ป ร ะ โ ย ช น์ ขั ้น ต้ น กั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ขั ้น สู ง อาตมาได้พูดถึงธรรมะหลายคู่แล้ว ท�ำกิจ และท�ำจิต ประโยชนต์ น และประโยชนท์ า่ น ทจ่ี รงิ ประโยชนต์ นน ้ี กย็ งั แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท ไดแ้ ก ่ ประโยชนข์ นั้ ตน้ กบั ประโยชน์ ขน้ั สงู ประโยชนข์ นั้ ตน้ ภาษาบาลเี รยี กวา่ “ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ” ประโยชน์ข้ันสูง เรียกว่า “สัมปรายิกัตถะ” ซึ่งท่ีจริง รวมถึง ประโยชน์สงู สุดหรอื “ปรมตั ถะ” ด้วย ท้ังประโยชน์ข้ันต้นและประโยชน์ข้ันสูงน้ี เป็นสิ่งท่ ี เก้ือกูลกัน จะสนใจแต่อันหน่ึงอันใดไม่ได้ ประโยชน์ขั้นต้น ไดแ้ ก ่ การมสี ขุ ภาพด ี มคี รอบครวั ทด่ี ี มมี ติ รด ี มกี ารงานทดี่ ี มีทรัพย์เล้ียงตนให้มีความสุข เหล่านี้เป็นประโยชน์ทางโลก ท่ีเห็นได้ชัด ส่วนประโยชน์ข้ันสูง หมายถึง ความสุขทางใจ 51 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เช่นความอบอุ่นใจเพราะมีศรัทธาในส่ิงดีงาม มีความอ่ิมใจ เพราะไดท้ ำ� ความด ี ชว่ ยเหลอื เออ้ื เฟอ้ื ผอู้ น่ื มคี วามภาคภมู ใิ จ เพราะด�ำเนินชีวิตด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เบียดเบียนใคร มคี วามแกลว้ กลา้ มนั่ ใจเพราะมีปญั ญาเปน็ เครื่องนำ� ทางชวี ติ นอกจากความอบอนุ่ ใจ ความอม่ิ ใจ ความภาคภมู ใิ จ และ ความแกลว้ กลา้ มน่ั ใจแลว้ ยงั มสี ง่ิ ทป่ี ระเสรฐิ กวา่ นนั้ ทเ่ี รยี กวา่ ปรมัตถะ ซ่ึงรวมอยู่ในประโยชน์ขั้นสูง หรือ สัมปรายิกัตถะ ได้แก่ การมีจิตใจม่ันคงไม่หวั่นไหว เม่ือมีเหตุร้ายมากระทบ เจอความพลดั พราก สญู เสยี ถกู ตอ่ วา่ ดา่ ทอ เจบ็ ปว่ ย กไ็ มเ่ ปน็ ทกุ ข ์ รวมทง้ั มจี ติ เกษมศานต ์ ผอ่ งใส สงบเยน็ เปน็ อสิ ระ เขา้ ถงึ ภาวะอันเป็นบรมสขุ ได้แกน่ พิ พานนนั่ เอง คนเรา เม่ือจะมุ่งประโยชน์ส่วนตน ก็ควรให้ได้ทั้ง ๒ อยา่ ง คอื ประโยชนข์ น้ั ตน้ และประโยชนข์ นั้ สงู รวมถงึ ประโยชนข์ นั้ สงู สดุ ทงั้ ๒ ประการเกอื้ กลู กนั อยา่ งมาก กลา่ วคอื ประโยชนข์ น้ั ตน้ เชน่ การมสี ขุ ภาพด ี การมเี งนิ มงี าน มสี ถาน- ภาพ มีส่วนชว่ ยทำ� ใหเ้ ขา้ ถึงประโยชน์ข้ันสงู ขนึ้ ได้สะดวกขน้ึ ในสมัยพุทธกาล มีชายผูห้ นึง่ หิวเพราะไม่ไดก้ ินอาหาร แตก่ ม็ าฟงั ธรรมจากพระพทุ ธเจา้ แทนทพี่ ระองคจ์ ะทรงแสดง 52 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
ธรรมเลย กใ็ หเ้ ขาไดก้ นิ อาหารกอ่ น พอเขาอมิ่ แลว้ พระองคจ์ งึ ทรงแสดงธรรม เมอื่ ทรงแสดงธรรมเสรจ็ ชายผนู้ นั้ กบ็ รรลธุ รรม เป็นพระโสดาบัน การที่พระองค์ไม่ทรงแสดงธรรมให้ชาย ผู้น้ันต้ังแต่แรก เพราะพระองค์ทรงเห็นว่าเขายังหิวอยู่ จิตยัง ไม่พร้อมที่จะฟังและพิจารณาธรรมได้ดี ต่อเม่ือหายหิวแล้ว จติ จงึ พร้อมทจ่ี ะฟังธรรม แนน่ อนวา่ หลายคนหรอื สว่ นใหญค่ งไมถ่ งึ กบั บรรลธุ รรม เม่ือได้ฟังธรรมขณะท้องอิ่ม แต่ถ้าเรามีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ไมอ่ ดไมอ่ ยาก ไมห่ วิ โหย การฟงั ธรรมหรอื ปฏบิ ตั ธิ รรมของเรา ก็เจริญงอกงามได้ง่าย ถ้าเราไม่มีหน้ีสิน ไม่ต้องด้ินรนหาเงิน กย็ อ่ มมเี วลาวา่ งมาฟงั ธรรมหรอื ทำ� สมาธภิ าวนา ชว่ ยใหเ้ ขา้ ถงึ ประโยชนข์ น้ั สงู และเมอ่ื เราเขา้ ถงึ ประโยชนข์ นั้ สงู เชน่ มจี ติ ผอ่ งใส ใจเบกิ บาน เขา้ ถงึ ความสขุ ทป่ี ระณตี ไมล่ มุ่ หลงในสขุ จากวตั ถ ุ ภาวะเหลา่ นยี้ อ่ มชว่ ยใหก้ ารแสวงหาประโยชนข์ น้ั ตน้ ของเราเป็นไปอย่างถูกต้อง อยู่ในขอบเขตท่ีเหมาะสม ไม่ใช ่ เอาแต่แสวงหาทรัพย์อย่างไม่รู้จักหยุด จนเกินความพอด ี จนเปน็ ทกุ ข ์ เตม็ ไปดว้ ยความเครยี ด หรอื เอาแตเ่ สพวตั ถเุ พราะ เหน็ แกค่ วามเอรด็ อรอ่ ย จนกระทงั่ เกดิ โรคภยั แกร่ า่ งกาย หรอื หนักกว่าน้ันคือ ยอมทำ� ชั่ว ทุจริต คอร์รัปช่ัน ปล้นจ้ี เพราะ ลุ่มหลงในทรัพย์หรือวัตถุสิ่งเสพ กล่าวอีกนัยหน่ึง ประโยชน์ 53 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
หรอื ความสขุ ทางใจ ชว่ ยใหก้ ารแสวงหาประโยชนส์ ว่ นตนของ เราเปน็ ไปแบบไมล่ มุ่ หลง ชว่ ยใหช้ วี ติ ไมเ่ พลนิ ในความสขุ และ ไม่ทุกขเ์ มื่อสูญเสีย อย่างไรก็ตาม ชาวพุทธทุกวันน้ี จ�ำนวนมากทีเดียวที ่ ละเลยประโยชน์ข้ันสูง หรือประโยชน์ขั้นสูงสุด สนใจแต ่ ประโยชน์ข้ันต้น โดยที่ประโยชน์ขั้นต้น ก็ถูกลดทอนเหลือ เพียงแค่ความม่ังมี ความร�่ำรวย หรือการมีเงินทอง เดี๋ยวนี้ แมแ้ ตพ่ ระใหพ้ รวา่ ขอใหม้ อี าย ุ วรรณะ สขุ ะ พละ หลายคนก็ ไม่ค่อยสนใจ แต่พอพระให้พรว่า ขอให้มีปฏิภาณ ธนสาร สมบัติ หูผ่ึงเลย ย่ิงประโยชน์ข้ันสูง หรือประโยชน์สูงสุด ก็ยิง่ ไมส่ นใจ มเี รอื่ งเลา่ วา่ เมอ่ื สมยั หลวงปดู่ ู่ พรหมปญั โญ มชี วี ติ อย่ ู มพี ระรปู หนง่ึ เมอ่ื ครบกำ� หนดสกึ ทา่ นกม็ าหาหลวงป ู่ เพอื่ ขอให ้ หลวงปู่พรมน้�ำมนต์และให้พร ระหว่างที่หลวงปู่พรมน้�ำมนต์ พระรูปน้ีก็ก้มกราบ และนึกอธิษฐานในใจ “ขอความม่ังมี มหาศาล ขอลาภขอผลพนู ทว ี มกี นิ มใี ชไ้ มร่ หู้ มด จะไดแ้ บง่ ไป ท�ำบุญมากๆ” เมื่อเงยหน้าขึ้นมา ก็เห็นหลวงปู่จ้องหน้า แล้ว หลวงปู่ก็บอกว่า “ท่ีท่านคิดน่ะมันต่�ำ คิดให้สูงไว้ไม่ดีหรือ แลว้ เรอื่ งที่ทา่ นคดิ น่ะ จะตามมาทหี ลงั ” 54 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
ที่หลวงปู่บอกว่า “ท่ีท่านคิดน่ะมันต่�ำ” หมายถึงอะไร หมายถึง ความอยากร�่ำรวย มีเงินมีทองมากๆ ท่านเห็นว่า มอี ยา่ งอน่ื ทด่ี กี วา่ ประเสรฐิ กวา่ นนั่ คอื ประโยชนข์ นั้ สงู หรอื ความสุขทางจิตใจ รวมท้ังธรรม ท่ีท�ำให้จิตใจมีความสุข พูด อกี อยา่ งคอื อรยิ ทรพั ย ์ ทา่ นจงึ เตอื นพระรปู นวี้ า่ “คดิ ใหส้ งู ไว้ ไม่ดหี รือ” เวลาไปท�ำบุญ ไปขอพรพระ ส่ิงท่ีชาวพุทธจ�ำนวนมาก อยากจะไดฟ้ งั จากพระ คอื คำ� วา่ “รวย รวย รวย” แตไ่ มไ่ ดค้ ดิ เลยวา่ คนทรี่ วยแตฆ่ า่ ตวั ตายกม็ าก แมแ้ ตอ่ าย ุ วรรณะ สขุ ะ พละ ก็ไม่ได้เป็นหลักประกันแห่งความสุข คนท่ีฆ่าตัวตาย จ�ำนวนมาก ก็มีสุขภาพดี ไม่ได้เจ็บเลย หลายคนรูปหล่อ หนา้ ตาด ี สะสวย รำ�่ รวย เรยี กวา่ มปี ระโยชนข์ น้ั ตน้ ไมข่ าดแคลน แตเ่ ขากย็ งั ทกุ ข ์ กลดั กลมุ้ จนฆา่ ตวั ตาย นนั่ แปลวา่ ประโยชน ์ ขน้ั ตน้ นนั้ ไมเ่ พยี งพอทจี่ ะทำ� ใหเ้ รามคี วามสขุ อยา่ งแทจ้ รงิ มนั เปน็ แค่พื้นฐานท่ีจะชว่ ยให้เกิดความสุขทป่ี ระเสริฐ ความสขุ ทแี่ ทอ้ ยทู่ ใี่ จ ซง่ึ จะเกดิ ขนึ้ ไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื เราสรา้ งสม คณุ ธรรม บำ� เพญ็ คณุ งามความด ี มศี รทั ธา มศี ลี มจี าคะ คอื ความเสียสละ มีปัญญา มีสติสัมปชัญญะ ความรู้ตัว เหล่าน ี้ คือประโยชน์ขั้นสูง ที่จะน�ำไปสู่ประโยชน์ขั้นสูงสุด คือความ 55 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
สงบเยน็ เปน็ อสิ ระ จติ มนั่ คง ไมห่ วน่ั ไหวเมอื่ เจอความสญู เสยี ไมใ่ ชว่ า่ ดใี จเมอื่ ไดล้ าภ ไดย้ ศ ไดส้ ขุ ไดส้ รรเสรญิ แตพ่ อเสอ่ื ม ลาภ เสอื่ มยศ หรอื เมอื่ เจอคำ� ตอ่ วา่ ดา่ ทอ เจอเหตรุ า้ ย จติ ใจก ็ หม่นหมอง คับแค้น โศกเศร้า ร่�ำไรร�ำพัน ซ่ึงเป็นอาการ ที่เกิดข้ึนกับผู้คนมากมาย รวมทั้งคนที่ประสบความส�ำเร็จ มเี งนิ ทองมากมาย เป็นเพราะชาวพุทธเวลานี้ ละเลยประโยชน์ขั้นสูง ไปหมกมุ่นลุ่มหลงกับประโยชน์ข้ันต้น จึงจมอยู่ในความทุกข ์ หรอื หลงไปในทางทีผ่ ิดหรอื ทางอบายได้ง่าย เพราะประโยชน ์ ขนั้ ตน้ นอกจากจะไมช่ ว่ ยใหเ้ กดิ ความสขุ อยา่ งแทจ้ รงิ แลว้ ยงั เจอื ไปดว้ ยทกุ ข ์ คอื ทกุ ขเ์ พราะแสวงหา ไหนจะตอ้ งตอ่ สแู้ ยง่ ชงิ กบั คนอนื่ ครนั้ ไดม้ าแลว้ กย็ งั ทกุ ขเ์ พราะรกั ษา คอยดแู ลไมใ่ ห ้ สูญหายหรือเส่ือมเสีย นอกจากน้ันก็ยังทุกข์เมื่อมันสูญเสีย หรือสูญหายไป ยังไม่ต้องพูดถึงความสุขที่จืดจางเมื่อได้เสพ หรอื ไดใ้ ช ้ หรอื ครอบครองมนั ไปนานๆ โดยเฉพาะทรพั ยส์ มบตั ิ สถานภาพ ชอ่ื เสยี งเกยี รตยิ ศ หรอื แมแ้ ตค่ คู่ รอง ทำ� ใหอ้ ยากได้ ของใหม่ ไม่รู้จบ แต่ไม่ว่าจะดูแลรักษาอย่างไร ในท่ีสุดมันก็ เสอ่ื มเสยี สญู หายไป พดู งา่ ยๆ คอื ประโยชนข์ น้ั ตน้ แมจ้ ะให้ ความสขุ แตก่ เ็ ปน็ สขุ ชว่ั คราว แถมดว้ ยทกุ ขย์ าวนาน หาก ไม่รู้จักเกี่ยวข้องอย่างถูกต้อง เช่น ยึดติดถือม่ันหรือลุ่มหลง 56 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
แต่ถ้าเราใส่ใจกับประโยชน์ขั้นสูง สามารถเข้าถึงประโยชน์ ขั้นสูงความลุ่มหลงในประโยชน์ขั้นต้นก็จะลดลง ไม่หลง เพลนิ จนประมาท หรอื ลมุ่ หลงจนท�ำชว่ั หรอื เปน็ ทกุ ขเ์ มอ่ื เกดิ ความสญู เสียพลดั พรากไป อาตมาพดู มา ๓ คแู่ ลว้ คอื ทำ� จติ กบั ทำ� กจิ ประโยชนต์ น กบั ประโยชนท์ า่ น โดยทปี่ ระโยชนต์ นกบั ประโยชนท์ า่ น กต็ อ้ ง ม ี ๒ สว่ น คอื ประโยชนข์ น้ั ตน้ กบั ประโยชนข์ น้ั สงู เมอ่ื เรา จะทำ� ประโยชนใ์ หเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผอู้ น่ื หรอื สว่ นรวม กอ็ ยา่ นกึ ถงึ แต ่ เรอื่ งมที รพั ย ์ หรอื การมสี ขุ ภาพด ี การมเี งนิ มงี าน ตอ้ งนกึ ถงึ ประโยชน์ขั้นสูงด้วย คือการท�ำให้พบความสงบในจิตใจ มี ความอบอนุ่ ใจ เพราะมศี รทั ธาในสง่ิ ดงี าม มคี วามภมู ใิ จเพราะ ช่วยเหลือผู้อื่น ท�ำชีวิตให้มีคุณค่า มีความอ่ิมใจท่ีได้ท�ำความ ด ี มคี วามซอื่ สตั ยส์ จุ รติ อยา่ งการเลยี้ งลกู หรอื สอนศษิ ย ์ กถ็ อื เปน็ การบำ� เพญ็ ประโยชนท์ า่ น นอกจากชว่ ยใหล้ กู หรอื ลกู ศษิ ย ์ เข้าถึงประโยชน์ขั้นต้น เช่น มีวิชาความรู้ประกอบอาชีพ มี การงานทม่ี นั่ คงแลว้ ควรชว่ ยใหเ้ ขาเขา้ ถงึ ประโยชนข์ นั้ สงู ดว้ ย คอื มคี ณุ ธรรม มธี รรมชว่ ยรกั ษาใจ ใหอ้ ยเู่ ยน็ เปน็ สขุ มอี รยิ - ทรพั ย ์ ที่ทำ� ให้เกดิ สุขอย่างแทจ้ รงิ 57 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
บุ ค ค ล กั บ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ค�ำสอนของพระพุทธเจ้าในระดับจริยธรรม ยังมีอีกคู่หน่ึง กค็ อื การใหค้ วามสำ� คญั ทงั้ กบั บคุ คล และ สง่ิ แวดลอ้ ม การที่ เราจะท�ำประโยชน์ตนให้เกิดข้ึน หรือท�ำให้ชีวิตจิตใจเจริญ งอกงาม ปัจจัยหน่ึงที่มองข้ามไม่ได้ก็คือส่ิงแวดล้อม แม้แต่ คนที่ตั้งใจมาปฏิบัติธรรม ตั้งใจมาทำ� ความเพียร เพื่อให้เกิด ประโยชน์ขั้นสูง คือความสงบเย็นในจิตใจ หรือประโยชน์ข้ัน สงู สดุ คอื การพน้ ทกุ ข ์ หรอื นพิ พาน สง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กอื้ กลู เปน็ เร่ืองจ�ำเป็น ด้วยเหตุนี้พระพุทธเจ้าจึงให้ความส�ำคัญกับส่ิงที ่ เรยี กวา่ สปั ปายะ หรอื ปจั จยั เกอ้ื กลู ตอ่ ธรรม ผทู้ จ่ี ะมาปฏบิ ตั ิ ธรรม ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ คำ� วา่ สปั ปายะ ซงึ่ มอี ย ู่ ๗ ขอ้ คำ� วา่ สปั ปายะ ในภาษาไทย แปลว่า สบาย แต่ความหมายจริงๆ แปลว่า เกือ้ กูลหรอื เหมาะสม 59 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
สปั ปายะ คอื สงิ่ ทเ่ี กอ้ื กลู ตอ่ การปฏบิ ตั ธิ รรม ใน ๗ ขอ้ น้ัน มี ๔ ข้อ ที่เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมโดยตรง เช่น อาวาส- สัปปายะ คือสถานท่ีที่เหมาะสม โคจรสัปปายะ คือท่ีเที่ยว บิณฑบาตท่ีเหมาะดี อยู่ไม่ไกลจากหมู่บ้านหรือชุมชนที่ม ี อาหารบริบูรณ์ ปุคคลสัปปายะ คือ บุคคลที่เกื้อกูลต่อการ ปฏบิ ตั ิ มกี ลั ยาณมติ รหรอื ผทู้ รงคณุ ธรรมเปน็ ทป่ี รกึ ษา รวมทงั้ อุตุสัปปายะ หรือดินฟ้าอากาศท่ีเหมาะสม ท้ัง ๔ ประการนี้ เปน็ ปจั จยั แวดลอ้ มทเ่ี ราจะมองขา้ มไมไ่ ด ้ เราจะไปปฏบิ ตั ธิ รรม ที่ไหน ก็ต้องค�ำนึงถึงสัปปายะทั้ง ๔ ประการ ไม่นับอีก ๓ ประการ คอื อาหารทเี่ หมาะสม โภชนสปั ปายะ หรอื อาหาร ทเ่ี หมาะสม ภสั สสปั ปายะ การพดู คยุ ทเ่ี หมาะกนั และอริ ยิ าปถ- สัปปายะ หรอื อิริยาบถทีเ่ หมาะกนั เมอื่ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ออกบรรพชานน้ั ขณะทยี่ งั ไมพ่ บ หนทางแหง่ การตรสั ร ู้ พระองคท์ รงเหน็ สถานทหี่ นง่ึ รมิ แมน่ �้ำ เนรัญชรา ทรงประทับใจสถานท่ีนั้นเพราะทรงเห็นว่าเป็นถ่ิน รมณีย์ พระองค์ได้ตรัสถึงสถานท่ีนั้นด้วยภาษาท่ีงดงามว่า “ภมู สิ ถานถนิ่ นเ้ี ปน็ ทรี่ มณยี ห์ นอ มไี พรสณฑร์ ม่ รนื่ นา่ ชนื่ บาน ทงั้ มแี มน่ ำ�้ ไหลผา่ น นำ�้ เยน็ ชนื่ ใจ ชายฝง่ั ทา่ นำ้� กร็ าบเรยี บ อกี ทง้ั โคจรคาม (คอื ทเี่ ทยี่ วบณิ ฑบาต) กม็ อี ยโู่ ดยรอบ เปน็ สถานท่ี เหมาะจริงหนอ ท่ีจะบ�ำเพ็ญเพียรส�ำหรับกุลบุตรผู้ต้องการ 60 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
ท�ำความเพียร” ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงประทับนั่งตรงนั้น แลว้ ทรงตกลงใจว่า จะท�ำความเพยี ร ณ ที่แห่งนนั้ พระพทุ ธองค ์ แมท้ รงบำ� เพญ็ บารมที งั้ ๑๐ มาจนครบถว้ น แตก่ ารตรสั รขู้ องพระองคส์ ำ� เรจ็ ขนึ้ ได ้ กต็ อ้ งอาศยั สง่ิ แวดลอ้ ม ดว้ ย พระองคท์ รงเจาะจงเลอื กสถานทนี่ นั้ เปน็ ทที่ ำ� ความเพยี ร เพราะเป็นที่รมณีย์ คือสงบ สงัด เป็นสิ่งแวดล้อมที่เก้ือกูล ในคืนทีพ่ ระองคต์ รัสรู้สมั มาสัมโพธิญาณ สถานท่ที รงประทับ ก็คือใต้ต้นโพธิ์บริเวณนั้น กล่าวได้ว่า การตรัสรู้ของพระองค์ เกดิ ขนึ้ ไดก้ เ็ พราะกอ็ าศยั สง่ิ แวดลอ้ มทเี่ กอื้ กลู สง่ิ แวดลอ้ มนน้ั คอื ที่รมณีย์ การตรัสรู้ของพระพุทธองค์เป็นตัวอย่างท่ีช้ีให้เห็นถึง ความส�ำคัญของสิ่งแวดล้อม ท่ีเก้ือกูลต่อความเจริญงอกงาม ในทางจิตใจจนท�ำให้เกิดปัญญา คงไม่ใช่เร่ืองบังเอิญ ที่พระ- พทุ ธเจา้ ทกุ พระองค ์ ตง้ั แตอ่ ดตี มาจนถงึ ปจั จบุ นั รวมทงั้ อนาคต ทุกพระองค์ ตรัสรู้ใต้ต้นไม้ เช่น พระกกุสันธะตรัสรู้ใต้ต้น ซกึ ใหญ ่ พระโกนาคมนะตรสั รใู้ ตต้ น้ มะเดอื่ พระกสั สปะตรสั ร ู้ ใต้ต้นไทร หรือต้นนิโครธ พระพุทธเจ้าองค์ปัจจุบันก็ตรัสรู ้ ใตต้ น้ โพธ ์ิ สว่ นพระศรอี รยิ เมตไตรยตรสั รใู้ ตต้ น้ กากะทงิ ใคร เห็นต้นกากะทิงก็อย่าตัดนะ เพราะว่าอีก ๒๕๐๐ ปีข้างหน้า 61 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระศรีอริยเมตไตรยจะเสด็จมาตรัสรู้ ท�ำไมพระพุทธเจ้า ทุกพระองค์ตรัสรู้ใต้ต้นไม้ ก็เพราะต้นไม้เป็นส่วนหน่ึงของ สงิ่ แวดลอ้ ม ทท่ี ำ� ใหส้ งบสงดั เกดิ ความรม่ เยน็ เกอ้ื กลู ตอ่ การ เหน็ แจ้งในสัจธรรม ค�ำว่าสิ่งแวดล้อม ไม่ได้หมายถึงสิ่งแวดล้อมท่ีเป็น ธรรมชาต ิ หรอื สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ เทา่ นน้ั แตย่ งั รวมถงึ สง่ิ แวดลอ้ มทางสังคม ด้วย สำ� หรับพระสงฆ ์ สง่ิ แวดล้อมทาง สงั คมทเี่ กอื้ กลู เกดิ ขน้ึ ไดก้ เ็ พราะพระวนิ ยั สง่ิ แวดลอ้ มของพระ คอื สงฆ ์ หรอื สงั ฆะ ซงึ่ กค็ อื หมพู่ ระ สงฆ ์ จะเปน็ สงิ่ แวดลอ้ ม ท่ีเหมาะกับความเจริญงอกงามของพระแต่ละรูปได้ ก็เพราะ เปน็ ไปตามพระวินัย หรอื มีพระวนิ ยั เปน็ ทตี่ ง้ั อยา่ งทอ่ี าตมาไดพ้ ดู ตงั้ แตต่ น้ แลว้ วา่ พทุ ธศาสนาประกอบ ดว้ ย ๒ สว่ น ซงึ่ กค็ อื ธรรม และ วนิ ยั ธรรม หมายถงึ คำ� สอน หรือผลของการปฏิบัติตามค�ำสอน ซึ่งเกิดข้ึนภายในและ แสดงออกมาสู่การกระท�ำภายนอก ขณะเดียวกัน ธรรมจะ เจริญงอกงามในตัวบุคคลได้ก็ต้องอาศัยส่ิงแวดล้อมท่ีเก้ือกูล ส�ำหรับพระ สิ่งแวดล้อมดังกล่าวท่ีส�ำคัญก็คือสงฆ์ สงฆ์จะ เกอื้ กลู ตอ่ ความเจรญิ งอกงามของพระแตล่ ะรปู ได ้ กต็ อ่ เมอ่ื สงฆ ์ หรือสังฆะ มีพระวนิ ยั เป็นพ้นื ฐานหรือเครือ่ งก�ำกับ 62 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
เวลาพดู ถงึ พระวนิ ยั หลายคนจะนกึ ถงึ ขอ้ ปฏบิ ตั สิ ว่ นตวั แตท่ จ่ี รงิ แลว้ พระวนิ ยั คอื ระเบยี บแบบแผนแหง่ ความเปน็ อย่ ู และความประพฤติส่วนบุคคล ขณะเดียวกันก็เป็นระเบียบ แบบแผนท่ีก�ำหนดกิจการของหมู่คณะ พูดง่ายๆ คือ เป็น ตัวระบบ หรือสร้างระบบให้กับพระภิกษุ เป็นระบบท่ีช่วย เก้ือกูลต่อความเจริญงอกงามของตัวบุคคล ถ้าสงฆ์เปรียบ เสมือนบ้านหรือตึก วินัยก็คือโครง ถ้าโครงดี บ้านหรือ อาคารนั้นก็ดีม่ันคง ใครท่ีอยใู่ นบา้ น หรอื อาคารที่ดี แขง็ แรง ม่ันคง ชีวิตก็มีความสุข ท�ำการงานต่างๆ ได้สะดวก เจริญ ก้าวหนา้ พุทธศาสนาให้ความส�ำคัญแก่การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ เกอ้ื กลู ตอ่ การปฏบิ ตั ิ เพอื่ ความเจรญิ งอกงามสว่ นบคุ คล อนั น ้ี ปรากฏชัดในแนวคดิ หรอื หลกั การเกย่ี วกับพระวนิ ัย ฉะนั้น ถ้าเราศึกษาธรรมและวินัยควบคู่กัน จะพบว่า พระพุทธเจ้าทรงให้ความส�ำคัญอย่างมากกับการสร้างและ สรรหาสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี กอื้ กลู ทง้ั สง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพทเี่ ปน็ รมณยี ์ คอื เปน็ ธรรมชาตทิ สี่ งบ สงดั และสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม หรอื หมคู่ ณะทอี่ ยกู่ นั อยา่ งเรยี บรอ้ ยโดยมพี ระวนิ ยั เปน็ ตวั กำ� กบั สงฆ์ในพุทธศาสนาเป็นเสมือนกับตัวแทนของสังคมอุดมคติ 63 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ทมี่ ขี นึ้ เพอื่ สง่ เสรมิ ความเจรญิ งอกงามสว่ นบคุ คล ขณะเดยี วกนั กส็ ะทอ้ นแนวคดิ ของพทุ ธศาสนาทม่ี องวา่ ความเจรญิ งอกงาม ส่วนบุคคลกับส่ิงแวดล้อมท่ีเก้ือกูลน้ัน แยกจากกันไม่ได้ จะ ตอ้ งไปดว้ ยกนั แตน่ คี้ อื สง่ิ ทช่ี าวพทุ ธจำ� นวนไมน่ อ้ ยมองขา้ มไป จึงมองไม่เห็นความส�ำคัญของการมีสิ่งแวดล้อมทางสังคม ทเ่ี กอื้ กลู ตอ่ การปฏบิ ตั ธิ รรม สดุ ทา้ ยกเ็ ลยเขา้ ใจไปวา่ การปฏบิ ตั ิ ของชาวพุทธเป็นเร่ืองเฉพาะตัว หรือเป็นเรื่องส่วนบุคคล ที่ ไม่เชือ่ มโยงกับสงิ่ แวดล้อม การเข้าใจสาระของพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัต ิ ขนึ้ นน้ั นอกจากจะทำ� ใหเ้ ราเหน็ วา่ สง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม มผี ล ตอ่ ความเจรญิ งอกงามตอ่ ตวั บคุ คลแลว้ กย็ งั ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ บคุ คล ก็มีหน้าท่ีรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดี อันนี้ชัดเจนมากหากศึกษา เร่ืองพระวินัย เพราะพระทุกรูปมีหน้าท่ีต้องรักษาพระวินัย เอาไว้ ไม่ใช่เพ่ือประโยชน์ส่วนตนเท่าน้ัน แต่เพื่อประโยชน์ ส่วนรวม เพราะถ้าไม่รักษาพระวินัย ก็เหมือนบ้านท่ีมีโครง ไมด่ ี ออ่ นแอ ยอ่ มพงั ลงมาไดง้ า่ ย ท�ำใหท้ กุ คนเดอื ดรอ้ น อนั นี้ คือผลเสียท่ีเกิดกับส่วนรวม ขณะเดียวกันก็แน่ชัดอยู่แล้วว่า ถ้าไม่ปฏิบัติตามพระวินัย ผลเสียก็จะเกิดกับบุคคลผู้น้ันด้วย เชน่ กนั ชวี ติ ทเี่ จรญิ งอกงามของพระภกิ ษกุ ย็ อ่ มเกดิ ขน้ึ ไดย้ าก เพราะวนิ ยั เปน็ เครอื่ งฝกึ ตน ถา้ ไมป่ ฏบิ ตั ติ ามพระวนิ ยั กง็ า่ ยท ี่ 64 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
จะถกู กเิ ลสและความเหน็ แกต่ วั ครอบงำ� แตจ่ ะมองวา่ พระวนิ ยั เปน็ เครอ่ื งฝกึ ตนอยา่ งเดยี วยอ่ มไมพ่ อ ตอ้ งมองวา่ พระวนิ ยั เปน็ สิง่ สร้างสรรค์ใหเ้ กิดสิ่งแวดล้อมทดี่ ดี ้วย ทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ เรยี กวนิ ยั วา่ เปน็ “ระบบชวี ติ ระเบยี บสงั คม” ชวี ติ จะเจรญิ งอกงามได้ ตอ้ งมรี ะบบชวี ติ และระเบยี บสงั คมทเ่ี กอ้ื กลู ดว้ ย อนั นก้ี โ็ ยงมา สู่ประเด็นที่ว่า คนเราจะพัฒนาตน มีชีวิตท่ีเจริญงอกงาม เปย่ี มดว้ ยคณุ ธรรม ตอ้ งอาศยั สงิ่ แวดลอ้ มทด่ี ี แตน่ เี้ ปน็ สงิ่ ท่ี ชาวพุทธเรามองข้ามไป จ�ำนวนไม่น้อยคิดว่าคนเราจะดีได้ อาศัยความเพียรพยายามส่วนบุคคลก็พอแล้ว เช่น อาศัย กรรมดีที่ท�ำไว้ ไม่ว่าในชาตินี้ หรือชาติท่ีแล้ว แต่มองข้ามอีก ปจั จยั หนึง่ นนั่ คอื อทิ ธิพลของส่งิ แวดล้อม ถ้าพระพุทธเจ้าไม่เห็นความส�ำคัญของสิ่งแวดล้อมใน การหลอ่ หลอมใหค้ นเป็นคนด ี หรอื มีชวี ิตทงี่ อกงาม พระองค ์ ย่อมไม่ทรงสถาปนาสงฆ์โดยมีวินัยเป็นตัวก�ำกับ เพ่ือให้เป็น ส่ิงแวดล้อมท่ีเก้ือกูลต่อความเจริญงอกงามของพระแต่ละรูป เราจะพบว่าค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ให้ความส�ำคัญกับเร่ือง ของส่ิงแวดล้อมไว้มาก ไม่เพียงส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาต ิ อนั สงบสงดั เปน็ รมณยี ์ แตร่ วมทง้ั สงิ่ แวดลอ้ มทางสงั คมทเ่ี กอื้ กลู 65 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
เชน่ มกี ารจดั สรรทรพั ยากรทด่ี ี มรี ะเบยี บแบบแผนทางสงั คม ทเี่ กื้อกลู ซ่งึ ชว่ ยใหผ้ ู้คนมชี ีวติ ท่ีงาม รวมทง้ั มศี ลี ธรรม ในพระสตู รหนงึ่ ชอื่ วา่ กฏู ทนั ตสตู ร พระพทุ ธเจา้ ไดต้ รสั เลา่ ถงึ พระราชาชอ่ื พระเจา้ มหาวชิ ติ ราช พระองคต์ อ้ งการจะทำ� มหายัญ หรือการบูชายัญครั้งใหญ่ มีการฆ่าสัตว์จำ� นวนมาก จึงได้ปรึกษากับพราหมณ์ปุโรหิต พราหมณ์ปุโรหิตได้ท้วงว่า การท�ำมหายัญในเวลาน้ียังไม่เหมาะ เพราะว่าบ้านเมืองเต็ม ไปดว้ ยโจรผรู้ า้ ยมากมาย จะตอ้ งจดั การกบั ปญั หานก้ี อ่ น เมอ่ื พูดถึงปัญหานี้ พระราชาก็มีความคิดว่า จะต้องใช้อาชญากับ โจรผรู้ า้ ยใหม้ ากขนึ้ เชน่ จบั มาจองจำ� ทรมาน หรอื ประหารชวี ติ พราหมณป์ โุ รหติ กท็ ว้ งอกี วา่ ทำ� เชน่ นน้ั ไมไ่ ด ้ จะยง่ิ มโี จรผรู้ า้ ย มากขน้ึ ปุโรหิตได้เสนอว่าวิธีที่จะท�ำให้โจรผู้ร้ายน้อยลง ก็คือ ๑. แจกพันธุ์พืช และอาหารให้กับชาวนา ชาวไร่อย่างทั่วถึง ๒. แจกทุนให้พ่อค้าให้ท่ัวถึง ๓. แจกเงินเดือน และเบี้ยหวัด ให้แก่ขุนนางและเหล่าเจ้าหน้าท่ีให้ท่ัวถึง พระราชาก็เชื่อและ ท�ำตาม ปรากฏว่าโจรผู้ร้ายหายไป ผู้คนอยู่อย่างมีความสุข ไมต่ อ้ งปดิ บา้ น แมแ้ ตเ่ ดก็ กย็ งั มคี วามสขุ ฟอ้ นรำ� อยบู่ นอกแม่ 66 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
นา่ สนใจตรงทพ่ี ราหมณป์ โุ รหติ ไมไ่ ดแ้ นะนำ� วา่ ใหน้ มิ นต ์ พระมาเทศน์เยอะๆ หรือให้สอนธรรมมากๆ แตก่ ลับเสนอว่า ว่าให้กระจายโภคทรัพย์ ไม่ว่าจะเป็นพืชพันธุ์อาหาร เงินทุน เบย้ี หวดั ใหท้ ว่ั ถงึ พดู งา่ ยๆ คอื วา่ ทำ� ใหร้ ะบบเศรษฐกจิ ด ี เมอ่ื ระบบเศรษฐกิจดี ผู้คนก็จะมีศีลธรรม โจรผู้ร้ายลดน้อยลง นเ่ี ปน็ ตวั อยา่ งของการจดั สรรสง่ิ แวดลอ้ มใหด้ ี ซงึ่ จะมผี ลสง่ ให ้ ผู้คนมีศลี ธรรมมากขนึ้ ปล้นจน้ี ้อยลง บอ่ ยครง้ั เวลาเราพดู ถงึ การทำ� ใหผ้ คู้ นมศี ลี ธรรม มคี วาม ประพฤตทิ ดี่ งี าม เรามกั จะนกึ การใชก้ ฎหมาย ใชอ้ ำ� นาจ หรอื ไมก่ น็ กึ ถงึ แตก่ ารสอนศลี ธรรม แตม่ องขา้ มการทำ� สงิ่ แวดลอ้ ม ใหด้ ี ในประเทศอังกฤษเคยมีการทดลองท่ีน่าสนใจ มีถนน ๒ สาย ทอี่ ยหู่ า่ งกนั ไมถ่ งึ ๒ กโิ ลเมตร ทงั้ ๒ สาย มสี ภาพ คลา้ ยๆ กนั คอื เปน็ ยา่ นคนจน และมอี าชญากรรมมากพอๆ กนั ถนนสายหนง่ึ มกี ารดแู ลเอาใจใสอ่ ยา่ งด ี เชน่ ท�ำความสะอาด ทกุ วนั เกบ็ ขยะทกุ ชนิ้ ลบรอยขดี เขยี นบนกำ� แพง มกี ารปลกู ไม้ดอกตรงขอบถนน และรดน�ำ้ เป็นประจ�ำ ไฟริมถนนท่ีแตก กไ็ ดร้ บั การซอ่ ม รวมทงั้ ซอ่ มปา้ ยทแี่ ตกหกั และทาสใี หม ่ เขาท�ำ อย่างนี้ตลอดหนึ่งปี หลังจากน้ันเขานำ� สถิติอาชญากรรมของ 67 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ถนนทงั้ ๒ สายมาเปรยี บเทยี บกนั ปรากฏวา่ ถนนสายทส่ี ะอาด และงดงาม มีอาชญากรรมลดลงเกอื บครงึ่ หนงึ่ อาชญากรรมบนถนนสายแรกลดลงไปเกอื บครง่ึ ทงั้ ๆ ที ่ ไมม่ ตี ำ� รวจมาลาดตะเวน ไมม่ กี ารเทศน ์ หรอื การสอนศลี ธรรม ไม่มีการรณรงค์ด้วยค�ำขวัญ แต่เพียงท�ำส่ิงแวดล้อมให้ด ี ปรากฏวา่ การลกั ขโมย ปลน้ จ ี้ ลดลง การทดลองนชี้ ใ้ี หเ้ หน็ วา่ สงิ่ แวดลอ้ มมสี ว่ นส�ำคญั ในการสง่ เสรมิ ศลี ธรรมหรอื คณุ ธรรม ของผู้คน อย่างน้อยก็ท�ำให้ผู้คนก่ออาชญากรรมน้อยลง ใน ทางตรงขา้ ม ถา้ สง่ิ แวดลอ้ มไมด่ ี ศลี ธรรมของผคู้ นกต็ กตำ�่ ได ้ ประเดน็ ดงั กลา่ วมกี ลา่ วไวใ้ นจกั กวตั ตสิ ตู รซง่ึ เปน็ พระสตู ร ทพี่ ดู ถงึ ปจั จยาการทางสงั คม หมายถงึ เหตปุ จั จยั ทน่ี ำ� ไปสปู่ ญั หา ต่างๆ ในสังคม ข้อความตอนหน่ึงกล่าวว่า เมื่อความยากจน แพร่ระบาด อทินนาทาน คือการลักขโมย ก็จะแพร่ระบาด ท�ำให้เกิดการใช้อาวุธ และปาณาติบาตแพร่ระบาด จากนั้น มสุ าวาท รวมทงั้ การสอ่ เสยี ดกแ็ พรร่ ะบาด แลว้ การประพฤตผิ ดิ ในกามก็แพร่ระบาดตามมา รวมทั้งการพูดค�ำหยาบ พูดจา เพ้อเจ้อ จากน้ันความโลภและความคิดร้ายก็จะแพร่ระบาด แล้วมิจฉาทิฏฐิก็จะแพร่ระบาดตามมา กล่าวอีกนัยหนึ่ง อกุศลกรรมบถ ต้ังแต่ข้อแรกไปจนถึงข้อสุดท้าย จะเกิดขึ้น 68 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
อย่างแพรห่ ลาย เมอื่ ความยากจนแพรร่ ะบาด ข้อความในพระสูตรดังกล่าวช้ีให้เห็นถึงความเช่ือมโยง สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่าคุณธรรมส่วนบุคคลกับคุณภาพ ของส่ิงแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อมทางสังคม หรือทาง เศรษฐกิจ มกี ารวจิ ยั ของศาสตราจารยค์ นหนงึ่ ชอ่ื Richard Wilkin- son เขาได้ศึกษางานวิจัยมากมายท่ีเกี่ยวกับความเหล่ือมล้�ำ ทางเศรษฐกิจว่า มีผลอย่างไรเก่ียวกับคุณภาพชีวิต และ พฤตกิ รรมของผคู้ น รวมทง้ั ปรากฏการณต์ า่ งๆ ในสงั คม เขา พบว่าประเทศร่�ำรวยที่มีความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจน้อย เช่น ญ่ีปุ่น นอรเวย์ สวีเดน เดนมาร์ค มีปัญหาทางสังคม น้อยกว่าประเทศร่�ำรวยท่ีมีความเหลื่อมล�้ำทางเศรษฐกิจมาก เ ช ่ น ส ห รั ฐ อั ง ก ฤ ษ โ ป ร ตุ เ ก ส สิ ง ค โ ป ร ์ ก ล ่ า ว คื อ ม ี อาชญากรรมนอ้ ยกวา่ คนตดิ คกุ นอ้ ยกวา่ วยั รนุ่ ทอ้ งในวยั เรยี น น้อยกวา่ รวมทง้ั ผคู้ นมีความระแวงกนั นอ้ ยกวา่ เขาไม่เพียงศึกษาเปรียบเทียบระหว่างประเทศร่�ำรวย เทา่ นน้ั แตย่ งั ศกึ ษาเปรยี บเทยี บระหวา่ งรฐั ตา่ งๆ ในสหรฐั กไ็ ด้ ขอ้ สรปุ เหมอื นกนั วา่ รฐั ทม่ี คี วามเหลอื่ มลำ้� ทางเศรษฐกจิ นอ้ ย 69 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
มปี ญั หาสงั คมนอ้ ยกวา่ รฐั ทมี่ คี วามเหลอ่ื มล้�ำทางเศรษฐกจิ มาก เช่น อาชญากรรมมีนอ้ ยกวา่ คนติดคุกน้อยกวา่ เปน็ ตน้ หนังสือของเขาท่ีชื่อว่า The Spirit Level ชี้ให้เห็น อย่างชัดเจนว่า ความเหล่ือมล�้ำทางเศรษฐกิจมีผลอย่างมาก ต่อปัญหาสังคม และพฤติกรรมของผู้คน ทั้งในแง่ศีลธรรม สขุ ภาพ สงิ่ แวดลอ้ ม และการมสี ว่ นรว่ มในสงั คม งานชน้ิ นเี้ ปน็ การเสรมิ ยำ�้ วา่ สภาพสงั คมมผี ลตอ่ พฤตกิ รรม และคณุ ภาพจติ ของผู้คน ซ่ึงเชื่อมโยงกับคุณธรรมหรือศีลธรรมของผู้คน เพราะฉะนนั้ ถา้ หากเราตอ้ งการใหผ้ คู้ นมชี วี ติ ทเี่ จรญิ งอกงาม ประกอบดว้ ยคณุ ธรรม เราจะมองขา้ มอทิ ธพิ ลของสง่ิ แวดลอ้ ม ไมไ่ ด ้ อยา่ งไรกต็ ามดงั ทอี่ าตมาไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ ชาวพทุ ธจำ� นวน มากมองไม่เห็นความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพของบุคคลกับ อิทธิพลของส่ิงแวดล้อม เรามักจะได้ยินผู้คนพูดว่า ถ้าท�ำให้ คนดแี ลว้ สงั คมกจ็ ะดไี ปดว้ ย แตไ่ มไ่ ดม้ องตอ่ ไปวา่ ถา้ สงั คมไมด่ ี คนกจ็ ะดไี ดย้ าก และการทำ� ใหค้ นดเี พม่ิ ขนึ้ กย็ งิ่ เปน็ ไปไดย้ าก ถา้ เราตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของสงั คมทม่ี ตี อ่ ตวั บคุ คล แล้ว เราก็จะไม่น่ิงดูดายในการท�ำให้สังคมหรือส่ิงแวดล้อม ดีขึ้น เพราะถือว่าเป็นการส่งเสริมธรรมได้เหมือนกัน ตรงนี ้ ก็จะมาโยงไปถงึ คูส่ ดุ ทา้ ย ท่อี าตมาอยากจะน�ำมากล่าว 70 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
โ ล ก กั บ ธ ร ร ม ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ ทำ� กจิ กบั ทำ� จติ ตอ้ งไปดว้ ยกนั ประโยชน์ สว่ นตนกบั ประโยชนท์ า่ นกต็ อ้ งไปดว้ ยกนั โดยทปี่ ระโยชนต์ น หรอื ประโยชนท์ า่ น ไมว่ า่ จะเปน็ ประโยชนข์ นั้ ตน้ หรอื ประโยชน์ ขั้นสูง กเ็ กือ้ กูลกัน บคุ คลกบั สิ่งแวดล้อมก็สัมพนั ธ์กนั คู่สุดท้ายท่ีอยู่ในค�ำสอนของพระพุทธเจ้าในระดับจริย- ธรรมก็คือ “โลก กับ ธรรม” คนท่ัวไปมักจะมองว่าโลกกับ ธรรม เป็นส่ิงแยกกัน แต่ที่จริงแล้ว ถ้าเราอ่านพระไตรปิฎก จะพบวา่ คำ� สอนของพระองค ์ มเี รอ่ื งโลกๆ เยอะเลย เรอ่ื งโลกๆ หมายถึงเรื่องเก่ียวกับการด�ำเนินชีวิตทั่วไป หรือประโยชน์ 73 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ขั้นต้น เช่น ค�ำสอนเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ การแบ่ง ทรพั ย ์ การปกครอง แมก้ ระทง่ั การกนิ อยา่ งไรไมใ่ หอ้ ว้ น หรอื การมีอายุยืนยาว เช่น ทรงแนะน�ำ ให้กินอาหารที่ย่อยง่าย รู้จักท�ำความสบายให้กับตัวเอง แต่ก็ไม่ท�ำความสบายให้มาก เกนิ ไป มศี ลี และมกี ลั ยาณมติ ร เปน็ ตน้ คำ� สอนเกย่ี วกบั เรอ่ื ง ทรพั ย ์ การทำ� มาหากนิ การดแู ลสขุ ภาพ เหลา่ นจี้ ดั วา่ เปน็ เรอ่ื ง ทางโลกท้ังน้ัน แต่พระพุทธเจ้าก็ทรงสอน ไม่ได้สอนแต่เร่ือง หลุดพน้ จากทุกข์ หรือสอนธรรมขั้นโลกุตตระเท่าน้ัน ถา้ เราตระหนกั วา่ โลกกบั ธรรมไมไ่ ดแ้ ยกกนั กจ็ ะเหน็ วา่ การทำ� งานทางโลก กส็ ามารถสง่ เสรมิ ธรรมได ้ ท�ำงานทางโลก อาจจะหมายถงึ การปรบั ปรงุ สง่ิ แวดลอ้ มใหด้ ี มคี วามสงบสงดั มธี รรมชาตทิ เ่ี จรญิ ตาเจรญิ ใจ หรอื ชว่ ยใหส้ งั คมมคี วามเหลอื่ มลำ�้ นอ้ ยลง แมก้ ระทง่ั การสรา้ งสะพาน การขดุ บอ่ นำ้� ซงึ่ เปน็ เรอ่ื ง ทางโลก แตก่ ส็ ามารถส่งเสรมิ ธรรมได้ ตัวอย่างท่ีเด่นชัดในเร่ืองน้ีคือพระเจ้าอโศก พวกเรา คงทราบแล้วว่า นอกจากการส่งเสริมพุทธศาสนา ช�ำระสงฆ ์ ให้บริสุทธ์ิแล้ว พระองค์ยังทรงใส่ใจกับการสงเคราะห์ราษฎร เชน่ สรา้ งสวน ขดุ สระนำ้� ทำ� ถนนหนทาง สรา้ งทพี่ กั คนเดนิ ทาง ส่ิงเหล่าน้ีพระองค์ไม่ได้ท�ำเพ่ือบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขแก่ผู้คน 74 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
เท่านั้น หากยังทรงมุ่งหวังให้คนประพฤติธรรมด้วย เห็นได้ จากจารึกพระเจ้าอโศก ตอนหน่ึงมีข้อความว่า “ที่ข้าฯ ได้ ท�ำการเช่นนี้ ก็ด้วยจุดมุ่งหมายข้อน้ี คือเพ่ือให้ประชาชน ท้ังหลายประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ ามธรรม” เหน็ ไดช้ ดั เลยวา่ ในทศั นะ ของพระเจา้ อโศก การปรบั ปรงุ สงิ่ แวดลอ้ ม การสงเคราะหด์ ว้ ย วตั ถ ุ สามารถส่งเสริมให้ผู้คนปฏิบัติธรรม แสดงให้เห็นว่า โลกกบั ธรรมไม่ได้แยกกนั แต่เดี๋ยวน้ี เรามองโลกกับธรรมแยกกัน เช่น ถ้าจะ สง่ เสรมิ ใหค้ นมธี รรม กต็ อ้ งแนะนำ� ใหไ้ ปปฏบิ ตั ธิ รรม ฟงั ธรรม หรือจัดให้มีการเทศนา แสดงธรรมมากๆ แต่เราไม่ได้มองว่า การจดั สรรสงิ่ แวดลอ้ ม ซงึ่ เปน็ กจิ กรรมทางโลกนน้ั สง่ เสรมิ ธรรม หรือเป็นการปฏิบัติธรรมได้ ดังพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า “ชน เหล่าใดปลูกสวน ปลูกป่า สร้างสะพาน จัดท่ีบริการน้�ำด่ืม และบงึ บอ่ สระนำ�้ ใหท้ พี่ กั อาศยั บญุ ของชนเหลา่ นน้ั ยอ่ มเจรญิ งอกงามทัง้ คืนทั้งวัน ตลอดทุกเวลา” การทำ� งานทางโลกกส็ ง่ เสรมิ ธรรม ทา่ นอาจารยพ์ ทุ ธทาส จงึ บอกวา่ “การทำ� งานคอื การปฏบิ ตั ธิ รรม” การทำ� งานนท้ี า่ น หมายความรวมถึงการประกอบอาชพี หรือการทำ� งานในชีวติ ประจำ� วนั ซง่ึ เปน็ งานทางโลก ถา้ เราทำ� งานทางโลกเปน็ เราก็ 75 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ถา้ เราศึกษาธรรมและวินัยควบค่กู นั จะพบว่าพระพุทธเจ้าทรงใหค้ วามส�ำคญั อย่างมาก กบั การสรา้ งและสรรหาสงิ่ แวดลอ้ มทเี่ กอื้ กูล ทั้งสงิ่ แวดล้อมทางกายภาพทเ่ี ปน็ รมณยี ์ คอื เปน็ ธรรมชาตทิ สี่ งบ สงดั และสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม หรอื หมคู่ ณะ ทอี่ ยกู่ นั อยา่ งเรยี บรอ้ ย โดยมพี ระวนิ ยั เปน็ ตวั กำ� กบั จะใชก้ ารทำ� กจิ ใหม้ าสง่ เสรมิ หรอื สนบั สนนุ การทำ� จติ ทำ� ใหม้ สี ติ ลดความเหน็ แกต่ วั ไมย่ ดึ ตดิ ถอื มนั่ ในความสำ� เรจ็ ไมห่ วนั่ ไหว ในค�ำวิพากษ์วจิ ารณ ์ ส่ิงเหล่าน ี้ ล้วนเป็นธรรมะทั้งนั้น เมอื่ เรารจู้ กั ทำ� งานทางโลก เชน่ ทำ� งานอยา่ งมสี ต ิ ธรรม ในใจเรากง็ อกงาม อกี ทงั้ ยงั สามารถสง่ เสรมิ ธรรมใหเ้ กดิ ขนึ้ ในใจ ของผคู้ นดว้ ย เพยี งแคเ่ ราท�ำใหส้ ง่ิ แวดลอ้ มเปน็ รมณยี ์ มตี น้ ไม ้ มคี วามสงบสงดั ไมว่ า่ ในวดั ในสถานทสี่ าธารณะ อาตมาเชอ่ื วา่ ผคู้ นจะมคี วามรสู้ กึ สงบเยน็ และมใี จนอ้ มเขา้ หาธรรม ไมใ่ ชแ่ ค ่ สุขภาพจะดีขึ้นเท่าน้ัน แต่จิตใจยังจะใฝ่ธรรมได้ง่าย เวลาจะ ปฏบิ ตั ธิ รรม ไมว่ า่ การเจรญิ สต ิ ทำ� สมาธภิ าวนา กท็ ำ� ไดง้ า่ ยขนึ้ สะดวกขึ้น 76 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
ฉะนั้น เราอย่ามองข้ามสิ่งท่ีเราเรียกว่างานทางโลก เพราะวา่ ถา้ เราทำ� ใหด้ ี มนั กส็ ง่ เสรมิ ธรรมได ้ พระเจา้ อโศกทรง เหน็ ความสมั พนั ธ ์ และความส�ำคญั ของเรอ่ื งน ี้ มาตง้ั ๒๕๐๐ ปแี ลว้ ทจ่ี รงิ คนแตก่ อ่ นกเ็ หน็ ขอ้ น ้ี อยา่ งการทำ� บญุ คนสมยั กอ่ น กม็ องวา่ ทำ� ไดห้ ลายวธิ ี ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งมาทำ� กบั พระ หรอื ทำ� ทว่ี ดั แตท่ �ำกับชมุ ชนก็ได้ มฆมานพ เปน็ แบบอยา่ งทช่ี าวพทุ ธพงึ ปฏบิ ตั ิ เรอ่ื งราว ของมฆมานพ คนไทยสมัยก่อนรู้จักดี เพราะอยู่ในต�ำนานท่ี คนไทยสมัยก่อนเรียกว่าก�ำเนิดพระอินทร์ เร่ืองราวของท่าน อยใู่ นคัมภีร์ขนั้ อรรถกถา ทชี่ าวพทุ ธน�ำมาเล่าสืบตอ่ กันมา มฆมานพ เปน็ คนทรี่ บั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม ทไี่ หนสกปรก ก็ชอบท�ำความสะอาดให้น่าอยู่ ทีแรกก็ท�ำลานในหมู่บ้านให ้ เรียบร้อยน่าร่ืนรมย์ ภายหลังก็ไปพัฒนาถนนหนทาง ปรับ ทางเขา้ หมบู่ า้ นใหย้ านพาหนะเขา้ ออกไดส้ ะดวก สรา้ งศาลาขนึ้ ทส่ี แ่ี ยก แลว้ กข็ ดุ สระนำ้� สรา้ งสะพาน ตอนหลงั ทำ� งานจนคำ่� เพอ่ื นบา้ นถามวา่ ไปทำ� อะไรมา เขากต็ อบวา่ “ไปทำ� บญุ ชำ� ระ ทางสวรรค”์ ตอนหลงั กม็ คี นอนื่ เหน็ ดเี หน็ งามดว้ ย มารว่ มสมทบ จนมีถึง ๓๓ คน ภายหลัง มฆมานพได้ชักชวนให้ชาวบ้านมี ความเออื้ เฟอ้ื เผอื่ แผก่ นั ละเวน้ อบายมขุ จนชาวบา้ นรกั ษาศลี ทั้งหมบู่ า้ น 77 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
มฆมานพและพวกเมื่อสิ้นชีวิตก็ไปเกิดในสวรรค์ โดย มฆมานพไดเ้ ปน็ ทา้ วสกั กะหรอื พระอนิ ทร ์ เรอื่ งราวของมฆมานพ อาจเป็นแบบอย่างให้พระเจ้าอโศกบ�ำเพ็ญบุญส่งเสริมธรรม ดว้ ยการสร้างสะพาน ขุดบอ่ น้ำ� ดงั ที่กล่าวมาก็ได้ เพราะฉะนนั้ การทำ� บญุ จงึ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ตอ้ งเปน็ เรื่องศาสนาล้วนๆ การทำ� อะไรที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม แมเ้ ปน็ เรอื่ งทางโลกกเ็ ปน็ การทำ� บญุ เชน่ กนั เปน็ การสง่ เสรมิ ธรรมในใจของตนเอง และส่งเสริมธรรมในใจของผู้อ่ืนท่ีได้ รับประโยชน์จากการกระทำ� นั้นๆ ด้วย พระสมัยก่อน ท่าน ทำ� งานทางโลกมาก เชน่ สอนวชิ าทางโลก สอนวชิ าชา่ ง วาดรปู หล่อพระ รักษาคนด้วยสมุนไพร บางทีท่านก็ชวนชาวบ้าน พฒั นาหมบู่ า้ น เวลาชาวบา้ นทะเลาะกนั ทา่ นกช็ ว่ ยไกลเ่ กลยี่ ระงบั ความขดั แยง้ งานเหลา่ นเี้ ปน็ เรอื่ งทางโลกทงั้ นน้ั แตท่ า่ น ก็รู้ว่าการท�ำอย่างนั้นเป็นการส่งเสริมธรรม และตัวท่านเองก ็ ไมไ่ ดท้ ง้ิ ธรรม ทา่ นกย็ งั เจรญิ ภาวนา และสอนธรรมะใหก้ บั ผคู้ น ดว้ ย สรุปก็คือว่า ในการฝึกฝนเพ่ือพัฒนาตน หรือพัฒนา บคุ คลนน้ั เราตอ้ งทำ� ควบคไู่ ปกบั การเกอ้ื กลู ผอู้ น่ื ควบคไู่ ปกบั 78 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
การสรา้ งประโยชนท์ า่ น รวมทงั้ การจดั สรรสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ กอ้ื กลู อาตมาขอกลบั มาเรอ่ื งสง่ิ แวดลอ้ มกันอกี คร้ัง เรอ่ื งนที้ า่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ เขยี น ไวช้ ดั เจนมาก อาตมาอยากน�ำขอ้ เขยี นของทา่ นมากลา่ วในทน่ี ้ ี เพราะเตือนสติชาวพุทธได้ดีมาก คือท่านเห็นว่า การจัดสรร สง่ิ แวดลอ้ มใหด้ งี ามนน้ั เปน็ สง่ิ สำ� คญั ตอ่ ความเปน็ ไปของพทุ ธ ศาสนา ทา่ นยงั ยำ้� ใหเ้ ราเอาสารตั ถะของวนิ ยั มาใช ้ เพอ่ื จดั สรร สิ่งแวดลอ้ มใหเ้ ก้ือกลู ตอ่ ธรรมของผคู้ น “ถ้าหลงลืมความหมายท่ีลึกซ้ึงของวินัย ไม่น�ำเอา เจตนารมณ์ทางสังคมของพระพุทธศาสนาท่ีมีอยู่ในวินัยมา ใช้ปฏิบัติ ไม่นำ� เอาสารัตถะของวินัยออกมาจัดดำ� เนินการใน ดา้ นวธิ กี าร และไมจ่ ดั สรรระเบยี บแบบแผนแหง่ ความเปน็ อยู่ และความประพฤติ หรือระบบชีวิตแบบพุทธ ชนิดที่สมสมัย ปฏิบัติได้จริง ขึ้นมาเผยแพร่ พร้อมไปกับการแสดงเน้ือหา และหลกั การของธรรม กน็ า่ กลวั วา่ พทุ ธศาสนาจะตอ้ งประสบ ภาวการณ์ทีเ่ ป็นผลต่อไปน ้ี คือ 79 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
- เขตแดนแหง่ การปฏบิ ตั ติ ามหลกั การของพทุ ธศาสนา หรือวงการด�ำเนนิ ชวี ติ แบบพทุ ธจะรดั ตวั แคบเขา้ และจะเปน็ แตฝ่ า่ ยรบั ไมไ่ ดเ้ ปน็ ฝา่ ยรกุ เลย ท�ำใหช้ มุ ชนชาวพทุ ธถอยรน่ หา่ งออกไปจากสงั คมมนษุ ยย์ ง่ิ ขนึ้ เรอื่ ยๆ เหมอื นหนไี ปรวมกนั อยู่บนเกาะที่ถูกน�้ำลอ้ มรอบ ขาดจากชาวมนษุ ยอ์ ่ืน - สภาพแวดลอ้ มตา่ งๆ โดยเฉพาะสงั คมจะเปลยี่ นไปตาม อำ� นาจปรงุ แตง่ และแรงกระทบจากปจั จยั ภายนอกอยา่ งอนื่ ๆ โดยที่พุทธศาสนาแทบไม่มีส่วนร่วมสร้างสรรค์ควบคุมได้เลย และเม่ือสภาพแวดล้อมเปล่ียนแปลงไปในทางที่ไม่เกื้อกูลต่อ การปฏิบัติตามหลักการของพระพุทธศาสนา สภาพเช่นนั้นก็ จะมีผลกระทบต่อพระพุทธศาสนา ซ่ึงอาจจะเป็นไปถึงข้ันท่ี การปฏบิ ตั ติ ามหลกั การของพทุ ธศาสนา ไมอ่ าจเปน็ ไปไดเ้ ลย หากเป็นไปเช่นนั้นก็อาจนับได้ว่าเป็นการปล่อยปละละเลย ตกอยใู่ นความประมาทอยา่ งหน่ึงของชาวพทุ ธเอง” ขอ้ ความขา้ งตน้ ทา่ นไดเ้ ขยี นไวใ้ นหนงั สอื พทุ ธธรรม เมอื่ เกือบ ๔๐ ปีท่ีแล้ว แต่ทุกวันน้ีอาตมาก็ยังไม่เห็นว่าชาวพุทธ สว่ นใหญม่ คี วามตนื่ ตวั หรอื ตระหนกั ในเรอ่ื งนเ้ี ลย เพราะฉะนน้ั เราก็จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ท่านเตือนเอาไว้ว่า “อาจเป็นไปถึงข้ันที่ การปฏบิ ตั ติ ามหลกั การของพทุ ธศาสนาไมอ่ าจเปน็ ไปไดเ้ ลย...” นบั วันมีแนวโน้มทีจ่ ะปรากฏชัดเจนข้ึน 80 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
อาตมาได้กล่าวมาพอสมควร เพ่ือชี้ให้เห็นถึงภาพรวม ของคำ� สอนของพระพทุ ธองคใ์ นระดบั จรยิ ธรรมวา่ ประกอบเปน็ คๆู่ ซง่ึ เราจะมองขา้ มแตล่ ะดา้ นในแตล่ ะคนู่ นั้ ไมไ่ ดเ้ ลย ตอ้ งทำ� ควบคู่กันไป ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของประโยชน์ตนกับประโยชน ์ ท่าน การท�ำกิจกับการท�ำจิต ประโยชน์ข้ันต้นกับประโยชน ์ ขนั้ สงู หรอื ขนั้ สงู สดุ บคุ คลกบั สง่ิ แวดลอ้ ม โลกกบั ธรรม การ ปฏบิ ตั ใิ หค้ รบคเู่ หลา่ นต้ี อ้ งใชป้ ญั ญา และใชส้ ตดิ ว้ ย ไมเ่ ชน่ นนั้ จะเหวยี่ งไปทางดา้ นใดดา้ นหนง่ึ ซง่ึ กจ็ ะทำ� ใหเ้ กดิ ผลเสยี หรอื อยา่ งนอ้ ยกท็ ำ� ใหก้ ารปฏบิ ตั ไิ มไ่ ดผ้ ลเทา่ ทคี่ วร แตถ่ า้ เราเขา้ ใจ ในความเปน็ คขู่ องธรรมะในระดบั จรยิ ธรรม และนำ� มาใชป้ ฏบิ ตั ิ กับตัวเราเอง อาตมาเชื่อว่า จะเกิดความเจริญงอกงามท้ังแก่ ตนเองและสว่ นรวม รวมทั้งพระพุทธศาสนาด้วย 81 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
บู ช า บุ ค ค ล ค ว ร บู ช า ด้ ว ย ก า ร ป ฏิ บั ติ ท้ังหมดท่ีอาตมากล่าวมา จะว่าไปก็ได้อาศัยสติปัญญาของ ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์มาเป็นพื้นฐาน ไม่ใช่น้อย แม้กระทั่งถ้อยค�ำ หรือค�ำพูด เช่น “ท�ำจิต กับ ทำ� กจิ ” กม็ าจากงานคดิ งานเขยี นของทา่ น อยา่ งไรกต็ ามงานคดิ งานเขยี นของทา่ นนน้ั มคี วามลมุ่ ลกึ มาก ทอี่ าตมาน�ำมาแสดงน้ ี ค่อนข้างหยาบ แต่ก็คงช่วยให้ทุกท่านได้เห็นอะไรบางอย่าง ชัดเจนข้ึน แม้กระนั้นก็อาจมีความผิดพลาด อาตมาก็ขอ รับผดิ ชอบแต่เพียงผู้เดียว 83 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
ส่วนตัวของอาตมาน้ัน นับต้ังแต่เริ่มสนใจและศึกษา พุทธศาสนา ก็ได้อาศัยงานเขียนของท่านเจ้าประคุณสมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์เป็นพ้ืนฐานมาโดยตลอด งานเขียนของ ท่านมีส่วนอย่างมากทีเดียวที่ทำ� ให้อาตมาเห็นถึงความลุ่มลึก ของพุทธศาสนา ได้เห็นว่าธรรมะของพระพุทธเจ้า เป็นสิ่ง ประเสรฐิ อยา่ งยิ่ง ในตอนท้ายของหนังสือพุทธธรรม ท่านเจ้าประคุณ สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย ์ ไดพ้ ดู ถงึ คณุ คา่ แหง่ ธรรม ซงึ่ ผทู้ ไ่ี ด้ ศึกษาอย่างลึกซึ้งอดประทับใจไม่ได้ พระสาวกสมัยพุทธกาล เม่ือศึกษาและปฏิบัติจนเข้าถึงอานิสงส์แห่งธรรมะอย่างลึกซึ้ง หลายท่านอุทานด้วยความปีติ อย่างเช่นบางท่านอุทานว่า “อโห ธมมฺ สธุ มมฺ ตา” แปลวา่ “พระธรรมชา่ งเปน็ ธรรมดงี าม เลิศล�้ำแท้” ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ก็ กลา่ วเชน่ กนั วา่ เมอ่ื ไดศ้ กึ ษาธรรมะอยา่ งลกึ ซงึ้ แลว้ กเ็ กดิ ความ ซาบซ้ึงและฉันทะในธรรม ไม่ต่างกับสาวกในสมัยพุทธกาล ทา่ นจงึ มคี วามตงั้ ใจวา่ จะประกาศความดงี ามของพระธรรมน ี้ ใหผ้ ้คู นรับรู้โดยทั่วกนั อาตมาอยากเชิญชวนท่านท้ังหลาย ให้มาเห็น ให้มา ชน่ื ชม และซาบซง้ึ ในความดงี ามเลศิ ลำ้� ของพระธรรม อาตมา 84 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
เช่ือว่า น่ีคือความมุ่งม่ันของท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ ตลอด ช่วงเวลาหลายสิบปีที่ผ่านมา ท�ำให้ท่านอุทิศตนเพ่ือการสอน การเขียน และการผลติ ผลงานทางธรรมมากมาย ดงั ไดก้ ลา่ วแลว้ วา่ อาตมาเองไดเ้ หน็ ความประเสรฐิ เลศิ ลำ�้ ของพุทธศาสนา ของพระธรรม แม้จะเพียงเส้ียวหนึ่งท่ี พระสาวกไดเ้ หน็ หรอื เสยี้ วหนง่ึ ทที่ า่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ ฯ ได้ ประจกั ษ ์ แตก่ เ็ พราะไดอ้ าศยั ผลงานของทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ ฯ เปน็ สำ� คญั นอกเหนอื จากครบู าอาจารย์ท่านอื่น เพราะฉะนน้ั การบรรยายในวนั น ี้ ขอถอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการบชู าคณุ ทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ ฯ ซง่ึ มอี ายคุ รบ ๘๐ ปี เมอ่ื วานน ี้ ทจี่ รงิ ทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ ฯ ทา่ นเนน้ ยำ�้ นกั ยำ้� หนา วา่ อยา่ มาใหค้ วามสำ� คญั กบั ตวั ทา่ น เพราะวา่ สำ� หรบั ทา่ นแลว้ “ผทู้ ส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ กค็ อื พระพทุ ธเจา้ ” และในโอกาสเชน่ น ี้ ทา่ น ไมป่ ระสงคท์ จ่ี ะใหใ้ ครมาพดู เชดิ ชถู งึ คณุ งามความดขี องทา่ น ดงั ทล่ี กู ศิษย์แตล่ ะท่านทง้ั หลายคงทราบดี แตว่ า่ เราชาวพทุ ธทงั้ หลายยอ่ มถอื วา่ การบชู าบคุ คลควร บชู า เปน็ มงคลอนั สงู สดุ และโอกาสนก้ี เ็ ปน็ โอกาสหนงึ่ ทเี่ รา สมควรทจี่ ะบชู าบคุ คลทคี่ วรบชู า อยา่ งทา่ นเจา้ ประคณุ สมเดจ็ 85 พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล
พระพุทธโฆษาจารย์ ที่จริงไม่จ�ำเป็นต้องเป็นวันนี้ หรือว่า วนั ไหน แตค่ วรจะบำ� เพญ็ ทกุ วนั และไมใ่ ชเ่ พอื่ เชดิ ชทู า่ นเปน็ สว่ นตวั เพราะทา่ นเองกไ็ มป่ ระสงคอ์ ยา่ งนนั้ แตเ่ ปน็ การเชดิ ชู เพ่ือส่งเสริมธรรม ดังน้ัน ถ้าเราจะบูชาคุณท่าน ก็ควรบูชา ดว้ ยการปฏบิ ตั ธิ รรม ซงึ่ ควรทำ� ควบคกู่ บั การศกึ ษาผลงานของ ทา่ น ถา้ เราอยากจะบชู าคณุ ทา่ น กข็ อใหเ้ ราศกึ ษาผลงานของ ทา่ นมากๆ เพอ่ื เปน็ สะพานไปสธู่ รรมของพระพทุ ธองค ์ อาตมาเชอื่ มน่ั วา่ สะพานเสน้ น ้ี จะพาเราเขา้ สธู่ รรมของ พระพุทธองค์ได้อย่างถูกต้อง และเป็นพ้ืนฐานของการปฏิบัต ิ เพอ่ื ใหเ้ ราไดป้ ระจกั ษแ์ จง้ จนสกั วนั หนงึ่ เรากจ็ ะสามารถอทุ าน ขน้ึ มาดว้ ยความปตี เิ ชน่ กนั วา่ อโห ธมมฺ สธุ มมฺ ตา “พระธรรม ชา่ งเป็นธรรมดีงามเลิศล�้ำแท้” 86 ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ใ ห้ ค ร บ คู่ แ ล ะ ร อ บ ด้ า น
ปฏิบัติธรรม ให้ครบคู่และรอบด้าน พระไพศาล วิสาโล www.visalo.org ข้อธรรม คำ�สอน Phra Paisal Visalo วดั ปา่ สุคะโต พระไพศาล วิสาโล ธรรมชาติ ทีพ่ ักใจ ชมรมกัลยาณธรรม หนงั สอื ดลี �ำดบั ท่ ี ๓๙๓ พิมพค์ รัง้ ท ่ี ๑ : พฤษภาคม ๒๕๖๒ จ�ำนวนพมิ พ์ ๔,๐๐๐ เล่ม จดั พิมพ์โดย ชมรมกลั ยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั ตำ� บลปากน้�ำ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดสมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ภาพปกและลายเส้น ศลิ ปนิ กิตติ ปรเิ มธาชัย ออกแบบปก/รูปเลม่ คนขา้ งหลงั พิสูจน์อกั ษร ทมี งานกัลยาณธรรม อนเุ คราะหจ์ ดั พมิ พโ์ ดย บริษทั อมรนิ ทร์พริน้ ตง้ิ แอนด์พับลชิ ช่งิ จ�ำกัด (มหาชน) ๖๕/๑๖ ถนนชัยพฤกษ์ (บรมราชชนน)ี เขตตล่งิ ชัน กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐ โทร. ๐-๒๔๒๒-๙๐๐๐ สพั พทานัง ธัมมทานัง ชนิ าต ิ การให้ธรรมะเป็นทาน ย่อมชนะการให้ท้ังปวง www.kanlayanatam.com Line@kanlayanatam kanlayanatam Pdf Book เผยแผ่บนออนไลน์
อาตมาเช่อื มน่ั ว่าสะพานเสน้ น้ี จะพาเราเข้าสูธ่ รรมของพระพทุ ธองค์ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง และเป็นพน้ื ฐานของการปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหเ้ ราไดป้ ระจกั ษแ์ จง้ จนสกั วนั หนง่ึ เรากจ็ ะสามารถอทุ านขนึ้ มา ดว้ ยความปีตเิ ช่นกนั วา่ อโห ธมฺมสุธมมฺ ตา “พระธรรมชา่ งเปน็ ธรรมดงี ามเลศิ ล้�ำแท้” Fwawcewb.koaonkla:yaknaantlaayma.ncaotmam
Search