Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore aรวม 20 เรื่อง

aรวม 20 เรื่อง

Description: aรวม 20 เรื่อง

Search

Read the Text Version

1 20 เรอ่ื งท่คี รตู ้องรู้ และควรรู้ ท่คี รูตอ้ งรู้ 1. ศาสตรพ์ ระราชา 2. พระบรมราโชวาท/พระราชกระแสรับสัง่ รชั กาลที่ 9 ดา้ นการศกึ ษา 3. พระบรมราโชบาย/พระราชปณิธานตามรอย ดา้ นการศึกษาของสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 4. แผนการศกึ ษาชาติ ปพี ุทธศักราช 2560 5. ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ปีพุทธศักราช 2560 - 2579 ท่ีครคู วรรู้ 6. หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7. การขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรช์ าตเิ ก่ยี วกับการแกไ้ ขปัญหาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษ 8. การยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 9. การยกระดับโรงเรียนคุณธรรม 10. ลดเวลาเรียน – เพิ่มเวลารู้ 11. สะเต็มศกึ ษา หรอื “STEM” 12. ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ PLC 13. การพฒั นาครู/อบรมออนไลน์ 14. นโยบายการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นไอซียู 15. แผนบรหิ ารโรงเรียนขนาดเล็ก 16. การจัดการขยะ และการพฒั นาสิ่งแวดล้อมในโรงเรยี น 17. โรงเรยี นประชารัฐ 18. การลดอบุ ัตเิ หตทุ างท้องถนน/การจัดการจราจรภายในโรงเรยี น (จดั อบรม-มอบหน้าท่ีปฏิบตั ิ) 19. เกณฑ์วิทยฐานะใหม่ 20. การบรหิ ารจดั การ(นักเรียน)เรยี นรว่ ม ----------------------------------------------------------------- หมายเหตุ ขอ้ 1 – 5 ขอ้ 7 ข้อ 9 ขอ้ 14 – 15 ขอ้ 17 และขอ้ 19 มเี อกสารแจก

2 ศาสตรพ์ ระราชา...ศาสตร์เพ่ือการพฒั นาทีย่ ่ังยืน ศาสตรพ์ ระราชา คอื องคค์ วามรู้ของพระราชา (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช) ทีท่ รงช่วยเหลือ ปวงชนชาวไทย เปน็ การวางแนวทาง แนวคิด ทฤษฎี หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักการ-ขนั้ ตอนการทรงงาน และโครงการ อันเน่อื งมาจากพระราชดารซิ ึง่ มมี ากกว่า 4,000 โครงการ เพ่อื แก้ไขปัญหาของประชาชนของพระองค์ท่าน เช่น ศาสตรใ์ นการ ทาฝนเทยี ม หรือ ฝนหลวง แก้ฝนแล้ง/ไฟปาุ ศาสตร์ทช่ี ่อื วา่ โครงการแก้มลงิ แก้น้าท่วม การแก้ไขปญั หาน้าเสีย ใชผ้ ักตบชวาที่ เรยี กว่า “ใชอ้ ธรรมปราบอธรรม” กังหันชัยพฒั นา - เติมออกซเิ จน หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งแก้วกิ ฤตตม้ ยากุ้งหรอื ฟองสบู่แตก จวบจนทุกวนั น้ี ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได้รบั การนาไปประยกุ ต์ใช้อย่างแพรห่ ลาย ท้งั ในภาคเกษตรกรรม ธรุ กจิ การจดั การทางเศรษฐกจิ และสงิ่ แวดล้อม และสถานศึกษา จนประสบความสาเรจ็ อยา่ งเป็นรปู ธรรมฯลฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ มพี ระราชดารสั เมือ่ ปี 2554 วา่ “เปูาหมายในการพฒั นาของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั คอื ‘การพฒั นาที่ยง่ั ยืน’ เพอ่ื ปรับปรุงชีวติ ความเป็นอยู่ของคน โดยไมท่ าลายส่ิงแวดลอ้ ม ให้คนมีความสุข โดย ตอ้ งคานึงเร่ืองสภาพภมู ศิ าสตร์ ความเช่อื ทางศาสนา เชอื้ ชาติ และภมู หิ ลังทางเศรษฐกิจ สงั คม แม้วา่ วธิ ีการพัฒนามหี ลากหลาย แตท่ ่ีสาคัญคอื นักพัฒนาจะต้องมีความรกั ความห่วงใย ความรับผดิ ชอบ และการเคารพในเพื่อนมนษุ ย์ จะเห็นได้ว่าการพฒั นา เกย่ี วข้องกบั มนุษยชาติ และเป็นเรือ่ งของจิตใจ” รฐั บาล ฯพณฯ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้นา “ศาสตร์พระราชาสู่การปฏิบตั อิ ย่างย่งั ยนื ” ใน การพฒั นาเศรษฐกจิ สูย่ คุ ไทยแลนด์ 4.0 รวมทัง้ การพัฒนาประเทศเพือ่ ก้าวเข้าสสู่ ังคมโลกท้งั ในระดับภูมภิ าค และในระดับโลก โดยน้อมนาพระราชดารัสขององคพ์ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดชท่ใี ห้ “ประชาชนเป็นศนู ย์กลาง” ของการพัฒนา มาเปน็ แนวทางในการดาเนนิ งาน เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ความขัดแยง้ ในพ้ืนที่ ประชาชนมีส่วนรว่ ม และได้ประโยชน์จากการพฒั นาอยา่ ง แท้จรงิ ใหม้ คี วาม อยู่ดี กินดี และได้เช่อื มโยง “ศาสตรพ์ ระราชา”ในเรอ่ื งหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กบั เปา้ หมายการ พฒั นาท่ยี งั่ ยืน (SDGs - Sustainable Development Goals) จนประสบความสาเรจ็ ในการสรา้ งความตระหนักและการ ยอมรับในเวทรี ะหวา่ งประเทศในระดบั หน่ึง ยกตัวอยา่ ง (1) ศูนยส์ าธติ สหกรณโ์ ครงการหุบกะพง เพ่ือแกป้ ัญหาการขาดน้ากนิ และนา้ ใช้ การขาดท่ีดนิ ทากิน ซึ่งมีการส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยอี ยา่ งงา่ ย (2) ธนาคารอาหารเปน็ กจิ กรรมจากกองทนุ อาหาร กลางวันแบบยงั่ ยืน ใหเ้ ด็กนกั เรียนทุกคนนาไปลงทุน เพ่อื ประกอบอาชีพทาการเกษตรและปศสุ ัตว์ขนาดเล็ก (3) โรงเรียนพระ ดาบส จดั ใหม้ ีการสอนวชิ าชีพ หลกั สตู ร 1 ปี มุ่งใหส้ ามารถนาไปประกอบอาชีพได้จรงิ เสริมด้วยทกั ษะชีวิต ใหส้ ามารถดารงตน ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (4) กงั หนั ชยั พฒั นา เป็นการเพิ่มปริมาณออกซเิ จนในนา้ ลดกลน่ิ นา้ ไมเ่ นา่ เสยี เปน็ ทีอ่ ยูอ่ าศยั ของสัตว์น้าได้ (5) บริษทั ประชารัฐ รกั สามัคคี จากดั ดาเนินการตามรปู แบบ “วิสาหกจิ เพ่อื สังคม” บนกลไก “ประชารัฐ”ท่ไี ม่มงุ่ เน้นผลกาไร จากการประกอบการ ฯลฯ ดร. อานนท์ ศกั ด์วิ รวชิ ญ์ คณะสถติ ปิ ระยุกต์ สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ กล่าวสรปุ ศาสตร์พระราชา จาก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน ดงั น้ี 1. จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะหลักการนาทาง ประกอบด้วยสามหว่ ง สองฐาน คือความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมภี ูมิค้มุ กันในตน มฐี านความรู้ และ ฐานคณุ ธรรม 2. วธิ กี ารของศาสตรพ์ ระราชา คือ เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนา โดยต้องเขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา คน วัตถุ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม เข้าใจ หมายถงึ การใชข้ ้อมูลท่มี อี ยู่แล้ว การใชแ้ ละแสวงหาข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ การวเิ คราะห์และการวิจัย การทดลองใช้จนไดผ้ ลจรงิ กอ่ น เขา้ ถึง หมายถงึ การระเบิดจากข้างใน เขา้ ใจกล่มุ เปาู หมายในการพฒั นา และสร้างปญั ญาสังคม พัฒนา หมายถึง การพัฒนาทปี่ ระชาชนเรม่ิ ต้นดว้ ยตนเอง พงึ่ พาตนเองได้ และมีตน้ แบบในการเผยแพร่ความรู้ใหป้ ระชาชนได้ เรียนรู้และนาไปประยุกตใ์ ช้ 3. การประยุกตแ์ ห่งศาสตรพ์ ระราชา ต้องทาใหด้ ้วยความรกั ความปรารถนาและด้วยใจ ตอ้ งประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งยั่งยนื ไมย่ ดึ ตดิ ตารา ปรบั ตามบคุ คล สภาพพืน้ ทแ่ี ละสถานการณ์ ตวั อยา่ งของการประยุกตแ์ ห่งศาสตร์พระราชา ได้แก่ โครงการ พระราชดารกิ วา่ 4000 โครงการ เกษตรทฤษฎใี หม่ แกล้งดนิ แกม้ ลงิ ฝนหลวง กังหนั น้าชยั พฒั นา หญ้าแฝก เขอื่ นปาุ สักชลสทิ ธิ์ สถานีวิทยุ อส ถนนวงแหวน ถนนรชั ดาภิเษก ทางด่วนลอยฟาู ถนนบรมราชชนนี สะพานพระราม 8 ฟอนท์ไทยจิตรลดา เปน็ ต้น 4. ผลลัพธ์ของศาสตรพ์ ระราชา คือ แผน่ ดินโดยธรรมและประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชนชาวสยามตามพระปฐมบรมราช โองการ พออย่พู อกิน และรรู้ ักสามคั คี อันเปน็ การพฒั นาอย่างย่ังยืน

3 พระบรมราโชวาท/พระราชกระแสรบั ส่งั รัชกาลที่ ด้านการศึกษา  พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล รัชกาลที่ 9 ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบัตรแกบ่ ัณฑติ วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร 5 ธนั วาคม 2503 ความรูก้ บั คณุ ธรรมจะต้องเป็นเร่อื งเดยี วกัน “ใหม้ ีความวติ กไปวา่ เด็กชน้ั หลังจะหา่ งเหนิ จากศาสนาเลยกลายเป็นคนไม่มีธรรมในใจมากข้นึ คนท่ีไม่มธี รรมเปน็ เคร่อื งดาเนินตาม คงจะหันไปทางทุจริตโดยมาก ถ้ารูน้ ้อยก็โกงไมใ่ คร่คล่อง ฤาโกงไมส่ นทิ ถ้ารู้มากก็โกงคล่อง ข้ึนแลโกงพิสดารมากขึ้น การทห่ี ัดให้รอู้ ่านอกั ขรวิธี ไมเ่ ปน็ เคร่ืองฝึกหดั ใหค้ นดแี ลคนชั่ว เปน็ แต่ได้วิธีสาหรบั จะเรียนความดี ความชัว่ ไดค้ ล่องข้นึ ” (พระราชหตั ถเลขา ล้นเกลา้ ร.5 พ.ศ. 2441) ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตรแก่นิสิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 5 กรกฎาคม 2505 “ประเทศชาติของเราจะเจริญ หรอื เส่อื มลงนั้นย่อมข้ึนอยู่กบั การศกึ ษาของประชาชนแตล่ ะคน เปน็ สาคญั ผลการศึกษาอบรมในวันนจ้ี ะเปน็ เครอ่ื งกาหนดของ ชาตใิ นวันขา้ งหนา้ ” ผู้ท่ีเปน็ ครอู าจารยน์ น้ั ใช่วา่ จะมีแต่ความรู้ในทางวชิ าการ และทางการสอนเทา่ นั้นก็หาไม่ จะตอ้ งรู้จักอบรม เดก็ ทั้งในด้านศลี ธรรมจรรยา และวัฒนธรรม รวมทง้ั ให้มีความสานกึ รบั ผิดชอบในหน้าท่ี และในฐานะทจ่ี ะเป็นพลเมอื งท่ีดขี อง ชาติต่อไปข้างหนา้ การใหค้ วามรหู้ รอื ทีเ่ รยี กว่าการสอนนน้ั ตา่ งกบั การอบรม การสอน คอื การใหค้ วามร้แู ก่ผูเ้ รยี น ส่วนการอบรม เปน็ การฝกึ จิตใจของผเู้ รียนให้ซมึ ซาบจนตดิ เป็นนสิ ยั ขอให้ทา่ นทั้งหลายจงอยา่ สอนเพยี งอยา่ งเดียว ใหอ้ บรมใหไ้ ดร้ บั ความรู้ ดังกลา่ วมาแล้วดว้ ย  พระราชกระแสรับสั่ง พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพล รัชกาลที่ 9 “ครูตอ้ งสอนใหเ้ ดก็ นักเรียนมนี า้ ใจ เชน่ คนเรยี นเก่งช่วยตวิ เพื่อนที่เรียนล้าหลัง ใชส่ อนใหเ้ ด็กคิดแต่จะแข่งขนั (Compete) กับเพ่ือน เพื่อใหค้ นเก่งได้ลาดบั ดี ๆ เช่น สอบได้ท่หี นึ่งของชน้ั แตต่ อ้ งให้เด็กแข่งขันกับตนเอง” (11 ม.ิ ย. 55) “ครไู ม่จาเปน็ ตอ้ งมีความรทู้ างเทคโนโลยมี าก แต่ต้องม่งุ ปลกู ฝงั ความดีใหน้ ักเรยี นชั้นตน้ ตอ้ งอบรมบม่ นิสัยให้เปน็ พลเมอื งดี เดก็ โตก็ต้องทาเชน่ กนั ” (6 มิ.ย. 55) “เราตอ้ งฝึกหัดใหน้ ักเรียนรูจ้ ักทางานร่วมกนั เป็นกล่มุ เปน็ หมคู่ ณะมากขน้ึ จะไดม้ คี วามสามัคคี รจู้ กั ดแู ลช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกนั เออ้ื เฟ้อื เผ่อื แผค่ วามรู้ และประสบการณ์แก่กัน” (5 ก.ค. 55) “ทาเปน็ ตัวอยา่ งให้นกั เรยี นเป็นคนดี นักเรียนรักครู ครรู ักนักเรียน” (9 ก.ค. 55) “เรอื่ งครมู ีความสาคัญไมน่ ้อยกว่านกั เรยี น ปญั หาหนงึ่ คือ การขาดครู เพราะจานวนไม่พอ และครยู า้ ยบ่อย ดังนั้น ก่อนคดั เลือกเดก็ ทจ่ี ะพฒั นาตอ้ งพฒั นาครกู อ่ น ใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะสอนเดก็ ให้ไดผ้ ลตามทต่ี อ้ งการ จึงจะต้องคดั เลือกครแู ละพฒั นาครู ตอ้ งตัง้ ฐานะในสงั คมของครใู ห้เหมาะสม และปลกู จติ สานึกโดย ใช้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วธิ กี ารคอื การใหท้ ุนและอบรม กล่าวคือ ต้องมีความรู้ทางวชิ าการในสาขาท่เี หมาะสมที่จะสอน ตอ้ งอบรมวิธีการสอนให้มีประสทิ ธภิ าพ มคี วามเป็นครทู แี่ ท้จรงิ คือ มคี วามรกั ความเมตตาต่อเด็ก ควรเปน็ ครทู อ้ งท่เี พื่อจะไดม้ ีความผกู พันและคดิ ท่ีจะพัฒนาทอ้ งถิ่นที่เกิดของตน ไม่คดิ ย้าย ไป ย้ายมา” (11 ม.ิ ย. 55) 2.2 “ต้องปรับปรงุ ครู ครูจะอายุ 40 - 50 ปี ก็ต้องเรียนใหม่ ตอ้ งปฏิวัตคิ รูอยา่ งจริงจัง (6 มิ.ย. 55) “ปญั หาปจั จบุ นั คือ ครูมุ่งเขยี นงานวทิ ยานพิ นธ์ เขียนตาราสง่ ผูบ้ รหิ าร เพ่ือให้ได้ตาแหนง่ และเงนิ เดอื นสูงข้ึน แลว้ บางทกี ็ย้ายไปทใี่ หม่ ส่วนครทู ี่ม่งุ การสอนหนังสอื กลบั ไม่ไดอ้ ะไรตอบแทน ระบบไมย่ ุติธรรม เราต้องเปลย่ี นระเบยี บตรงจุดน้ี การสอนหนงั สอื ตอ้ งถอื วา่ เปน็ ความดคี วามชอบ หากคนใดสอนดี ซึง่ ส่วนมากคอื มคี ณุ ภาพและปริมาณ ตอ้ งมีReward” (5 ก.ค. 55) “ครบู างสว่ นเวลาสอนนกั เรียนจะสอนไม่หมดแต่เก็บไวบ้ างส่วน หากนักเรียนตอ้ งการรู้ทัง้ หมดวิชา กต็ อ้ งเสียเงนิ ไป สมคั รเรียนพเิ ศษกับครูทา่ นนัน้ จะเปน็ การสอนในโรงเรยี นหรือสว่ นตวั กต็ าม” (5 ก.ค. 55)

4 พระราชปณิธาน พระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของรชั กาลที่ 10 สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระราชปณิธานตามรอย ในหลวงรัชกาลท่ี 9 ของสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ รชั กาลที่ 10 มงุ่ สรา้ งโอกาสทาง การศกึ ษาใหเ้ ยาวชนยากไร้ โดยเม่อื ปี 2552 ทรงมีพระราชดาริใหด้ าเนนิ โครงการทนุ การศกึ ษาสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมาร ดว้ ยพระราชปณธิ านทม่ี ่งุ สรา้ งความรู้ สร้างโอกาสแกเ่ ยาวชนไทยทมี่ ีฐานะยากจนยากลาบาก แต่ประพฤติดี มคี วามสามารถในการศึกษา ใหไ้ ด้รบั โอกาสทางการศกึ ษาท่มี น่ั คงตอ่ เนอ่ื งในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จนสาเรจ็ การศกึ ษาใน ระดบั ปรญิ ญาตรตี ามความสามารถของแตล่ ะคน เปน็ การลงทนุ เพอ่ื พัฒนาความรคู้ วามสามารถและศกั ยภาพแกเ่ ยาวชนไทย ต่อมาในปี 2553 ทรงมพี ระราชดาริให้จดั ตง้ั มลู นธิ ิทนุ การศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ม.ท.ศ.) ข้นึ ทรงใหน้ าโครงการทนุ การศกึ ษาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร มาอย่ภู ายใตก้ ารดาเนินงานของ มูลนิธิฯ ดว้ ยพระราชปณิธานที่มงุ่ สร้างโอกาสทางการศกึ ษาอย่างตอ่ เนือ่ งและมคี วามย่ังยนื สืบต่อไป พระบรมราโชบาย ของสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ รัชกาลท่ี 10 ดา้ นการศกึ ษา การศึกษาตอ้ งมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ ผ้เู รียน 1. ทศั นคติทีถ่ ูกตอ้ ง 2. พนื้ ฐานชีวติ (= อุปนสิ ยั ) ทม่ี ัน่ คงเข้มแขง็ 3. มีอาชพี – มงี านทา พระราชกระแส ของสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ฯ รัชกาลท่ี 10 ดา้ นการศกึ ษา ในภาพรวม 1. สบื สานพระราชปณธิ านหรือพระราชกระแสรับสง่ั รัชกาลท่ี 9 เรื่อง การสรา้ งคนดี การสรา้ งคนดีให้แกบ่ ้านเมอื ง ต้องหาแนวทางสรา้ งคนดกี อ่ น แลว้ จึงจะไปสู่เดก็ เป็นคนดี และพฒั นาให้เป็นคนเกง่ ครตู ้องมศี รัทธาท่แี รงกล้าเพือ่ ทาให้เดก็ เป็นคนดีคือ สิง่ ทส่ี อนและอบรมผ้เู รียนใหม้ ีองคค์ วามรู้ มีอุปนิสยั ติดตัว (Character Education) 5 ด้าน คือ ศีลธรรม จรยิ ธรรม มารยาท วินัย และวัฒนธรรม เพื่อให้คนไทยเปน็ ผู้มมี ารยาท มวี ินัย มีความ รับผิดชอบในหนา้ ท่ี และเป็นพลเมืองดขี องชาตโิ ดยการศึกษา แบ่งเปน็ 2 ส่วน คือ การสอน และการอบรม ซง่ึ เปรียบเสมอื น ตน้ ไม้ทีม่ สี ่วน ของลาต้นและราก 2. การศกึ ษาตอ้ งม่งุ สรา้ งพ้นื ฐานให้แก่เดก็ ทศั นคตทิ ี่ถูกต้อง (อุปนสิ ยั ) ทมี่ ั่นคงเขม้ แขง็ มอี าชีพ - มีงานทา ฯลฯ การแนะแนวอาชพี ต้องเขม้ ขน้ โรงเรียนควรมีการแนะแนว ท้ังการแนะแนวชวี ติ (วนิ ยั และมารยาทไทย) และแนะแนวอาชพี อยา่ งเปน็ ระบบ 3. เน้นการสรา้ งทศั นคติ (Attitude) ต้องสอนให้เดก็ รถู้ ูก รู้ผดิ ยึดม่ันในส่งิ ท่ีถกู ต้อง (และพบว่าความคาดหวงั ในเด็ก ของประเทศไทย คือ ซ่อื สตั ย์ รับผดิ ชอบ มีน้าใจ การอบรมจนเกดิ เป็นนสิ ยั ประจาชาติ) การสรา้ งเด็กเพอ่ื เป็นคนในอนาคตของ ชาตทิ ี่มกี ารศึกษา 4. การศึกษาในภาพรวมทาอย่างไรให้เยาวชนมีความสนใจและเขา้ ใจทถี่ กู ต้องเรอื่ งของสถาบนั ความเปน็ ชาตแิ ละ ประวัตศิ าสตร์

5

6 การขบั เคลือ่ นยุทธศาตร์ชาตเิ กย่ี วกับการแกไ้ ขปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพน้ื ทีพ่ ิเศษ ปรากฏในยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 การจัดการศกึ ษาเพือ่ ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ เปาู หมายที่ 2: คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใตแ้ ละพืน้ ทพ่ี ิเศษ ไดร้ บั การศกึ ษา และเรยี นรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ ของแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 – 2579

7 โรงเรยี นคุณธรรม ทกุ โรงเรยี นไดป้ ฏิบตั ิตามแนวทางโรงเรยี นคุณธรรมอยแู่ ล้ว เพราะถือเปน็ วาระสาคญั ของชาติอันดบั แรกท่จี ะนาพา ความเชือ่ มนั่ ศรทั ธาต่ออนาคตของประเทศชาติ โดยใหค้ วามสาคัญในเรอ่ื งการสบื สานพระราชปณธิ านเดินตามรอยเบอ้ื งพระ ยคุ ลบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ตามพระราชประสงค์ของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 10 กระทรวงศึกษาธิกานจึงกาหนด กรอบแนวคิดท่ีสาคญั ของโรงเรียนคณุ ธรรม 5 ด้าน ท่ีมีความเชอ่ื มโยงกนั ในทกุ มิติ และ ถือเป็นการสร้างให้นักเรยี นมคี ุณธรรมนาความรู้ ดงั นี้ 1. ความพอเพียง: ดารงชีวติ ด้วยความพอเพยี ง ประหยัด ไม่ฟงุู เฟอู รจู้ ัก ความพอดพี อเหมาะ และใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย 2. ความกตัญญู: เป็นพืน้ ฐานด้านคุณธรรมของทุกคน และเปน็ สญั ลักษณข์ อง คนดี เราจงึ ต้องมีความกตญั ญตู อ่ พอ่ แมซ่ ่งึ เปรยี บเสมอื นพระในบ้าน และกตัญญตู อ่ ครอู าจารยซ์ ่ึงเปรียบเสมื อนพระทโ่ี รงเรยี น 3. ความซ่ือสตั ย์สุจริตสร้างชาติ: ความซื่อสตั ยเ์ ป็นพ้ืนฐานสาคญั ในการดารงชีวิต คาพดู หรอื การกระทาทุกอยา่ งควรมาจากใจ 4. ความรับผิดชอบ: ความรับผิดชอบซึง่ เป็นสง่ิ สาคญั ในการเจรญิ สัมมาชีพตอ่ ไปในวันข้างหน้า ยดึ ม่นั กฎกติกาในการทางาน อยา่ งเสมอต้นเสมอปลาย คงเสน้ คงวาในความดี ปากตรงกับใจ และอยา่ หลงลืมตัว 5. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม: การยดึ มน่ั คุณธรรม จริยธรรมเป็นเร่ืองสาคัญ และตอ้ งดารงตนให้เป็นแบบอยา่ งของสังคม ตวั ช้ีวัดโรงเรียนคุณธรรม 7 ขอ้ ดงั น้ี 1. มีอุดมการณค์ ุณธรรมต่อการพฒั นาในโรงเรยี นคณุ ธรรม 2. มีกลไก และเคร่อื งมือในการปฏบิ ตั คิ ณุ ธรรมจรยิ ธรรมรว่ มกนั ทั้งโรงเรยี น 3. มีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ความ พอเพยี ง ความกตญั ญู ความซ่ือสตั ย์ สุจริต อดทน และเสยี สละในโรงเรยี นเพิ่มมากขึ้น 4. พฤตกิ รรมทีไ่ มพ่ ึงประสงคล์ ดน้อยลง 5. มกี ระบวนการมสี ่วนรว่ ม และสร้างความรับผิดชอบจากผเู้ กยี่ วข้องในโรงเรยี น 6. มอี งคค์ วามรู้ นวัตกรรมด้านคุณธรรม และบรู ณาการร่วมกนั ไว้ในชนั้ เรยี น 7. เปน็ แหล่งเรียนรดู้ า้ นคณุ ธรรม โรงเรยี นประชารัฐ โรงเรยี นประชารัฐ เป็นหนึง่ ในโครงการสานพลงั ประชารฐั ด้านการศกึ ษาพน้ื ฐานและการพัฒนาผ้นู า เปน็ มิตใิ หม่ของ ความรว่ มมอื ระหว่างภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม เพ่อื รว่ มขับเคล่อื นและยกระดบั มาตรฐานการศกึ ษาพนื้ ฐานและ การพัฒนาผู้นาใหม้ สี มั ฤทธผิ ล และมีสว่ นสาคัญในการสรา้ งความเขม้ แข็งดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมอยา่ งยง่ั ยืน การทางานร่วมกนั เป็นระบบมากข้นึ กระจายไปสวู่ งกวา้ งมากขน้ึ เปน็ ระบบการศกึ ษาทงั้ ระบบที่ตอ้ งมีการวางแผนงาน งบประมาณใหเ้ ปน็ ไปใน ทศิ ทางเดยี วกัน เพอื่ มงุ่ ไปส่เู ปาู หมายของการสร้างทรัพยากรมนุษยท์ ี่จะรองรับกับพลวัตรในศตวรรษที่ 21 โรงเรยี นผ่านการคัดเลือกเป็นโรงเรียนตน้ แบบโครงการโรงเรียนประชารัฐ จะได้รบั การพฒั นาตามโครงการภายใต้ การดูแลและให้ความชว่ ยเหลือของ School Partners จากภาคเอกชน 1,000 คน และมี School Sponsor จากภาครัฐและ ภาคเอกชนให้การสนับสนนุ ดว้ ย สิง่ ทจ่ี ะไดร้ ับจากการเป็นตน้ แบบโรงเรยี นประชารฐั มี 4 ประการ คอื 1) ครู ไดร้ ับความร้แู ละประสบการณ์ จากกระบวนการจัดการ ตลอดจนได้รับการพัฒนา – การเรยี นรู้ต่าง ๆ 2) โรงเรียน ไดร้ บั การเตมิ เตม็ จากภาคเอกชน ท้งั ใน ด้านโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ส่อื การเรยี นการสอน ระบบฐานขอ้ มูล เป็นต้น 3) ผูบ้ รหิ าร ไดร้ บั การพัฒนาคณุ สมบตั ิและสมรรถนะ ความเปน็ ผู้นาและการบริหารจัดการ 4) ผู้ปกครอง ชมุ ชน ไดม้ สี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษาและสนับสนุนการศึกษามากขึ้น ความคาดหวงั จากการดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนประชารฐั ในหลายส่วน เชน่ การมีธรรมาภิบาลใน สถานศกึ ษา โรงเรยี นมีความพรอ้ ม มีส่อื วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนห้องเรียนที่เพยี งพอต่อการจดั การเรียนรู้ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นทด่ี ขี น้ึ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษต้องสามารถสือ่ สารไดด้ ีข้ึน รวมท้ังได้รับความรว่ มมอื จากทุกภาคส่วนอยา่ งต่อเน่อื ง

8 โรงเรียนไอซียู ( ICU) นพ.ธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ศธ.) กลา่ วถึงนโยบายในการดาเนนิ งาน ขับเคลือ่ นยกระดับคุณภาพโรงเรยี นทต่ี ้องการความช่วยเหลือและพัฒนาเปน็ พิเศษอยา่ งเร่งด่วน (ไอซยี ู) วา่ นโยบาย ดังกลา่ วจดั ทาข้นึ เพือ่ ช่วยเหลอื โรงเรียนทปี่ ระสบปญั หาวกิ ฤตทางการศกึ ษาดา้ นตา่ งๆ เช่น ผลสัมฤทธิทางการเรียนต่า อาคารเรยี นชารุดทรดุ โทรม ขาดแคลนบคุ ลากร และส่งิ แวดลอ้ มทางการเรียน รวมท่วั ประเทศ 6,964 แหง่ แบ่งเป็นโรงเรียน สงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา 4,469 แห่ง, สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา 364 แห่ง และ โรงเรยี น ICU ท่ีได้รบั ผลกระทบจากสถานการณน์ ้าท่วมภาคใต้ 2,131 แห่ง โดยสามารถวิเคราะหส์ ภาพปัญหาด้านการศึกษาท่ี ตอ้ งการความช่วยเหลือและพัฒนาเปน็ พิเศษอย่างเรง่ ด่วนได้ 7 ด้าน คือ 1. ด้านคุณภาพ เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตา่ อยา่ งตอ่ เน่ือง นกั เรยี นอ่านไมอ่ อก/เขยี นไมค่ ลอ่ ง โรงเรียนไมผ่ า่ นการ ประเมิน เด็กขาดทกั ษะด้านการคิดวิเคราะห์ เป็นตน้ 2. ด้านกายภาพ เชน่ อาคารเรยี นชารุดทรดุ โทรม หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอรห์ รอื ห้องปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตรไ์ ม่ เพียงพอ ไมม่ หี ้องสมดุ ห้องน้าชารดุ และไม่เพยี งพอ ขาดส่ือและวสั ดุอปุ กรณ์ในการจดั การเรียนการสอน เปน็ ตน้ 3. ด้านบุคลากร เช่น ขาดผบู้ ริหารหรือเปลยี่ นผูบ้ รหิ ารบ่อย ครูไม่ครบชัน้ ครสู อนไม่ตรงเอก ขาดบคุ ลากรฝุายสนบั สนนุ เปน็ ตน้ 4. ดา้ นการบริหารจัดการ เชน่ นักเรียนขาดเรียนบอ่ ย นักเรียนออกกลางคนั ครูขาดทกั ษะในการจดั การเรียนรู้ ครูขาดการพัฒนาอบรมอย่างต่อเน่ือง สวสั ดิการครไู ม่เพียงพอ เป็นตน้ 5. ดา้ นโอกาสทางการศกึ ษา เช่น ครอบครัวของนักเรยี นสว่ นใหญม่ ฐี านะยากจน นกั เรยี นท่ีอยู่ติดชายแดนเดนิ ทาง ลาบากและขาดความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง ระยะทางจากบา้ นไกลจากโรงเรยี น เปน็ ตน้ 6. ด้านสงั คม สิง่ แวดลอ้ ม เช่น ปัญหาดา้ นการจัดการขยะ ฝุนละออง และมลพษิ ทางอากาศ ประสบภยั ธรรมชาติ (น้าทว่ มขัง การพังทลายของดิน) ปัญหายาเสพติด ครอบครวั แตกแยก สภาพแวดล้อมในโรงเรียนไม่เอ้ือต่อการจดั การเรียน การสอน ชมุ ชนขาดความศรัทธาตอ่ โรงเรยี น เปน็ ตน้ 7. ด้านอื่น ๆ เช่น ปัญหาร้ัวชารุด เดก็ เรียนร่วม ขาดแหล่งเรียนรู้ เป็นตน้ เม่ือทาการวนิ จิ ฉยั ปัญหาออกมาทง้ั 7 ประการแล้ว การดาเนนิ งานขนั้ ตอ่ ไปคอื \"การรักษา\" โดย สพฐ. จะคดั กรองและ พจิ ารณาความจาเปน็ เรง่ ดว่ นของโรงเรียนที่กาลงั ประสบปัญหาและตอ้ งการความชว่ ยเหลอื และพฒั นาเปน็ พิเศษ เพ่อื จะแก้ไข ปัญหาใหต้ รงจดุ และทาใหโ้ รงเรียนแต่ละแห่งรอดพน้ จากสภาวะวกิ ฤตทางการศึกษา ดว้ ยนโยบาย \"โรงเรียนดีใกลบ้ า้ น (โรงเรยี นแมเ่ หล็ก)\" อันเป็นการควบรวมโรงเรียนท่อี ย่ใู กลก้ ัน เพอ่ื แกไ้ ขปัญหาทั้งเชิงกายภาพและคณุ ภาพ โดยมวี ัตถุประสงค์ เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของนกั เรยี นเป็นสาคญั ภายใตก้ ารยอมรับของทกุ คนในชุมชน ซ่งึ เป็นยาชนั้ ดีหรอื เป็นหน่ึงในวิธกี าร แกป้ ัญหาโรงเรียน ICU รวมท้งั การเกล่ยี ครู นโยบายโรงเรยี นประชารัฐ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเอกชนและชมุ ชน ตลอดจนการ ใหค้ ณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวดั (กศจ.) เป็นหมอในท้องถ่ิน เพือ่ ดแู ลและแกป้ ัญหาให้กบั สถานศึกษาในพ้นื ท่ีด้วย เพราะ สิ่งเหลา่ นี้สามารถแกป้ ญั หาโรงเรยี น ICU ไดเ้ ช่นกนั แผนบรหิ ารโรงเรยี นขนาดเลก็ จานวนนกั เรียน 120 คนลงไป (ยุบรวมแล้วน้อยกว่า 40–60 คน) สพฐ.เผยแผนบริหารโรงเรยี นขนาดเลก็ 15,577 โรงเรียน เปูาหมายหลกั คอื แกป้ ญั หาโดยใชก้ ารบรหิ ารจดั การ ตอ้ ง ใหโ้ รงเรยี นมีครคู รบช้นั และมีนกั เรยี นทีเ่ หมาะสมกบั หอ้ งเรยี นท้ังสองโรงเรยี นจะต้องมาบรหิ ารโรงเรยี นร่วมกนั โดยวิธีการควบ รวมแต่ไมใ่ ชก่ ารยุบเลิกโรงเรยี น เวน้ แต่โรงเรียนทม่ี ที ี่ตง้ั สภาพทางภมู ิศาสตรท์ ีเ่ ป็นข้อจากัด เช่น พืน้ ท่ีสงู อยบู่ นเกาะ ปี 25559 – 2560 ควบรวม 10,971 โรงเรยี น ข้ันตอนต่อไปกจ็ ะมีการสนบั สนนุ ส่ืออปุ กรณก์ ารเรียนการสอน วัสดุ ครุภณั ฑ์ หรอื สง่ิ อานวยความสะดวกอนื่ ๆ เพอ่ื การพัฒนาโรงเรยี นขนาดเลก็ ใหม้ ีคณุ ภาพตอ่ ไป แบง่ เป็น 3 กลุ่ม คอื 1. โรงเรียนขนาดเล็กทม่ี ีคณุ ภาพสูง บรหิ ารจดั การไดด้ อี ย่แู ลว้ 2. โรงเรียนทีม่ ีท่ตี ้งั ทางสภาพ ภูมิศาสตรท์ ่ีเปน็ ข้อจากดั ไดแ้ ก่ โรงเรยี นพื้นที่พิเศษ ห่างไกล พนื้ ทีส่ ูงหรอื เกาะ และโรงเรยี นที่มีระยะหา่ งจากโรงเรียนใกล้เคียง เกนิ 6 กม. ให้คงสภาพอยกู่ ่อน และ 3. โรงเรียนทั่วไปทม่ี รี ะยะหา่ งจากโรงเรยี นใกลเ้ คยี งไม่เกนิ 6 กม. ซง่ึ จะเป็นโรงเรยี นที่จะ เข้าส่กู ารบรหิ ารจดั การ