เลยว่าเขากำ�ลังท�ำ อะไรผดิ ทุกวันน้ีอาตมาว่าคนเราเหมือนซอมบ้ีมากข้ึนทุกวัน เป็น มนุษย์ซอมบี้ จากการที่ต้องทำ�อะไรๆ หลายๆ อย่างในเวลา เดียวกัน เปน็ เรื่องยากท่ีจะอย่นู ิง่ ๆ ไม่ต้องท�ำ อะไร ไมต่ อ้ งติดตอ่ ส่อื สารกับใคร น่าเปน็ ห่วงสมองของมนุษย์นัก โรคสมาธสิ ้นั และ ปัญหาทางจิตทางอารมณ์ต่างๆ ที่เพิ่มขึ้นทุกปี น่าจะต้องมีส่วน เก่ียวข้องกับวิถีชีวิตของคนท่ีเปล่ียนแปลงไป โดยเฉพาะการท่ีเรา ไมร่ ู้จกั หยุด ไมร่ ู้จกั น่งิ ไม่รู้จักปล่อยวางสิ่งกระตนุ้ และสง่ิ บันเทงิ ต่างๆ แม้แต่สักวนิ าทีเดียว มีการทดลองที่อเมริกาเมื่อไม่นานมานี้ เจ้านายที่บริษัท แจกเงนิ ลูกนอ้ งคนละ ๕๐ ดอลลาร์ กลุม่ แรกใหเ้ อาไปทำ�บญุ ให้ ไปทำ�ความดี จะไปท�ำ ที่ไหนก็ได้ อีกกล่มุ หน่ึงให้เอาไปเที่ยวหรอื ไปใชเ้ รื่องตัวเอง หลงั จากนน้ั มกี ารสมั ภาษณเ์ รื่องความสุขในการ ทำ�งาน แลว้ มกี ารทดสอบประสทิ ธภิ าพพนกั งาน ปรากฏวา่ กลุ่ม ทีร่ บั เงินแลว้ นำ�ไปบริจาคให้คนอนื่ หรอื ไปท�ำ บญุ มคี วามสขุ ในการ ชยสาโร ภกิ ขุ : 45
ทำ�งานมากกว่ากลุ่มท่ีใช้เงินเพ่ือตัวเอง และประสิทธิภาพในการ ท�ำ งานกม็ ากขึ้นดว้ ย ผ้ทู เ่ี ห็นแก่ตัวมกั ตอ้ งพยายามหาข้อมูลมาสนับสนนุ ความ เห็นแก่ตัวว่าเป็นความฉลาด เป็นส่ิงที่เล่ียงไม่ได้ คือเวลาเราไม่ ต้องการรับผิดชอบในสิ่งที่ไม่ถูกต้องของเรา ปกติจะหาเหตุผลว่า ไม่มที างเลือกอ่ืน มนั เปน็ เรอื่ งธรรมดา ทกุ คนก็เป็นอยา่ งน้ี หรอื ต้องยอมรับว่าโลกท่ีเป็นจริงก็เป็นอย่างนี้ น่ีเป็นข้ออ้างของคนท่ี ต้องการจะแก้ตัว แต่เมื่อมาดูข้อเท็จจริงก็ไม่ใช่เช่นที่อ้าง การ ให้ทาน การเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทำ�ให้มีความสุข คนท่ีมีความสุขย่อมฉลาดกว่าคนที่ขาด ความสุข คนที่เครียดมากหรือถูกกดดันจะรู้สึกระแวงอยู่ตลอด เวลา ประสทิ ธิภาพของสมองกจ็ ะต่ำ� แต่ถา้ เราผอ่ นคลาย มคี วาม สุข และมีวินัยในตัวเองท่ีจะควบคุมอารมณ์ควบคุมพฤติกรรม ให้จิตใจอยู่ในสภาพปกติ ย่อมพร้อมที่จะรับรู้ต่อความเหมาะสม ความไมเ่ หมาะสมในแต่ละเหตุการณ์ 46 : Grow old : Grow up
อาตมาพดู เสมอวา่ ค�ำ วา่ “ด”ี ในภาษาไทยมาจากค�ำ วา่ “กศุ ล” ในภาษาบาลี รากศัพท์ของกุศลคือ ความฉลาด สรุปได้ วา่ พทุ ธศาสนาไม่ได้แยกค�ำ ว่า ดี กบั ค�ำ วา่ ฉลาด ฉลาด จริงก็ตอ้ งดี ดจี รงิ กต็ ้องฉลาดดว้ ย ถ้าเราฉลาดมากๆ รูแ้ ละ เข้าใจในกฏแหง่ กรรม ย่อมเป็นไปไมไ่ ด้ทเี่ ราจะผิดศีล ๕ ขอ้ เพราะมันเป็นการทำ�ลายอนาคตของเราเองโดยแท้ ทำ�ให้ คุณภาพชีวิตในปัจจุบันต่ำ�ลง และเป็นการสร้างกรรมท่ีเรา ต้องรับผลในอนาคต ถ้าเราสรา้ งเหตสุ รา้ งปจั จยั เพื่อจะรับความ ทุกข์และทำ�ลายความสุขในอนาคต จะเรียกว่าฉลาดได้อย่างไร ถ้าเราสามารถมีความสุขจากการปล่อยวางความยึดม่ันถือม่ัน ต่างๆ รู้เท่าทันกายกับใจ เรียกว่าพร้อมที่จะทำ�งานอย่างได้ผล แต่ถ้าเราควบคุมอารมณ์ไม่ได้ เมื่อเกิดความเปลี่ยนแปลงในทาง ที่ไม่ตอ้ งการ เรากจ็ ะควบคมุ สติไม่อยู่ บางทกี ็โกรธ โมโห กังวล ตระหนกตกใจ ก็จะไมส่ ามารถท�ำ งานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ขอยกตวั อยา่ งตลาดหุ้น เวลาทเ่ี กิดความตระหนกตกใจ ก็ ชยสาโร ภกิ ขุ : 47
จะเกิด “Herd instinct” คือการตัดสินใจไปตามสญั ชาตญาณกลุม่ หมมู่ ากเทไปทางไหน ก็จะพากันตาม คือเมอื่ คนเราเกิดอารมณ์ ก็ มักจะไมใ่ ช้ความคิดของตวั เอง แต่จะใช้สัญชาตญาณกลมุ่ ไม่เป็น ตัวของตัวเอง ดังนั้นการฝึกสติเพื่อที่จะได้รู้ว่าอะไรเป็นอะไร เมอ่ื มีคนสรรเสริญ คนมสี ติก็จะไม่หลง คนประจบประแจง ก็จะ ไมล่ ืมตัว จะเตอื นตัวเองได้วา่ นี่คอื การสรรเสรญิ ถ้าเขาสรรเสรญิ กต็ ้องถามตัวเองวา่ เขาสรรเสรญิ เราเพราะอะไร ด้วยความจรงิ ใจ หรอื ไมจ่ รงิ ใจ มันไมแ่ น่ เราคอ่ ยๆ ดูไปก่อน ฟังหูไวห้ ู สง่ิ ทเี่ ขา สรรเสริญนั้นเหมาะท่ีจะสรรเสริญหรือไม่ หรือว่าเขาสรรเสริญ เกินเลย ผู้สรรเสริญหวังผลประโยชน์อะไรไหม คือเราสามารถ คดิ ไตรต่ รองได้เพราะเรามีสติ เมื่อค�ำ สรรเสรญิ สมั ผสั ประสาท หู เรากร็ ู้ตัวว่านีค่ อื คำ�ชม แล้วก็รบั รู้วา่ คำ�ชมน้นั หวานหู ก็สักแต่ว่า หวาน กส็ กั แต่ว่าคำ�สรรเสริญ เรากไ็ ม่ปรงุ แตง่ เพิม่ เตมิ เวลาคน นนิ ทา เรากไ็ ม่ตอ้ งนอ้ ยใจไม่ตอ้ งเสียใจไมต่ อ้ งทุกข์ใจไมต่ ้องโกรธ ไม่ตอ้ งโมโห เรากฟ็ ังวา่ เขาตำ�หนเิ รา ท่ีเขาว่าจรงิ หรือไม่จรงิ เขา มเี จตนาดหี รอื ไมด่ ี อาจเปน็ ไดว้ า่ เขามีเจตนารา้ ย แตส่ ิ่งทพ่ี ดู เป็น 48 : Grow old : Grow up
จรงิ คนมเี จตนารา้ ยอาจจะเอาความจริงมาวา่ เราก็ได้ ไมใ่ ช่ว่าสิ่งท่ี คนมีเจตนารา้ ยพูดแล้วจะไมจ่ ริงเสมอไป จิตใจของเราจะมีความละเอียดในการวิเคราะห์สิ่งที่ เกิดข้ึนในชีวิตประจำ�วัน เพราะเราฝึกจิตใจเราให้เข้มแข็ง ไม่ขึ้นไม่ลงตามคำ�พูดคนอื่น ไม่ได้วุ่นวายตามอารมณ์คน อื่น ไม่ได้ถือว่าคุณค่าของตัวเองขึ้นอยู่กับคนอ่ืน ถ้าเราไม่รู้จัก คุณคา่ ชีวิตตัวเองก็จะสดุ โต่งได้ คนบางคนต้องการให้คนรอบขา้ ง รกั ทำ�อย่างไรเขาถึงจะชอบเรา ทำ�อยา่ งไรเขาถงึ จะรกั เรา กลัววา่ เขาจะไม่รกั กลัววา่ เขาจะทอดทิ้ง จิตใจก็ไมป่ กติเสียแลว้ ที่จะสุด โตง่ ไปอกี ทาง คอื ไม่แคร์ใครไม่สนใจใคร เชอ่ื ม่นั ในตวั เอง เอาแต่ ความคดิ ของตวั เอง นน่ั ก็เสียหายไดเ้ หมอื นกัน ดังนน้ั ผ้มู ีสติยอ่ ม ไม่เข้าข้างตัวเอง ไม่เข้าข้างคนอื่น รู้ว่าคุณค่าของคนอยู่ท่ี คณุ ธรรม เปน็ ผมู้ ีหลกั ชีวิต มที ี่พึ่งภายในของตนเอง พรอ้ ม ท่ีจะรู้เห็นตามความเป็นจริง พร้อมที่จะจัดการบริหารกาย วาจาใจไดต้ ามความเหมาะสม ชยสาโร ภกิ ขุ : 49
พุทธศาสนาสอนให้คนเป็นคนดีแบบพุทธ คนท่ีวิจารณ์ พุทธศาสนามักจะวิจารณ์ความคิดผิดของตัวเอง เพราะไม่ได้ ศึกษาหลักธรรมจริงๆ คนเหลา่ นีจ้ ะมี concept หรือความเชื่อ ความเข้าใจบางอย่างซ่ึงพร่ามัวมาก เวลาจะวิพากวิจารณ์แทนที่ จะมี Beginner’s Mind หาความรวู้ ่าพระพทุ ธเจา้ ทรงสอนอะไร สอนแลว้ ดีอยา่ งไร กลบั ไปเอาความทรงจำ�ที่เคยฟังจากใครไม่รมู้ า วจิ ารณ์ เช่น เข้าใจวา่ การเป็นคนดแี ม้จะเปน็ สงิ่ ท่ีดี แต่กม็ กั จะเสยี เปรียบผู้อน่ื อาตมาเหน็ วา่ ถา้ ความดนี ้ัน คือ สามารถบริหารจติ ใจ ร้เู ทา่ ทนั บาปกรรม รู้เทา่ ทันอกุศลจิต สามารถบริหารอารมณต์ ัว เองได้ สามารถรักษาคณุ ธรรมท่มี ใี นจติ ใจตนได้ คนดีจะไปเสีย เปรียบใครไดอ้ ย่างไร แต่สำ�หรับทุกเรื่องทุกวงการที่มีกฎระเบียบหรือกฎหมาย บังคับอยู่ ก็แน่นอนว่า คนที่เล่นนอกกฎกติกาจะได้เปรียบบาง อย่าง และคนท่ีเคารพกฎเกณฑ์จะต้องเสียเปรียบบางอย่าง แต่ ว่าการเสียเปรียบที่เน่ืองมาจากการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ตาม กฎหมายน้ัน อาตมาว่าเป็นเร่ืองน่าชมมากกว่าจะน่าตำ�หนิว่า 50 : Grow old : Grow up
ไม่ทันคนอื่น ถ้าเราถือว่า การเอาตัวรอดไมว่ ่าด้วยการเอารัดเอา เปรียบใครและด้วยการไม่เคารพกฏระเบียบหรือกฎหมาย เป็น สิทธิหรือเป็นสัญลักษณ์ของความฉลาด น่ีถือเป็นมิจฉาทิฐิท่ี เป็นภยั ตอ่ สังคม ทำ�ให้สงั คมเราเสอื่ ม ไมว่ า่ จะท�ำ อะไร เราต้อง พยายามรเู้ ท่าทัน รูเ้ ห็นส่ิงต่างๆ ตามความเปน็ จริงวา่ นี่คือ อะไร เมื่อเรื่องน้ีเกิดขึ้น เราเองรู้สึกอย่างไร มีความคิดอย่างไร เจตนาของเราคอื อะไร เรากเ็ รยี นรู้จากพฤติกรรมคนอน่ื เรียน รจู้ ากพฤติกรรมและความคิดของตวั เอง เร่ืองการหลอกตัวเอง ขอยกตัวอย่างง่ายๆ ว่า ถา้ เราเอา กระดาษมาเขียนอุดมการณ์และเป้าหมายในชีวิตของเราว่าคือ อะไร จากนั้นให้วิเคราะห์ว่า แต่ละช่ัวโมงตั้งแต่เช้าจนเข้านอน เราทำ�อะไรบ้าง ให้ดูว่าพฤติกรรมและส่ิงท่ีเราได้ทำ�จริงๆ นั้น สอดคล้องกับเป้าหมายของเราหรือไม่ จะได้เห็นว่าเราหลอกตัว เองหรือไม่ บางทเี ราไมไ่ ดม้ องความจรงิ ของชวี ติ ได้แตป่ ลอบใจตวั เองด้วยอดุ มการณส์ งู ๆ ความคดิ สงู ๆ แต่การกระท�ำ ไมส่ อดคล้อง กับอุดมการณ์นั้น เราต้องพยายามให้กาย วาจา ใจของ ชยสาโร ภิกขุ : 51
เราสอดคลอ้ งกนั ใหไ้ ดเ้ รียนรู้และได้กำ�ไรจากประสบการณ์ ชีวิตในแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็นประสบการณ์ที่น่าชื่นชม น่า พอใจ หรือประสบการณ์ท่ีไม่น่าพอใจ ทุกส่ิงทุกอย่างล้วน แตเ่ ป็นวัตถุดบิ ของการศึกษาเพื่อการพัฒนาและความเจริญ ก้าวหนา้ ในธรรม ให้รใู้ หเ้ ห็นความจริงทง้ั ด้านกศุ ลและด้าน อกุศล เราจึงจะไดห้ ลดุ พ้นดว้ ยปญั ญา ร้เู ห็นตามความเปน็ จริง รกู้ าย รู้เวทนา ความรู้สกึ สัญญา ความจำ� สังขาร ความ คดิ หรอื วญิ ญาณ อารมณต์ า่ งๆ ทุกสง่ิ ทุกอย่าง ร้ตู ามความ เป็นจริงวา่ สกั แตว่ ่าเป็นของมันอยอู่ ยา่ งน้ี มันก็เป็นอยา่ งนี้ เอง จิตใจเรากจ็ ะสงบ สงบดว้ ยปัญญา ไมใ่ ชส่ งบเพราะหลบั หู หลับตาจากความจรงิ หรือหนไี ปอย่โู ลกอ่ีน ทกุ วนั นี้ คนสว่ นใหญ่ “ลมื ตาหลบั ” แต่ผูม้ ุง่ มน่ั ในการ ปฏบิ ตั จิ ะแบ่งเวลาแตล่ ะวันเพื่อ “หลับตารู้ หลบั ตาตื่น” ชวี ิต ของผ้คู นส่วนใหญล่ มื ตาหลับ เรียกว่า grow old อย่างเดียวแต่ ไม่ grow up แต่คนท่เี ห็นความสำ�คญั ของการหยดุ การกลบั 52 : Grow old : Grow up
มาอยู่กับธรรมชาติของตัวเอง การได้สัมผัสถึงส่ิงที่อยู่ใต้ สำ�นึกและความรูส้ กึ ต่างๆ ของเรา ร้เู ห็นชีวติ จริงของเราใน ปจั จบุ ันเรียกว่า “หลบั ตาเพ่ือตื่น หลบั ตาแต่ต่นื และร”ู้ เราก็ จะ grow up ทกุ วัน อาตมามีความสุขทีม่ ลี ูกศิษยล์ ูกหาญาตโิ ยม ทอ่ี าตมาเห็นแลว้ มกี าร grow up มากขึ้นทกุ วันๆ โดยเฉพาะ เจา้ ของบา้ นน้ีผไู้ ม่ประสงคจ์ ะออกนาม เปน็ ผทู้ ่ีมอี ายุ ๘๐ ปี ผู้มาก ด้วยวฒุ ภิ าวะและคณุ ธรรมท่นี ่าชนื่ ชม เป็นแบบอย่างท่ีดีแก่รนุ่ ลกู รุน่ หลานได้มาก ในโอกาสที่วันนี้เป็นวันคล้ายวันเกิดของบุคคลผู้ที่ได้เสีย สละและคอยอำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ที่มุ่งม่ันต่อการปฏิบัติธรรม มาเป็นเวลานานหลายปี ขอให้เราทุกคนได้แผ่เมตตาอุทิศส่วน กุศลให้ท่านเจ้าของบ้าน ให้มีแต่ความสุขความเจริญทั้งทางโลก ทางธรรมยงิ่ ๆ ข้นึ ไปตลอดกาลนาน ชยสาโร ภิกขุ : 53
54 : ความมหศั จรรยข์ องจติ เปน็ กลาง
เร่อื งสักแต่วา่ มนษุ ยช์ อบทจ่ี ะเข้าใจอะไรในลกั ษณะนิทาน เมอื่ มองชีวติ ของตัวเองและชวี ิตของผอู้ ืน่ ในลกั ษณะนทิ าน ทุกคนกจ็ ะมีนทิ าน ชีวติ ของตัวเอง พอเราก�ำ หนดนิทานชีวติ แลว้ เมื่อมองย้อนกลับไป ดูชีวิตทผ่ี ่านมา เหตุการณใ์ ดท่ไี มเ่ ขา้ กบั นทิ านชีวิตของเรา เราก็มกั จะลืมมนั ไป นิทานชวี ติ ของอาตมากค็ ือ เดก็ หนุม่ จากอังกฤษคน หนง่ึ เกดิ ความสนใจเรอื่ งชวี ติ เกดิ ความสนใจเรือ่ งโลก พยายาม ทจ่ี ะหาคำ�ตอบ ไดพ้ บพระพทุ ธศาสนา เกดิ ความพอใจในคำ�สอน ของพระพทุ ธเจ้า ได้เดนิ ทางไปอนิ เดยี เพอื่ ไปหาประสบการณช์ ีวติ เม่ือกลับไปอังกฤษ ก็ตัดสินใจจะออกบวชในประเทศไทย จึงได้ เดินทางมาทนี่ ี่ อย่างน้เี ปน็ ตน้ ชยสาโร ภกิ ขุ : 55
เมื่อมีคนถามถึงเหตุปัจจัยท่ีได้ออกบวช บางเรื่องนั้นเรา ลืมไปต้ังสิบย่ีสิบปีแล้ว บางคร้ังขณะน่ังสมาธิจึงนึกขึ้นมาได้หรือ มีความคิดผุดขึ้นมาว่า มันน่าจะเป็นเหตุปัจจัยน้ันๆ บางเรื่อง ก็ไม่น่าเป็นไปได้ เมื่อคืนน้ีอาตมาระลึกถึงเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน ตอนอาตมาเป็นเด็กสกั ๗ ขวบ อาตมาเป็นคนลายมอื สวย แล้ว ที่โรงเรียนจะมีการประกวดลายมือประจำ�ปี วันหน่ึงหลังจาก โรงเรยี นเลิก อาตมาไปน่ังคัดลายมืออยใู่ นห้องเรียน คงจะมสี มาธิ แบบธรรมชาตเิ กิดขึน้ อาตมาหยุดทบทวนอา่ นตวั อกั ษรตา่ งๆ ท่ี นั่งคดั มาถงึ ตัว G แล้วอาตมาอา่ นไม่ออกเสียเฉยๆ ไม่ร้จู ักตวั G มีความรู้สกึ คล้ายๆ กับเจอคนทเ่ี ราเคยรจู้ กั พยายามนึกชอ่ื เขา แต่ ก็นึกไม่ออก เอ! คนนช้ี อ่ื อะไร น่าจะรูน้ ะ พยายามบงั คบั ให้คดิ ให้ ออก แต่ก็คิดไมอ่ อก แสดงวา่ น่ีไมใ่ ชเ่ รื่องทจ่ี ะบังคับกันได้ อักษร ตัวน้ีอาตมารู้จกั มาต้ังแตอ่ ายุ ๓ -๔ ขวบ แต่กลบั นึกไม่ออกอยเู่ ปน็ นาที ก็รูส้ ึกตระหนกตกใจ มนั เปน็ ไปได้อย่างไร มองอยา่ งไรก็ไมร่ ู้ ว่ามนั คืออะไร เสรจ็ แล้วมนั กจ็ ำ�ได้ข้นึ มา ออ๋ ! นี่ตัว G 56 : เร่อื งสักแต่วา่
หลายปีต่อมา อาตมาอ่านพบในตำ�ราเร่ืองความผิดปกติ ของสมอง เป็นความผิดปกติของสมองที่เกิดขึ้นชั่วคราว แต่ เหตุการณ์นั้นมีผล หรือเกี่ยวข้องไหมกับชีวิตของอาตมาที่จะนำ� ไปสู่การออกบวชเป็นพระในอนาคต ในเวลาน้ันก็คงไม่รู้สึกอะไร เป็นพิเศษมากกว่าจะเห็นเป็นเร่ืองแปลก อาตมาเองก็ลืมเรื่องน้ี ไปเพราะมันก็ไม่เข้ากับนิทานชีวิตของตัวเอง ตอนน้ันยังไม่รู้จัก นทิ านชีวติ ดว้ ยซำ้�ไป ตอ่ มาเมอ่ื ไดม้ าศกึ ษาพทุ ธศาสนาในเร่อื ง กายกับใจ รกู้ าย รู้เวทนา รู้สัญญา รสู้ ังขาร รูว้ ิญญาณ ตาม ความเป็นจริง คือรู้ว่าสักแต่ว่ากาย สักแต่ว่าเวทนา โดย เข้าใจว่าความรสู้ กึ วา่ เราเปน็ เจ้าของมนั ที่ร้สู ึกว่านก่ี ายของ เรา เวทนาของเรา สญั ญาของเราต่างๆ นัน้ ลว้ นเปน็ สิ่งท่ีเรา เติมเข้าไปเอง เพราะโดยธรรมชาติแท้แล้ว ไม่มีความรู้สึก วา่ เราว่าของเรา น่ันเปน็ สิง่ ทเ่ี ราปรงุ แต่งข้ึนมาทีหลงั เรอื่ งนี้ เป็นธรรมะช้นั สงู ไหม อาจจะมหี ลายคนที่คิดอยา่ งน้นั วา่ โอ! เรอ่ื ง นี้เขา้ ใจยาก ที่จรงิ แล้วเร่อื งการภาวนาถา้ เราเพยี งแคอ่ า่ น มนั จะดู ชยสาโร ภิกขุ : 57
เหมอื นเป็นทฤษฎหี รอื เป็นปรัชญาทีเ่ ขา้ ใจยาก แต่ถ้าเราได้ฝึก เฝา้ สังเกตการเคล่ือนไหวของจิตใจ สังเกตสิ่งท่ีเกิดข้ึนในระหว่างการ ภาวนา เรากจ็ ะเหน็ ไดไ้ มย่ าก เชน่ ในเวลาที่เราก�ำ ลงั เจรญิ สติอยู่กบั ลมหายใจ ไมฟ่ ุง้ ซ่าน ไม่วนุ่ วายอะไร หายใจเขา้ กร็ ู้ หายใจออกก็รู้ แลว้ อย่ดู ีๆ ก็เกิด ความคิดขึ้นมาว่าปวดขา ปวดหลัง หรือความคิดอะไรก็แล้วแต่ ในขณะท่ีเวทนาทางกายก็ดีหรือความจำ�ความคิดน้ันเกิดขึ้น ขอ ใหเ้ ราสังเกตดๆี วา่ ในขณะทเ่ี กิดอาการนนั้ ไมม่ คี วามร้สู กึ ว่าเรา ว่าของเราใช่หรือไม่ หากเพียงแค่ชั่วขณะเดียว สิ่งท่ีเกิดตามมา คอื หลังเราปวดมาก หัวเข่าเราปวดมาก คือมคี ำ�วา่ “เรา” เกิด ข้ึน การเจริญสติจะทำ�ให้วิถีต่างๆ ที่อยู่ในจิตใจเหมือนช้า ลง ผู้มีสติจะสามารถแยกแยะได้เมื่อเห็นอาการความรู้สึก เห็นความคิด ความเชอ่ื หรอื เห็นสัญญาเกดิ ขึน้ กอ่ นจะตาม มาดว้ ย “ความร้สู กึ ว่าเราวา่ ของเรา” หลงั อาการน้นั นคี่ อื ความยึดมั่นถือมั่น ความหมายของคำ�ว่ายึดม่ันถือมั่นมันเป็น 58 : เร่ืองสกั แต่ว่า
อย่างน้เี อง แต่โดยธรรมชาติแทไ้ ม่มคี วามรู้สึกอยา่ งนแ้ี ละไมต่ อ้ งมี ไม่ใช่เรอื่ งตายตวั ท่สี ิง่ มชี ีวิตจะต้องถือวา่ นีค่ อื กายของเรา นค่ี อื ใจ ของเรา มนั เป็นของมนั เอง มนั เป็นไปตามเหตตุ ามปจั จยั อาตมาไดค้ วามรสู้ กึ อย่างนค้ี รงั้ แรกต้งั แต่อายุ ๗ ขวบ จ�ำ ได้ วา่ ท่ีเราเคยคิดว่าตวั อักษร A,B,C,D เปน็ สิ่งทป่ี รากฏอยใู่ นโลกที่ เรารู้จักจดจำ�ได้ดี แต่การท่ีวันใดวันหนึ่งขณะที่จิตกำ�ลังจดจ่ออยู่ กับการคดั ลายมอื ไมฟ่ ุ้งซา่ น สัญญาหรือความจ�ำ ในตัวอกั ษรหาย ไปท้ังๆ ที่ตาและสมองก็ยังดีอยู่ แต่ในขณะนั้นเราไม่รู้ว่ากำ�ลัง อา่ นอะไรอยู่ เหมอื นโลกทง้ั โลกสั่นสะเทอื นจากแผ่นดินไหว สิง่ ที่ เราเคยถือวา่ หนักแน่นมัน่ คง มนั ไมใ่ ช่แล้ว ผู้ที่เคยอยู่ในทีๆ่ แผน่ ดินไหวรุนแรง ถ้าไมโ่ ดนตึกถลม่ หรอื ได้รับบาดเจ็บ ผลตอ่ รา่ งกาย บางทีอาจจะน้อยกว่าผลต่อจิตใจมาก จะรู้สึกสะเทือนใจมาก เพราะแผ่นดินท่ีเคยคิดว่าหนักแน่นมั่นคง ท่ีจริงมันไม่เป็นเช่นที่ คิด มนั จะเปลี่ยนแปลงเมือ่ ใดกไ็ ด้ ตอนเป็นเดก็ อาตมาเจบ็ ปว่ ยเป็น Asthma หรือโรคหดื หอบ ชยสาโร ภิกขุ : 59
ตลอดเวลา สำ�หรับนักเรียนชายที่ประเทศอังกฤษ การที่ไม่ต้อง ไปโรงเรียนนี่เอื้อต่อการศึกษามาก เพราะจะมีโอกาสได้เรียน หนังสือและอ่านหนังสือมากกว่าการอยู่กับเพื่อนที่โรงเรียนซ่ึงมัก จะมกี ารรังแกกันอยา่ งรนุ แรงมากในสมัยนนั้ โดยเฉพาะเด็กผ้ชู าย ที่ชอบอ่านหนังสือหรือชอบเขียนหนังสือมักจะโดนรังแก ฉะนั้น จึงเปน็ การดีท่ีไมส่ บายเพราะไดอ้ ยูบ่ ้าน ไดอ้ ่านหนงั สอื มาก แล้ว อาตมามีนสิ ยั อย่างหนง่ึ ไมท่ ราบว่านิสยั นี้เกดิ ต้ังแตเ่ มื่อไหร่ คือ วันไหนท่ีโยมแม่ไปจ่ายตลาด อาตมาจะเข้าไปในห้องนอนของ โยมพ่อโยมแม่ แล้วไปยืนอยู่หน้ากระจกเงาใหญ่ อาตมาจะจ้อง มองนัยน์ตาตัวเอง จนถึงจุดหน่ึงท่ีอาตมารู้สึกว่าไปลอยอยู่บน เพดาน แล้วมองลงมาเหน็ รา่ งตวั เองกำ�ลงั ยนื มองกระจกอยู่ มัน ทำ�ใหเ้ ราเข้าใจวา่ โอ! แมแ้ ต่กายนี่ เราไมใ่ ชก่ าย คอื กายอยขู่ ้าง ลา่ ง เราลอยอยู่ในอากาศ มองลงไปเหน็ กายตวั เอง เปน็ ความร้สู กึ ทีเ่ ราชอบมาก คอยโอกาสทแี่ ม่จะไปตลาด จะได้เข้าไปลอยอยใู่ น อากาศ ฟังแลว้ เหมือนเปน็ เรอื่ งแปลกประหลาด แต่หลังจากนัน้ ไมน่ าน เราก็ย้ายบา้ นไปอยูต่ า่ งจังหวัด อาตมากเ็ ริ่มเขา้ ม.๑ ทุก 60 : เร่อื งสักแต่วา่
อย่างในชีวิตเปลีย่ นแปลงไป สุขภาพดขี น้ึ ก็ลืมเรื่องนี้ไปเลย มา นึกข้ึนได้ตอนนั่งสมาธิเมื่อบวชเป็นพระแล้ว เร่ืองน้ีก็เป็นเหตุเป็น ปัจจยั ทที่ �ำ ให้สนใจเรือ่ งทางจติ ใจและเร่ืองชีวิตกว็ ่าได้ หากในขณะ ทเี่ กิดขนึ้ นัน้ ยงั ไม่ไดค้ ิดเชน่ นี้ คนเราแม้จะยังมีกิเลสอยู่ ก็อย่าอยู่ในสภาพงมงาย เยี่ยงปุถุชน เม่ือกล่าวถึงความงมงาย ส่วนมากเราจะเข้าใจว่า งมงายเฉพาะเร่ืองนนั้ เรื่องนี้ งมงายเรือ่ งผี งมงายเรื่องหมอดู หรอื งมงายเร่อื งศาสนา เปน็ ต้น แต่ทจ่ี รงิ แลว้ ความงมงายทส่ี ำ�คญั ที่สุดที่เรามีกันเกือบทุกคนและมักจะมองข้าม คือความ งมงายในเร่ืองกายกับใจ ความงมงาย คือ มีความเช่ือมั่น ในสิ่งใดส่ิงหน่ึงโดยไม่มีเหตุผล เรามีความรู้สึกอย่างนั้นได้ เพราะไมค่ ดิ จะดู ไมย่ อมดู หรอื ไม่สนใจจะดคู วามจรงิ เม่อื เราดูกาย ใชค้ ำ�เรยี กว่ากายเรา เรามคี วามรูส้ ึกว่ากาย เป็นของเราใช่ไหม เพราะถ้าเราไม่มีความยึดมั่นถือม่ันว่ากายเรา เวลาคนชมเราว่าสวย เราก็คงจะไม่ดีใจ ถ้าเขาว่าเราไม่สวยไม่ ชยสาโร ภกิ ขุ : 61
หล่อ เรากค็ งไม่เสียใจ เราจะไม่กงั วลเรอื่ งกายมาก แต่ลองคดิ ดูวา่ สมมติวา่ เกิดอุบัตเิ หตุจนต้องตดั ขาทั้งสองขา้ งทงิ้ เราจะยงั มคี วาม รู้สึกว่าตัวเราไหม ก็คงรู้สึกหมือนเดิมใช่ไหม คงไม่เปลี่ยนแปลง อะไร แลว้ ถ้าสมมติตอ่ ว่า ตอ้ งตดั แขนอีกทง้ั สองข้าง ตอนนี้เราก็ เปลี่ยนจากคนทมี่ แี ขนมขี ามาเป็นคนพิการ แต่ความรสู้ กึ วา่ ตัวเรา กค็ งมีอยู่เหมอื นเดมิ ถา้ สมมติว่าตอ้ งเปล่ยี นตับ เปล่ยี นไต เปล่ียน หัวใจ เราจะยังมีความรู้สึกว่าเราไหม ถ้าตอบว่ามี ถ้าอย่างนั้น สว่ นไหนของกายท่ีเปน็ ของเราโดยแท้ ตวั เรากับกายน้ีมนั สัมพันธ์ กันอยา่ งไร แล้วคำ�วา่ เรากับคำ�ว่าของเราน้มี นั เปน็ อยา่ งไร มนั คอื อะไร หมายความวา่ อย่างไร ในทางสมมติเราก็จะถือว่า ส่ิงที่เป็นของเราน้ันต้องอยู่ใน อ�ำ นาจของเรา เช่น บ้านน้เี ป็นของคุณยาย คุณยายจะซ่อมแซม หรอื จะขายกเ็ ปน็ เรอ่ื งของคณุ ยาย เพราะเปน็ เจา้ ของท่ี เป็นเจา้ ของ บา้ น ถอื วา่ มอี �ำ นาจเหนอื บา้ น จะท�ำ อะไรกบั มนั กไ็ ด ้ ทนี ถ้ี า้ อ�ำ นาจ เป็นส่วนประกอบสำ�คัญของความรู้สึกว่าของเรา ขอถามว่า 62 : เรื่องสกั แต่ว่า
แลว้ รา่ งกายทว่ี า่ เปน็ ของเรานน้ั เรามอี �ำ นาจเหนอื รา่ งกายมาก นอ้ ยแคไ่ หน มนี อ้ ยมากจนแทบจะไมม่ ใี ชห่ รอื ไม่ รา่ งกายน้ี ไมม่ ี ใครอยากเจบ็ ไมม่ ใี ครอยากแก่ ไมม่ ใี ครอยากตาย แตเ่ ราจะหา้ ม ร่างกายไม่ใหแ้ กไ่ ม่ใหเ้ จบ็ ไม่ให้ตาย มนั ก็ห้ามไมไ่ ด้ ออกไปยืน กลางแดด ไมอ่ ยากจะร้อน แตจ่ ะสงั่ ร่างกายไมใ่ หร้ อ้ นกส็ ่ังไม่ได้ เวลารู้สึกหนาว จะส่งั รา่ งกายไม่ใหห้ นาว มนั ก็ส่ังไม่ได้ เราควร จะพิจารณาตรงจุดน้ีให้มาก เพื่อเราจะได้ลดความยึดม่ันถือมั่น ในร่างกาย นไ่ี ม่ใชแ่ ค่คำ�สอนทางศลี ธรรมวา่ การยึดม่นั ถอื มัน่ ในรา่ งกายไมด่ ีไมถ่ ูกตอ้ ง เราตอ้ งไมย่ ึดม่ันถือมน่ั สง่ิ นี้ ไม่ใชว่ ่าจะเกิดจากความตั้งใจ แตม่ นั เกดิ จากการเหน็ ตาม ความเป็นจริงว่า เราไม่มีอำ�นาจหรือมีอำ�นาจน้อยมากใน เร่อื งกาย เรามีอำ�นาจตรงไหน เรามีอำ�นาจเมื่อเรามีปัญญา เข้าใจ ในเร่ืองเหตุปัจจัยหรือกระบวนการของธรรมชาติ เช่น ถ้าเราร้อน เราห้ามร่างกายไม่ให้ร้อนไม่ได้ แต่เราสามารถหลบจากท่ีร้อน ชยสาโร ภิกขุ : 63
ไปอยู่ในทีร่ ม่ ได้ ไปอย่ใู นหอ้ งเปิดหนา้ ต่างเปิดพดั ลมหรือเปิดแอร์ ก็ได้ ถ้าเราเข้าใจธรรมชาตขิ องกาย วา่ ท�ำ ไมกายจงึ มอี าการอย่าง น้ี ธรรมชาตอิ าจจะให้โอกาสเราบา้ ง ท่ีจะบรรเทาอาการท่กี ำ�ลงั ทกุ ข์ทรมาน โดยเสรมิ อาการท่เี ปน็ สขุ น่เี ป็นจดุ ที่เราหลง เพราะ ธรรมชาติให้โอกาสเราในบางส่วน เราจึงไปหลงว่าเราเป็น เจา้ ของมัน เราเป็นผมู้ ีอ�ำ นาจ ทจ่ี รงิ แลว้ อำ�นาจมนั เกดิ ขึ้น ภายในกรอบทธ่ี รรมชาติใหเ้ ทา่ นน้ั เอง ยกตัวอย่างเมื่อเราคิดจะกล้ันลมหายใจ เราต้ังใจกล้ันลม หายใจได้ แต่จะกล้ันไดน้ านเทา่ ใด มนั ไม่ไดข้ นึ้ อยูก่ ับความตง้ั ใจ แตข่ นึ้ อยกู่ บั ธรรมชาตขิ องกาย ถา้ เกิน ๓๐ วนิ าที ๑ นาที แลว้ อยากจะกลน้ั ตอ่ ไป มันกก็ ล้นั ไมไ่ ดเ้ พราะธรรมชาติไม่ให้ เพราะ ฉะนั้น การปฏิบตั ิธรรมคือการศึกษาเรียนรูเ้ รือ่ งธรรมชาตวิ า่ กาย นค้ี ืออะไร เวทนานีค้ ืออะไร สัญญามันคืออะไร สังขารคอื อะไร วิญญาณคอื อะไร คนท่ียึดมั่นถือม่ันในสัญญาความจำ�มากๆ จำ�ได้ จำ�ได้ 64 : เรอื่ งสักแต่วา่
แมน่ เลย แล้วเถียงกนั เรื่องในอดตี วา่ มนั ไมใ่ ชอ่ ยา่ งน้นั มนั เป็น อย่างนั้น มันเป็นอย่างน้ี นี่เถียงกันเรื่องอะไร เวลากล่าวถึง เร่อื งใดเรอ่ื งหน่งึ ทเี่ กิดข้ึนในอดีต จะมภี าพหรือความคิดผุด ขึน้ มาในสมอง เป็นการเกิดขนึ้ ของสัญญา ถา้ สญั ญาที่เกดิ ขึ้นชัดเจนมาก เราก็พร้อมที่จะรู้สึกมั่นใจว่าจำ�ได้แม่น แต่ ความจริงที่ว่าจำ�ได้แม่น หมายถึงว่าสัญญาความจำ�ท่ีเกิด ขึ้นในปัจจุบันชัดเจน แต่สัญญานั้นจะตรงกับเหตุการณ์ใน อดตี มากน้อยแค่ไหน เราก็รบั รองไม่ได้ เรารแู้ ต่วา่ สัญญามนั ชัดเจน แต่ตัวสัญญาน้ีมันเกิดจากการเก็บข้อมูลใช่ไหม สมมติ ว่าเรามีการประชมุ กัน พูดคยุ กันเรอ่ื งใดเรอื่ งหนง่ึ กเ็ ปน็ ธรรมดา ว่า ถ้าเป็นเรื่องท่ีกระทบตัวเองหรือตรงกับสิ่งที่ตัวเองสนใจ เรา จะใส่ใจแล้วจะจำ�ไว้ จำ�ได้ง่าย แต่สำ�หรับเรื่องที่ฟังไม่ค่อยเข้าใจ หรือไมส่ นใจ มันกเ็ ขา้ หูซา้ ยทะลุหูขวาเสียส่วนใหญ่ นอกจากนีย้ งั มสี ่วนของอารมณ์ ส�ำ หรับคนท่คี อยเปน็ ห่วงความรู้สึกของคนอน่ื อยู่ตลอดเวลา ก็จะส�ำ คญั มนั่ หมายในกิรยิ าอาการของคนรอบขา้ ง ชยสาโร ภกิ ขุ : 65
มาก แลว้ กจ็ ะกลายเป็นความจำ�วา่ ในวันนัน้ รสู้ กึ บรรยากาศเครยี ด หลายคนดูไม่ค่อยจะพอใจ เป็นต้น ซึ่งแม้ว่ามันจะเป็นความจำ� ที่ชัดมาก แต่ในเวลาน้ันจริงๆ แล้วคนเครียดหรือไม่พอใจจริง หรือไม่ก็เป็นอีกเร่ืองหน่ึง คือเป็นการแปลความหมายของสิ่งน้ัน ในปัจจุบนั ขณะน้ัน แลว้ เราก็จ�ำ การแปลนั้นได้ แตก่ ารแปลความ หมายกับส่ิงท่ีเกิดขึ้นจริงจะตรงกันมากน้อยแค่ไหน เราจะรับรอง ร้อยเปอรเ์ ซน็ ตไ์ ดอ้ ย่างไร ดังน้ันในปัจจุบันเมื่อเราพยายามระลึกถึงเหตุการณ์ หรือส่งิ ทเี่ คยเกดิ ข้นึ ในอดีต ผูม้ ปี ญั ญาจะพจิ ารณาว่า ความ จำ�เราเป็นอย่างน้ี แต่ความจำ�ก็คือการรับรู้และการแปล ความหมายของส่ิงท่ีเกิดข้ึนในวันนั้น และการรับรู้และการ แปลความหมายของสิ่งที่เกิดข้ึนในวันน้ัน ข้ึนอยู่กับเหตุ ปจั จัยหลายอยา่ ง เชน่ ความอคติของเรา ความชอบคนนน้ั ไม่ ชอบคนน้ี ระแวงคนน้นั อิจฉาคนน้ี ซงึ่ มีผลตอ่ การแปลความ หมายของเราในส่ิงที่แต่ละคนพูด เราจะรับรองไว้ใจร้อย 66 : เรื่องสกั แตว่ ่า
เปอรเ์ ซ็นตไ์ มไ่ ด้ ดังน้นั ความจำ�เรอื่ งในอดตี เป็นส่งิ ท่เี กดิ ใน ปัจจุบัน ความจำ�ของเราเป็นอย่างนี้ แล้วเราก็จะรู้เท่าทัน ความจ�ำ ตามความเป็นจริง ในกรณที ่ีเราคิดไม่ออกก็ถอื ไดว้ า่ เปน็ ประสบการณ์ทดี่ ี เช่น พยายามนกึ ชอื่ วา่ คนน้ี ชื่ออะไร แต่กค็ ิดไม่ออก เรากม็ ักจะรำ�คาญ หากมองในอีกแงห่ น่งึ กน็ บั ว่าดี เพราะทำ�ใหเ้ หน็ ได้วา่ สญั ญาความ จำ�ไม่ใช่ของเราจรงิ ๆ คนทอี่ ายมุ ากขึ้น บางทีกจ็ ะหดหูใ่ จหรอื กล้มุ ใจวา่ โอ! ทกุ วนั นี้ความจ�ำ มนั แย่ มันแยม่ าก จ�ำ อะไรไม่ได้ ที่ร้สู กึ หดหู่ก็เพราะถือว่าเป็นความจำ�ของเรา เราเสื่อมเพราะความจำ� เส่ือม แตจ่ รงิ ๆ แล้วชวี ิตเราไมไ่ ดเ้ ส่ือมเพราะความจำ� ความจ�ำ มนั ก็เป็นแค่ความจำ� มนั กเ็ ปน็ แค่สัญญา มนั กแ็ ค่นน้ั เอง เราก็ดูกาย ดูใจของเราใหร้ ู้ตามความเปน็ จริง คอื เหน็ กายสักแต่ว่ากาย เวทนาก็สักแต่ว่าเวทนา สัญญาก็สักแต่ว่าสัญญา สังขารก็ สักแตว่ า่ ลว้ นเปน็ ของสักแต่วา่ เทา่ นัน้ แต่การคดิ วา่ เปน็ เรา เป็นของเราน่ี เราใสเ่ ตมิ เขา้ ไปทหี ลงั เพราะเราขาดสติ เม่ือ ชยสาโร ภกิ ขุ : 67
เราฝึกสติบอ่ ยๆ เราก็จะเก่งขึน้ การทจ่ี ะเขา้ ไปยดึ ม่นั ถือมัน่ ต่างๆ น้ันจะน้อยลง หรือถ้ายึดมั่นถือมั่นแล้วก็จะรู้ตัวง่าย ขน้ึ เร่ืองทุกขเวทนากเ็ ชน่ เดยี วกนั หากเปรยี บเทยี บทกุ ขเวทนา เหมอื นก้อนถา่ นทรี่ อ้ นระอุ เมอื่ น�ำ มาวางบนมอื มือจะไหม้ เม่อื มีความทกุ ข์ คนทัว่ ไปก็มกั จะจมอยู่กบั ความทกุ ข์ เหมือนก�ำ ก้อน ถ่านร้อนๆ ไว้โดยไม่รู้ตัวว่า ยิ่งกำ�ย่ิงบีบมือก็จะย่ิงไหม้ ก็จะยิ่ง รู้สึกทุกข์ทรมาน ความจริงแล้วปัญหามันก็อยู่เฉพาะจุดที่สัมผัส กับถา่ นร้อนเท่านนั้ ท่ีเราควรทำ�คอื เราตอ้ งท้งิ กอ้ นถ่านไป ไม่ใช่วา่ ความเจ็บปวดจะหายไปร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ความทุกข์ร้อนจะลด ลงหรอื เกือบจะหายไป มันจะเหลอื แค่นิดเดียว นี่ก็คอื การปลอ่ ย วาง ส�ำ หรับผู้ที่ไมเ่ คยภาวนาหรือภาวนาไม่เปน็ เมือ่ มคี วามทุกข์ ก็จะเป็นทุกข์มาก แต่ถ้าเราฝึกสติบ่อยๆ เราจะเข้าใจและ สามารถวางจิตใจได้ถูกต้อง เจ็บตรงไหนก็รู้อยู่เฉพาะตรง จุดนั้นๆ แต่ถ้าขาดสตเิ ม่อื ใดก็จะเป็นทกุ ขไ์ ด้เม่ือนั้น เราฝึก 68 : เรอื่ งสักแต่วา่
สติก็เพ่ือให้รู้เท่าทันตามสภาพที่มันเป็น ความอยากให้เป็น อยา่ งนัน้ ไมอ่ ยากใหเ้ ปน็ อย่างนี้ จะมผี ลในทกุ ระดับ ไมว่ ่าจะรบั รู้หรือไม่รับรกู้ ็ตาม เมือ่ เรามอี คติ เราจะเชอื่ วา่ คนน้นั เป็นอย่างน้ัน คนนีเ้ ปน็ อย่างน้ีและยดึ ถือเปน็ หลัก เมอื่ เขาทำ�อะไร เราก็จะแปล ความหมายใหต้ รงกับอคติของเรา สมมตวิ ่าเราเหน็ คนๆ หนึ่งไม่ดี เป็นคนแสวงหาผลประโยชน์จากผู้อื่น เมื่อเห็นพฤติกรรมอะไรที่ ตรงกับความคดิ นน้ั กจ็ ะบอกว่า “เห็นไหมๆ” แตเ่ วลาเขาสำ�รวม ดีหรือไม่ได้ทำ�อย่างท่ีเราคาดคิดไว้ เราก็กลับสงสัยว่าเขากำ�ลัง วางแผนหลอกลวงอะไร กำ�ลงั เก็บอาการไม่ให้ใครเห็น คอื เมือ่ เรา ตดั สินใครไปแล้ว เราจะดดั ทกุ อยา่ งให้มนั เขา้ ตรงตามทางทเี่ ราคิด ไว้เสมอ มีการทำ�วิจัยเก่ียวกับเร่ืองลัทธิความเชื่อ ส่วนมากจะเป็น ลทั ธิท่ีขึ้นอย่กู บั ศาสนาครสิ ต์ หรอื ลทั ธิที่เชอ่ื วา่ โลกจะวนิ าศในวนั น้นั วนั นี้ ซึง่ เขาเชอื่ ว่าพวกเขาเป็นพวกพเิ ศษทจ่ี ะได้ขนึ้ สวรรค์หรือ จะมียานอวกาศมารับพวกเขาไปไว้ท่ีโลกอ่ืน เป็นต้น ในขณะที่ ชยสาโร ภกิ ขุ : 69
คนอ่ืนตอ้ งตายหมด นกั วิจยั ปลอมตัวไปเปน็ สมาชิก เพ่ือบันทึก ข้อมลู ความร้สู ึกของคนวา่ เมอ่ื ถงึ วนั โลกาวนิ าศทกี่ �ำ หนดไว้ แล้ว โลกไม่ได้วินาศตามที่เขาเช่อื พวกเขาท�ำ ใจอยา่ งไร จะเลกิ ศรัทธา ไหมหรือจะท�ำ อยา่ งไร เทา่ ที่ปรากฏทกุ ครัง้ กค็ อื ทุกคนจะเข้าไป รวมตวั กันในบา้ นของอาจารย์ เตรียมตวั พร้อมรับความวินาศของ โลก คอยดนู าฬกิ า อีก ๑๐ นาที อกี ๕ นาที จะตื่นเตน้ กันมาก เวลาผ่านไปเป็นช่ัวโมงๆ ก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น แล้วอาจารย์ก็ออก มาอธบิ ายเหตผุ ลวา่ ทีจ่ ริงมันไมใ่ ชอ่ ย่างนัน้ ทจ่ี รงิ มันเป็นอยา่ งน้ี แทนท่ีทุกคนจะเสียศรัทธา กลับศรัทธามากย่ิงขึ้น งานวิจัยนี้น่า อ่านมาก อ่านแลว้ จะเข้าใจเรอ่ื งความเชื่อของคนว่า เราสามารถ จะปรบั ความเชื่อได้ เช่น โหรท�ำ นายวา่ จะมกี ารนองเลอื ด แตเ่ มอื่ ไม่มีการนองเลือด คนเราก็จะสามารถแปลงความหมายเพื่อให้ เขา้ ใจว่าคำ�ทำ�นายน้นั แม่นมาก คอื มันจะกลายเป็นอีกความหมาย หนึ่ง ทำ�ไมคนเราจึงเชอ่ื อะไรไดง้ า่ ยๆ แล้วกย็ ังยนื ยันในสงิ่ ที่เราเช่อื ทัง้ ๆ ที่มีหลกั ฐานมากมายพสิ จู นว์ า่ ไมใ่ ช่ คำ�ตอบ 70 : เร่อื งสักแตว่ า่
ง่ายสุดก็คือ เพราะเราอยากเช่ือ คนเราต้องการเอาความ เชอ่ื เปน็ ท่พี งึ่ ก่อนสงครามโลกคร้งั ท่ี ๒ มนี กั เขยี น นักปรัชญา นักปราชญ์ ชาวอังกฤษและชาวอเมริกันหลายคนท่ีเคยปฏิเสธศาสนา ได้ ประกาศตนนับถือศาสนา ทำ�ให้หมู่ปัญญาชนชาวตะวันตกรู้สึก สะเทอื นและหวน่ั ไหว เพราะมนั พลิกตรงกันข้ามจากท่ีเคยปฏิเสธ ความเชื่อในศาสนาหันกลับมานับถือ อาตมาก็สนใจติดตามเร่ือง นี้เหมือนกัน จึงรู้ว่าเหตุผลที่เขาเปล่ียนความคิดเป็นเพราะว่าเขา อายุมากขึ้น เขาอยากจะเชื่ออะไรสักอย่าง อยากจะมีความเชื่อ เป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวทางจิตใจ ท่ีเป็นคนอังกฤษ จะเอาอะไรดี ที่มันง่ายๆ ก็หันไปเช่ือศาสนาประจำ�ชาติก็แล้วกัน เขาไม่ถือว่า มันส�ำ คัญท่ีค�ำ สอน มนั ส�ำ คญั ทอี่ ารมณ์ อายมุ ากข้ึน กก็ ลวั ความ ตาย เขาจึงต้องการเชื่ออะไรสักอย่างเพราะจะทำ�ให้รู้สึกอบอุ่น ใจ อาตมากไ็ ด้ข้อคดิ จากเรื่องน้มี ากว่า ส�ำ หรับปญั ญาชนระดบั นี้ สิ่งที่เชื่อไม่สำ�คัญมาก เขาแค่อยากได้ความอบอุ่นจากความเช่ือ ชยสาโร ภิกขุ : 71
เพราะฉะน้ันเราจะไปวจิ ารณว์ ่า สิง่ ท่ีคุณเชอื่ นัน้ มันไม่ใช่ คุณเช่อื ได้อยา่ งไร นน่ั ไมใ่ ชป่ ระเด็น ประเด็นก็คอื เขาตอ้ งการเชอ่ื ในอะไร สักอยา่ งเพื่อเปน็ เครื่องยดึ เหนี่ยวทางจติ ใจ ในนิทานมนุษย์ คนเราเป็นสัตว์มีเหตุมีผล แต่ความจริง แล้วมนุษย์เรามีเหตุมีผลน้อยกว่าท่ีคิดมาก ส่วนมากความ เชื่อและความรู้สึกมาก่อน แล้วค่อยหาเหตุผลมาสนับสนุน ความรู้สึกทีหลัง ดังนั้นพุทธศาสนาเราจึงถือว่า การเอา ความเชอ่ื เช่น ความเช่อื ในคัมภรี ห์ รอื ความเชือ่ ในคำ�สอน มาเป็นเคร่ืองยดึ เหน่ยี วทางจติ ใจ ไม่ใชท่ พี่ ึ่งอันแทจ้ รงิ ไม่ใช่ ทีพ่ ึ่งอันประเสริฐ ในสมัยกอ่ นคนก็บชู าภูเขาบ้าง ต้นไมบ้ ้าง จอม ปลวกบา้ ง เรากเ็ หน็ เปน็ เร่อื งงมงายเหลือเกนิ เป็นเรอื่ งนา่ หัวเราะ ใครจะบูชาจอมปลวก แตม่ ันไม่ใชป่ ระเด็น คอื คนเราจะเช่ืออะไร ก็ได้ มนั กพ็ อๆ กัน จะเป็นจอมปลวกหรอื จะเป็นพระผเู้ ปน็ เจ้า หรืออะไรกแ็ ล้วแต่ มันอยทู่ ่วี า่ คนเราตอ้ งการมีชวี ิตทีม่ นั่ คงเพราะ ความเชอ่ื แต่พระพุทธองค์ทรงสอนวา่ ความเชอ่ื เชน่ นน้ั มโี ทษ มี 72 : เรอ่ื งสกั แต่ว่า
ข้อบกพรอ่ งมาก เพราะมนั จะเกิดความขัดแยง้ เกดิ อารมณ์หรือ แม้กระท่ังนำ�มาซ่ึงการรบราฆ่าฟันกัน เพราะถ้าเราเชื่อว่าเรา เทา่ นั้นที่จะขึน้ สวรรค์ การข้ึนสวรรคข์ นึ้ อยูก่ ับส่งิ ท่เี ช่ือ เมอ่ื เจอคน ที่ไม่เชื่อแล้วยังเชอื่ ไปอกี แบบหนง่ึ กเ็ ปน็ ปัญหาได้ทันที และความ เชอ่ื ท่ีไม่มีปญั ญากำ�กับจะทำ�ให้เกิดความบา้ คลง่ั ไดง้ ่าย กลายเปน็ วา่ การฆา่ คนอ่ืนเพ่ือลทั ธหิ รอื เพ่อื ศาสนาเป็นสิง่ ทด่ี เี ป็นบญุ ท่ีว่าดี เพราะว่าไมไ่ ด้ทำ�เพอ่ื ผลประโยชน์สว่ นตน หากท�ำ เพ่ือศาสนา นี่ก็ เป็นความคิดที่แพร่หลายมากในสมยั น้ี พระพุทธศาสนาไม่ได้เอาความเช่ือเป็นหลัก ไม่ต้องไปหา อะไรสักอยา่ งให้เช่ือหรอื ใหส้ บายใจวา่ ไมต่ ้องคิดมาก เมื่อเชื่อแลว้ กไ็ มต่ อ้ งสงสัยมาก อย่างน้ถี ือเปน็ มาร คนเรามักตอ้ งการอะไรๆ ที่มันงา่ ย การทีต่ อ้ งคิดหรือต้องใช้ปัญญามนั ไมง่ า่ ย เมอ่ื มีอะไรให้ เชื่อสกั ๔ ขอ้ ๕ ขอ้ หรือ ๑๐ ข้อ อย่างน้มี ันงา่ ยดี แตส่ ิง่ ทงี่ า่ ย ไมใ่ ชส่ ิ่งทดี่ ีเสมอไป บางทมี ันกง็ ่ายเกนิ ไป พระธรรมของเราอยู่ที่การศึกษาเรียนรู้จากความจริง โดย ชยสาโร ภิกขุ : 73
ถือว่าความสงบและความสุขที่มั่นคงเป็นที่พึ่งได้ เกิดจาก ความรู้ความเห็นตามความเป็นจริง ฉะน้ันไม่ว่าเราจะเชื่อใน ศาสนามากนอ้ ยแคไ่ หน แตถ่ ้าเรายงั ถือวา่ รา่ งกายเปน็ เราเป็น ของของเรา เราก็จะยังเป็นทุกข์ ถ้าเรายงั ถือว่าความร้สู ึกสขุ ทุกข์ หรือเฉยๆ เป็นเราเป็นของเรานั้น ไม่ว่าจะเชื่ออะไร กต็ าม กไ็ มส่ ามารถปอ้ งกันความทกุ ข์ได้เสมอไป ความรู้สกึ นึกคดิ ทฐิ ิมานะตา่ งๆ นี้ เรายึดม่ันถอื มน่ั เม่อื ใด กย็ ่อมทกุ ข์ เม่อื น้นั ครูบาอาจารย์ท่านเปรียบเทียบโลกและสิ่งในโลกเหมือน หนามหรอื เหมอื นงู หนามทำ�ใหเ้ ราเป็นทกุ ขไ์ หม ถา้ ไม่เหยียบมนั ก็ไมเ่ ปน็ ทุกข์ งูมนั เปน็ อันตรายไหม ถา้ ไมเ่ ข้าใกล้มนั ก็ไม่อนั ตราย งูก็สักแต่ว่างู หนามก็สักแต่ว่าหนาม แต่เมื่อเราไปปฏิบัติต่อส่ิง นั้นๆ ไม่ถูกต้อง มนั จงึ เกิดปัญหา พระพทุ ธองค์จึงทรงสอนใหเ้ รา รู้ กายนี้พร้อมจะทำ�ให้เราเป็นทุกข์ได้ เม่ือเราขาดสติขาดปญั ญา เวทนากเ็ ช่นเดยี วกัน หากเราขาดสตใิ นขณะทมี่ ีสุขเวทนาเกดิ ขน้ึ ก็ 74 : เร่อื งสักแต่วา่
จะเข้าไปยดึ มนั่ ถอื ม่ันว่าเปน็ เราเป็นของเรา แลว้ ก็พยายามด้นิ รน แสวงหาสิ่งที่จะทำ�ให้มันสุขย่ิงๆ ข้ึนไป เวลาเป็นทุกข์ก็พยายาม วิ่งหนี ตอ้ งหลบจากความทุกขใ์ หเ้ รว็ ท่สี ุด ก็พอเขา้ ใจได้วา่ มนั เป็น สัญชาตญาณ แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องยอมรับว่า ขณะที่สัมผัส บางสิ่งบางอย่างเรามีความสุขก็จริง แต่มันเป็นความสุขท่ีจะนำ� ไปสู่ความเสียหายในระยะยาว บางสิ่งบางอย่างเม่ือสัมผัสแล้ว ทุกขเวทนาเกดิ ข้นึ ไม่มใี ครชอบ แตห่ ากเราทนต่อทุกขเวทนาน้ัน เราจะได้ส่ิงทดี่ ีในระยะยาว ผู้มีปัญญาย่อมจะรู้เทา่ ทันเวทนาท่เี กิดขน้ึ สขุ เวทนาท่ี เป็นไปเพื่อส่ิงดีงามในระยะยาวก็มี สุขเวทนาท่ีเป็นไปเพ่ือความ เสียหายในระยะยาวก็มี ทุกขเวทนาทเ่ี ป็นไปเพอ่ื ความเสียหายใน ระยะยาวก็มี ทุกขเวทนาที่เป็นไปเพ่ือความเจริญดีงามในระยะ ยาวก็มี ผู้ทจ่ี ะแยกแยะได้คอื ผมู้ ีสติ เมื่อมเี วทนาก็ร้วู า่ สักแต่ วา่ เวทนา สุขเวทนามันไม่ไดท้ �ำ ใหช้ ีวติ เราดขี นึ้ ทุกขเวทนา ก็ไม่ได้ทำ�ให้ชีวิตเราเลวลง มันก็เป็นสักแต่ว่าเร่ืองของมัน ชยสาโร ภกิ ขุ : 75
ฉะนั้นเราก็ศึกษาเรียนรู้ธรรมชาติของกาย ธรรมชาติของความ รู้สึก ธรรมชาติของความจำ�ได้หมายรู้ การแปลความหมายของ สงิ่ ต่างๆ ธรรมชาติของอกุศลธรรม ธรรมชาติของกุศลธรรม โดย ไม่ตอ้ งไปบังคับอะไรมาก ให้รูเ้ ห็นตามความเปน็ จรงิ เหน็ ขอ้ ดขี ้อ เสยี เห็นคุณเหน็ โทษของสง่ิ ตา่ งๆ เหน็ เมื่อใด ปัญญาก็จะเกิด ขึ้นเมื่อนั้น ส่ิงใดให้โทษมากกว่าให้คุณ เราก็ปล่อยวางได้ ง่าย สง่ิ ใดท่ีมคี ุณมากกวา่ โทษ เรากส็ นบั สนนุ ด้วยความไม่ ประมาท น่ีเป็นแนวทางของปัญญา วนั นี้กไ็ ด้แสดงธรรมพอสมควรแก่เวลา 76 : เรือ่ งสักแตว่ า่
ที่มาธรรมเทศนา ๑. ความมหศั จรรย์ของจติ เป็นกลาง ธรรมเทศนา โดย พระอาจารย์ชยสาโร เทศน์ ณ บ้านคณุ นงนาถ เพ็ญชาติ เมอื่ ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๔๖ ๒. Grow old : Grow up ธรรมเทศนาพระอาจารย์ชยสาโร บ้านซอยระนอง ๒ เม่อื วันท่ี ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๔ ๓. เรอ่ื งสักแต่วา่ ธรรมเทศนาพระอาจารยช์ ยสาโร เม่อื วันที่ ๑๗ สงิ หาคม ๒๕๕๖ ขอบคณุ และอนโุ มทนา คุณดษุ ฎ,ี คณุ แม่นอ้ งป้นั และ หอ้ งดอกเขม็ จาก รร.ทอสี ผ้ถู อดเทป “ความมหัศจรรยข์ องจิตเปน็ กลาง” คุณจันทร์เพ็ญ ศวิ ะพรชยั ผู้ถอดเทป “Grow old : Grow up” คุณฐิติพร ไพรตั นากร ผถู้ อดเทปและพิมพ์ต้นฉบบั คุณพวงเพ็ชร แจงจิรวัฒน์ ผูต้ รวจทาน “เร่อื งสกั แต่ว่า” และ คุณวรรณวนัช ฤกษล์ ัภนะนนท์ ผตู้ รวจทานตน้ ฉบับ
ชยสาโร ภิกขุ นา มเด ิม ฌอน ชเิ วอรต์ นั (Shaun Ch iverton) พ .ศ.๒๕๐ ๑ เกดิ ท ่ปี ระ เทศอังกฤษ พ.ศ.๒๕๒๑ ได พ้ บก ับพร ะอาจาร ยส์ เุ มโธ (พระราชสเุ มธาจารย์ วดั อมราวดี ประเทศองั กฤษ) ท่วี หิ ารแฮมสเตด ประเทศอังกฤษ ถือเพศเปน็ อนาคารกิ (ปะขาว) อยกู่ ับพระอาจารยส์ เุ มโธ ๑ พรรษา แล้วเดินทางมายังประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๒๒ บรรพชาเปน็ สามเณร ที่วดั หนองปา่ พง จงั หวดั อุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๒๓ อปุ สมบทเป็นพระภกิ ษุ ทวี่ ดั หนองป่าพง โดยมี พระโพธิญาณเถร (หลวงพอ่ ชา สุภัทโท) เป็นพระอปุ ัชฌาย์ พ.ศ. ๒๕๔๐-๒๕๔๔ รักษาการเจา้ อาวาส วัดป่านานาชาติ จงั หวดั อบุ ลราชธานี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ปจั จุบัน พำ�นัก ณ สถานพำ�นักสงฆ์ จังหวดั นครราชสมี า
มลู นธิ ิปญั ญาป ระทีป คว า ม เปน็ ม า มูลนิธิปัญญาประทีป จัดต้ังโดยคณะผู้บริหารโรงเรียนทอสีด้วยความร่วมมือ จากคณะครู ผู้ปกครองและญาติโยมซึ่งเป็นลูกศิษย์พระอาจารย์ชยสาโร กระทรวง มหาดไทยอนุญาตให้จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลอย่างเป็นทางการ เลขที่ทะเบียน กท. ๑๔๐๕ ตง้ั แต่วันท่ี ๑ เม ษายน ๒ ๕๕๑ วัตถุประสงค์ ๑) สนับสนุนการพัฒนาสถาบันการศึกษาวิถีพุทธที่มีระบบไตรสิกขาของ พระพทุ ธศาส นาเปน็ หลกั ๒) เผย แผ่หลักธรรมค ำ�สอ นผ่านการจัดการฝึกอบรมและปฏิบัติธรรม และการ เผยแผส่ ่ือธรรมะรปู แบบต่างๆ โดยแจกเป็นธรรมทาน ๓) เพ่ิมพูนความเข้าใจในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และส่ิงแวดล้อม สนับสนุนการพัฒนาท่ีย่ังยืน และส่งเสริมการดำ�เนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๔) รว่ มมอื กบั องคก์ รการกศุ ลอน่ื ๆ เพอ่ื ด�ำ เนนิ กจิ การทเ่ี ปน็ สาธารณประโยชน์
คณะที่ปรกึ ษา พระอาจารย์ชยสาโรเป็นองค์ประธานที่ปรึกษา โดยมีคณะที่ปรึกษาเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ อาทิ ด้านนิเวศวิทยา พลังงานทดแทน สิ่งแวดล้อม เกษตรอินทรีย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์สุขภาพ การเงิน กฎหมาย การสื่อสาร การละคร ดนตรี วัฒนธรรม ศิลปกรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คณะกรรมการบริหาร มูลนิธิฯ ได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์นายแพทย์ปรีดา ทัศนประดิษฐ เปน็ ประธานคณะกรรมการบรหิ าร และมคี ณุ บบุ ผาสวสั ด์ิ รชั ชตาตะนนั ท์ ผอู้ �ำ นวยการ โรงเรียนทอสเี ปน็ เลขาธกิ ารฯ ก ารด �ำ เนนิ ก าร • มลู นธิ ฯิ เปน็ ผจู้ ดั ตง้ั โรงเรยี นมธั ยมปญั ญาประทปี ในรปู แบบโรงเรยี นบม่ เพาะ ชวี ติ เพือ่ ดำ�เนนิ กิจกรรมต่างๆ ดา้ นการศึกษาวิถีพุทธ ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ของมลู นธิ ิฯ ข้างตน้ โรงเรยี นน้ตี ้งั อยูท่ ่ี บา้ นหนองนอ้ ย อ�ำ เภอปากชอ่ ง จงั หวดั นครราชสมี า • มูลนธิ ฯิ รว่ มมอื กับโรงเรยี นทอสี ในการผลติ และเผยแผส่ อื่ ธรรมะ แจกเป็น ธรรมทาน โดยในสว่ นของโรงเรยี นทอสฯี ไดด้ ำ�เนินการต่อเนื่องต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕
พมิ พแ์ จกเปน็ ธรรมทาน www.thawsischool.com, www.panyaprateep.org
Search