วัตถุประสงค์หลักของการสร้างวัดบ้าน คือ ๑) เพื่อเป็นที่พักจำพรรษาของพระภิกษุเถระผู้เดินทาง ไปทำหน้าที่เผยแผ่ในท้องถิ่นนั้น ๒) เพื่อเป็นที่เล่าเรียนพระธรรมวิน้ยของพระภิกษุที่ บวชจากท้องถิ่นนั้น วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ® ทุทธวิธแก้ปัญหาวัดร้าง) ^ ๒๓ ^ วิวัฒนาการ การสเางวัด www.kalyanamitra.org

ฅ) เพื่อเป็นสถานที่ทำบุญและฟ็งธรรมของประชาซนที่ อยู่ประจำท้องถิ่นนั้น ๔) เพื่อเป็นสถานที่สร้างประเพณีวัฒนธรรมของซาว พุทธตามหน้าที่ประจำทิศ ๖ ให้เกิดขึ้นประจำท้องถิ่น L ในสมัยพุทธกาล วัดคามวาสี มีการก่อสร้างอาคารสถานที่ ใหญ่โต สามารถใช้เป็นที่อยู่จำพรรษาของพระภิกษุไดไม่ตํ่ากว่า หนึ่งฟันรูป มีความเพียบพร้อมเหมาะแก่การสืกษาเล่าเรียน พุทธพจน์ คือ \"ภาคปริย้ติ\" ทุกประการ มีการสร้างอาคารโรงฉัน และธรรมสภาไว้สำหรับเพื่อรวมชาวพุทธมาทำบุญและฟังธรรม เป็นประจำทุกวัน วันละไม่ตํ่ากว่าหนึ่งพันคน นอกจากนี้บริเวณที่ดินด้านหลังวัด มักนิยมสร้างสวนปา ขนาดใหญ่ที่มีความสงบวิเวกทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน เพื่อ เป็นสถานที่ฝึกฝนการปาเพ็ญภาวนา คือ \"ภาคปฏิบัติ\"โดยมีพระ อุปัชฌาย์อาจารย์ ทำ หน้าที่เป็นผู้ฝึกฝนเคี่ยวเข็ญอบรม \"นิสัย บรรพสิต\" ให้เกิดขึ้นกับพระภิกษุใหม่ จนกระทั่งแน่ใจว่า ภิกษุ นั้นสามารถละทิ้ง \"นิสัยเก่าของคฤห้สถ์\"ได้แล้ว จึงจะอนุญาตให้ ออกไปปาเพ็ญภาวนาตามสำพังในวัดป่าได้ต่อไป วิวัฉ.นาการ ทารฝ็ร่กงวัค ๒๔ วัดอบอุ่น(ตอนท ® พทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

ในสมัยพุทธกาล บุคคลที่สร้างวัดเพื่อการสืกษๆประจำท้อง ถิ่นนี้ ส่วนใหญ่ได้แก่ เศรษฐี และ คหบดี ^ด้โอกาสบรรลุธรรม จึงมีศรัทธาแรงกล้าที่จะนำพระพุทธศาสนาไปประกาศในท้องถิ่น ของตน โดยเริ่มต้นด้วยการใช้ทรัพย์สินส่วนตัวเป็นงบประมาณ ในการก่อสร้างทั้งหมด และอุทิศถวายเป็นวัดของพระสัมมา สัมพุทธเจ้า จากนั้นก็จ้ดฉลองวัดใหม่ตัวยการเชิญชวนให้ชาวบ้าน ชาวเมีองเช้ามาร่วมฟังธรรม โดยรับเป็นเจ้าภาพอุปัฏฐากดูแลพระ และดูแลวัดตลอดชีวิต ทำ ให้มีพระภิกษุใหม่เกิดขึ้นในท้องถิ่น จำ นวนมาก เมื่อการบำรุงวัดนันผ่านไปห้าปีสิบปี ท้องกินนันก็ รุ่งเรืองด้วยคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะมีพระภิกษุทัง ที่เป็นนวกะ มัชฌิมะ และเถระเพื่มขึ้นอยู่จำนวนมาก และจาริก กันออกไปอยู่จำพรรษาทั้งในวัดบ้านและวัดบำอย่างทั่วถึงทุก หมู่บ้านนั่นเอง ในสมัยพุทธกาล แม้ว่า \"เศรษฐี\" กับ \"คหบดี\" จะมีฐานะ ทางสังคมที่แตกต่างกันมาก แต่ก็มีส่วนสำคัญในการขยายงาน เผยแผ่ไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน ในยุคนั้นคำว่า \"คหบดี\" หรือ \"คฤหบดี\" หมายถึง ชาว บ้านผู้มีฐานะมั่งคั่งรํ่ารวย แต่ไม่ได้ร้ปการแต่งตังให้ดำรงตำแหน่ง เศรษฐีจากพระราชา ส่วนคำว่า \"เศรษฐี\" หมายถึง ชาวบ้านที่มีฐานะมั่งคั่ง รํ่ารวยที่สุดในเมีองนั้น และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง เศรษฐีจากพระราชาโดยตรง วัดรบอุ่น(ตอนทึ่ ® พุทธวิธีแก้ปัญทาวัดT1ง) ๒cf \" วิวัฒนาการ การสร้างวัค www.kalyanamitra.org

ดังนั้น ในยุคพุทธกาล การเรียกผู้ใดเป็นเศรษฐี จึงหมาย เอาความหมายอย่างเป็นทางการ คือผู้ดำรงตำแหน่งเศรษฐีที่พระ ราชาแต่งตั้งให้ ส่วนการเรียกผู้ดำรงตำแหน่งเศรษฐีอย่างไม่เป็นทางการว่า คฤหบดี หรีอ คหบดี ก็มีอยู่เช่นกัน ยกดัวอย่างเช่น จิตตคฤหบดี อุบาสกผู้เลิศด้วยการแสดง ธรรม โดยฐานะตำแหน่งท่านคือเศรษฐีประจำเมืองมัจฉิกสัณฑะ แคว้นมคธ แต่ชาวบ้านชาวเมืองนิยมเรียกท่านว่า คฤหบดี ซึ่ง เป็นการเรียกตามความประสงค์ของเจ้าตัวบ้าง ตามความนิยม ของสังคมบ้าง ตามความคุ้นเคยกันมาแต่เดิมบ้าง สำ หร้บขั้นตอนการแต่งตั้งตำแหน่งเศรบฐีอย่างเป็นทางการใน \"ครั้งแรก\" นั้น จะต้องประกอบด้วย (๑) คหบดีจะต้องน่าทรัพย์สินทั้งหมดมาแสดงไว้ที่พระ ลานหลวง เพื่อให้พระราชาทรงเห็นและชาวเมืองรับรู้ เป็นพยาน (๒) เจ้าพนักงานของรัฐตรวจสอบความโปร่งใสของที่มา ของทรัพย์สินและประเมินจำนวนทรัพย์สินทั้งหมดว่า มืมูลค่าราคาเท่าไหร่ (๓) น่าตัวเลขจำนวนทรัพย์สินที่ไดัไปประเมินเทียบเคืยง กับบัญชีทรัพย์สินของเศรษฐีอื่นๆ ที่มือยู่ก่อนหน้านั้น แล้ว วิว้ฒนาการ การสfางฬั '' ๒๖ • วัฟิรบร่น(ตอนทึ่ ๑ ทุทธวิธแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

(๔) เมื่อตรวจสอบแล้วว่าในเมืองนั้น ไม่มืทรัพย์สินของผู้ ใดมากกว่านี้อีกแล้ว พระราชาก็จะทรงให้การรับรอง และประกาศแต่งตั้งให้เป็นเศรษฐีคนใหม่ทันที (๕) เมื่อพระราชาได้พระราชทาน \"ฉัตรประจำตำแหน่ง เศรษฐี\" ให้แล้ว ก็ถือว่าบุคคลนั้นได้เป็นการดำรงอยู่ ในตำแหน่งเศรษฐีอย่างสมบูรณ์ แบบเป็นทางการแล้ว หลังจากแต่งตั้งแล้ว ตระกูลนั้นย่อมถูกยกระดับฐานะเป็น \"ตระกูลเศรษฐี\" บุตรชายสามารถสิบทอดตำแหน่งเศรษฐีประจำ เมืองต่อจากบิดาได้ ผู้คนทั้งบ้านทั้งเมืองก็จะจดจำไวในฐานะของ เศรษฐี การวางตัวของผู้นั้นก็จะตกอยู่ในสายตาของคนทั้งบ้าน ทั้งเมืองทันที โดยชาวเมืองก็มักจะนิยมตั้งฉายานามตาม พฤติกรรมของเศรษฐีผู้นั้นต่อทัายชื่อบ้าง หรือเรียกฉายาเป็นชื่อ ใหม่เลยก็มื ยกตัวอย่างเช่นอนาถบิณฑิกเศรษฐีท่านมืชื่อจริงว่า สุทัตตะ เศรษฐี ดำ รงตำแหน่งเศรษฐีสิบต่อจากบิดา แต่เพราะท่านตังโรง ทานเพื่อแจกจ่ายอาหารแก่คนทุกข์ยากในเมืองสาวัตถื ชาวเมือง จึงขนานฉายานามใหม่ให้ท่านว่า อนาถบิณฑิกเศรษฐี แปลว่า \"เศรษฐีผู้มีก้อนข้าวสำหรับคนยากจน\" หรือ \"เศรษฐีผู้เป็นที่พึ่ง ของคนยาก\" ซึ่งเป็นการเรียกชื่อตามความเป็นผู้มืใจบุญของท่าน นั่นเอง วัคอบอุ่น(ตอนทึ่ ๑ ทุท!ทธิแก้ปัญหาวัดร้าง)'๒๗ ' วัวัฒนาการ การสรางวัด www.kalyanamitra.org

ดังนั้น ด้วยเหตุเหล่านี้ \"เศรษฐี\" จึงเป็นต็าแหน่งทาง ราชการที่บ่งบอกถึงฐานะความรํ่ารวยของประเทศ และสภาพ เศรษฐกิจสังคมของบ่ระชาซน โดยผู้เป็นเศรษฐีมีหน้าที่จะต้องเข้า เฝ็าพระราชา เพื่อรายงานสภาพสังคม สภาพเศรษฐกิจ และ คุณภาพชีวิตของบ่ระชาชน ให้พระราชาทรงทราบสถานการณ์ทั้ง ไนอาณาจักรและนอกอาณาจักร เพื่อจะได้ตระเตรียมนโยบายต่างๆ เพื่อบำบัดทุกข์และบำรุงสุขไห้บ่ระชาชนได้อย่างทันการณ์นั่นเอง ดังนัน ด้วย ข้อดี ของการเป็นที่ยอมรับจากพระราชานี้เอง ทำ ไห้เศรษฐีจึงมีบทบาทอย่างมากไนการขยายงานพระพุทธ ศาสนาไบ่ไนวงกว้างอย่างรวดเร็ว เพราะได้มีโอกาสน่าพระธรรม คำ สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไบ่กราบทูลไห้พระราชาทราบอยู่ เสมอ และยังได้รายงานถึงข้อดีต่างๆ เกี่ยวกับการอนุญาตไห้ พระภิกษุทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาไนแว่นแคว้นของตนทำ ไห้ ไม่เป็นที่หวาดระแวง และได้รับความสะดวกไนการสร้างวัดไน ท้องถิ่นต่างๆตามมา เพราะมีเศรษฐีเป็นตัวเร่อมระหว่าง พระพุทธศาสนากับพระราชานั่นเอง ขณะเดียวกัน \"คหบดี\" ไนแต่ละท้องถิ่น ก็มีความสำคัญ ไม่ยิ่งหย่อนกว่ากัน เพราะเป็นเหมีอนผู้เข้ามาช่วยอุดช่องว่างรอย โหว่ไนการทำงานเผยแผ่ของเหล่าเศรษฐีได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เพราะ ไม่มีภาระทางด้านราชการ จึงมีเวลาลงสำรวจพื้นที่มากกว่า สร้าง ความคุ้นเคยสนิทสนมกับชาวบ้านได้คล่องตัวกว่า ทำ ไห้ชาวบ้าน วิว้ฒนาการ การสร้างรัด ๒๙ ^ รัดรบอุ่โ'b {ตอนทึ่ ๑ ทุทธวธแก้ปัญหาวัตร้าง) www.kalyanamitra.org

กล้าที่จะเปิดใจพูดคุยปัญหาในชีวิตประจำวันได้โดยตรง ไม่ต้อง ปิดบังทำให้มีความใกล้ชิดประชาชนมากกว่าผู้ดำรงตำแหน่งเศร!ดู ดังนั้น ด้วย \"ข้อดีของคหบดี\"ที่เป็นผู้ใกล้ชิดประชาชนนีเอง จึงทำให้มีเวลาดูแลพระภิกษุสงฆ์ได้ทั่วถึงทุกพืนที่ โดยไม่มี ตกหล่นหรือตกค้างให้ตกระกำลำบากในการปาเพ็ญสมณธรรม เพราะมีคหบดีเป็นตัวเชื่อมระหว่างพระพุทธศาสนากับประชาชน นั่นเอง ด้งนั้น การเพิ่มขึ้นของจำนวนวัด การเพิ่มขึ้นของจำนวน พระภิกษุ การเพิ่มขึ้นของจำนวนชาวพุทธในแต่ละท้องถินนัน จึง ต้องอาศัยกำลังของ \"เศรษฐี\" และ \"คฤหบดี\" ประจำท้องกิน ใน การทำงานเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งใน\"เข้งกว้าง\" และ \"เข้งลึก\" ไปควบคู่กัน การเผยแผ่เข้งกว้าง คือ การอาศัยความน่าเชื่อถึอของตัวเอง ช่วยเป็นประชาสัมพันธ์ให้ชาวบัานชาวเมีองในดินแดนที่ยังไม่มี ศรัทธา ให้เกิดการยอมรับในพระพุทธศาสนาได้อย่างรวดเร็ว เพิ่อ ไม่ให้เกิดความหวาดระแวงจากทางราชการและเกิดแรงต้านจาก ชาวเมีองท้องถิ่น ทั้งนี้เพราะต้องการเพิ่มจำนวนวัดให้เกิดขึ้นใน ท้องถิ่นนั้นอย่างรวดเร็วและทั่วถึงทุกหยู่บ้าน ด้วยความเต็มใจ ต้อนรับการบังเกิดขึ้นของพระรัตนตรัยในท้องถิ่นของตนนั่นเอง จัดอบอุ่น(ตอนที่®ทุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ๒®' ^ วิวัฒนาการการสร้างจัด www.kalyanamitra.org

การเผยแผ่เสิงลึก คือ การใช้ทร้พย์สินส่วนตัวเป็นกองทุน ทำ งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา ตั้งแต่ ๑) การสร้างวัดแห่งแรกให้เกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้น ๒) การเชิญพระภิกษุ'เถระจากวัดที่เป็นศูนย์กลางการ เผยแผ่มายังท้องถิ่นของตน ๓) การส่งเสร้มการคืกษาเส่าเรียนธรรมะของพระภิกษุที่ บวชเพิ่มขึ้นใหม่ในท้องถิ่นของตน ๔) การซักชวนประชาสัมพันธ์ชาวบ้านชาวเมืองในท้องถิ่น นันมาปาเพ็ญบุญกุศลและฟังธรรมยังวัดที่ตนเป็นผู้ สร้าง ๕) อีกทั้งยังรับเป็นเจ้าภาพอุปัฏฐากเลี้ยงดูพระภิกษุ ท้งหมดในวัดนั้นทั้งที่อยู่ประจำทั้งที่เป็นอาคันตุกะโดย ไม่ให้ขาดตกบกพร่องแม้แต่มื้อเดียว ทั้งนี้เพราะ ต้องการให้จำนวนพระและจำนวนชาวพุทธในท้องถิ่น ะ ไ:: ^ . C A . J . นันเพิมขนอย่างรวดเร็ว เพอมาช่วยกันเผยแผ่ พระพุทธศาสนาให้กระจายไปทั่วถึงทุกพื้นที่ จนเกิด เป็นวัฒนธรรมชาวพุทธประจำท้องถิ่นนั่นเอง อย่างไรก็ตาม นอกจากเศรษฐีและคฤหบดีแล้ว การสร้าง วัดเพิ่อการคืกษายังเกิดจากการรวมพสังศร้ทธาของ \"กลุ่มซาวบ้าน\" ในระดับรากหญ้าอีกแรงหนึ่งด้วย โดยเฉพาะชาวบ้านที่อยู่ใน วิวัฒนาการ การส?างวัด ^ ๓๐ ' วัฟิอ!เอุ่น(ตอนทึ่ ® ทุทธวิธแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

\"เมืองใหญ\" หรือ \"หมู่บ้านใหญ่\" ซึ่งเป็นสถานที่ชุมนุมของเส้น ทางการค้าที่เชื่อมต่อกับหัวเมืองต่างๆ ไว้ด้วยกัน วิธีการสร้างจะใบ้การระดมทุนทรัพย์ในหมู่บ้านและการ ระดมกำลังคน เพื่อบ้วยกันสร้างวัดประจำท้องถิ่น ซึ่งเป็นความ ขวนขวายในการแสวงหาโอกาสเพื่อเล่าเรียนสืกษาพุทธพจน์ นับเป็นที่น่ายกย่องอนุโมทนาอย่างยิ่ง หลังจากนัน หัวหน้า หมู่บ้านก็จะเดินทางไปนิมนต์พระภิกษุจากเว'vfวนารามบ้าง เซตวนารามบ้าง บุพพารามบ้าง หรืออาราธนาพระธุดงค์ให้อยู่ ประจำที่นั่นบ้าง เพื่อให้หมู่บ้านของตนมืครูสอนค้ลธรรม อันเป็น โอกาสแห่งการบรรลุธรรมตามพระลัมมาลัมพุทธเจ้าเข้านิพพาน ไปนั่นเอง ดังนั้น หากกล่าวโดยสรุปในเรื่อง \"วัดเพื่อการสีกษา\" ก็คึอ การรวมพลังศรัทธาของ\"สามประสาน\"ในท้องถิ่นนั้นได้แก่ เศรษฐี คหบดี และกลุ่มชาวบ้านที่พร้อมใจช่วยกันสร้าง\"วัดเพื่อการดีกษา\" เพื่อทำงานเผยแผ่ทั้งในเบ้งลึกและเบ้งกวัางเป็นพลังความสามัคคี ของท้องถิ่น ล่งผลให้งานเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยพุทธกาล หยั่งรากฝังลึกในจิตใจมหาชนและแผ่ขยายขจรขจายในวงกว้างได้ อย่างรวดเร็ว ทำ ให้การตรัสรู้ของพระองค์ทรงคุณค่าอย่างยิ่ง ไม่สูญเปล่า การประดิษฐานพระพุทธศาสนาจึงเป็นปีกแผ่นมั่นคง ได้ท้นกับเวลาอายุลังขารของพระพุทธองค์นั่นเอง ด้งตัวอย่างเช่น ลัมพาฏกวันของจิตตคฤหบดี เป็นตัน วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ® ทุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ^ ๓® ^ วิวัฒนาการ การสร้างวัด www.kalyanamitra.org

อัมพาฏกวัน พุทธอารามเพี่อความatนคงของพระพุทธศาสนา ในสมัยยุคต้นพุทธกาล จิตตคฤหบดีชาวเมืองมัจฉิกาสัณฑะ แคว้น)มคธ ได้พบเห็นท่านพระมหานามะ ซึ่งเป็นหนึ่งในพระภิกษุ ปัญวัคคีย์ (กลุ่มบรรพชิตห้ารูปแรกที่ได้รับการประทานบวชใน พระพุทธศาสนาจากพระบรมศาสดาโดยตรง) กำ ลังเดินบิณฑบาต ด้วยปฏิปทาสงบเสงี่ยม อินทรีย์ผ่องใส ทำ ให้จิตตคฤหบดีเกิด ความศรัทธา ได้ขอรับบาตรจากท่าน และนิมนต์ไปฉันภัตตาหารที่ บ้านของตน เมื่อพระเถระฉันเสร็จแล้วได้เห็นอุปนิลัยแห่งการบรรลุธรรม จึงแสดงธรรมให้ฟัง หลังจบพระธรรมเทศนา จิตตคฤหบดีได้ บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน จึงปรารถนาจะถวายอุทยาน \"อัมพาฏกว้น\" หรีอสวนมะม่วงของตนให้เป็นลังฆาราม ในขณะที่ หลั่งนำมอบถวายอารามลงในมือพระเถระนั้น แผ่นดินถึงภับ สะเทือนหวั่นไหว เป็นการบอกเหตุให้รู้ว่า \"พระพุทธศาสนาได้ตั้ง มั่นแล้ว\" เพราะในยุคต้นพุทธกาลนั้น ยังขาดแคลนวัดใน พระพุทธศาสนาอยู่เป็นจำนวนมาก หลังจากนั้น จิตตคฤหบดีได้นิมนต์ให้พระเถระมารับบาตร อยู่เป็นนิตย์ จึงก่อสร้างวิหารใหญ่และที่อยู่อาศัยถวายแด่พระ ภิกษุที่เดินทางมาจากทิศทั้งปวง วิวัฒนาการ การฝ็รใงวัร) ^ ๓๒ วัดอบอุ่น(ตอนทื่ ร> ทุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

ต่อมาพระอัครสาวกทั้งสอง คือพระสารีบุตรและพระโมค คัลลานะได้ยินข่าวเรื่องการถวายอุทยานเป็นสังฆารามของท่าน จึง เดินทางมาพร้อมกับพระภิกษุอีก ๑,๐๐๐ รูป เพื่อสงเคราะห์ท่าน ด้วยเนื้อนาบุญอันยิ่งใหญ่ เมื่อจิตตคฤหบดีทราบข่าว ก็รีบออกไป ต้อนร้บตั้งแต่หนทางกึ่งโยชน์ หรีอ ๘ กิโลเมตร(๑ โยชน์เท่ากับ ๑๖ กิโลเมตร)หลังจากต้อนรับปฏิสันถารพระอัครสาวกทั้งสองแล้ว ก็นิมนต์ท่านพักในวิหาร และไต้วิงวอนขอฟังธรรม พระสารีบุตรก็ อนุเคราะห์ด้วยการเทศน์ลันๆ ไม่กี่คำ ท่านคฤหบดีก็ไต้บรรลุ ธรรมเป็นพระอนาคามี และนิมนต์พระอัครสาวกทั้งสองพร้อม ด้วยภิกษุทั้งหมด ฉันภัตตาหารที่บ้านของตนในวันรุ่งขึ้น ชื่อเสืยง ของอัมพาฏกวันก็เป็นที่รู้จักเลื่องลือในหมู่สงฆ์และชาวพุทธยิ่งขึ้น กว่าเดิม ต่อมา เมื่อจำนวนชาวพุทธเพิ่มมากขึ้นแล้ว ท่านต้องการจะ เดินทางข้ามแควันมคธไปเฝ็าพระบรมศาสดา ณวิหารเชตวัน แคว้น โกศล ปรากฏว่า ในขบวนเกวียน ๕๐๐ เล่ม ที่บรรทุกเสบียงไว้ เต็มนั้น มีพุทธบรีฟ้ฑ ๔ ใหม่ ที่ไม่เคยไต้เข้าเฝืาพระบรมศาสดา มาก่อนถึง ๓,๐๐๐ คน ได้แก่ ภิกษุ ๕๐๐ รูป ภิกษุณี ๕๐๐ รูป อุบาสก ๕๐๐ คน อุบาสิกา ๕๐๐ คน และบริวารอีก ๑,๐๐๐ คน จำ นวนพุทธบริไ?ท ๔ ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วนื้ เป็นผลมาจากการ สร้างวัดอัมพาฎกวันนั่นเอง วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ a ทุทธวธแก้ปัญVทวัดร้าง) ๓๓ ^ วิวัฒนาการ การสร้างวัค www.kalyanamitra.org

เมื่อกลับจากการเข้าเฝืาพระบรมศาสดาแล้ว ชึ่อเสิยงของ ท่านคฤหบดีก็เป็นที่เลื่องลือไปทั่วทุกแคว้น วัดอัมพาฏกวันจึง กลายเป็นศูนย์กลางการสืกษาประจำท้องถิ่นที่โด่งดัง ทำ ให้มีพระ ภิกษุจากต่างถิ่นเดินทางมาพำนักที่นั่นไม่ขาดสาย ส่งผลให้ที่นั่น ไม่เคยขาดแคลนครูสอนดีลธรรมแม้แต่วันเดียว ชาวบ้านจึงได้ฟัง ธรรมอย่างเต็มอิ่มจากพระอรหันต์ต่างถิ่นอยู่เป็นประจำสมํ่าเสมอ ส่งผลให้พระภิกษุในท้องถิ่นเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วและมีผู้ บรรลุธรรมตามมาเป็นอันมาก ต่อจากนั้นไม่นาน วัดอัมพาฏกวัน จึงกลายเป็น \"พุทธอารามเพื่อการสืกษๆของผู้คนในท้องถิ่น\" และ \"ชุมทางพระอรหันต์ที่จะเดินทางไปเข้าเฝืาพระพุทธองค์\" ที่มีชื่อ เสิยงเลื่องลือไปทั่วแผ่นดินไปโดยปริยาย ดังเช่นตัวอย่างของ \"พระอิสิท้ตตะ\" ซึ่งก่อนบวช ท่านเป็น บุตรของนายกองเกวียนอยู่ที่หมู่บ้านวัฑคาม แคว้นอวันตี ได้เป็น อทิฏฐสหาย (สหายที่ไม่เคยเห็นหนัากันมาก่อน) กับจิตตคฤหบดี หลังจากได้อ่านจดหมายพรรณนาพระพุทธคุณที่สหายส่งมาให้แล้ว ก็เกิดศรัทธาแรงกล้า ตัดสินใจออกบวชในสำนักของพระมหา กัจจายน>ะ (พระอรหันต์เถระผู้เลิศด้วยการอธิบายธรรม) ปาเพ็ญ เพียรไม่นานนัก ก็บรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ หลังจากนั้น ท่าน ต้องการไปเข้าเฝ็าพระบรมศาสดา จึงเดินทางมาที่วัดอัมพาฏกวัน ซึ่งเป็นทางผ่านไปกรุงราชคฤห์ ขณะพำนักอยู่ที่นั่น ท่านได้ตอบ ปัญหาธรรมะของจิตตคฤหบดีให้เป็นที่แจ่มชัด สร้างความพึง วิวัฒนาการ การสวัา4วัด ^ ๓๔ ^ วัตอบอุ่น(ตอนทึ่ ® พุทธวิธแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

พอใจแก่หมู่สงฆ์ยิ่งนัก หลังจากชักถามประวัติกันแล้ว เมื่อจิตต คฤหบดีได้ทราบว่าท่านคืออทิฏฐสหายที่ออกบวชเพราะได้รับ จดหมายข่าวของตน ก็ปีติอนุโมทนายิ่งนัก และได้อาราธนาให้ ท่านอยู่ประจำที่วัดนั้น พระเถระได้กล่าวอนุโมทนาต่อคำเชิญของ จิตตคฤหบดีแล้ว ก็เก็บล้มภาระส่วนตัว เดินทางมุ่งหน้าไปเข้าเฝ็า พระบรมศาสดาตามความประสงค์ต่อไป เรื่องราวไนท่านองเดียวกับพระอิสิทัตตะนี้ มีบันทึกไวัไน คัมภีร์อีกหลายรูปหลายคณะ เช่น พระอรหันต์ที่เป็นพระ เถราจารย์ประจำอยู่ที่นั่น พระอรหันต์ที่เดินทางเพียงลำพังเพื่อไป เข้าเฝึาพระบรมศาสดา พระอรหันต์ที่เดินทางไปเผยแผ่ต่างแคว้น หรือพระภิกษุผู้ปรารภความเพียร ซึ่งไม่ว่าพระอรหันต์จะเดินทาง มาพำนักที่อัมพาฏกว้นจำนวนกี่รูปก็ตาม จิตตคฤหบดีก็ท่าหน้าที่ ของอุบาสกไห้การต้อนร้บอุปัฏฐากดูแลด้วยปัจจัย ๔อย่างดีเยิ่ยม โดยไม่ขาดตกบกพร่อง อีกทั้งยังอาราธนาไห้พระอรหันต์เถระ แสดงธรรมตามที่ได้บรรลุไห้ประชาชนฟังอยู่เสมออีกด้วย ทำ ไห้ จำ นวนชาวพุทธเพื่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ด้งนั้น การคืกษาเรื่องราวของ\"วัดอัมพาฏกวัน\"นี้เอง ทำ ไห้ ได้เห็นภาพการเจริญเติบโตของพระพุทธศาสนาจากจุดหนึ่งขยาย ตัวไปล่อีกหลายๆ จุดได้อย่างชัดเจน นั่นคือ การเรื่มต้นจาก ศรัทธาของ \"จิตตคฤหบดี\" ที่มีต่อ \"พระมหานามะ\" ได้นำไปสู่ การถวายอุทยานเป็นลังฆาราม ก่อกำเนิด \"วัดเพื่อการสืกษา วัดอบอุ่น(ตอนที่ (ะ) ทุทธวธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ' ๓๕ ^ วิวัฒนาการ ทารสร้างวัด www.kalyanamitra.org

ประจำท้องถิ่น\"หลังจากนั้นได้กลายเป็น\"ศูนย์ผลิตธรรมทายาท\" ให้เกิดขึ้นกับพระพุทธศาสนา ก่อนจะกลายมาเป็น \"ชุมทางพระ อรหันต์\" ไปโดยปริยาย ด้วยสืมือการพัฒนาวัดเช่นนี้เอง พระบรมศาสดาจึงทรง ประกาศยกย่องท่านไวในฐานะของ \"อุบาสกผู้เลิศด้วยการแสดง ธรรม\" นับเป็นเกียรติประวัติสูงสุดในชีวิตของท่าน ชาวพุทธทุก แว่นแคว้น จงยึดเอาจิตตคฤหบดีเป็นบุคคลด้นแบบในการแยง ดูบุตรหลาน เพี่อช่วยกันสร้าง \"ชาวพุทธรุ่นใหม่\" ให้มีดวาม สามารถใน \"การสร้าง-บริหาร-ดูแลรักษาวัด\" ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ของตน ให้กลายเป็น \"วัดเพื่อการดีกษาอันเป็นสถานที่ชุมนุม ของพระอรหันต์ทั่วสารทิศ\" เหมีอนกับวัดอัมพาฏกวันของจิตต คฤหบดี อุบาสกผู้เลิศด้วยการแสดงธรรม นั่นเอง ต. วัดเพี่อการบรรลุธรรม วัดเพื่อการบรรลุธรรม โบราณเรียกว่า \"อรัญญวาสิ\" หรีอ \"วัดป่า\"หมายถึง วัดที่สร้างขึ้นเพี่อใช้เป็น\"สถานที่บำเพ็ญภาวนา ในป่า\" มีบรรยากาศเงียบสงบ ร่มรื่น มีสถานที่หลีกเร้นเหมาะแก่ การป่าเพ็ญภาวนาอยู่ในป่าตลอดทั้งกลางวันทั้งกลางคึน คำ ว่า \"อรัญวาสิ\" (อะ-ร้น-ยะ-วา-ลี) ในพจนานุกรมเพี่อ การดีกษาพุทธศาสตร์ฉบับ \"คำวัด\"ของ พระธรรมกิตติวงต์(ทอง ดี สุรเตโช ปธ.๙,ราชบัณฑิต)ได้ให้ความหมายไว้ว่า ววัฒนาการ การสเางวัด ^ ๓๖ ^ วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ๑ ทุทธวัธแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

อรัญวาสิ แปลว่า ผู้อยู่ในป่า ผู้อยู่ประจำในป่า อรัญวาสิ เป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่ง ซึ่งตั้งวัด อยู่ในป่าห่างชุมชน เรียกว่า คณะอรัญญวาสิ คู่กับ คณะคามวาสิ ซึ่งตั้งวัดอยู่ในชุมชน อรัญวาสิ ปัจจุบันหมายถึง ภิกษุที่พำนักอยู่ในป่าหรีอที่เรียก กันโดยทั่วไปว่า พระป่า ซึ่งมีกิจวัตรประจำเน้นหนักไปในทาง วิปัสสนาธุระคืออบรมจิตเจริญปัญญา นุ่งห่มด้วยผ้าสีปอนหรีอ สีกรัก มุ่งการปฏิบัติธรรมและการเผยแผ่เป็นหลัก ไม่เน้นงาน ด้านการบริหารปกครอง การคืกษาพระปริยัติธรรม และ สาธารณปการหรีอการก่อสร้างพัฒนาวัด รัตธุประสงค์หลักของการสรัางรัดป่า คือ ๑) เพื่อเป็นสถานที่บำเพ็ญภาวนาของพระภิกษุผู้ยังไม่ สินอาสวะกิเลส ๒) เพื่อเป็นสถานที่บำเพ็ญเพียรของพระภิกษุที่ถือ ธุดงครัดรดลอดสิวิด ฅ) เพื่อเป็นสถานที่จำพรรษาของพระอรฟ้นค์ที่เดินทาง ไปเผยแผ่ในด่างแครัน (ดินแดนที่ยังไม่มีศรัทธา บังเกิดขึ้น) ๔) เพื่อเป็นสถานที่หลีกเรันบำเพ็ญภาวนาของพระ อรฟ้นค์ผู้บริหารการคณะสงฆ์ วัดอบอุ่น(ตอนที่ ® ทุท!ทธแก้ปัญหาวัดรพ) '' ๓๗ ^ วิวัฒนาการ การสวัางวัด www.kalyanamitra.org

สำ หร้บวัตถุประสงค์ข้อที่ ๙ นั้น แม้แต่พระบรมศาสดาและ พระอรหันต์เถระในครั้งพุทธกาล ก็ยังต้องหลีกออกเร้นความจุ่น วายอยู่ในปาตามสำพังเช่นกัน ทั้งนี้เพราะงานบริหารการคณะสงฆ์ เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการประชุมและการต้อนรับแขกตลอดทั้ง วันและต่อเนื่องนับแรมเดือนแรมปี ซึ่งมักต้องเกี่ยวข้องกับการ แก!ขปัญหาความดื้อด้านเอาแต่ใจของมนุษย์ที่ยังเป็นปุถุชนอยู่ทั้ง ที่เป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์ ซึ่งมีมากมายหลายกลุ่ม การตรากตรำกรำงานโดยไม่มีเวลาพักอย่างคนทั่วไป เพราะ ต้องเร่งทำงานให้ทันกับความต้องการของส่วนรวมเป็นใหญ่ ทำ ให้ ร่างกายเกิดอาการสะสมสารพิษตกค้างโดยไม่รู้ต้ว กว่าจะรู้อีกทีก็ ล้มป่วยเลียแล้ว ซึ่งมีสาเหตุใหญ่ ๒ ประการ ได้แก่ (๑) อายุสังขารที่ร่วงโรยไปตามวัย (๒) อิริยาบถ ๔ ไม่สมดุลตลอดทั้งวัน เช่น นั่ง นอน ยืน เดินไม่สมดุล ดังนั้น การได้หลีกออกเร้นป่าเพ็ญภาวนา จะช่วยให้จิตใจมี ความบริสุทธเป็นพิเศษ ร่างกายมีความสะอาดเป็นพิเศษ ใน คัมภีร์มีบันทึกไว้ว่า เลือดของคนเราจะบริสุทธไค้ ก็ต่อเมื่อใจ บริสุทธ® เมื่อเลีอดบริสุทธ อินทรีย์ (ร่างกาย) ก็จะผ่องใส เพราะมี เวลาให้ร่างกายกำจัดสารพิษตกค้างให้หมดไปและพันใ!;เความ สดชื่นกระปรี้กระเปร่าให้กลับคืนมาอีกครั้ง สังขารก็จะยืดอายุการ ® อรัญญสูตร, สํ.ส.อ.'aar/toa-to๒/๖๗(มมร.) วิวัฒนาการ การสร้าพัด ' ๓๘ ^ วัดอบอุ่น(ตอนทิ ® พทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) www.kalyanamitra.org

ใช้งานออกไปได้อีกหลายปีการประดิษฐานพระพุทธศาสนาให้มั่นคง ก็จะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในระยะยาวมากยิ่งขึ้น การสร้างวัดปา มักนิยมสร้างเป็นกุฏิที่พักขนาดเล็ก พอใช้ กันแดดกันลมกันฝนอยู่จำพรรษาได้ ตั้งอยู่ในปาใกล้เชิงเขา บาง แห่งก็สร้างถวายเป็นวิหารที่พักไวในปาใหญ่ บางแห่งไม่มีการ สร้างอาคาร แต่อาด้ยอยู่ในถํ้า ชอกเขา เงื้อมเขาแทนกุฏิหรือวิหาร ในสมัยพุทธกาลนั้น บุคคลที่สร้างวัดปาส่วนใหญ่ได้แก่ \"ฟ้วหน้าหมู่บ้าน\" หรือ \"ชาวบ้านที่มีศรัทธา\" ถ้าเป็นหัวหน้า หมู่บ้านก็จะใช้กำลังทรัพย์และกำลังบริวารของตัวเอง เป็น เรี่ยวแรงในการสร้างวิหารไวัในปา จากนั้นก็จะนำปัจจัย ๔ ไป ถวายอุปัฏฐากพระภิกษุถึงที่วัดตลอดทั้งพรรษา แต่ถ้าเป็นชาว บ้านก็จะอาศัยกำลังของตัวเองเพียงลำพังในการสร้างกุฏิที่พักไว้ ในปา จากนั้นจะนิมนต์ให้มารับบิณฑบาตที่บ้านในเวลาเช้า บาง คนก็นิมนต์พระภิกษุให้ฉันที่บ้าน บางคนก็ใส่บาตรให้พระภิกษุนำ กลับไปฉันที่วัด หลังจากพระภิกษุฉันเสร็จแล้ว ก็จะนั่งปาเพ็ญ ภาวนาในที่หลีกเร้น ตลอดทั้งกลางวันและกลางคืน บรรยากาศใน วัดปาจึงไม่มีการประชุมรวมคนในหมู่บ้านเพื่อทำบุญและฟ้งธรรม มีแต่บรรยากาศของการปาเพ็ญภาวนาอย่างเงียบสงบตลอดวัน เพราะพระภิกษุต้องการใช้วันเวลาในวัดปาตลอดทั้งพรรษาให้หมด ไปกับการกำจัดอาสวะกิเลสภายในให้หมดสินไปอย่างรวดเร็วที่สุด ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์ของการมาจำพรรษาอยู่ในปานั่นเอง วัครบอุ่น(ตอนทึ่ ๑ พุทธวิธีแก้ปัญหาวัดร้าง) ^ ๓«' ^ วิวัฒนาการ การสร้างวัค www.kalyanamitra.org

วัดป่ามาติกคาม สังฆารามเพี่อการบรรลุอรหัตผล พระภิกชุ ๖๐ รูป หลังจากเรียนกรรมฐานจากสำนักของ พระบรมศาสดาแล้ว ก็พากันตระหนักว่า การจะติดตามรอยบาท ของพระบรมศาสดาได้นั้น มิสามารถกระทำได้ด้วยการเดินตาม พระพุทธองค์ไปทุกที่ทุกสถาน แต่จะติดตามไปได้ด้วยการ ปาเพ็ญภาวนาจนกระทั่งบรรลุเป็นพระอรหันต์ จึงตัดสินใจเดิน ทางไปแสวงหาวัดปาในชนบทเพื่อจำพรรษา (การปาเพ็ญเพียรใน ปาตามสำพัง พระบรมศาสดาจะทรงอนุญาตใหไปได้ ก็ต่อเมื่อ ภิกษุรูปนั้นได้บรรลุปฐมฌานเป็นอย่างน้อย®) ในบริเวณปาใกล้เชิงเขาของแควันโกศลนั้น มีหมู่บ้านชื่อ มาติกคาม เมื่อพระภิกษุทั้ง ๖๐ รูป เดินทางไปถึงที่นั่น มหา อุบาสิกาชื่อว่า \"มาติกามาตา\" ผู้เป็นมารดาของหัวหน้าหมู่บ้านนั้น เห็นหมู่สงฆ์แล้วเกิดศรัทธาเปียมล้น ได้กล่าวอาราธนาให้คณะ สงฆ์อยู่จำพรรษาที่นั่น และประกาศตนเป็นพุทธมามกะ ยินดีรับ พระรัตนตรัยเป็นสรณะ รับดีล ๕ ในวันธรรมดา ร้บดีล ๘ ในวัน อุโบสถดีล และดูแลอุปัฏฐากด้วยปัจจัย ๔ พร้อมกับชาวบ้าน ตลอดพรรษา อุปาลสูตร, องฺ.ทสก. ๓๙/®'®'/๓๓๐(มมร.) วิวัฒนาการ การสเาพัต ^ ๔๐ '^ วัดอบอุ่น(ตอนทึ่ ๑ ทุทธวิธแก้ปัญหาวัด'ร้าง) www.kalyanamitra.org