Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore aนิทานธรรมชาติ

aนิทานธรรมชาติ

Description: aนิทานธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

คู่มือสิง่ แวดลอ้ มศกึ ษา ธ“นทิ ชานรรม าต:ิ คเสลบื ่าต่อกวนั าไมปร”ู้



คู่มือสิง่ แวดลอ้ มศกึ ษา ธ“นทิ ชานรรม าต:ิ คเสลบื ่าต่อกวนั าไมปร”ู้

สารบัญ ๔ ๖ คำ� นำ� ๑๕ บทท่ี ๑ บทน�ำ ๒๑ บทที่ ๒ นกเคา้ แมวกับฟาน (The Owl and the Deer) ๓๑ บทที่ ๓ ประวตั เิ มืองแกว้ เสมา (History of Keo Seima District) บทท่ี ๔ ผาแดงนางไอ่ (Pha-Daeng and Nang Ai) บนั ทกึ ถงึ ครูผูส้ อนหรือวิทยากรกระบวนการ

ค�ำนำ� ในดนิ แดนลมุ่ แมน่ ำ้� โขงชวี ติ ผคู้ นลว้ นสมั พนั ธก์ บั ธรรมชาตเิ ปน็ พน้ื ฐาน ถอ้ ยคำ� ภาษา ตำ� นาน นิทาน ตลอดจนเรอื่ งเลา่ ตา่ งๆ ในชมุ ชนจึงเกย่ี วพันกับแม่น้ำ� ป่าไม้ หรือธรรมชาตริ อบๆ ตัว โดยคน ในชมุ ชนสร้างสรรคเ์ ล่าขานสืบตอ่ กนั มาจากคนรุ่นหน่ึงสคู่ นอกี รุ่น เร่ืองเล่าพื้นบ้านเหล่านีม้ บี ทบาท ในการสอนไมใ่ หม้ กี ารเกบ็ โกยผลประโยชนท์ รพั ยากรธรรมชาตมิ ากเกนิ ไป แตใ่ นโลกปจั จบุ นั ทเ่ี รามงุ่ พฒั นาทางเศรษฐกจิ มากขน้ึ สง่ ผลทำ� ใหส้ งิ่ แวดลอ้ มเสอ่ื มโทรมลง ขณะความรทู้ อ้ งถนิ่ เกยี่ วกบั ทรพั ยากร ธรรมชาตทิ เ่ี ลา่ สบื ตอ่ กนั มาผา่ นเรอ่ื งเลา่ สอ่ื สารความคดิ ในการปกปอ้ งธรรมชาตนิ นั้ กแ็ ทบจะหายสนิ้ ไปด้วยเช่นกัน หนงั สือคมู่ อื ส่ิงแวดลอ้ มศึกษา “นิทานธรรมชาต:ิ เล่าความรสู้ ืบตอ่ กนั ไป” เลม่ เล็กๆ น้ี จัดพิมพข์ นึ้ ทั้งเปน็ ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาเขมร ภายใต้ “โครงการเครื่องมือการสอนด้าน สิง่ แวดลอ้ มศกึ ษา” (The Environmental Teaching Materials Project) ด�ำเนนิ การโดยองค์การ Mekong Watch ประเทศญป่ี นุ่ ไดห้ ยบิ ยกเอาเรอื่ งเลา่ ของผคู้ นทบี่ นั ทกึ ไวก้ อ่ นหนา้ นจ้ี าก “โครงการ เรื่องเล่าของผู้คน” (The People’s Story Project) ซ่ึงด�ำเนินการในปี ๒๕๕๗ โดยองค์การ Mekong Watch รว่ มกบั เครือขา่ ยได้ทำ� งานบันทกึ ตำ� นาน นิทานพ้ืนบ้าน สุภาษติ ค�ำพงั เพยและ เรื่องเลา่ เก่ียวกบั ธรรมชาติ ผู้คน และสรรพสัตว์ จ�ำนวนหน่งึ แลว้ คัดเลอื กมาแปลจากภาษาทอ้ งถน่ิ เปน็ ภาษาองั กฤษแลว้ จัดพิมพเ์ ป็นหนงั สือช่อื “Plants, Animals, Salt and Spirits: How People Live with and Talk about the Environment in Rural Cambodia, Laos and Thailand” (เกลอื พืชพรรณ สรรพสตั ว์ และดวงวญิ ญาณ: เร่ืองเล่าของผ้คู นท้องถนิ่ ในประเทศกัมพูชา ลาว และไทย) โดยพยายามท�ำความเข้าใจให้ลกึ ซึง้ ถงึ คุณคา่ อนั เป็นเนื้อแท้ของภมู คิ วามร้แู ละประเพณี ปฏบิ ตั ใิ นการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตขิ องผคู้ นทอ้ งถนิ่ ใน ๓ ประเทศลมุ่ นำ้� โขง ไดแ้ ก่ ประเทศไทย ลาว และกมั พชู า ท่านสามารถดาวโหลดหนงั สือดังกลา่ วได้ทางเว็บไซต์ http://www.mekongwatch.org/PDF/Booklet_PeopleStory.pdf คณะผจู้ ดั ทำ� ตระหนกั วา่ ความรทู้ อ้ งถนิ่ และประสบการณข์ องผคู้ นในทอ้ งถน่ิ เกย่ี วกบั การใช้ ทรพั ยากรธรรมชาติที่ปรากฏในเร่ืองเล่านานา น้นั มหี ลกั คิดเรื่องความสัมพันธท์ ่ีเหมาะสมระหวา่ ง มนษุ ย์และการใชป้ ระโยชนธ์ รรมชาติ ซ่งึ สามารถนำ� มาประยกุ ต์เป็นคมู่ ือการเรยี นรู้ด้านสงิ่ แวดลอ้ ม จึงไดค้ ดั เลือกนทิ าน ตำ� นาน เร่อื งเลา่ ทีช่ ุมชนเลา่ เพอื่ ใชส้ บื ทอดความรู้ ความคดิ ในการดูแลจัดการ ทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ ใหด้ ยี ง่ิ ขน้ึ มาใชใ้ นการสอ่ื สารความรเู้ รอื่ งการใชแ้ ละดแู ลรกั ษาธรรมชาติ ตลอดจน คำ� อธบิ ายเร่อื งความหลากหลาย ความอดุ มสมบูรณ์ของทรัพยากรในธรรมชาติผ่านเร่อื งเล่าต่างๆ ไปยังผู้สนใจผา่ นหนังสอื เล่มเล็ก ๆ น้ี คณะผจู้ ดั ท�ำ พฤศจิกายน ๒๕๕๘

บบทททนี่ ๑ำ� 4

ชวี ิตคนเรา ยนื ยาวมาได้ด้วยทรพั ยากรธรรมชาติ มีปา่ ไม้ สายน�ำ้ หล่อเลี้ยง ดงั เรือ่ งเลา่ ในนิทาน ต�ำนานพื้นบ้านมากมายทม่ี กั มีแก่นเปน็ เรือ่ งธรรมชาติ เร่ืองเหล่านไ้ี ดเ้ ล่าสืบตอ่ มาจากอดีตจวบจนปัจจบุ นั อย่างไรก็ตามปจั จุบนั น้ที ่ีมปี ระชากรเพิม่ มากขนึ้ พรอ้ มๆ กับการพฒั นา เศรษฐกิจสมัยใหม่ท�ำให้เกิดปรากฏการณ์การท�ำลายธรรมชาติ สายน้�ำ และป่าเขาเกิดข้ึนในทุก หัวระแหง ในเวลาเดียวกนั คนเราก็คนุ้ เคยกบั โทรทศั น์ โทรศัพท์มอื ถือ และเครื่องมอื สือ่ สารอ่นื ๆ แต่ โอกาสจะไดฟ้ งั เรอ่ื งเลา่ จากปยู่ า่ ตายายทเี่ ลา่ สบื ตอ่ กนั มาจากปยู่ า่ ตายายของทา่ นอกี ทอดหนงึ่ กล็ ดนอ้ ย ลงเร่อื ยๆ แล้วพวกเราเคยร้สู ึกเศรา้ บ้างไหมถา้ ในอนาคต สรรพสตั ว์ พชื พรรณ ในแมน่ �้ำ ในปา่ เขา รอบๆ ตัวเราจะสูญหายไป พรอ้ มๆ กับเรือ่ งเล่านานา ก็สูญสิน้ ไปจากชุมชนด้วยเช่นกนั หนงั สือค่มู ือสง่ิ แวดล้อมศึกษา “นทิ านธรรมชาติ: เล่าความรู้สบื ตอ่ กนั ไป” เลม่ น้ีไดน้ ำ� เอา นทิ านพืน้ บ้านที่เคยเลา่ กันในชมุ ชนลมุ่ นำ�้ โขง มารวบรวมไว้ และทดลองกำ� หนดกจิ กรรมการเรยี น การสอน ส�ำหรับนกั เรียนระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา และระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้ ซงึ่ คณะผจู้ ดั ทำ� ปรารถนาท�ำขึ้นเพอื่ ให้ครู หรอื วทิ ยากรกระบวนการ ผปู้ กครองหรอื คนท่ไี ด้อา่ นเรอ่ื งเล่าเหล่านีไ้ ด้ นำ� ไปใช้เป็นส่อื ในการสอนเพือ่ ให้เกดิ มีขอ้ ถกเถยี งแลกเปล่ยี นความเหน็ กับเด็กและเยาวชนเก่ยี วกบั ธรรมชาติรอบตวั เขา หวงั เปน็ อยา่ งยิ่งวา่ เม่ือท่านไดอ้ า่ นและน�ำเน้อื หา วิธีการ และเร่อื งเล่าในหนงั สือน้ไี ปฝกึ ปฏิบัตกิ ารด้านส่งิ แวดล้อมศึกษาโดยใช้นิทานเป็นเครื่องมอื แล้ว ทา่ นจะมีแรงบนั ดาลใจ กลบั ไปยงั ทอ้ งถิ่นตวั เองเพอ่ื ไปขอฟงั นทิ านจากพอ่ แมป่ ูย่าตายาย หรือคนเฒา่ คนแก่ในชมุ ชน เสาะหานทิ านท่ี เล่าสืบต่อกันมาจนปจั จุบนั คณะผจู้ ดั ทำ� มคี วามยนิ ดีเป็นอย่างย่งิ หากหนงั สือเล่มเลก็ ๆ น้จี ะชว่ ย ชักชวนเราคิดกนั ให้ลกึ ซ้งึ ถงึ ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มรอบๆ ตวั เรา 5

บทที่ ๒ นกเคา้ แมว กับฟาน (The Owl and the Deer) 6

“ท่ีเมืองปากแบ่ง แขวงอดุ มไชย ภาคเหนือของประเทศลาว ชาวขมุ เป็นชนพื้นถิ่นท่ีมีประชากรจ�ำนวนมากท่ีสุดในบรรดากลุ่มชนพ้ืนถ่ินท่ีอาศัยอยู่ในประเทศลาวใน ปัจจุบัน ชาวขมเุ ลา่ วา่ พวกเขาอาศัยอยู่ทนี่ ่มี ายาวนาน ดำ� เนินชวี ิตด้วยการท�ำการเกษตร โดยปลกู ข้าวไร่ในไร่หมุนเวยี น พร้อมท้ังการเกบ็ หาของปา่ ล่าสตั วใ์ นปา่ และการจบั ปลาในแม่น้�ำ แมเ่ ฒา่ ทอบ (Auntie Toop) อาศยั อยใู่ นบ้านจอมแลงน้อย เมืองปากแบง่ แมเ่ ฒา่ เป็น นกั เลา่ เรอื่ งเกา่ แกใ่ นชมุ ชน ตอนนแี้ กแกช่ ราเกนิ ทจ่ี ะออกไปทำ� งานหนกั ในไร่ แมเ่ ฒา่ ใชเ้ วลาแตล่ ะวนั ดแู ลเด็กๆ เลี้ยงไก่ และเกบ็ หาผักในป่าใกล้ๆ หมู่บ้าน เร่อื งเลา่ เก่าๆ ทีแ่ ม่เฒา่ เล่านั้นมักจะเปน็ เร่อื งทีพ่ ดู ถงึ พชื พรรณและสัตว์หลากหลายชนดิ และนทิ านที่จะเล่าต่อไปนมี้ ชี อ่ื เรือ่ งว่า “นกเค้าแมวกับฟาน”๑ เป็นเรอ่ื งทส่ี ตั ว์ปา่ หลายอยา่ ง ได้แก่ นกเค้าแมว หรือ นกฮูก, ฟาน หรือ เกง้ , ชา้ ง, งู, ค้างคาว รวมท้งั สัตว์เลยี้ งอยา่ งไก่ หมู ซงึ่ ท้ังหมด อยรู่ ว่ มกันกบั คน แมก้ ระทง่ั เงอื กงู (สตั วใ์ นตำ� นานของชาวขมมุ ีลักษณะคล้ายง)ู นอกจากนใี้ นเรอื่ ง ยงั ปรากฏตน้ กลว้ ยทเี่ จรญิ เตบิ โตในป่า ฟกั ทองทีเ่ กิดขนึ้ ในไรห่ มนุ เวยี น ในนทิ านพ้ืนบา้ นของชาวขมุ เรอ่ื งนี้ผู้ฟงั จะได้ประสบการณ์เรือ่ งการรับรโู้ ลกรอบตัวของชาวขมุ กลมุ่ ชนผ้ซู ึ่งสมั พนั ธแ์ น่นแฟน้ กับ ธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ป่าไม้ สายน้�ำ อันเปน็ ธรรมชาตซิ ึ่งมีคุณกบั ชีวติ พวกเขา เรอ่ื งราวมอี ยูว่ า่ วนั หน่ึงเจา้ นกเคา้ แมวชวนเจ้าฟานไปหาปลาดว้ ยกนั ทัง้ สองไปถึงแมน่ ้ำ� แลว้ เจา้ นกเคา้ แมวกร็ บี เลอื กทำ� เลหาปลาอยทู่ บ่ี รเิ วณทลี่ ำ� นำ�้ แคบๆ ไหลผา่ นขณะทเี่ จา้ ฟานกลบั เลอื ก บรเิ วณเวง้ิ นำ�้ กวา้ งใหญก่ วา่ หาปลา ทงั้ สองใชไ้ ซ๒ วางดกั ปลาจากสายหว้ ยทำ� เลทต่ี วั เองเลอื ก เจา้ ฟาน จับได้ปลามากมาย รวมท้งั กงุ้ กัง้ และสัตว์น�้ำอ่ืนๆ ขณะทเี่ จ้านกเค้าแมวจับอะไรไม่ได้เลย พอสาย เจา้ นกเค้าแมวรูส้ กึ หิวมากแตไ่ มม่ อี ะไรกินจึงหนั ไปบอกเจา้ ฟานวา่ “น่เี จ้าฟานเอย๋ ! หากเจ้าขึน้ เหนอื ไปอีกคุ้งน้�ำหน่งึ เจา้ จะจบั ปลาไดม้ ากกวา่ นีอ้ ีก” “จรงิ หรอื ! งนั้ ขา้ จะขน้ึ ไปทางเหนอื สกั พกั แลว้ จะกลบั ลงมา” เจา้ ฟานบอกพรอ้ มเดนิ ขน้ึ ไป ทางเหนือของล�ำนำ�้ พร้อมท้ิงปลาทจ่ี ับไดไ้ ว้ทีค่ ุง้ น�ำ้ เดิม เมอื่ เจา้ ฟานเดนิ ไปลบั ตาไปเจา้ นกเคา้ กย็ อ่ งมาแอบกนิ ปลาทเี่ จา้ ฟานจบั ไดจ้ นหมด ครนั้ เมอื่ เจา้ ฟานกลบั มาทเี่ ดมิ ไมเ่ หน็ ปลาทตี่ วั เองอตุ สา่ หจ์ บั ไดเ้ หลอื อยเู่ ลย ยกเวน้ กง้ั ทเ่ี จา้ นกเคา้ แมวไมไ่ ดก้ นิ เขา้ ไปจงึ รวู้ า่ ตวั เองถกู หลอก เจา้ ฟานโกรธจนเตน้ กระทบื เทา้ เรา่ ๆ แลว้ บงั เอญิ เทา้ ไปเหยยี บเถาฟกั ทอง จนลกู ฟกั ทองลกู ใหญห่ ลดุ จากขวั้ กลงิ้ ลงเนนิ ตรงแนว่ ลงไปชนหมอ้ นำ�้ เดอื ดบนเตาไฟของยายเฒา่ คนหนงึ่ ๑ ฟาน หรอื กวางฟาน หรือ เก้ง เป็นกวางขนาดเลก็ ล�ำตวั สีน้ำ� ตาลเข้ม ใต้ท้องสีน�้ำตาลแซมขาว ตัวผู้มีเขา ตวั เมีย ไมม่ เี ขา เขาส้ันกวา่ เขากวางทั่วไป ๒ เครือ่ งมือจับปลาท่ีท�ำจากไม้ไผ่และเถาวัลย์ 7

น�ำ้ เดอื ดๆ หกคว่ำ� ลงลวกขาของยายเฒา่ ... ยายเฒา่ ตอ้ งเดอื ดรอ้ นเจบ็ ปวดเพราะนำ้� รอ้ นลวก จงึ ตีกลองที่อยู่ใกลๆ้ เจ้าไก่...เจ้าไก่มันตกใจต่นื เสยี งกลองวงิ่ ไปร้องกระต๊ากเสียงดงั ล่นั และ เตะคนั ไถจนลม้ ไถลทับเจา้ ง.ู ..เจา้ งผู วาต่นื ตกใจ แทบคลงั่ จงึ เลอ้ื ยไปมาบนรงั มดจนรงั มดพงั ทลาย เหลา่ มดปลวกที่อาศยั อยใู่ นรงั แตกต่นื วง่ิ กรูกนั ข้นึ มาแล้วไต่ไปกดั ปากเจ้าหมูทนี่ อนอยูข่ ้างๆ จอมปลวก เจา้ หมทู ง้ั เจบ็ ทง้ั คนั พยายามสลดั มด ออกจากปากจึงถูไถปากและตัวไปกับต้นกลว้ ย จนต้นกล้วยล้มลงทำ� ใหค้ ้างคาวทีน่ อนหลบั อยู่ บนตน้ กลว้ ยตกใจบนิ หนดี ว้ ยความตนื่ ตระหนก จนบินหลงเขา้ ไปในหูของช้าง เจ้าชา้ งต่ืนตกใจจึงเตะก่ิงไมท้ ีห่ กั ลงมาบนพน้ื จนลอยไปท่มิ ลูกตาของ ลกู เงือกงูตวั นอ้ ยๆ ตัวหนึ่งที่ก�ำลังวา่ ยนำ�้ อยู่ในแม่นำ�้ แม่เงอื กงูตกใจได้ยนิ เสยี งลูกนอ้ ยร้องไหจ้ ึงรบี พุ่งตรงมาหาลูกอยา่ งตืน่ ตระหนก พรอ้ มร้องถามออกมาว่า “โอ้ย! ลูกรกั ของแมเ่ กดิ อะไรข้นึ กบั เจา้ หนอ” “กง่ิ ไม้ลอยมาทิ่มดวงตาของข้า” เจ้าเงอื กงูนอ้ ยตอบ “เจา้ ก่ิงไมท้ ำ� ไมเจ้าจึงมาเจาะดวงตาลูกข้า” แมเ่ งอื กงนู ้อยถามก่ิงไม้ “เพราะชา้ งเตะ ข้าจึงลอยมา” เจ้ากงิ่ ไม้บอก “เจา้ ชา้ ง ทำ� ไมเจ้าจึงเตะก่งิ ไม้” “ขา้ ต่นื ตกใจ...เพราะเจ้าคา้ งคาวบินเขา้ มาในหูของขา้ ” เจา้ ชา้ งบอก “เจ้าค้างคาว...ทำ� ไมจงึ บินเขา้ มาในหชู า้ ง” “ข้าตกใจเพราะต้นกล้วยที่ข้านอนห้อยหวั อยู่ล้มลงมา” เจา้ คา้ งคาวบอก “ตน้ กลว้ ยใยเจ้าจึงล้มลงมา” “เพราะเจ้าหมูถูไถชนขา้ จนล้มลง” ต้นกลว้ ยบอก “เจา้ หมูท�ำไมเจา้ จึงถไู ถชนต้นกลว้ ยจนล้ม” “เพราะเจา้ มดเจ้าปลวกกัดปากของขา้ ” เจ้าหมูฟอ้ งบ้าง “มด ปลวก ท�ำไมพวกเจา้ จึงกัดปากเจา้ หมู” “เพราะเจา้ งเู ลอื้ ยมาท�ำลายรังของพวกข้า” บรรดามดปลวกบอก “เจ้างทู ำ� ไมเจา้ จงึ เล้ือยท�ำลายรังมดปลวก” “ขา้ ตกใจเพราะคนั ไถล้มทับตวั ข้า” เจ้างบู อก 8

“เจา้ คันไถ...ท�ำไมจงึ ล้มทับงู” “เพราะเจ้าไก่เตะข้า” เจ้าคันไถบอก “เจ้าไก.่ ..ทำ� ไมเจา้ จงึ เตะงู” “ขา้ ตกใจเพราะยายเฒ่าตีกลองเสยี งดงั ” เจา้ ไกบ่ อก “ยายเฒ่าทำ� ไมเจ้าตกี ลองเสียงดงั ” “ขา้ เจบ็ ...เพราะหมอ้ ต้มน้ำ� คว�่ำจนน�้ำรอ้ นลวกขาขา้ ” “เจา้ หม้อน้ำ� รอ้ นทำ� ไมเจา้ จงึ คว่ำ� ” “เพราะเจ้าฟกั ทองกลง้ิ มาชนข้า” เจา้ หมอ้ น�ำ้ รอ้ นบอก “เจ้าฟักทองทำ� ไมเจา้ จงึ กล้ิงมาชนหมอ้ น�้ำร้อน” “เพราะเจ้าฟานเหยยี บยำ่� เถาของขา้ ” เจ้าฟักทองวา่ “เจ้าฟานทำ� ไมเจา้ จงึ เหยยี บย่�ำเถาฟักทอง” “ขา้ โกรธเพราะเจา้ นกเคา้ แมว ขโมยกินปลาของขา้ กนิ จนหมด” เจา้ ฟานตอบ ที่สุดแม่เงือกงูก็มาถึงเจ้านกเค้าแมวและถามว่า “เจ้านกเค้าแมวท�ำไมเจ้าขโมยกินปลา ของเจ้าฟาน” เจ้านกเค้าแมวไม่อาจจะคิดหาค�ำตอบที่ดี ได้แต่มองรอบๆ ด้วยดวงตาโตๆ ของมัน ฝ่ายแมเ่ งือกงูจึงว่า “เจา้ ต้องถกู ลงโทษ เพราะเจา้ ทำ� ให้ดวงตาลกู ข้าบอด ข้าจะควกั ลูกตาเจา้ ไปใส่ แทนตาลูกขา้ ” วา่ แลว้ แม่เงอื กงกู ค็ วักลูกตาของนกเคา้ แมวออกไปใสแ่ ทนดวงตาของเงอื กงูนอ้ ย แล้วน�ำเอาเมล็ดผลไมช้ นิดหนงึ่ มาใสต่ านกเคา้ แมวแทน ดว้ ยเหตุนเี้ องทีท่ �ำใหเ้ จา้ นกเคา้ แมวเจา้ เล่ห์ มีดวงตาปูดโปนและไม่อาจมองเห็นได้ในเวลากลางวันแต่มองเหน็ ไดเ้ ฉพาะเวลากลางคนื นับตงั้ แต่ นนั้ มา 9

๑. กจิ กรรมส่ิงแวดลอ้ มศกึ ษาจากเรอื่ งนกเค้าแมวกบั ฟาน ส�ำหรับนักเรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๔ เป้าหมาย • นกั เรยี นตระหนกั ถงึ ความหลากหลายของพชื พรรณและสรรพสตั ว์รอบๆ ตวั • นกั เรียนได้พัฒนาความรูส้ กึ ใกล้ชดิ กับพืชพรรณและสัตวน์ านาชนดิ รอบตัวอนั จะปลกู ฝงั ความรกั และความตอ้ งการทีจ่ ะดแู ลพืชพรรณและสรรพสตั ว์ในธรรมชาติ กจิ กรรมท่ี ๑ (ใชเ้ วลาประมาณ ๓๐-๔๐ นาท)ี ๑. ชวนเดก็ ๆ คยุ ถงึ พชื และสตั วร์ อบๆ ตวั แลว้ ถามวา่ เดก็ ๆ ชอบสตั ว์ หรอื พชื ชนดิ ไหนบา้ ง โดยใหเ้ ดก็ พูดนำ� เสนอต่อเพื่อนๆ ปากเปลา่ หรือวาดเป็นภาพมาน�ำเสนอก็ได้ ๒. เล่านทิ านให้เดก็ ๆ ฟังโดยแนะนำ� เด็กๆ วา่ ก�ำลังจะเล่าเรอ่ื งทเี่ ก่ียวกับสัตวแ์ ละสิง่ มชี ีวิต ให้เด็กๆ ตั้งใจฟังให้ดวี ่ามีสัตวอ์ ะไรอย่ใู นเร่อื งบ้าง แลว้ กเ็ ล่าหรอื อ่านนิทานเรื่องนกเคา้ แมวกบั ฟาน ดว้ ยนำ้� เสยี งดังฟงั ชดั เจน ๓. เม่อื เล่านทิ านจบลงแล้วให้ถามวา่ เดก็ ๆ จ�ำไดไ้ หมวา่ มสี ัตว์และส่ิงมชี วี ติ ชนดิ ใดบ้างท่ี ปรากฏอยใู่ นนทิ านเรอ่ื งนกเคา้ แมวกบั ฟาน แลว้ เขยี นชอื่ สตั วห์ รอื สงิ่ มชี วี ติ ทเ่ี ดก็ ๆ จำ� ไดล้ งบนกระดาน หากมสี ตั ว์หรือสงิ่ มชี วี ิตบางชนิดท่เี ด็กๆ ไม่ได้พูดถึง ครอู าจจะพูดและเขียนชอ่ื สัตว์นัน้ เพิม่ เติมลงบน กระดานโดยคยุ วา่ “ครคู ดิ วา่ มเี จา้ ตวั ...(ชอื่ สตั วห์ รอื สง่ิ มชี วี ติ ทเี่ ดก็ ลมื บอก)...อยใู่ นเรอ่ื งดว้ ยนะใชไ่ หม” เพ่อื กระต้นุ ให้เด็กๆ ชว่ ยกนั นกึ ถงึ สตั ว์และสงิ่ มชี วี ติ ท่ีปรากฏอยู่ในเรอ่ื งให้ครบถ้วน ๔. ถามเดก็ ๆ ต่อไปว่ามีสง่ิ มีชวี ิตหรอื สตั วท์ ่ปี รากฏในนิทานเร่อื งนกเค้าแมวกบั ฟานอาศัย อยู่ใกลๆ้ หมบู่ ้านของเราบ้างไหม อาศยั อยู่ที่ไหน และใหบ้ อกชอื่ สัตว์ หรือสง่ิ มชี วี ิต ทเี่ หมือนกับใน นิทานแล้วเขียนหรือวาดรปู ลงในกระดาน ๕. ถามเด็กๆ ต่อไปอีกว่านอกจากสัตว์หรือส่ิงมีชีวิตที่เหมือนในนิทานแล้ว มีสัตว์หรือ สงิ่ มชี วิ ิตอน่ื ๆ ท่ีสามารถพบเหน็ ไดร้ อบๆ ชุมชนหรอื หมบู่ ้านเราบา้ งไหม แล้วเขียนรายชื่อสัตวห์ รอื สิ่งมชี วี ติ นน้ั ลงบนกระดาน ๖. เลอื กสตั วห์ รือสง่ิ มชี ีวติ ที่เขียนบนกระดานบางชนิดแลว้ ถามเด็กๆ ต่อไปวา่ สัตว์หรือ ส่ิงมีชีวติ นน้ั ๆ พวกเราไดใ้ ชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งไรบ้างในชวี ติ ประจำ� วันของเรา ๗. ชวนเดก็ ๆ สนทนาถงึ นทิ าน เรอ่ื งการทนี่ กเคา้ แมวตอ้ งรบั โทษเพราะเปน็ ตน้ เหตทุ ำ� ให้ ดวงตาของลกู เงอื กงนู อ้ ยบาดเจบ็ นกเคา้ แมวตอ้ งรบั ผลจากการกระทำ� นนั้ อยา่ งรา้ ยแรงในตอนทา้ ย 10

ของเรอ่ื ง แลว้ ชวนใหเ้ ดก็ ๆ คดิ วา่ การทำ� สงิ่ หนงึ่ หรอื เหตกุ ารณห์ นงึ่ ทมี่ ผี ลกระทบกบั อกี เหตกุ ารณห์ นงึ่ ท�ำนองเดียวกับในนิทานนี้จะเกิดข้ึนได้อีกไหมในปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น นกเค้าแมวอาศัยอยู่ในป่า ถ้าคนตดั ตน้ ไม้ในป่าลงแลว้ นกเคา้ แมวจะลดจ�ำนวนลง อาจจะมีนกเคา้ แมวเพยี งเล็กนอ้ ยทอี่ ย่ทู ี่นน่ั ใชไ่ หมหรอื อาจจะไมม่ นี กเคา้ แมวอีกตอ่ ไปในปา่ ถา้ เป็นเช่นนั้นอะไรจะเกิดข้ึนกบั จ�ำนวนหนูท่ีปกติ นกเคา้ แมวจะจบั มันกนิ เปน็ อาหาร อาจจะท�ำใหจ้ �ำนวนหนเู พ่มิ มากขน้ึ เพราะไม่มีใครจับมนั ไปกนิ แลว้ อะไรจะเกดิ ขนึ้ ถา้ หนูเพม่ิ ขน้ึ หนูอาจจะไปกินขา้ วในนา ในย้งุ ขา้ ว แล้วใครจะเดือดรอ้ นถา้ หนูไป กินข้าว สนทนากับเด็กๆ ต่อไปว่าในท่ีสุดแล้วมนุษย์ก็จะมีอาหารน้อยลง มนุษย์ผู้ที่ตัดต้นไม้ก็จะ เดือดร้อนในท่ีสดุ (*ควรเตรียมการด์ ภาพวาดคนตัดตน้ ไม้, ภาพป่าเสื่อมโทรมมตี น้ ไม้เพยี งเลก็ นอ้ ย, ภาพนกเค้าแมวเพยี งไม่กต่ี วั , ภาพหนูจ�ำนวนมากมาย, ภาพมนุษย์ขาดแคลนอาหารไว้ โดยให้ภาพ แตล่ ะชดุ กบั นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ไดเ้ ดนิ ไปตดิ ภาพเหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ ผลกระทบจากการกระทำ� อนั หนตึ่ าม ทค่ี รูยกตวั อย่าง) ๘. ชวนเด็กๆ คยุ ย้อนกลบั ไปเรือ่ งสัตว์หรือพืชท่ีเด็กๆ ชอบ และถามพวกเขาวา่ ยังมีสตั ว์ หรือสงิ่ มชี ีวติ ท่ีเดก็ ๆ ชอบเหลา่ นัน้ เหลืออยูไ่ หมในชุมชน และสรุปว่าสตั ว์ พืช และสง่ิ มีชีวิตต่างๆ อาศยั อยรู่ อบๆ ตวั เรา พวกเขาอาศยั อยรู่ ่วมกับเราในหมบู่ า้ นและชุมชนของพวกเราด้วย รายชื่อพืชและสัตว์ที่ปรากฏในเร่อื ง นกเคา้ แมว (นกฮกู ), ฟาน (บางทกี เ็ รยี กวา่ กวางฟาน หรอื เกง้ ), ชา้ ง, ง,ู คา้ งคาว, ไก,่ หม,ู มด, ปลวก, คน, เงือกงู (สตั ว์ในตำ� นาน ลกั ษณะคล้ายง)ู , ปลา, ฟกั ทอง, กล้วย เทคนคิ เพ่มิ เติมส�ำหรับกจิ กรรม • ควรเตรยี มบัตรภาพพชื และสัตวท์ ่ีปรากฏอยู่ในเรื่อง แล้วแปะทก่ี ระดานเมือ่ ตอนท่ีสัตว์ ชนดิ นน้ั ๆ ปรากฏข้นึ มาขณะอ่านหรอื เลา่ นทิ านใหเ้ ด็กๆ ฟัง ซง่ึ จะชว่ ยท�ำใหเ้ ดก็ ๆ เห็นภาพสัตว์และ เข้าใจเรอ่ื งราวได้ง่าย และยังชว่ ยดงึ ดูดความสนใจของเด็กๆ เก่ยี วกบั พชื และสัตว์ทแี่ ตกต่างกันตาม ทอ้ งเรอื่ ง • คุณครู หรือผนู้ �ำกระบวนการอาจจะทำ� หุ่นมือสัตว์ หรือพชื ตา่ งๆ เพื่อใช้ประกอบการ เล่าเรอ่ื ง ก็จะยิง่ มีความน่าสนใจมากยิ่งข้นึ 11

๒. กิจกรรมส่งิ แวดล้อมศกึ ษาจากเรอ่ื งนกเค้าแมวกับฟาน ส�ำหรบั นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕-๖ หรอื นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น เปา้ หมาย • นกั เรยี นรแู้ ละตระหนกั ถงึ ความจรงิ ทว่ี า่ พชื และสตั วท์ งั้ หลายรอบๆ ตวั เราลดลงมากเมอื่ เทยี บ กบั ในอดีต • นกั เรยี นรแู้ ละตระหนกั วา่ การพฒั นากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของมนษุ ย์ หรอื ความเปลยี่ นแปลง ของวถิ ีชีวติ คนเรานน้ั มคี วามสัมพันธก์ ับความเปลยี่ นแปลงของธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม กจิ กรรมที่ ๑ (ใชเ้ วลาประมาณ ๑ ช่วั โมง) ๑. บอกเดก็ ๆ วา่ กำ� ลงั จะเล่าเรอื่ งของพืช สัตว์ และสงิ่ มชี วี ิตหลายๆ อยา่ ง ขอใหเ้ ดก็ ๆ ตั้งใจ ฟงั วา่ ในเร่ืองจะพดู ถงึ พืช สัตว์ หรอื สิง่ มีชวี ิตอะไรบา้ ง แล้วอา่ นหรอื เล่าเรื่องด้วยนำ�้ เสยี งทีด่ งั ฟังชัด ๒. เม่อื เลา่ นทิ านจบลงแล้วถามเด็กๆ มพี ชื สตั ว์ หรอื สิง่ มชี ีวิตใดบา้ งที่ปรากฏอยู่ในเรื่องทเี่ ลา่ เขยี นคำ� ตอบของเดก็ ๆ ลงบนกระดาน ถา้ หากวา่ มพี ชื สตั ว์ หรอื สง่ิ มชี วี ติ บางชนดิ ทเ่ี ดก็ ๆ ไมไ่ ดก้ ลา่ วถึง ครูอาจจะถามว่า “เจา้ ...(ชอ่ื พชื สัตว์ หรอื สง่ิ มชี วี ติ นั้นๆ) ก็ปรากฏในนิทานใชไ่ หมนะ” เพือ่ ชว่ ยเตอื น ความจำ� เด็กเก่ยี วกับชอ่ื สิง่ ตา่ งๆ ทป่ี รากฏในเรื่องเลา่ ๓. ถามเดก็ ๆ ตอ่ ไปวา่ รอบหมบู่ า้ นของเรามพี ชื สตั ว์ และสง่ิ มชี วี ติ อะไรทเ่ี ราสามารถพบเหน็ บา้ ง แล้วเขยี นชือ่ สตั ว์ พชื และสิ่งมชี วี ิตท่ีเดก็ ๆ ตอบลงบนกระดาน ๔. ถามยำ�้ กบั เดก็ ๆ วา่ นอกเหนอื จากพชื สตั ว์ หรอื สงิ่ มชี วี ติ ทกี่ ลา่ วมายงั มสี งิ่ มชี วี ติ อนื่ ๆ ทพี่ บ รอบๆ หม่บู า้ นเราบา้ ง เข้าเขยี นค�ำตอบของเดก็ ลงบนกระดาน ๕. ครเู ลอื กชอื่ พืช สัตว์ หรอื ส่ิงมีชวี ติ ท่ีเดก็ ๆ กลา่ วถึงแล้วถามเด็กๆ ต่อวา่ เราใช้ประโยชน์ พืช สัตว์ หรือสิ่งมีชวี ติ นั้นๆ อย่างไรบา้ งในชวี ติ ประจ�ำวนั ของเรา ๖. ถามเดก็ ๆ ตอ่ ไปวา่ ในบรรดาพชื สตั ว์ หรอื สงิ่ มชี วี ติ ทเ่ี ดก็ ๆ กลา่ วถงึ มสี งิ่ ใดบา้ งทพ่ี บเหน็ ได้ นอ้ ยลงกวา่ ในอดตี หรือมอี ะไรบ้างไหมทห่ี ายไปไม่เหน็ อกี แล้ว ๗. ถามความคดิ เหน็ ของเดก็ ๆ ตอ่ เนอื่ งวา่ ทำ� ไมพชื สตั ว์ หรอื สงิ่ มชี วี ติ ทเี่ ดก็ ๆ กลา่ วถงึ จงึ พบเหน็ ไดน้ อ้ ยลงหรือหายไป แล้วเขียนความคดิ เหน็ ของเด็กๆ ลงบนกระดาน ๘. ถามเดก็ ว่าตอ่ ไปวา่ จะเกิดอะไรขึน้ หากในอนาคตพชื สัตว์ หรอื ส่ิงมชี ีวิต หายไปจากชมุ ชน ของเรา แลว้ เขยี นความคิดเหน็ ของเด็กๆ ลงบนกระดาน ๙. ชวนเดก็ ๆ คยุ วา่ ในนทิ านนกเคา้ แมวตอ้ งเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบทท่ี ำ� ใหล้ กู เงอื กงนู อ้ ยดวงตาบาดเจบ็ และเจา้ นกเคา้ กถ็ กู ลงโทษรนุ แรงในตอนทา้ ยเรอ่ื ง เดก็ ๆ คดิ วา่ ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ กบั สงิ่ หนง่ึ แลว้ มผี ลกระทบ กบั สง่ิ หนึ่งในท�ำนองนจี้ ะเกิดขนึ้ อกี ไดไ้ หมในสงั คมปจั จุบัน เชน่ ถ้ามนุษยท์ �ำลายสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื สนอง ความต้องการทัง้ หลายของตน จนบางครง้ั พวกเขาจะตอ้ งเผชิญผลกระทบท่รี นุ แรงจากการกระทำ� ของ ตนเอง ชวนเดก็ ๆ มาชว่ ยกนั คดิ ดกี วา่ แลว้ คนเราจะทำ� อะไรบา้ ง โดยเตรยี มการ์ดทีม่ รี ปู ภาพกจิ กรรมของ 12

มนษุ ย์ เชน่ การตดั ไม้ทำ� ลายปา่ ท้ิงขยะตามทอ้ งถนน ทิ้งน�้ำเสียลงในแมน่ ำ�้ เปน็ ตน้ ตอ่ จากนน้ั ใหเ้ ดก็ ๆ แบง่ เปน็ กลมุ่ เพอ่ื ชว่ ยกนั คดิ เรอ่ื งเลา่ ทเ่ี รมิ่ ตน้ จากกจิ กรรมทม่ี นษุ ยท์ ำ� ตามการด์ รปู ภาพ ถา้ เดก็ ๆ ไมส่ ามารถ แสดงความคิดเห็นก็ให้ยกตวั อยา่ งการท�ำลายป่าจนทำ� ใหน้ กฮกู หายไป (เหมอื นค�ำถามที่ ๗ ในกิจกรรม ของระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๔) เปน็ การใบ้คำ� เพอื่ ใหเ้ ด็กคดิ ต่อเตมิ เรอื่ งเลา่ ท่ีเหตหุ น่งึ ทำ� ใหเ้ กิดอีก เหตหุ นึง่ ของตนจนจบ แลว้ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ออกมาเล่าเรอื่ งของตนเองให้เพ่ือนๆ ฟัง ๑๐. ถามเด็กๆ ต่อไปว่าจะมีหนทางไหน ที่เราจะช่วยปกป้องรักษาจ�ำนวนสัตว์ พืช หรือ ส่ิงมีชีวิตไม่ใหล้ ดจำ� นวนลงหรือสูญหายไป แลว้ เขียนความคิดเห็นของเดก็ ๆ ลงในกระดาน ๑๑. สรปุ กจิ กรรมใหเ้ หน็ วา่ ยงั มสี ตั ว์ พชื และสง่ิ มชี วี ติ หลายชนดิ ทย่ี งั อยรู่ อบๆ ตวั เรา พวกเขา อาศัยอยรู่ ว่ มกบั เราในรอบๆ ชมุ ชนของเรา การลดลงหรอื สญู หายไปของสง่ิ ต่างๆ น้ันสัมพนั ธก์ ับวิถกี าร ดำ� เนินชีวติ ของคนเรา ดังนน้ั เราจงึ สามารถช่วยปกปอ้ งพวกเขาได้ กิจกรรมที่ ๒ การสมั ภาษณ์ (ใชเ้ วลาประมาณ ๑ ชว่ั โมงหรืออาจจะก�ำหนดใหเ้ ดก็ ทำ� ก่อนเร่มิ กจิ กรรม) ๑.ใหเ้ ด็กๆ ไปสบื ถามป่ยู ่าตายายวา่ มีสัตว์ หรือพืช ชนดิ ใดบ้างเคยอาศยั อย่ใู นแม่นำ�้ หรือ ปา่ ไมใ้ กล้ๆ หมูบ่ า้ นหรือชุมชนของเขา ๒. ตงั้ คำ� ถามกบั เดก็ ๆ (เหมอื นขอ้ ท่ี ๑-๕ จากกจิ กรรมที่ ๑) วา่ การไปสอบถามปยู่ า่ ตายายแลว้ พวกเขาไดเ้ รยี นรวู้ า่ เคยมพี ชื สตั ว์ และสงิ่ มชี วี ติ อะไรทเี่ คยพบเหน็ รอบๆ หมบู่ า้ นหรอื ชมุ ชน แลว้ เขยี นชอ่ื สตั ว์ พชื และสง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี ดก็ ๆ ตอบลงบนกระดาน แลว้ เลอื กพชื สตั ว์ หรอื สงิ่ มชี วี ติ ทเ่ี ดก็ ๆ บอก แลว้ ถาม เดก็ ๆ ตอ่ ว่าเราใช้ประโยชน์พืช สตั ว์ หรอื ส่ิงมีชวี ิตนน้ั ๆ อยา่ งไรบ้างในชีวติ ประจ�ำวนั ของเรา แลว้ ถาม เดก็ ๆ ตอ่ ไปวา่ ในบรรดาพชื สตั ว์ หรอื สง่ิ มชี วี ติ ทเี่ ดก็ ๆ กลา่ วถงึ มสี ง่ิ ใดบา้ งทพ่ี บเหน็ ไดน้ อ้ ยลงกวา่ ในอดตี หรือมีอะไรบ้างไหมทห่ี ายไปไมเ่ ห็นอีกแลว้ ถามต่อเนื่องว่าท�ำไมพชื สัตว์ หรอื สิ่งมีชวี ติ ทเี่ ด็กๆ กล่าวถงึ จงึ พบเหน็ ไดน้ อ้ ยลงหรือหายไป แล้วเขยี นความคดิ เหน็ ของเด็กๆ ลงบนกระดาน ๓. ใหเ้ ดก็ ชว่ ยกนั เขยี นแบง่ ประเภทพชื พรรณ และสตั วท์ เี่ คยปรากฏในเรอื่ งราวทไ่ี ดไ้ ปสอบถาม กับปยู่ ่าตายาย (กจิ กรรมนีอ้ าจจะแบง่ เปน็ กลุ่มยอ่ ย หรอื กลุม่ ใหญ่ก็ได้) สงิ่ มีชวี ติ ทปี่ รากฏ ส่ิงมชี วี ติ ที่ปรากฏ สิง่ มีชวี ิตท่พี บเห็น ส่ิงมชี วี ิตท่ีเคยพบเห็น ในนทิ าน จากการสมั ภาษณ์ น้อยลง ในอดตี แตป่ ัจจบุ นั สูญหายไปแล้ว ปู่ย่าตายาย ๔. ถามเดก็ ๆ วา่ เกิดอะไรขน้ึ จงึ ท�ำให้พืช หรอื สัตว์บางชนิดพบเห็นนอ้ ยลง หรือหายไป และ ปยู่ า่ ตายายของเดก็ ๆ มคี วามคดิ เหน็ อยา่ งไรบา้ ง โดยเขยี นความคดิ เหน็ ของเดก็ ลงไปบนกระดาน ๕. ถามเดก็ วา่ ตอ่ ไปวา่ ในอนาคตยงั จะมพี ชื สตั ว์ หรอื สง่ิ มชี วี ติ อนื่ ๆ จะหายไปจากชมุ ชน หรอื หมบู่ า้ นของเราอกี หรอื ไม่ แลว้ เขยี นความคดิ เหน็ ของเดก็ ๆ ลงบนกระดาน (ตง้ั คำ� ถามเหมอื นกบั ขอ้ ท่ี ๖-๗ 13

ในกจิ กรรมที่ ๑) โดยถามเดก็ ๆ ตอ่ ไปวา่ จะมหี นทางไหนทเี่ ราจะชว่ ยรกั ษาจำ� นวนสตั ว์ พชื หรอื สงิ่ มชี วี ติ นนั้ ๆ ไมใ่ หล้ ดจำ� นวนลงหรือไมใ่ หส้ ูญหายไป แลว้ เขียนความคิดเห็นของเด็กๆ ลงในกระดาน กอ่ นจะ สรปุ กจิ กรรมใหเ้ หน็ วา่ ยงั มสี ตั ว์ พชื และสง่ิ มชี วี ติ อกี หลายชนดิ ทย่ี งั อยรู่ อบๆ ตวั เรา พวกเขาอาศยั อยกู่ บั เราในชมุ ชนเดียวกนั การลดลงหรือสญู หายไปของสง่ิ ต่างๆ นน้ั สัมพันธก์ ับวิธีการด�ำเนนิ ชวี ติ ของคนเรา ดงั นน้ั เราจงึ สามารถชว่ ยปกป้องพวกเขาได้ กิจกรรมที่ ๓ ภาพอนาคต (ใชเ้ วลาประมาณ ๙๐ นาที) ๑. ใหด้ ำ� เนนิ กจิ กรรมเหมอื นขอ้ ๑ - ๘ ในกิจกรรมท่ี ๑ ๒. ถามเดก็ ถงึ สง่ิ มชี วี ติ บางอยา่ ง โดยใหช้ อ่ื พชื หรอื สตั ว์ ทไี่ ดจ้ ากการสมั ภาษณ์ เชน่ ปลาบกึ หรอื อน่ื ๆ ทปี่ ัจจบุ ันพบเหน็ ไดน้ อ้ ยลงกว่าในอดีต โดยชักชวนเดก็ ๆ ใหจ้ นิ ตนาการว่าจะเกดิ อะไรขนึ้ กบั พืชหรือสัตว์น้ันๆ ในอนาคต เดก็ ๆ คิดวา่ ปริมาณของพชื หรอื สัตวน์ ั้นจะเพิม่ ข้ึนหรือลดลง ๓. ชกั ชวนใหเ้ ดก็ ๆ คดิ เกย่ี วกบั อนาคตของสงิ่ มชี วี ติ ตา่ งๆ แลว้ รว่ มกนั วาดแผนภาพเสน้ ทาง การเปลยี่ นแปลงของพชื และสตั วน์ นั้ ๆ เรม่ิ ตน้ จากเขยี นเหตกุ ารณใ์ นอดตี ไวด้ า้ นซา้ ยมอื บนแผนภาพ ๔. ใหเ้ ดก็ ๆ ชว่ ยกนั เขยี นเหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ กบั พชื หรอื สตั วน์ นั้ ๆ จากอดตี เรอ่ื ยมาจนปจั จบุ นั ๕. ชวนเดก็ ๆ คดิ ตอ่ ไปวา่ อะไรบา้ งทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ จากปจั จบุ นั เรอื่ ยไปจนในอนาคต และเดก็ ๆ มีความคิดเหน็ กับเหตุการณ์นัน้ อย่างไร เช่น อาจจะมเี ด็กบางคนใหค้ วามเห็นวา่ “ในอนาคตหนไู ม่อยาก เหน็ ปลาบกึ สูญพันธ์ไุ ป” เขียนความเห็นของเด็กๆ ลงในแผนภาพท่ีวาดนนั้ ดว้ ย ๖. ชกั ชวนเดก็ คยุ กนั ตอ่ ไปวา่ พวกเราจะทำ� อะไร หรอื ตอ้ งทำ� อะไรบา้ ง เพอื่ ใหส้ งิ่ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ใน ปจั จบุ นั ตอ่ เนอ่ื งไปในอนาคต เชน่ “หนอู ยากใหม้ ปี ลาบกึ เพม่ิ มากขนึ้ ” เขยี นสง่ิ ทเ่ี ดก็ ๆ แสดงความคดิ เหน็ ลงไปในแผนภาพ ๗. เมอ่ื วาดแผนภาพสมบรู ณแ์ ลว้ ชกั ชวนเดก็ ๆ สรปุ ความคดิ จากกจิ กรรมโดยยอ้ นคดิ กนั วา่ อะไร เกดิ ขนึ้ (นบั จากอดตี จนปจั จบุ นั ) และสรปุ สถานการณเ์ กยี่ วกบั พชื สตั ว์ หรอื สงิ่ มชี วี ติ นน้ั ๆ ในสถานการณ์ ปัจจุบัน เพอื่ จะย�ำ้ วา่ เราต้องท�ำอะไรบ้างในอนาตตเพ่อื จะมพี ชื สัตว์ หรอื ส่ิงมีชวี ติ น้ันๆ เพิม่ มากขน้ึ เชน่ ปลาบกึ ทม่ี ีปริมาณนอ้ ยลงพวกเราจะท�ำอะไรบา้ งเพื่ออนรุ ักษฟ์ ้นื ฟปู ลาบึกในอนาคต เปน็ ต้น ตวั อย่าง: กรณปี รมิ าณปลาบึกทกี่ �ำลังลดน้อยลง เชน่ มปี ลอานบาึกคจตำ� ทนฉ่ี วันนอมยาากกใจนะแเมหน่็น้�ำ เช่นอนปาลคาตบทึกีฉ่หันายไมไปอ่ จยาากกแจมะเน่ ห้�ำ็น อดตี ปจั จบุ ัน 14

บทท่ี ๓ ประวตั ิเมืองแก้วเสมา (History of Keo Seima District) 15

หลังฟังนิทาน เรื่องต่อไปนแ้ี ลว้ ขอใหค้ ดิ เก่ียวกับพิธกี รรม และประเพณี ทท่ี �ำสืบตอ่ กันมาในชุมชน หรอื หมู่บา้ นของตน เรอื่ งนเ้ี ลา่ โดยพอ่ เฒา่ แกว้ เพลอย (Keo Pleuy) วยั ๘๐ ปี และแมเ่ ฒา่ เททเยท (Tet Yet) ภรรยาของเขา ท้ังสองเปน็ ชาวบนุ อง อาศยั อย่ทู หี่ มบู่ ้านลาวกา (Lao Ka) ต�ำบลแสนมะโนรม (Sen Manorom) จงั หวัดมนดลคีรี (Mondolkili) เรอ่ื งมีอยวู่ ่านานแสนนานมาแล้วชาวบา้ นได้พบหนิ ลูกแกว้ ซ่ึงมีลกั ษณะเป็นดวงแก้วมี แสงวบิ วับหลากสสี วยงามแวววาวเหมอื นประกายเพชร ผูค้ นเรียกดวงแก้ววิเศษนั้นวา่ “แก้วเสมา” ชาวบา้ นพบเหน็ กันบนภูเขาแห่งหนึง่ ซึ่งเป็นพน้ื ท่ีท่ีคนถิ่นพากันต้อนวัวควายไปเลีย้ งเปน็ ประจ�ำโดย ไมเ่ คยมวี วั ควายใครพลดั หลงหายไปเลย หรอื หากมวี วั ควายหายไปชาวบา้ นกจ็ ะทำ� พธิ ไี หวส้ ง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ แล้วอีกเพียงสองสามวันสัตวเ์ ลีย้ งก็จะกลบั คืนมาเอง พนื้ ท่ีบริเวณนน้ั จึงกลายเปน็ พนื้ ที่ศักดสิ์ ทิ ธิ์ของ หมบู่ ้าน เมื่อใดท่ีมีคนในหมูบ่ ้านปว่ ยไข้พวกเขากจ็ ะนำ� เลอื ดหมูหรือเลือดไก่มาเซน่ ไหว้พร้อมท้งั จุดธูปเทียนบชู าขอให้หายปว่ ยไข้ จวบจนปัจจุบนั พืน้ ท่นี ้นั ก็กลายเปน็ พน้ื ที่ทีใ่ ชป้ ระกอบพิธีกรรม เฉลมิ ฉลองหรอื พธิ ีกรรมทางศาสนาของหมบู่ า้ นเปน็ ประจำ� คนในหมบู่ า้ นผสู้ ืบเช้อื มาจากบรรพบรุ ุษชนพน้ื เมืองกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ “บนุ อง” (Bunong) เล่าวา่ ผู้คนในอดีตจะพบเหน็ ดวงแกว้ วเิ ศษในเวลากลางคนื หลังจากชาวบ้านผ้มู ศี ีลบริสุทธิ์คนหนึง่ ฝันวา่ มวี ิญญาณมาบอกเรื่องราวเกี่ยวกบั ลกู แก้ววเิ ศษท่ลี อยขึน้ มาจากก้อนหนิ กอ้ นหนึ่ง ให้ออกไป 16

เกบ็ เอาดวงแกว้ มาไว้ ผคู้ นจงึ พากนั ไปเกบ็ ดวงแกว้ วเิ ศษมาไวบ้ นหง้ิ บชู าทบ่ี า้ น บางคนเกบ็ ใสก่ ระเปา๋ ไว้บชู า เพราะเชือ่ วา่ หากครอบครัวใดมดี วงแก้ววเิ ศษนีไ้ วก้ ราบไหวบ้ ูชาจะเปน็ ผู้โชคดีและมีความสุข ไมใ่ ช่เฉพาะตัวคนทมี่ ีดวงแก้วเทา่ น้นั แตร่ วมถึงครอบครัวและสัตวเ์ ลย้ี งของพวกเขาดว้ ย บริเวณที่ ชาวบ้านเคยเกบ็ “แกว้ เสมา” ปัจจบุ นั ต้ังอยทู่ ี่บริเวณเพรย์ อชะหลา (Prey Ochhloung) ผู้คนจงึ เรียกสถานทแี่ ห่งนีว้ า่ “เมอื งแกว้ เสมา” ตอนนีม้ ีสภาพเปน็ ป่าในเขตบา้ นศรเี พชร (Sre Preah) เมืองแก้วเสมา จงั หวัดมนดลครี ี (Mondolkili) ประเทศกมั พูชา ทกุ ครง้ั ทม่ี งี านเฉลมิ ฉลองหรอื พธิ กี รรมในหมบู่ า้ นคนทมี่ ี “แกว้ เสมา” จะนำ� ลกู แกว้ ออกมา เพอื่ ใหช้ าวบา้ นกราบไหวบ้ ชู ารว่ มกนั ครน้ั เสรจ็ พธิ กี รรมกจ็ ะนำ� กลบั ไปไวท้ บ่ี า้ น แตน่ บั ตง้ั แตย่ คุ พอลพต (ประมาณ ๔๐ ปีทีผ่ ่านมา) หรือยุคสงครามเขมรแดงทีม่ ีความขัดแย้งและเขน่ ฆ่ากันในประเทศ แกว้ วิเศษถกู ยึดไปหมด จึงไมเ่ หน็ ดวงแก้ววเิ ศษอกี เลยในปจั จุบนั 17

กิจกรรมส่งิ แวดลอ้ มศกึ ษาจากตำ� นานเมืองแกว้ เสมาสำ� หรับ นกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕-๖ หรอื นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น เปา้ หมาย • นกั เรยี นได้สบื หานทิ านและประเพณี พิธกี รรมทีเ่ คยสบื ทอดกนั มาในหมบู่ า้ น • นกั เรยี นมคี วามตระหนกั ถึงความหลากหลายของเร่อื งเล่าและทรพั ยากรในท้องถ่นิ ตน • นักเรียนมีความรแู้ ละตระหนกั ถงึ ความจริงท่ีวา่ ปจั จุบนั ทรพั ยากรหายากกว่าในอดีต • นกั เรียนมคี วามรู้และตระหนักวา่ การพัฒนากจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของมนษุ ย์ หรือการ พฒั นาเปล่ียนแปลงวิถีชวี ติ คนโดยการใช้ทรพั ยากรมากขนึ้ สง่ ผลให้ทรัพยากรธรรมชาติ ลดลง กจิ กรรมท่ี ๑ (ใชเ้ วลาประมาณ ๑ ช่ัวโมง) ๑. แนะน�ำเร่ืองท่จี ะเลา่ วา่ ก�ำลังจะเล่าเรอื่ งของ “ดวงแก้ววิเศษ” ซ่งึ เปน็ เรอื่ งเล่าของชาว บุนอง กลุ่มชนพื้นเมอื งในประเทศกัมพูชาในเรื่องเลา่ ถงึ ดวงแกว้ ลึกลับมากมาย ขอใหเ้ ดก็ ๆ ตัง้ ใจฟัง และคดิ ตามว่าเรอ่ื งราวที่จะเล่าต่อไปน้ีดวงแก้ววิเศษมคี วามสมั พันธ์อย่างไรกับช่ือของสถานที่ และ ดวงแกว้ วิเศษนัน้ สัมพันธก์ ับชีวติ ผคู้ นอย่างไร แล้วเริ่มอ่านหรอื เลา่ นิทานให้เสยี งดงั ฟงั ชัด ๒. เม่ือเลา่ เรื่องจบแลว้ ให้ชวนเดก็ ๆ สนทนาวา่ จากเร่อื งเล่าท�ำไมสถานทีแ่ หง่ น้ันจึงชือ่ วา่ “แกว้ เสมา” ๓. ถามเดก็ ๆ ตอ่ ไปวา่ “พลงั อะไรในดวงแกว้ ทที่ ำ� ใหผ้ คู้ นทอี่ าศยั อยใู่ นเมอื งแกว้ เสมาเชอื่ วา่ ดวงแก้วนน้ั เปน็ แกว้ วเิ ศษ” ๔. ชวนกนั สนทนาต่อไปว่า ผู้คนทีอ่ าศยั อย่ทู เ่ี มอื งแก้วเสมาใช้ดวงแก้ววเิ ศษในพิธกี รรม เพ่ือสวดภาวนาขอใหท้ ุกคนมีความสขุ แล้วในหมบู่ ้านหรอื ชุมชนของเรามกี ารจัดพิธีกรรมใดบา้ งไหม อาจจะแบง่ เด็กใหแ้ ลกเปลย่ี นความคดิ เห็นในกลุ่มย่อยแลว้ กลบั มาน�ำเสนอความคดิ เห็นต่อเพื่อน ทงั้ หมด ๕. ชกั ชวนเดก็ ๆ สนทนาว่าในหมบู่ า้ นหรือชมุ ชนของเรานน้ั มีสถานทหี่ รือสง่ิ ใดบ้างทม่ี ี เรอ่ื งเลา่ ทึล่ กึ ลบั เล่าสบื ต่อกันมานาน ๖. สนทนากับเด็กๆ ว่า “ดวงแกว้ วเิ ศษท่ีคร้ังหนึ่งเคยพบในเมอื งแกว้ เสมาแต่บัดนี้ไมม่ ีใคร พบเห็นอกี ต่อไป แลว้ ในหมู่บ้านหรือชุมชนของเราตอนนมี้ ีทรพั ยากรอะไรบา้ งทีย่ งั มีอยู่” โดยเขียน คำ� ตอบของเดก็ ๆ ลงบนกระดาน 18

๗. สนทนากบั เด็กๆ ตอ่ ไปว่า “ในชุมชนของเรานน้ั เคยมที รัพยากรอะไรทีเ่ คยพบเห็นใน อดตี แตป่ จั จุบนั มีนอ้ ยลงหรือหายไปแลว้ ถา้ มีเด็กๆ คดิ ว่าท�ำไมมนั จึงนอ้ ยลงหรือหายไป” แลว้ เขยี น ความคิดเห็นของเด็กลงบนกระดาน ๘. สนทนากบั เดก็ ๆ ให้เด็กช่วยกันคิดวา่ เป็นเพราะอะไรทรัพยากรบางอย่างจึงสูญหาย ไป แลว้ เขยี นความเหน็ ของเดก็ ๆ ลงบนกระดาน ๙. ชักชวนเดก็ ๆ ใหช้ ว่ ยกนั คิดวา่ มีแนวทางใดบา้ งทจ่ี ะรักษาทรัพยากรทมี่ ีอยูต่ อนนีไ้ มใ่ ห้ หมดไป แล้วเขยี นความคิดเหน็ ของเดก็ ๆ ลงบนกระดาน ๑๐. สนทนาสรุปกิจกรรมเพือ่ ช้ีใหเ้ ดก็ ๆ เหน็ วา่ “ยงั มีเรอ่ื งเลา่ นิทานพืน้ บ้านมากมายที่ มีการเล่าสืบต่อกันมาจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งในหมู่บ้านและมีขนบธรรมเนียมประเพณีท่ี เชอ่ื มโยงกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และยงั มคี วามเชอื่ มโยงกบั ชวี ติ ประจำ� วนั ของผคู้ นทตี่ อ้ งพง่ึ พาอาศยั ทรัพยากรธรรมชาติ และมีหลายอย่างทีส่ ามารถทำ� เพ่อื ปกป้องมนั ไว้ กจิ กรรมท่ี ๒ สมั ภาษณ์ โดยใหเ้ ดก็ ๆ ไปสมั ภาษณก์ อ่ นจะเรม่ิ กจิ กรรมใชเ้ วลาประมาณ ๑ ชว่ั โมง (ไมร่ วมสมั ภาษณ)์ ๑. แบง่ กลมุ่ ยอ่ ยใหเ้ ดก็ ๆ ออกไปคน้ หาประวตั คิ วามเปน็ มาของชอ่ื หมบู่ า้ นหรอื อำ� เภอของตน โดยไปคยุ สมั ภาษณ์คนเฒ่าคนแก่ในชุมชน ๒. ใหเ้ ดก็ ๆ แตล่ ะกลมุ่ สบื หาดว้ ยวา่ มกี ารทำ� พธิ กี รรมอะไรบา้ งในชมุ ชน ชมุ ชนจะประกอบ พธิ ีกรรมน้ันเมอ่ื ใด และทำ� พิธีกรรมนน้ั เพอื่ อะไร โดยไปคยุ สัมภาษณ์คนเฒา่ คนแก่ในชมุ ชน ๓. ชกั ชวนเดก็ ๆ ตงั้ คำ� ถามและคดิ ถงึ ทม่ี าของชอื่ สถานท่ี พธิ กี รรมในชมุ ชน และปรากฏการณ์ ธรรมชาติในทำ� นองเดยี วกนั กบั ข้อที่ ๑-๓ ในกจิ กรรมท่ี ๑ ๔. ใหเ้ ดก็ ๆ แตล่ ะกลมุ่ กลับมานำ� เสนอส่งิ ท่ีกลุม่ ตนไดค้ ้นพบจากการไปสัมภาษณค์ นใน ชุมชนจากข้ันตอนที่ ๑ และ ๒ ๕.ดำ� เนนิ การเหมอื นขึน้ ตอนท่ี ๗-๑๐ ในกิจกรรมที่ ๑ โดยชวนเดก็ ๆ สนสนทนาถงึ ความ สัมพนั ธข์ องชมุ ชนกบั ทรพั ยากรจากอดีตแต่ปจั จบุ นั มนี อ้ ยลงหรือหายไปแลว้ แล้วชว่ ยกนั คดิ หา สาเหตุวา่ ท�ำไมมันจงึ นอ้ ยลงหรือหายไป แลว้ เขยี นความเหน็ ของเด็กๆ ลงบนกระดาน แล้วชกั ชวน ใหค้ ดิ ตอ่ ไปวา่ จะมแี นวทางใดบา้ งทจี่ ะชว่ นรกั ษาทรพั ยากรทม่ี อี ยตู่ อนนไี้ มใ่ หห้ มดไป โดยเชอื่ มโยงให้ เดก็ ๆ เหน็ วา่ เรอ่ื งเลา่ นทิ านพน้ื บา้ นมากมายทม่ี กี ารเลา่ สบื ตอ่ กนั มาจากคนรนุ่ หนง่ึ สคู่ นอกี รนุ่ หนง่ึ นน้ั แฝงไว้ด้วยความรู้และมคี วามสัมพนั ธก์ บั ขนบธรรมเนยี มประเพณีในชมุ ชนซ่ึงมคี วามเช่อื มโยงกบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และชวี ิตประจำ� วนั ของผู้คน เพราะคนเราต้องพึ่งพาอาศยั ทรัพยากรธรรมชาติ และเรากส็ ามารถชว่ ยกนั ปกปอ้ งมันไว้ 19

กิจกรรมท่ี ๓ วาดภาพอนาคต (ใช้เวลาประมาณ ๔๐ นาท)ี ๑. ดำ� เนนิ การตามข้นั ตอนท่ี ๑ – ๘ ตามกิจกรรมที่ ๑ ๒. ชักชวนเดก็ ๆ ให้ชว่ ยกันคิดเก่ยี วกับอนาคตของ... (ระบชุ อ่ื ทรัพยากรทชี่ ่วยกันเลือก) ทีอ่ ย่รู อบๆ ตัวเราและลดนอ้ ยลงจากทีเ่ คยมีในอดตี ๓. สนทนากบั เด็กว่าทรพั ยากรท่นี ้อยลงไปจากทเี่ คยมใี นอดตี เปน็ เพราะอะไร แล้วชวน เด็กๆ คดิ วา่ จะเกดิ อะไรข้ึนกับทรัพยากรนน้ั ในอนาคต มนั จะเพ่มิ จ�ำนวนขน้ึ หรอื ลดลงจากตอนนี้ ๔. ชวนเดก็ ชว่ ยกันวาดแผนภาพความเปลีย่ นแปลงของทรัพยากรจากอดีตจนปจั จบุ ัน (โปรดดจู ากกจิ กรรมท่ี ๓ ในเรอื่ งนกฮูกกบั กวาง) โดยใหอ้ ดีตเริม่ อยู่ทางดา้ นซา้ ยมอื ของแผนภาพ ๕. บนแผนภาพใหเ้ ขียนวา่ เกดิ อะไรขึน้ บา้ งเร่ิมจากอดตี จนกระทัง่ ปจั จุบนั ๖. ชกั ชวนเด็กคดิ และสนทนากันวา่ สิง่ ใดบ้างท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ จากปัจจบุ ันนีแ้ ละผลจาก เหตกุ ารณ์น้นั ตอ่ ไปในอนาคต แล้วเขยี นความคิดเหน็ ของเดก็ ๆ ลงบนแผนภาพอนาคตบนกระดาน ๗. ชวนเดก็ ๆ สนทนาใหค้ วามคิดเห็นวา่ พวกเขาสามารถท�ำอะไรได้บ้างหากในอนาคต ต้องการใหท้ รัพยากรนัน้ หลงเหลืออยู่ แลว้ เขยี นความคดิ เหน็ ลงบนแผนภาพอนาคตด้วย ๘. ตรวจดภู าพรวมของแผนภาพแลว้ สรปุ กิจกรรมว่าเกดิ อะไรข้ึนบา้ งจากอดตี จนปจั จบุ นั และสถานการณใ์ นปจั จบุ นั แลว้ จะตอ้ งทำ� อะไรบา้ งเพอื่ ใหท้ รพั ยากรนนั้ ๆ คงเหลอื อยใู่ นชมุ ชนหมบู่ า้ น ของเราในอนาคต 20

บทท่ี ๔ ผาแดงนางไอ่ (Pha-Daeng and Nang Ai) 21

22

เม่ืออ่าน หรอื เล่าเรือ่ งนทิ านเรื่องผาแดงนางไอ่ให้พจิ ารณาเรอื่ งภมู ิศาสตร์และ แร่ธาตตุ า่ งๆ เรื่องน้ีเล่าโดยนายถาวร มะโนศิลป์ อายุ ๖๗ ปี ชาวบา้ นโนนแสวง ต�ำบลนาม่วง อำ� เภอ ประจกั ษ์ศิลปาคม จงั หวัดอดุ รธานี เมอ่ื วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ซ่งึ เป็นต�ำนานท่ีเล่าถึงก�ำเนิด ของหนองหานกมุ ภวาปี จงั หวดั อดุ รธานี ทะเลสาบน้ำ� จดื ขนาดใหญ่ ท่ีปรากฏชอ่ื บ้านนามเมืองและ สถานท่ีรอบๆ หนองน�ำ้ น้มี ที ่มี าเกยี่ วข้องกบั ต�ำนานเรอื่ งนี้ นอกจากนี้เน้อื กระรอกเผือก หรือเนื้อ พญานาคตามต�ำนานนีช้ าวบ้านยังเทยี บว่าเปรยี บได้กับเกลือและแรโ่ พแทช ท่กี ำ� ลังมีการสำ� รวจเพือ่ ท�ำเหมืองแรใ่ ต้ดินอยูท่ ว่ั ภาคอีสานว่าถา้ หากคนนำ� เกลือและแร่โพแทชมาใช้มากเกินไปแผ่นดินจะ ถล่มทลายลงเหมือนกับชาวเมืองคีตานคร และนางไอ่ค�ำ ที่กินเนื้อกระรอกเผือกแล้วเมืองก็ถูก ทำ� ลายถลม่ จมลง ทา้ วพังคซี ่ึงเปน็ ลกู พญานาค เป็นคนมีกรรมเก่ยี วโยงกับนางไอ่ค�ำ หรือนางองคำ� ในชาติ ปางก่อน โดยที่ชาตกิ อ่ นทา้ วพังคีเคยเกิดเปน็ ชายใบ้สามีของ “นางองค�ำ” ลกู สาวเศรษฐผี มู้ ีหนา้ ตา งดงามเลอื่ งลือ แตน่ างกลับไมส่ มคั รรกั ใครช่ ายใด ขณะทพี่ ่อแมเ่ ศรษฐีไดเ้ หน็ ชายใบค้ นหนง่ึ ซง่ึ เปน็ คนขยัน เลยชวนมาอยู่ด้วยพ่อแม่นางองค�ำนั้นอยากให้ลูกสาวแต่งงานกับนายใบ้เพราะเป็นคน ขยนั ขันแขง็ แตน่ ายใบค้ ิดเสมอวา่ ตนตำ�่ ต้อยไมค่ ู่ควรกับนางองคำ� เลยไมส่ นใจนาง แม้จะแต่งงาน กนั แล้วตามผู้ใหญต่ อ้ งการ แต่กไ็ มม่ ีความสัมพันธก์ ับนางแม้อยกู่ นิ กนั มาเนน่ิ นาน อยมู่ าวนั หนงึ่ ครนั้ ชายใบท้ ำ� งานมเี งนิ ทองรำ�่ รวยแลว้ อยากกลบั ไปเยย่ี มหาพอ่ แมท่ อ่ี ยบู่ า้ นเดมิ ฝา่ ยนางองคำ� เมอื่ รเู้ ชน่ นน้ั กข็ อตามไปดว้ ยหวงั จะไดใ้ กลช้ ดิ สามแี ละไดไ้ ปเยย่ี มปเู่ ยยี่ มยา่ แมว้ า่ ชายใบ้ จะแสดงท่าทางไม่อยากใหน้ างไปดว้ ยก็ตาม คร้ันเม่ือออกเดินทางไปในป่านายใบ้ก็เดินดุ่มไม่สนใจเมีย เพราะอยากหนีนางไปให้พ้น แตเ่ มียกเ็ พยี รติดตามผวั มาดว้ ยความอดทน จนยำ�่ ค่ำ� ก็มาถงึ ต้นมะเด่อื ท่ีออกผลสุกดกด่ืนเตม็ ต้นอยู่ รมิ แม่น�ำ้ นายใบ้ปีนข้นึ ไปกนิ มะเดือ่ อยู่บนต้นไมส่ นใจโยนลงมาใหน้ างองค�ำกนิ เลย นางองค�ำทนหิว ไมไ่ หวตอ้ งหาเกบ็ กนิ มะเดอ่ื เนา่ ๆ ทหี่ ลน่ ตามดนิ และรอวา่ ถา้ ผวั ลงมาคงไดก้ นิ มะเดอื่ สดๆ แตช่ ายใบ้ ไม่ยอมลงจากตน้ มะเด่อื นอนอยบู่ นนัน้ ฝา่ ยนางองค�ำเหน่ือยออ่ นจนเผลอหลับไปใต้ต้นไม้ ผวั เห็น เมียหลับก็ยอ่ งลงมาแลว้ หนีจากไป ทิง้ นางองคำ� ไว้คนเดียว โชคดไี ม่มีเสือมากิน ครั้นนางตืน่ มาไม่ เห็นผวั อยากออกเดนิ ตามหาก็ไม่รทู้ างไปจึงพลดั หลงอยู่ในปา่ จน มาเจอนายพรานคนหนง่ึ เขาร้สู กึ สงสารนางจงึ อาสาพาไปสง่ รมิ ฝง่ั แมน่ ำ้� แลว้ บอกวา่ ขา้ มแมน่ ำ้� ขน้ึ ไปกเ็ จอหมบู่ า้ นแลว้ แตร่ ะหวา่ งขา้ ม แม่น้ำ� นางองค�ำกลับจมนำ�้ ตาย ก่อนตายได้อธิษฐานจติ ดว้ ยนอ้ ยใจว่าชาตินตี้ นเกดิ มารักเขาข้างเดียว 23

แต่เขาไม่ใยดี ถ้าเกิดชาติหน้าขอให้ชายใบ้ได้ประสบทรมานจากความรักเช่นกันกับนางในชาติน้ี ขอให้ต้องตามรกั นางจนตวั ตาย ในชาติต่อมา นางองค�ำได้มาเกิดเป็นลูกสาวเจ้าเมืองคีตานคร ชื่อว่า “นางไอ่ค�ำ” ส่วน นายพรานเกดิ เป็น “ท้าวผาแดง” เจ้าชายเมืองผาโพง ส่วนนายใบ้เกดิ มาเปน็ “ท้าวพังค”ี พญานาค เจา้ ชายแหง่ เมอื งบาดาล ความงามของนางไอค่ ำ� เปน็ ทข่ี น้ึ ชอ่ื ลอื ชาไปจนถงึ เมอื งผาโพงของทา้ วผาแดง ท้าวผาแดงจงึ มาหาไปเก้ยี วพาราสนี างเป็นประจำ� และความงามของนางไอ่คำ� นน้ั เปน็ ที่ลอื ไปไกล จนถงึ เมืองบาดาล “ทา้ วพงั ค”ี เจา้ ชายพญานาคกอ็ ยากยลโฉมของนางไอ่คำ� อยมู่ าจนถงึ ชว่ ง “บญุ เบกิ ฟา้ จุดบ้ังไฟ ขอฝน” คอื งานบุญประจำ� ปใี นเดอื น ๕ เดือน ๖ เพอื่ ขอฝนกบั แถนเทวดา เมอื งคตี านครไดจ้ ดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั จดุ บงั้ ไฟ เจา้ เมอื งไดส้ ง่ เทยี บเชญิ ไปบอก กล่าวเมอื งตา่ งๆ ใหม้ าแข่งขันบง้ั ไฟ รวมท้ังเมืองผาโพง เมืองเชยี งเหียน เมอื งนา้ ชายของนางไอค่ ำ� โดยมกี ติกาว่าถา้ เมืองเชียงเหียนชนะจะยกเมืองให้ครอง แต่ถา้ ทา้ วผาแดง เมอื งผาโพงชนะ จะยก นางไอ่ค�ำใหเ้ ปน็ คคู่ รอง เรอ่ื งราวข่าวบุญบ้งั ไฟกระจายไปจนถงึ เมอื งบาดาลของท้าวพงั คดี ้วย ในการแขง่ บั้งไฟปรากฏว่าบัง้ ไฟของทา้ วผาแดงจดุ ไมข่ ้นึ ทา้ วผาแดงแพ้ แต่หลงั งานบุญ ท้าวผาแดงก็เดินทางมาเยย่ี มเยอื นนางไอค่ ำ� มิได้ขาดเพราะทั้งสองมใี จต่อกนั ฝา่ ยทา้ วพงั คีนั้นได้ แปลงกลายเปน็ กระฮอกดอ่ น (กระรอกเผือกสขี าว) แขวนกระดิง่ ทองคำ� ไปกระโดดโลดเลน่ อยใู่ น ลานน่งั เลน่ ของนางไอใ่ ห้นางไอ่เหน็ เมือ่ นางไอค่ ำ� เหน็ ก็นกึ อยากไดม้ าเลย้ี ง เลยสัง่ ใหน้ ายพรานมา จับกระฮอกเผือกให้ นายพรานซ่ึงเปน็ ชาวบ้าน “กงพาน” ก็ออกไปป่าวรอ้ งเรยี กใหค้ นชว่ ยจบั โดย เริม่ แรกกระฮอกนอ้ ยน่นั แล่นหนีเข้าปา่ สวนมอนปัจจบุ ันคือ “บา้ นสวนมอน” ว่ิงผา่ นป่าไม้มตี น้ จาน หลาย คอื บรเิ วณดอนอุม่ จานหรือ “บา้ นอุ่มจาน” ในปัจจบุ ัน แตจ่ บั กระฮอกไม่ได้ มันแล่นลอดจาก อมุ่ จานไปอยโู่ พนทองคอื “บา้ นโพนทอง” ในปจั จบุ นั ยงั จบั ไมไ่ ด้ นายพรานระดมยงิ ธนจู นสายธนขู าด กย็ งั จบั ไมไ่ ด้ บรรดาพรานเลยพากนั ไปลอกเอาสายปอปา่ นแลว้ หาบคอนสายปา่ นออกมาจากปา่ บรเิ วณ “บ้านคอนสาย” ในปัจจุบนั จึงไดส้ ายธนูมายิงกระฮอกจนหมดลูกธนกู ็ยงั ไมโ่ ดน ขณะท่ีนายพราน ระดมยิงธนู หรือหน้าไม้น้นั เกดิ มีเสยี งดงั พึกบรเิ วณนั้นจึงได้ชอ่ื วา่ “บา้ นเมอื งพึก” ในปจั จบุ ัน สว่ น พังคีใหบ้ ริวารตนแปลงเปน็ นกเป็นงูมารดั บรรดานายพราน สู้กันแตน่ ายพรานก็ยิงหน้าไม้ไปใสท่ หาร ตายหมด กระฮอกหนผี า่ นโพนทองไปในปา่ ทนี่ น่ั มโี พรงไมใ้ หญ่ นายพรานเหน็ วา่ กระฮอกนน้ั ตอ้ งอยู่ ในโพรงเลยระดมกนั ยง่ิ หนา้ ไมธ้ นอู กี รอบโดยยงิ่ เขา้ ไปพรอ้ มกนั หลายคน กระฮอกก็ยงั ไมต่ ายวง่ิ หนี เข้าไปในป่าหาไม่พบ เลยเรียกเอาพ่อใหญ่เซียงสม มาจบั ยามสามตาหาจนเหน็ แลว้ ตัง้ รางวัลน�ำล่า กระฮอกเป็นเงิน บรเิ วณนีค้ ือ “บา้ นดอนเงิน” ในปจั จบุ ัน หมู่พรานพากนั ลา่ กระฮอกจนพบอยู่บน ต้นมะเด่ือ นายพรานเลยยงิ โดนกระฮอกตกลงมา พอ่ ใหญ่เซยี งสมจงึ นำ� กระฮอกไปแลช่ �ำแหละเนื้อ อยู่ “บา้ นเชยี งแหว” ในปจั จบุ นั แตป่ รากฏวา่ ยงิ่ เฉอื นยงิ่ แบง่ เนอ้ื กระฮอกกย็ ง่ิ เพม่ิ ขนึ้ เปน็ เทา่ เปน็ ทวี นบั ไดเ้ นอื้ กระฮอกมากถงึ ๑,๐๐๐ เลม่ เกวยี น บรรดาผลู้ า่ กระฮอกจงึ เรยี กผคู้ นทว่ั ทง้ั เมอื งคีตานคร 24

มาแบง่ เนอ้ื กระฮอกไปกิน ยกเว้นพวกแมม่ า่ ยทไี่ มม่ ผี วั ไม่ไดร้ ับแบง่ เน้อื กระฮอกด้วยเพราะเหน็ วา่ บรรดาแมม่ า่ ยไมม่ ลี กู มผี วั ไมไ่ ดไ้ ปชว่ ยไลล่ า่ กระฮอกดว้ ย ชาวเมอื งพากนั นำ� เนอ้ื กระฮอกไปทำ� อาหาร กล่ินเนอ้ื น่ันหอมอบอวล ส่งกลน่ิ หอมไปไกลจนถึงเมอื งแถนบนฟ้า ฝ่ายพญานาคใต้บาดาลได้ข่าวพังคีลูกชายถูกฆ่าตายก็โกรธแค้น ส่ังการน�ำพลนาคข้ึนไป ล่มเมืองโดยส่ังว่าไม่ว่าที่ใดที่เลือดเน้ือพังคีตกอยู่ให้ถล่มให้ราบ ฝ่ายท้าวผาแดงขี่ม้าบักสามมาหา นางไอ่ค�ำขณะย่�ำเย็นผู้คนก�ำลังทานอาหารเย็นเหมือนทุกวันท่ีผ่านมา เม่ือเข้าเมืองคีตานครก็ได้ กล่ินหอมอาหาร มาถึงหอนางไอ่ก�ำลังกินข้าวจึงถามว่า “ไอ่เอ้ยเจ้ากินข้าวกับหยังหน้อ” นางไอ่ บอกว่ากนิ ข้าวกับลาบกระฮอกดอ่ นตวั ทแี่ ขวนกระด่งิ ทองคำ� ผาแดงตกใจและพูดไปว่า “เจ้าคือกนิ เนอ้ื กระฮอกด่อน บย่ า่ นกลวั บา้ นเมอื งถลม่ หรอื ” ไมท่ นั ขาดคำ� กไ็ ดย้ นิ เสยี งแผน่ ดนิ ดงั เลอ่ื นลนั่ มาจาก ทา้ ยเมือง ผาแดงบอกนางไอ่ให้รีบข้ึนหลังมา้ เพื่อหนเี อาตวั รอดนางไอ่หยิบสงิ่ ของสำ� คัญได้ แหวน สรอ้ ย ฆอ้ ง กลอง ทองคำ� ขึ้นมา้ ไปด้วย แตป่ รากฏวา่ ม้าบักสามวง่ิ ไม่ไหวเพราะดินถล่มอย่างรวดเร็ว เม่อื ถึงห้วยนำ�้ ทา้ วผาแดงบอกใหน้ างไอโ่ ยนสิง่ ของท่มี ันหนกั ทิง้ ลง นางไอ่จึงโยนฆอ้ งทิง้ ลงทบ่ี รเิ วณ หว้ ยนำ�้ ฆ้องในปจั จุบัน แต่ม้ากย็ ังไปต่อไมไ่ ด้ เลยโยนกลองท้งิ อีกก็ยังไปไม่ไดจ้ งึ โยนแหวน โยนสรอ้ ย ทิง้ ไปจนหมดสน้ิ แล้วเหลอื แตต่ ัวนางไอ่ แต่มา้ ก็ยงั กระโดดข้ามห้วยไมไ่ ด้เพราะมพี ญานาคแปลงกาย มาเป็นขอนไมข้ วางทางมา้ บักสามไปตอ่ ไม่ไดผ้ าแดงคิดหาวธิ จี ะชว่ ยนางไอ่ จงึ น�ำเอาหลกั ไมไ้ ปปักไว้ กบั เลนดนิ ใหน้ างไอจ่ บั หลกั ไวก้ อ่ น คอื บรเิ วณหว้ ยหลกั นาง ในปจั จบุ นั แลว้ ผาแดงควบพามา้ ไปพน้ ฝง่ั แลว้ จะกลบั มารบั เอานางไอ่ แตผ่ าแดงยงั กลบั มาไมถ่ งึ นางไอก่ จ็ มนำ้� จมดนิ ลงไปเลย ผาแดงเมอื่ ถงึ ฝง่ั เหลียวกลับมาก็มองเห็นแต่ผืนน้�ำเต็มไปหมด แผ่นดินกลายเป็นหนองน้�ำใหญ่ หรือ “หนองหาน” นบั แตน่ นั้ มา 25

26

27

กิจกรรมส่งิ แวดลอ้ มศึกษาจากนิทานเรอื่ งผาแดงนางไอ่ ส�ำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๔ จุดม่งุ หมาย • นักเรียนมคี วามรแู้ ละความตระหนกั เรอ่ื งลักษณะทางภูมศิ าสตรใ์ นท้องถิ่นที่เราอาศัยอยู่ • นักเรียนมีความตระหนักถึงความเชอ่ื มโยงระหว่างภมู ิศาสตร์และชวี ิตของผู้คนในแต่ละ ทอ้ งถิ่น • ไดพ้ ฒั นาความรู้สึกคนุ้ เคย ความรักผกู พนั กบั พืชพรรณ สตั ว์ จนอยากดแู ลอย่างดี กจิ กรรมท่ี ๑ (ใชเ้ วลาประมาณ ๓๐ - ๔๐ นาที) ๑. ถามเดก็ ๆ วา่ เดก็ ๆ รจู้ กั ทะเลสาบนำ้� จดื หนองหานหรอื ไม่ (อาจจะถามถงึ พนื้ ทภ่ี มู ศิ าสตร์ อ่นื ๆ ในทอ้ งถนิ่ เพ่อื ทจี่ ะสนทนากนั ในกิจกรรมนี)้ ใครเคยไปหนองหานมาแล้ว ทน่ี น่ั เปน็ อยา่ งไรบ้าง ๒. นำ� เขา้ สู่นิทานโดยบอกเด็กว่ากำ� ลงั จะอ่าน หรือเลา่ เรื่องเก่ียวกบั ทะเลสาบหนองหาน ขอให้ตง้ั ใจฟังติดตามว่าหนองหานเกิดขึน้ มาได้อย่างไร แลว้ ก็เล่านิทานด้วยนำ้� เสียงดงั ฟังชดั ๓. เมอ่ื เลา่ นทิ านจบลง ชวนเด็กสนทนาวา่ ท�ำไมแผน่ ดินจึงทรุดตวั ลงเป็นทะเลสาบได้ ๔. สนทนากบั เดก็ ๆ ถงึ สตั ว์ พืช ทปี่ รากฏในเรื่อง และเขยี นชื่อสตั ว์หรอื พชื ท่ีเดก็ ๆ บอก ลงบนกระดาน และส�ำหรบั พืช หรอื สัตวท์ เี่ ด็กๆ ลืมนึกถงึ กเ็ ขียนลงไปพรอ้ มกับพูดวา่ “เจ้าตัวน.ี้ ..ก็ ปรากฏอยู่ในเรือ่ งใชไ่ หมนะ” ๕. สนทนากับเด็กวา่ และถามว่าเดก็ เคยเห็นปรากฏการณ์แผ่นดนิ ทรุดบา้ งไหมในรอบๆ หมู่บา้ นของเรา หรอื ทอี่ ่นื ๆ ๖. สนทนากบั เดก็ ๆ ว่าเดก็ ๆ เคยสังเกตเหน็ พืช หรือสตั วท์ ี่ปรากฏในนิทานอยใู่ นบรเิ วณ รอบๆ ชมุ ชนของเราหรือไม่ และเขียนลงบนกระดาน หรอื อาจจะยดึ เอาคำ� ตอบทไ่ี ด้จากข้อ ๔ ๗. สนทนากบั เดก็ ๆ ถงึ ชอื่ สถานทหี่ รอื ชอื่ หมบู่ า้ นในชมุ ชนของเขาทเ่ี ชอื่ มโยงกบั นทิ านพน้ื บา้ น หรอื ตำ� นานตา่ งๆ บา้ งไหม แลว้ เรอ่ื งราวนนั้ เปน็ อยา่ งไร มพี ชื และสตั วอ์ ะไรทปี่ รากฏในนทิ านของเขาบา้ ง ถ้ามีขอให้เดก็ ๆ เลา่ นทิ านของตัวเองให้เพ่อื นๆ ฟงั ๘. สรุปกิจกรรมว่าในชุมชนเราน้ันมีลักษณะทางภูมิศาสตร์เฉพาะ และมีพืชและสัตว์ จำ� นวนมากอาศยั อยู่ร่วมกนั กบั ผ้คู นในชมุ ชนของเราดว้ ย 28

กจิ กรรมส่ิงแวดล้อมศกึ ษาจากนิทานเรอ่ื งผาแดงนางไอ่ ส�ำหรบั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕-๖ หรือชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น เปา้ หมาย • นกั เรยี นได้ความรู้เกยี่ วลักษณะทางภูมิศาสตร์ของพ้นื ที่ • นกั เรยี นมคี วามตระหนกั ถงึ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งลกั ษณะภมู ศิ าสตรข์ องพน้ื ทกี่ บั วถิ ชี วี ติ ของผคู้ น • นักเรียนมีความตระหนักว่าประเพณีในท้องถิ่นท่ีสืบทอดกันมาน้ัน มีความเชื่อมโยงกับ ปรากฏการณท์ ีเ่ กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ • นกั เรยี นได้ขบคิดเก่ยี วกับปัญหาสง่ิ แวดล้อมในทอ้ งถ่นิ กิจกรรมท่ี ๑ (ใชเ้ วลาประมาณ ๑ ชั่วโมง) ๑. แนะน�ำเรอื่ งท่กี ำ� ลงั จะเล่าวา่ เป็นเร่อื งการเกดิ ของทะเลสาบหนองหานขอใหต้ ้ังใจฟัง และหาเหตุผลว่าเกิดมีหนองน�้ำใหญน่ ้ขี น้ึ มาได้อย่างไร แลว้ อา่ นหรือเล่าเรอื่ งด้วยเสียงดงั ฟงั ชัด ๒. เมอ่ื เลา่ นทิ านจบสนทนากบั เดก็ ๆ วา่ มชี อ่ื สถานทใี่ นหมบู่ า้ นของเราทเ่ี หมอื นกบั ในตำ� นาน หรือนิทานบา้ งไหม สถานทน่ี นั้ ชอ่ื ว่าอะไร ขอใหเ้ ดก็ เลา่ ใหเ้ พอ่ื นๆ ฟงั ๓. ถามนกั เรียนตอ่ ไปวา่ เคยรูเ้ รือ่ งเก่ียวกบั ปรากฏการณ์แผน่ ดินทรดุ แบบในนทิ านน้ีทไ่ี หน บ้างไหม มพี ้ืนทต่ี รงไหนทีเ่ กิดเหตุการณ์แบบนใี้ นรอบๆ หมู่บ้านบา้ งไหม และรูไ้ หมว่าเกิดจากอะไร ขอใหน้ ักเรียนเล่าให้เพื่อนฟัง ๔. สนทนากนั ตอ่ วา่ เดก็ ๆ รไู้ หมวา่ เกลอื ทเ่ี ราใชป้ รงุ อาหารมาจากไหน และรไู้ หมวา่ เขาผลติ เกลือกันอยา่ งไร และใหเ้ ด็กอธบิ ายคำ� ตอบของตัวเอง ๕. สรปุ กจิ กรรมในทำ� นองวา่ ชอื่ ของสถานทแี่ ละลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรม์ กั มคี วามเชอ่ื มโยง กนั เสมอเหมอื นดงั ในนทิ าน หรอื ตำ� นานกม็ คี วามเชอื่ มโยงกบั ปรากฏการณท์ างภมู ศิ าสตรท์ เี่ คยพบเหน็ ในพน้ื ท่ี หรือสรุปเรอ่ื งปัญหาสิง่ แวดล้อมท่ีเกิดข้ึนในพืน้ ทที่ ีค่ นถิน่ คนุ้ เคย 29

กิจกรรมท่ี ๒ สมั ภาษณ์และจัดทำ� แผนภาพอนาคต (ใช้เวลาประมาณ ๔๐ นาท)ี ๑. ใหเ้ ดก็ ๆ ไปสอบถามผใู้ หญท่ ม่ี คี วามรเู้ รอื่ งธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในหมบู่ า้ นโดยเฉพาะ อย่างยิง่ เรือ่ งป่าไม้ แม่น้ำ� หนองนำ้� (ทะเลสาบ) มคี วามเปลยี่ นแปลงอะไรบ้างในรอบ ๑๐ - ๒๐ ปี ทผ่ี า่ นมาแลว้ สรปุ สง่ิ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ พน้ื ทใี่ กลช้ มุ ชนทมี่ กี ารผลติ เกลอื ใหเ้ ดก็ ไปพจิ ารณา ดถู งึ สภาพความเปลยี่ นแปลงของส่ิงแวดลอ้ มทีเ่ กดิ ขน้ึ ในพ้นื ท่ี ๒. ดำ� เนนิ การเหมอื น ขอ้ ท่ี ๑-๔ เหมอื นในกจิ กรรมท่ี ๑ โดยถามถงึ ชอื่ สถานทใี่ กลห้ มบู่ า้ น ของเราทเี่ หมอื นกับในตำ� นานหรือนิทานบา้ งไหม สถานทนี่ นั้ ชื่อว่าอะไร ขอให้เด็กเลา่ ให้เพ่ือนๆ ฟัง และสนทนาต่อไปว่านกั เรียนเคยรูเ้ ร่ืองเกย่ี วกับปรากฏการณแ์ ผ่นดนิ ทรุดนีท้ ไี่ หนบา้ งไหม มีพ้นื ที่ ตรงไหนท่ีเกดิ เหตุการณ์แบบน้ีในรอบๆ หมูบ่ า้ นบา้ งไหม และรไู้ หมว่าเกดิ จากอะไร ขอใหน้ ักเรียน เล่าใหเ้ พือ่ นฟัง สนทนาต่อเนื่องว่าเดก็ ๆ รไู้ หมวา่ เกลอื ทเี่ ราใชป้ รงุ อาหารมาจากไหน และรไู้ หมว่า เขาผลิตเกลือกันอย่างไร และให้เดก็ อธบิ ายคำ� ตอบของตัวเอง ๓. ชักชวนใหค้ ดิ เก่ยี วกบั อนาคตของพืน้ ทีท่ ่มี กี ารผลติ เกลอื (ปา่ แม่น�้ำ หรอื ทะเลสาบ) แลว้ ช่วยกันวาดแผนภาพความเปล่ียนแปลงของแหลง่ ผลติ เกลือจากอดตี จนปันจุบนั (ดรู ายละเอียด ในกจิ กรรมที่ ๓ จากเรอื่ งนกเคา้ แมวกบั ฟาน) โดยกำ� หนดเหตกุ ารณใ์ นอดตี ไวด้ า้ นซา้ ยมอื ของแผนภาพ ๔. บนแผนภาพให้เขยี นวา่ อะไรเกดิ ขึน้ บา้ งโดยเริ่มจากเหตุการณใ์ นอดีตมาจนถงึ ปจั จบุ ัน ๕. สนทนาและถามนกั เรยี นวา่ อะไรทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ตอ่ ไปจากปจั จบุ นั สอู่ นาคตหากไมต่ อ้ งการ เห็นทรัพยากรสญู หายไป และเขียนคำ� ตอบลงบนแผนภาพ ๖. ชักชวนนกั เรียนแสดงความคิดเหน็ ว่าเราจะท�ำอะไรได้บา้ งจากปจั จุบนั นเี้ รื่อยไปจนใน อนาคตเพอ่ื ทจี่ ะทำ� ใหย้ งั มที รพั ยากรเหลืออยู่ แลว้ เขยี นความคิดเห็นเพิ่มลงไปในแผนภาพ ๗. พจิ ารณาดแู ผนภาพทช่ี ว่ ยกนั วาดและสรปุ ใหเ้ หน็ วา่ อะไรเกดิ ขนึ้ บา้ งจากอดตี จนปจั จบุ นั และทำ� ใหเ้ กดิ สถานการณใ์ นปจั จบุ นั และระดมความคดิ เหน็ จากเดก็ ๆ วา่ อะไรจะเกดิ ขน้ึ บา้ งในอนาคต เพอื่ ทีจ่ ะให้ทรพั ยากรยังคงอยู่ในพน้ื ทีช่ ุมชนหมูบ่ า้ น 30

บนั ทกึ ถึง ครูผ้สู อนหรือวิทยากรกระบวนการ หนงั สอื คมู่ อื สงิ่ แวดลอ้ มศกึ ษา “นิทานธรรมชาติ: เลา่ ความร้สู บื ต่อกันไป” เลม่ เล็กๆ น้ีมี เปา้ หมายเพอ่ื ทใ่ี ช้เปน็ เคร่ืองมือในการสอน หรือชว่ ยใหน้ ักเรยี นในระดับช้นั ประถมศึกษาและระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ได้หันมองในเรือ่ งธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมท่ีพวกเขาคุ้นเคยอยรู่ อบๆ ตัวและ ฝึกคิดถงึ ปัญหาด้านส่งิ แวดลอ้ มโดยใชน้ ิทานทเี่ ลา่ สบื ต่อๆ กันมาในชุมชนลมุ่ แม่นำ�้ โขงท้ังในประเทศ ไทยและประเทศเพอ่ื นบา้ น คณะผู้จัดท�ำหวงั เปน็ อยา่ งย่งิ วา่ จะสามารถนำ� เร่อื งราวเหล่าน้ีไปสร้าง โอกาสใหเ้ ดก็ ๆ ได้คิดค�ำนงึ ถงึ วถิ ชี วี ิตของคนในชุมชน ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมรอบตวั กลุ่มเปา้ หมาย หนังสือคู่มอื สิ่งแวดลอ้ มศกึ ษา “นทิ านธรรมชาต:ิ เลา่ ความรู้สืบต่อกันไป” เหมาะสำ� หรับ ใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรียนร้สู ำ� หรบั เด็กชั้นประถามศึกษาปีที่ ๑-๖ และระดับชั้นมธั ยมศึกษา ตอนต้นช้ันปที ี่ ๑-๓ เป้าหมายของการใชค้ ่มู ือสง่ิ แวดล้อมศึกษา “นทิ านธรรมชาติ : เลา่ ความรสู้ บื ตอ่ กันไป” ๑. เพอื่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความร้สู ึกสมั พนั ธค์ นุ้ เคย ตลอดจนปลกู ฝงั ความรักต่อพชื พรรณ สรรพสัตว์ ในทอ้ งถิ่น จนปรารถนาท่ีจะปกปอ้ งดูแล ๒. ผู้เรยี นได้เรยี นรแู้ ละตระหนกั ว่าปรมิ าณของพชื พรรณและสัตวล์ ดน้อยลงกว่าในอดีต ๓. ผเู้ รียนได้เรียนรู้และเกดิ ความตระหนกั ถงึ ความเชือ่ มโยงระหวา่ งกจิ กรรมการพัฒนา เศรษฐกจิ หรอื การพฒั นา ทีส่ ัมพันธ์กบั ความเปล่ยี นแปลงในวถิ ชี วี ิตและความเปลยี่ นของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม ๔. ผู้เรยี นไดว้ าดภาพอนาคตของธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ได้แลกเปล่ียนทิศทางท่นี ่าจะ เป็นสำ� หรับการพฒั นาวสิ ยั ทศั น์การพัฒนาท้องถนิ่ ของตน ๕. ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรแู้ ละตระหนกั ถงึ ปญั หาทเ่ี กดิ จากการพฒั นาเศรษฐกจิ และผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ๖. ผ้เู รียนไดข้ บคดิ เกี่ยวกบั บทบาทของตนทจ่ี ะสามารถทำ� ไดแ้ ละควรจะทำ� เพอ่ื ปกปอ้ ง คุม้ ครองธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 31

วธิ กี ารพื้นฐานในการสรา้ งการเรียนรู้ การเล่าเรอื่ ง การต้ังค�ำถาม การแบง่ ปนั (การอธบิ าย) ประสบการณ์ วิเคราะห์ เรื่องราว (หรอื ) การสัมภาษณ์ ขอ้ เสนอแนะในการดำ� เนินกจิ กรรม ๑. กอ่ นเรม่ิ กจิ กรรมตา่ งๆ ควรมกี ารเตรยี มอปุ กรณส์ ำ� หรบั การฝกึ อบรมหรอื ทำ� กจิ กรรม เชน่ ภาพ กระดาษคลิปชาร์ด ปากกาหลากสี สเี ทียน เทปกาว กระดาษเอส่ี สำ� หรับการท�ำกจิ กรรมกลุ่ม เปน็ ต้น ๒. ขณะดำ� เนนิ กจิ กรรมใหแ้ บง่ ผเู้ ขา้ รว่ มเปน็ กลมุ่ ยอ่ ย ๔-๕ คนตอ่ กลมุ่ และขอใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ แลกเปล่ยี นความเหน็ กันระหวา่ งท�ำกจิ กรรมและนำ� เสนอขอ้ ค้นพบของกลุม่ ตอ่ กลมุ่ ใหญ่ คุณค่าท่คี วรให้ความสำ� คญั ในการนำ� คูม่ ือนไ้ี ปใช้ คณะผู้จัดท�ำหวังว่าผู้ท่ีน�ำเครื่องมือนี้ไปใช้ในการสอนนักเรียน เพื่อเป็นพื้นท่ีทางความคิด และการแลกเปลี่ยนความเห็นในมุมมองด้านวัฒนธรรมจากบริบทในนิทานพ้ืนบ้านที่เป็นรากฐาน ความรู้ของท้องถ่ินน้ันๆ โดยเห็นว่าธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมควรได้รับการอนุรักษ์ดูแลตลอดจน ประเพณีวัฒนธรรม เช่น วรรณกรรมเรื่องเล่า (มุขปาฐะ) และพิธีกรรมต่างๆ ท่ีสืบทอดกันมาจาก คนรนุ่ หนงึ่ สูค่ นอีกร่นุ หน่ึงควรไดร้ ับการสืบทอดและปกป้องไว้ 32

คมู่ ือส่งิ แวดล้อมศกึ ษา “นทิ านธรรมชาต:ิ เล่าความรู้สืบต่อกันไป” ผเู้ ขียนตน้ ฉบบั ภาษาอังกฤษ: ซาโตมิ ฮิกาชิ (Higashi Satomi) ยกู ะ คคิ ูชิ (Yuka Kiguchi) บ�ำเพญ็ ไชยรักษ์ (Bampen Chaiyarak) และ โทชิยกู ิ ดอย (Toshiyuki Doi) บรรณาธกิ ารฉบบั ภาษาอังกฤษ: ซาโตมิ ฮิกาชิ (Higashi Satomi) เรียบเรียงฉบับภาษาไทย: บ�ำเพญ็ ไชยรกั ษ์ (Bampen Chaiyarak) สนบั สนนุ งบประมาณในการจดั พมิ พ์: The Japan Fund for Global Environment. ศลิ ปินผู้วาดภาพประกอบ: อมฤต หมวดทอง ออกแบบรูปเลม่ และศลิ ปกรรม: ศริ ิพร พรศิรธิ ิเวช ผู้จดั พมิ พจ์ ดั พมิ พ:์ Mekong Watch, ประเทศญ่ีปุน่ . พฤศจิกายน ๒๕๕๘ 3F Aoki Building 1-12-11 Taito, Taito-ku, Tokyo 110-0016, Japan Tel: +81 3 3832 5034 Fax: +81 3 3832 5039 Website: http://www.mekongwatch.org/index.html E-mail: [email protected] คณะผู้จัดท�ำมีความยนิ ดรี บั ฟังความคิดเกีย่ วกบั การใชห้ นังสือเลม่ นี้กรณุ าสง่ ความคดิ เหน็ ไดท้ ้ังภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาญปี่ นุ่ มาตามอเี มลท์ ่ปี รากฏดา้ นบน สถานท่ีพิมพ:์ บรษิ ัท โรงพิมพค์ ลงั วิชา จ�ำกัด ๑๙๘/๑ ตำ� บลบางกระสอ อำ� เภอเมือง จงั หวดั นนทบุรี ๑๑๐๐๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook