Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อะไรนะ

อะไรนะ

Description: อะไรนะ

Search

Read the Text Version

เดยี วแสดงอาการว่า ไมค่ ่อยชอบเรา เราก็ทกุ ขใ์ จ ไม่พอใจ นั่น ไมใ่ ช่เพราะการกระทำ�ของเขา แต่ทุกขเ์ พราะความตอ้ งการของ เราเอง ฉะนั้นท่พี ยายามพูดวา่ เรื่องการปฏบิ ัตธิ รรมนี่ เป็นอันหน่ึง อนั เดยี วกัน ในทกุ ๆ แงม่ มุ ของชวี ิต กค็ อื เร่ืองสตปิ ัฏฐานนั่นเอง ให้ สงั เกตความร้สู ึกในรา่ งกาย สงั เกตอารมณ์ ความตอ้ งการ ความ คิด แลว้ รับผดิ ชอบสิ่งเหลา่ น้นั เห็นมันเกิดมนั ดับตามความเป็น จรงิ ของมัน “ฉนั รูส้ ึกวา่ .....” หมายถึง “ฉนั คิดว่า........” การใช้คำ�ว่า “ฉันรู้สึกว่า.....” เป็นการใช้คำ�ว่า “รู้สึก” ที่ ไม่ถูกต้องตามหลักภาษา อาตมาสันนิษฐานว่า มีการใช้ภาษา ไทยไม่ถูกหลักในหลายๆ กรณี ซึ่งอาจจะเป็นอิทธิพลจากภาษา อังกฤษ ทำ�ให้เกิดความวิบัติของภาษาไทย  มีการใช้คำ�ทับศัพท์ มากเกินไป เอาค�ำ นนั้ คำ�นีม้ าใช้ และใชไ้ ม่คอ่ ยจะถูกตอ้ ง นเี่ รยี กว่า ชยสาโร ภกิ ขุ 45​

วิบัติแบบหยาบ แต่ที่น่ากลัวกว่านั้น คือผู้ที่ไปเรียนต่างประเทศ หรือแปลภาษาต่างประเทศ  คิดเป็นภาษาต่างประเทศ  แล้ว แปลโดยพยายามดึงหลักภาษาไทยมาเข้ากับหลักภาษาอังกฤษ มากเกินไป ยกตัวอยา่ ง คำ�วา่ “ความร้สู ึก” ความรสู้ ึกเปน็ อารมณ์ แต่ เรามกั จะใช้ เชน่ “ฉนั รู้สกึ วา่ เขาเป็นคนไม่ด”ี เมอื่ เติมค�ำ ว่า “วา่ ” หลังค�ำ ว่า “รสู้ กึ ” มนั ก็ไม่ถูกหลกั ภาษาแลว้ .....ฉันรสู้ ึกว่าน่ัน ร้สู ึก วา่ นี่ ....หมายถงึ ว่าเราคดิ ใช่ไหม เราเหน็ วา่ เราคดิ วา่ แตเ่ ราเอา ความคดิ กบั ความรู้สกึ มาปนเปท�ำ ใหส้ ับสน “ฉนั ร้สู กึ วา่ .....” มัน ไม่ใช่เร่อื งความรู้สึก มันเป็นเรือ่ งความคดิ เหน็ ความสับสนปนเปในเรื่องน้ีเกิดขึ้นตลอดเวลาในภาษา องั กฤษ เพราะอารยธรรมตะวันตกไมเ่ ข้าใจเรือ่ งระหว่างกายกบั ใจ การนำ�ความคิดผิดของอารยธรรมตะวันตกมาใช้ในภาษาไทยซ่ึง ต้ังอยูบ่ นฐานแหง่ สัมมาทฐิ ิ เรียกวา่ เอาภาษาทีเ่ กิดจากมิจฉาทิฐิ มาผสมปนเปกบั ภาษาท่ีเกิดจากสัมมาทฐิ ิ แล้วก็เลยกลายเปน็ คน 46​ อะไรนะ ?

มจิ ฉาทิฐไิ ปโดยไม่รูต้ วั ภาษาเป็นเรอ่ื งละเอยี ด คนเรารสู้ กึ อยา่ งไร เรารู้สกึ ทุกข์ ร้สู กึ สุข รู้สึกเศรา้ รู้สกึ เบ่อื แตไ่ ม่รสู้ ึกว่า เพราะฉะนั้น ใหเ้ อาเป็นเครอ่ื งระลกึ ของสติ ทุกคร้งั ท่พี ูดวา่ “ฉนั ร้สู ึกวา่ ....” ให้ สงั เกตตวั เองวา่ เราไม่ถอื ว่าเราคดิ ใชไ่ หม ไมพ่ ดู ..... แตก่ ็พูด ในการพูดการคุยจะมีอะไรๆ  ให้เราดูมากมาย  และการ ปฏิบัติต้องอยู่ตรงนี้ด้วย  เมื่อใครพูดอะไรในขณะที่เรากำ�ลังมี อารมณ์ หรอื จากค�ำ พูดของเขา เรารูส้ ึกนอ้ ยใจ โกรธ ไมพ่ อใจ หรอื อจิ ฉา เราคิดวา่ เราจะไม่พดู ดกี วา่ เราจะเกบ็ อารมณไ์ มใ่ หเ้ ขา ทราบ แต่เมอื่ เราพดู ตอ่ อารมณท์ เ่ี กิดขนึ้ จะร่วั เข้าไปในคำ�พดู บาง ค�ำ โดยท่เี ราไมต่ ัง้ ใจ และสว่ นมากมันจะรวั่ ออกมาทางการกระท�ำ ด้วย อย่างที่ภาษาอังกฤษใช้ค�ำ วา่ Body Language ในการสอ่ื สารทางการพูดน้ัน เนอื้ หาคำ�พูดก็ส่วนหนง่ึ อารมณ์ท่แี สดงออกทางนำ้�เสยี ง และทางกิรยิ าของกายกอ็ กี ชยสาโร ภิกขุ 47​

ส่วนหนึ่ง โดยเราได้ส่อื ขอ้ มลู ออกไปด้วยกริ ยิ าอาการตา่ งๆ ซง่ึ อาจมผี ลต่อผูฟ้ ังมากกวา่ เนือ้ หาการพดู ของเรา ถา้ เราขาดสติ ไม่เคยฝกึ สตกิ บั กาย กับความรูส้ กึ ของกาย ไม่เคยฝกึ สติกบั อารมณ์ เราจะรู้ได้เฉพาะเนือ้ หา แล้วเรากจ็ ะย�ำ้ ว่า เราพดู เรื่องนๆ้ี แตผ่ ู้ฟังเขาไมไ่ ดฟ้ ังเน้อื หาอยา่ งเดยี ว เขาสัมผสั อารมณ์ของเราด้วย  ถ้าพูดเร่ืองที่มีเหตุผล  แต่มีการแสดงออก ทางกายโดยไมร่ ู้ตวั ความร้สู กึ ของผู้ฟงั กจ็ ะเปน็ แบบหน่งึ เราเคย ฝึกสตสิ ัมปชญั ญะในชวี ติ ประจ�ำ วัน เคยสังเกตตัวเองไหม สงั เกต อาการของรา่ งกาย วางขาอยา่ งไร วางแขนอยา่ งไร รา่ งกายมันมี กริ ิยาอย่างไร เพราะเราส่งสญั ญาณให้คนรอบข้างอยู่ตลอดเวลา ไมใ่ ช่วา่ ไม่พูดนไี่ มส่ ่งสัญญาณนะ การส่ือสารจะมปี ัญหา เพราะคนเราไมร่ ้เู ท่าทันกเิ ลส และอารมณ์ของตวั เอง เช่น บางคนน้อยใจแตท่ �ำ เหมอื นไม่ นอ้ ยใจ ขอให้ขอ้ สงั เกตว่า ถา้ เรามอี ุดมการณ์วา่ คนดเี ป็นอย่างไร เม่ือมีส่ิงท่ีไม่ดีเกิดข้ึนในจิตใจ  บางคร้ังเราก็จะไม่ยอมรับและทำ� 48​ อะไรนะ ?

เหมอื นกบั วา่ ไมม่ ี ทไ่ี ม่มกี ็เพราะมันไม่ควรจะมี คนดไี มเ่ ปน็ แบบน้ี เพราะฉะน้นั สิ่งไม่ดีนัน้ เป็นไปไมไ่ ด้สำ�หรบั เรา เพราะเราเป็นคน ดี นเี่ ป็นเหตผุ ลของจิตใจ เคยสงั เกตไหมว่า บางคร้ังเราก�ำ ลงั โกรธ แตไ่ มย่ อมรับวา่ ตัวเองโกรธ เพราะสมองบอกวา่ ไม่มเี หตุผลทจี่ ะ โกรธ ในขณะทีค่ นรอบข้าง เขาก็รับร้กู นั ทวั่ ว่าเรากำ�ลงั โกรธ ฉะนัน้ เราจงึ ตอ้ งมีสติรู้ตัวอยู่ในปจั จุบัน รูก้ าย รูอ้ าการ รกู้ ริ ยิ าของกาย รู้ เวทนา ร้เู ท่าทันอารมณ์ตา่ งๆ ทเ่ี กิดขึ้นในใจตัวเอง ฟงั ให้ได้ยิน ในการพูด  เราต้องมีสติในการพูด  และมีสติในการฟัง เพราะการฟงั และการพดู เป็นของคู่กนั การฟงั เปน็ คณุ ธรรมอย่าง หน่ึง คำ�ว่า สาวก ...สา-วะ-กะ... คือ Hearer ผทู้ ี่ไดย้ ินค�ำ สอน บางคนฟังแตไ่ มไ่ ดย้ นิ ใช่ไหม พระสาวกคอื ผู้ทฟ่ี ังแลว้ ได้ยนิ มัน ถงึ ใจ มันจงึ จะเข้าใจ คนทห่ี มกมุ่นแต่เร่อื งตวั เอง จะฟงั คนอ่ืนไม่ ค่อยเปน็ บางทีฟงั ยังไมท่ ันจบก็พูดแทรกแล้ว คนท่ีคุยด้วยเขาก็ ชยสาโร ภกิ ขุ 49​

นอ้ ยใจว่า ไม่เขา้ ใจเขา ค�ำ แนะนำ�ก็ใหไ้ มถ่ กู เพราะเพ่ิงฟงั ไปแค่ ครึ่งเดียว ยงั ฟงั ไม่หมด ให้พยายามเป็นผู้ที่รู้จักฟังคนอื่น  โดยไม่ต้องเอา เรอื่ งตวั เองไปแทรก ไมต่ อ้ งไปส่ังสอนอะไรมาก ไมต่ ้องไปพูด อะไรมาก เอาความคดิ สัญญา อคติ อะไรตอ่ อะไรของเราวาง ไว้ชั่วคราว เม่อื ฟังคนๆ น้ี กใ็ หเ้ หมือนกบั วา่ ในโลกน้มี ีแตค่ นนี้ คนเดียว อยใู่ นปัจจุบนั กบั คนน้ี กบั ปญั หาของคนนี้ กับเรอ่ื งของ คนนี้ น่ีกเ็ ป็นตวั อยา่ งที่ดที เี่ ราใชค้ วามสามารถจากการท�ำ สมาธิให้ เป็นประโยชน์ในชีวิตประจำ�วัน  สามารถตัดโลกภายนอกออกไป ทงั้ หมดและกำ�หนดเฉพาะเรื่องนี้ หรอื เฉพาะคนนี้ เหมือนกบั ว่า คนน้ีเปน็ คนทีส่ �ำ คัญท่ีสดุ ในโลกในปัจจุบันขณะน้ี ต้ังใจรับฟงั โดย วางความคิดว่าชอบเขาไม่ชอบเขา  ไว้ใจไม่ไว้ใจเขา  หรือสัญญา เรอ่ื งเก่าๆ ไว้กอ่ น เพอื่ ต้ังใจฟังสิ่งที่เขาพูด อย่างน้จี งึ จะเป็นผูฟ้ งั ท่ดี ี 50​ อะไรนะ ?

ไม่ว่าใครจะมาทางไหน.....  การพูดดีของเราต้อง มน่ั คงเสมอ พระพุทธองคต์ รัสไวว้ ่า ไม่วา่ ใครจะมาทางไหน การพูดดี ของเราต้องมนั่ คงในหลักการ มั่นคงในความหวงั ดตี อ่ เขา ทรงสอน เร่ืองความม่ันคงความแน่วแน่ของจิตใจของนักปฏิบัติในเร่ืองการ รบั ฟังค�ำ พูดของคนอืน่ ไวด้ ีมาก ทรงเปรียบเทียบเหมือนคนเกลยี ด แผ่นดนิ เอาจอบเอาอะไรมาขุดแผน่ ดนิ จะไมใ่ ห้เปน็ แผ่นดิน ถ่ม น้ำ�ลายและปัสสาวะรด  ขออย่าให้เป็นแผ่นดิน  ถามว่าจะเป็นไป ได้ไหม คนท�ำ แผ่นดินไมใ่ ห้เป็นแผน่ ดิน ท�ำ ไม่ได้ หรอื เหมือนกบั คนที่ตั้งอยู่ในเมตตา  เขาจะพูดเรื่องจริงเรื่องไม่จริงก็ตาม  พูดถูก กาลเทศะไม่ถูกกาลเทศะก็ตาม  พูดอ่อนโยนพูดหยาบคายก็ตาม พูดสิ่งที่เป็นประโยชน์ไม่เป็นประโยชน์ก็ตาม  หวังดีต่อเราหรือไม่ หวังดีต่อเรา  เราก็เป็นแผ่นดิน  เขาก็ไม่สามารถทำ�แผ่นดินไม่ให้ เปน็ แผ่นดนิ ไม่สามารถท�ำ ให้จิตใจของเราแปรปรวนใหเ้ ปน็ บาป เปน็ อกศุ ลได้ ชยสาโร ภิกขุ 51​

หรืออาจเปรียบเทียบกับคนวาดรูปในอากาศ  มีดินสอ  มี ปากกา มพี กู่ นั มสี แี ดงสเี ขยี ว เขาจะวาดรปู ในอากาศไดไ้ หม แม้ เขาจะเป็นจิตรกรท่ีเก่งกาจขนาดไหน  มีอุปกรณ์ดีวิเศษ  เขาก็ไม่ สามารถวาดได้ เพราะอากาศไมม่ รี ปู รา่ ง ไมม่ อี ะไรรองรบั สขี องเขา พระพุทธองค์ทรงสอนให้นึกว่าตัวเราเป็นเหมือนอากาศ  เขาจะ พยายามเขยี นสอี ะไร เขากเ็ ขยี นไมไ่ ด้ คดิ ไดอ้ ยา่ งนม้ี นั กจ็ ะดมี าก บางคนอาจจะเคยดูหนังผีฝรั่ง  นึกถึงพระเอกหรือนางเอก น่งั อยใู่ นปราสาท มีผีเขา้ มาในหอ้ ง เขาก็หยิบปนื ยงิ ปัง ปงั ปัง ปัง ผกี ็ไมส่ นใจ ปัง ปัง ปงั กระสุนทะลอุ อกไปเลย เวลาคนพูดหยาบ คายใส่ร้ายเรา ให้เราทำ�เหมือนเราเป็นผฝี รั่ง ไม่รู้สึกอะไร เพราะ ว่าตัวเราไม่มีอะไร ไม่มรี ูปร่าง ไม่มีท่ีรองรบั ค�ำ พูดไมด่ ีเหลา่ นน้ั หรือเหมือนคนถือคบหญ้าท่ีจุดไฟไว้  ต้องการจะเผาแม่นำ้� คงคาหรือแม่นำ�้ เจ้าพระยาใหห้ มด มันกท็ �ำ ไมไ่ ด้ เพราะมันเป็นส่ิง ท่เี ป็นไปไมไ่ ด้ ขอให้เราทำ�ตวั เปน็ นำ�้ เป็นแม่นำ�้ ท่ยี ิ่งใหญ่ ใครจะ เอาความร้อนเอาอะไรมาใส่ กไ็ มม่ คี วามหมายอะไร เพราะแมน่ ้ำ� 52​ อะไรนะ ?

ของเรากว้างใหญ่ ท้งั เย็นท้งั ลึก พระพทุ ธองคท์ รงสอนใหเ้ ราท�ำ ใจ ให้เปน็ เช่นน้ี ทรงตรัสกบั พระวา่ ... ถา้ มโี จรผรู้ ้ายมาจบั เอาเลือ่ ยมา เลอ่ื ยแขนเลอ่ื ยขา ถา้ พระรสู้ กึ โกรธ เรียกวา่ ยงั ไมเ่ ป็นลกู ศิษยท์ ี่ดี ไม่เป็นสาวกที่ดี ไม่ท�ำ ตามคำ�ส่งั สอนของพระพุทธเจ้า ตอ้ งเมตตา ถึงขนาดนั้น  ลองนึกภาพเขากำ�ลังเล่ือยขาเลื่อยแขนเรา  แล้วเรา เกดิ สงสารเขา กลัวมอื เขาจะพอง อย่างนเี้ รยี กว่าใช้ได้ สอบผ่าน คนมากวนประสาท ... คอื อาจารยข์ องเรา พระพุทธองค์ทรงสอนเรื่องการทำ�ใจให้เป็นกลาง  ถ้าไม่มี สิ่งใดมาทำ�ให้กระทบกระเทือน  ก็คงทำ�ใจให้เป็นกลางได้ไม่ยาก พระบางรปู มีคนเคารพนับถือ มลี กู ศิษย์ลูกหามาก มีแต่คนเอาใจ ทรงว่ายังรับรองไม่ได้ว่าเป็นผู้มีจิตใจที่สงบเสงี่ยม  เร่ืองน้ีจะรู้ ไดใ้ นเวลาที่มีใครโกรธ ใสร่ า้ ย หรอื พูดหยาบคายใส่ จะร้วู า่ ทา่ น สงบเสงี่ยมจริงหรือไม่  พระพุทธองค์ทรงเล่าถึงอุบาสิกาในเมือง สาวัตถี  ชื่อ  เวเทยิกา  เป็นผู้มีชื่อเสียงมากว่าเป็นคนสงบเสง่ียม ใจเยน็ อ่อนโยน ไม่โกรธใคร เวเทยกิ ามีนางทาสชี ่อื กาลี กาลีคงจะ ชยสาโร ภิกขุ 53​

อิจฉาที่เห็นเวเทยิกาไปไหนก็มีแต่คนชม  เกิดความสงสัยว่าเจ้า นายใจดีเพราะนางทำ�งานรับใช้เอาใจดีทุกอย่าง  เจ้านายจึงไม่มี เหตทุ ่ีจะต้องโกรธ นางจงึ ต้องการทดสอบ วันรุ่งข้ึน  นางทาสีกาลีแกล้งต่ืนสาย  นางเวเทยิกาไม่ค่อย พอใจ ไปเคาะประตวู า่ เป็นอะไรหรอื เปล่า ท�ำ ไมจงึ ต่ืนสาย นาง ทาสีว่าไม่เป็นอะไรเจ้าค่ะ  เพียงแค่น้ีนางเวเทยิกาก็โกรธแล้ว นางกาลีคิดวา่ อาจจะโกรธแคค่ ร้ังน้ี ตอ้ งใหโ้ อกาสอกี ครง้ั แต่ก็ดู เหมือนกบั วา่ ทวี่ ่าไม่เคยโกรธนน้ั เพยี งเพราะว่าทกุ คนเอาใจ วันท่ี ๒ วนั ท่ี ๓ นางจึงแกล้งตนื่ สายเช่นเคย บัดนี้นางเวเทยกิ ารบั ไมไ่ หว แล้ว โกรธมาก พดู หยาบคายด่าวา่ แถมยังควา้ ลมิ่ ประตไู ปตศี รี ษะ ของนางทาสีด้วย  นางทาสีกาลีจึงวิ่งเข้าไปในตลาด  เลือดไหล จากศรี ษะ ร้องว่า “มาดูเถิดๆ การกระท�ำ ของแมเ่ รือนเวเทยิกาผู้ สงบเสงยี่ ม มาดกู ารกระทำ�ของผสู้ งบเสง่ยี มเถิด” นางเวเทยิกาจงึ เสียช่ือเสียงมากวา่ ไมใ่ ช่ผู้สงบจรงิ หากแต่เคยสงบได้เพราะไม่มี ส่งิ ใดมารบกวน ไมม่ สี ิ่งใดมาทำ�ใหจ้ ติ ระคายเคอื งหรอื ทำ�ใหข้ ัดใจ 54​ อะไรนะ ?

ฉะน้ันให้เราถือคติธรรมว่า  อย่ารังเกียจคนที่มากวน ประสาทเรา  ต้องถือว่าเขาเป็นอาจารย ์ มีบุญคุณต่อเรา  เพราะ ถ้าไม่มคี นอย่างนี้ เราอาจจะหลอกตัวเองวา่ สงบแลว้ ไม่โกรธใคร แลว้ นั่งสมาธมิ านาน ร้สู ึกไมค่ ่อยจะโกรธใคร ตอนน้อี ะไรๆ กไ็ ด้ แตถ่ ้ามใี ครมาพูดกวนประสาท แล้วเราเริ่มจะมีความรสู้ กึ ใหค้ ดิ วา่ .....อมื ...ด.ี .. เขามาชข้ี มุ ทรัพย์ใหเ้ ราเห็น ถา้ ไมม่ คี นแบบน้ี เรา อาจจะหลอกตวั เองวา่ เป็นพระอริยเจา้ แลว้ กไ็ ด้ ค�ำ พูดที่ล้�ำ ค่า เมื่อครัง้ ทไี่ ปเกบ็ ขอ้ มูลท�ำ หนังสอื อปุ ลมณี ซึง่ ต้องใชเ้ วลา ๕ ถึง ๖ ปี สัมภาษณพ์ ระเณรญาติโยมมากมาย อัดเทปเปน็ ร้อยๆ ม้วน อาตมาจะถามเกอื บทกุ คนถึงคำ�สอนทีน่ ่าประทบั ใจ ของหลวงพอ่ ชา แตค่ ำ�ตอบทไ่ี ดร้ บั นา่ ผิดหวังเกือบทกุ ครัง้ เพราะ เปน็ เร่อื งธรรมดามาก เชน่ เป็นทกุ ข์มากเพราะเมยี ตาย หลวงพ่อ ท่านบอกให้อดทนนะ...มันไม่เที่ยงนะ...เพียงเท่านี้เขาก็ปล่อยวาง ได้ทุกส่งิ ทกุ อยา่ ง เพราะคำ�พูดธรรมดาๆ ของหลวงพ่อ ซง่ึ แต่ละ ชยสาโร ภกิ ขุ 55​

คำ�ทอี่ อกจากปากทา่ น เหมอื นเพชรพลอยอนั ล้�ำ คา่ ที่เปน็ เช่นนั้น เพราะทา่ นพดู แตค่ วามจรงิ และพูดแต่สงิ่ ที่เกดิ จากเจตนาบรสิ ทุ ธ์ิ มีความหวังดี  ความเมตตากรุณา  และเพราะท่านมีพลังจิตสูง ค�ำ พูดของท่านจงึ มีนำ้�หนกั ถงึ ใจคนจริงๆ นี่เป็นอานิสงสข์ องผฝู้ กึ สัมมาวาจามาหลายสบิ ปี เมอ่ื ทา่ นพูดอะไร คนกพ็ ร้อมจะรับฟงั คำ�พูดของท่านสามารถทำ�ให้ชีวิตคนเปลี่ยนได้  เปลี่ยนเป็นคนละ คน เพราะคำ�พูดของผทู้ ่มี จี ติ ใจสูงเช่นนี้ เราก็ทราบว่าในสมัยพุทธกาลมีชาวบ้านจำ�นวนมากท่ีได้ บรรลุธรรม  เพียงจากการฟังโอวาทของพระพุทธองค์ก็ทำ�ให้ สามารถปลอ่ ยวางความคดิ ผดิ ทัง้ หมดได้ ถา้ เราต้องการมีชีวิตทสี่ ร้างสรรค์ สร้างประโยชน์และ ความสุขแก่ตนเอง แกค่ นรอบขา้ ง และแกส่ ังคมใหม้ ากทีส่ ดุ ส่ือทส่ี ำ�คญั ทส่ี ุดทเี่ ราตอ้ งใช้ก็คอื การพดู นนั่ เอง ท่ีอาตมาพูดภาษาไทยได้ด ี เพราะคิดตั้งแต่บวชใหม่ๆ  ว่า เราเป็นพระผู้อยู่ได้ด้วยน้ำ�ใจชาวบ้าน  ประพฤติปฏิบัติธรรมได้ 56​ อะไรนะ ?

เพราะชาวบ้าน  ต่อไปในอนาคตจะต้องหาทางตอบแทนบุญคุณ พระจะตอบแทนพระคณุ ไดอ้ ยา่ งไรถา้ ไมใ่ ชป้ าก ถา้ พดู ภาษาไทยได้ คงจะชว่ ยคนไดม้ าก ถา้ พูดภาษาไทยไม่ได้ หรือพดู ไมเ่ กง่ ก็จะชว่ ย คนไดน้ ้อย นนั่ คอื ความตง้ั ใจ อาตมาจึงมฉี ันทะความพอใจและมี ก�ำ ลังใจในการเรยี นภาษาไทย เพราะมีเปา้ หมายชัดเจน ไม่ใช่เรยี น เพอ่ื จะเปน็ คนเกง่ ทางภาษาอยา่ งเดยี ว แตเ่ พอ่ื จะไดส้ รา้ งประโยชน์ แกญ่ าตโิ ยมใหม้ าก พระพุทธองค์ทรงให้ความสำ�คัญกับคุณภาพชีวิต  ซ่ึงก็คือ คณุ ภาพการกระทำ� คุณภาพการพูด คณุ ภาพความคดิ และความ รู้สึกต่างๆ  ขอให้เราทำ�การศึกษาเร่ืองวาจา  และถือว่าข้อวัตร ปฏิบตั ิในเรือ่ งสัมมาวาจา วาจาสุภาษติ เปน็ เร่อื งทา้ ทาย ไม่วา่ จะ อยใู่ นวัด รว่ มกับผปู้ ฏิบัตธิ รรมดว้ ยกัน อยู่กับครอบครวั ญาตมิ ิตร ที่บ้าน หรอื อยกู่ บั เพอื่ นร่วมงานในทีท่ �ำ งาน ให้ถอื ว่าการสื่อสาร ด้วยการพูดเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติโดยตรง  ไม่ใช่ส่ิงที่ จะทำ�ให้การปฏิบัติของเราไม่ก้าวหน้า  หากเป็นส่วนหน่ึงที่ ส�ำ คญั ของการปฏบิ ตั เิ ลยทเี ดียว. ชยสาโร ภิกขุ 57​

ชยสาโร ภิกขุ นา​ ม​ ​เด​ ิม​ ฌอน​ ​ชเิ ว​ อรต์​ นั​ (​S​ha​un Ch​ i​​vert​on)​ พ​ .ศ.​๒๕๐​ ๑​​ ​เกดิ​ ​ทป่​ี ระ​ เ​​ทศอังก​ฤษ พ.ศ​.​​๒๕๒๑​ ​ ได​ พ้ บก​ ับ​พร​ ะอาจา​รยส์ เุ ​มโ​ธ (พระราชสเุ มธาจารย์ วดั อมราวดี ประเทศองั กฤษ) ท่ีวหิ ารแฮมสเตด ประเทศอังกฤษ ถือเพศเปน็ อนาคารกิ (ปะขาว) อยกู่ ับพระอาจารยส์ เุ มโธ ๑ พรรษา แล้วเดินทางมายังประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ บรรพชาเปน็ สามเณร ที่วดั หนองปา่ พง ​จงั หวดั อุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๒๓ อปุ สมบทเป็นพระภกิ ษุ ทวี่ ดั หนองป่าพง โดยมี พระโพธิญาณเถร (หลวงพอ่ ชา สุภัทโท) เป็นพระอปุ ัชฌาย์ พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๔ รกั ษาการเจา้ อาวาส วัดป่านานาชาติ จงั หวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ปจั จุบนั พำ�นัก ณ สถานพำ�นักสงฆ์ จังหวดั นครราชสมี า

มลู นิธิ​ปัญญา​ประทปี คว​ า​ ม​ เ​ป็นม​ ​า​ ​ มลู ​นิธปิ ​ัญญา​ประที​ป จั​ดต​้ังโด​ยค​ณะผ​ู้บร​หิ ารโ​รงเ​รยี นทอส​ี ด้วยควา​มร่ว​ม​ม​ือ​ จากคณะค​รู ผู้​ปกค​รอ​งแล​ะญาต​ิโย​มซึ่งเ​ป็น​ลูกศ​ิษย์​พระอาจา​รย์ช​ย​สาโ​ร ก​ระทรวง​ มหาด​ไทยอน​ุญา​ตให​้จดทะ​เบี​ยนเ​ป็นน​ิติบุ​คค​ล​อ​ย่​า​งเป็นทางการ ​เลขที่​ทะ​เบียน ​กท. ๑๔๐๕ ตงั้​ แตว่ นั ​ท่ี ๑ เ​​มษาย​ น ๒​ ๕๕๑ ​วตั ถปุ ระส​ งค​์ ๑) สนับส​นุน​การพัฒ​นาสถา​บัน​การศ​ึกษาวิ​ถีพุทธที่​ม​ีระบบ​ไ​ต​รส​ิกขา​ของ พระพทุ ธศาส​ นาเปน็ ห​ ลัก ​ ​๒) เผ​ยแผ่หลัก​ ธรรมค​ ำ�สอ​ นผ​่านการจัดการฝึก​อบรมและปฏบิ ตั ธิ รรม และการ เผยแผ่สือ่ ธรรมะรูปแบบตา่ งๆ โดยแจกเปน็ ธรรมทาน ๓) เพ่ิมพูนความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการพัฒนาที่ย่ังยืน และส่งเสริมการด�ำ เนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๔) รว่ มมอื กบั องคก์ รการกศุ ลอน่ื ๆ เพอ่ื ด�ำ เนนิ กจิ การทเ่ี ปน็ สาธารณประโยชน์ ​

​คณะ​ท่ี​ปรึกษา​ ​ พระอาจารย์ชยสาโรเป็นองค์ประธานที่ปรึกษา โดยมีคณะที่ปรึกษาเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ อาทิ ด้านนิเวศวิทยา พลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์สุขภาพ การเงิน กฎหมาย การสื่อสาร การละคร ดนตรี วัฒนธรรม ศิลปกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คณะกรรมการบรหิ าร มูลนิธิฯ ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์นายแพทย์ปรีดา ทัศนประดิษฐ เปน็ ประธานคณะกรรมการบรหิ าร และมคี ณุ บบุ ผาสวสั ด์ิ รชั ชตาตะนนั ท์ ผอู้ �ำ นวยการ โรงเรยี นทอสีเป็น เลขาธกิ ารฯ ก​ ารด​ ำ�เนนิ ก​ าร​ ​ ​•​ มลู นธิ ฯิ เปน็ ผจู้ ดั ตง้ั โรงเรยี นมธั ยมปญั ญาประทปี ในรปู แบบโรงเรยี นบม่ เพาะ ชวี ิตเพ่ือดำ�เนนิ กิจกรรมตา่ งๆ ด้านการศกึ ษาวิถีพุทธ ให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของมูลนิธิฯ ขา้ งตน้ โรงเรยี นน้ีตง้ั อยทู่ ่ี บา้ นหนองน้อย อำ�เภอปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสมี า ​ ​• ​ มูลนธิ ฯิ รว่ มมือกับโรงเรียนทอสี ในการผลิตและเผยแผส่ ่อื ธรรมะ แจกเปน็ ธรรมทาน โดยในส่วนของโรงเรียนทอสีฯ ได้ด�ำ เนินการต่อเนอื่ งตง้ั แต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕



พมิ พแ์ จกเปน็ ธรรมทาน www.thawsischool.com, www.panyaprateep.org ชยสาโร ิภก ุข


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook