Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore TheWayofVipassana

TheWayofVipassana

Description: TheWayofVipassana

Search

Read the Text Version

51 กลาวถึงวิถีแหงพุทธะนั้นวาดวยเร่ืองการฝก เหตุใดจึงวาดวยการฝก เพราะองคพระศาสดา ทรงมีพระนามหนง่ึ วา ปรุ ิสทมั มสารถิ เปนสารถฝี กบุรุษทีส่ มควรฝก ดงั พระพทุ ธดาํ รสั วา “ดูกรอานนท เราจักไมทะนุถนอมพวกเธอ เหมือนชางหมอ ไมทะนุถนอมหมอดินที่ยัง เปย ก ๆ อยู (ตบตีหมอดิน) เราก็เชนกัน จักขมแลวขมอีกจึงกลาวเตือน จึกยกแลวยกอีกจึงบอก กลาว ผูใ ดมสี าระแกน สาร ผูน้ันจงึ จะดํารงอยไู ด” ผูป ระเสรฐิ เกิดจากการฝก ฝน สําหรับบุคคลท่ีไดร บั การฝก ฝนอบรมตนดแี ลว เปน ผูควรแกก ารเคารพกราบไหว เปรียบ เหมือนโตะ หมบู ูชาอันเปน ที่รองรับพุทธปฏิมากร เมื่อเรากราบพุทธปฏิมากรกเ็ ทา กับกราบโตะ หมู บูชานัน้ ดว ย นัน่ หมายถึงวา ไมที่รองรับพทุ ธปฏิมากรน้นั ไดถ กู แกะสลกั เสลาขัดเกลาดีแลว จงึ ควร คามารองรับส่ิงเลศิ ประเสรฐิ สุด ถา เปน ไมดิบ ๆ หรอื ไมแหง ที่ทงิ้ อยูในปา ก็ไมมีคาอะไรนอกจาก นําไปเปนถา นฟน เผาไฟ ขอ นี้ฉนั ใด คนเรากฉ็ ันนั้น ตอ งฝก ฝนอบรมตนจงึ จะมคี ณุ คา มิฉะนนั้ ก็ เหมือนไมท ่ีทงิ้ อยใู นปา เพราะผูท ่ีฝก ฝนอบรมตนดีแลวเปนผูประเสรฐิ ดงั พระพทุ ธพจนว า “ทนโฺ ต เสฏโ ฐ มนสุ ฺเสสุ ผทู ่ีฝก ดแี ลว ประเสรฐิ ในหมูม นษุ ย” เรามพี ยานบุคคลท่ีประสบผลสําเรจ็ ในการฝกนนั้ คือพระพุทธเจา พระองคไดเร่มิ จากความ เปน ปุถุชนคนธรรมดามาบาํ เพญ็ บารมธี รรมและฝก ฝนอบรมตน จนพระชาติสุดทา ยเสวยพระชาติ เปนเจาชายสทิ ธตั ถะ ยังมาพฒั นาฝกฝนตนเอง ดวยการเสดจ็ เขา สูสํานักปฏบิ ตั ธิ รรมทม่ี ชี ื่อเสยี งใน กาลนน้ั ทดลองปฏิบตั ดิ วยวิธีการตา ง ๆ อยางยง่ิ ยวด จนในท่ีสดุ กท็ รงบรรลอุ นุตรสมั มาสมั โพธิ ญาณ สาํ เร็จเปนพระพทุ ธเจา ผปู ระเสรฐิ สูงสุดกวา เทวดาและมนษุ ยท ้ังหลาย ตอ มามพี ระอรหนั ต สาวกมากมายไดผ านกระบวนการฝก ทพี่ ระองคท รงแสดงไว สําเรจ็ เปน ทกั ขไิ ณยบุคคลผปู ระเสริฐ สุดควรแกก ารนบนอมอญั ชลี พระพทุ ธเจาและพระอรหนั ตสาวกท้งั มวลก็ลว นแตเปน พยานบุคคล หรอื เนติตวั อยา งของเราชาวพทุ ธทงั้ หลาย เสน ทางชีวติ ลขิ ิตไดด ว ยตนเอง ดงั นน้ั การอบุ ัตขิ น้ึ มาของพระพทุ ธศาสนาจึงเปนไปเพอื่ ปลดแอก ประกาศอสิ รภาพของ มวลมนษุ ยออกจากพระผูเปน เจา พระพุทธศาสนาแสดงวา มนุษยน น้ั สามารถพัฒนาฝกฝนตนเขาสู เปา หมายสูงสดุ คอื มรรคผลนพิ พานไดโ ดยไมตอ งอาศยั พระผเู ปนเจา แตอาศยั ตนนแ่ี หละพฒั นาตน ดงั พระพทุ ธพจนวา “อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเปนทพี่ ่ึงของตน” ดงั นั้นพระพุทธองคจ ึงตรัส เตอื นภกิ ษุทงั้ หลายวา “เธอทัง้ หลายจงมตี นเปนเกาะ มตี นเปน ทพี่ ่งึ อยาเปนส่ิงอ่ืนเปน ท่ีพึ่งเลย มี ธรรมเปน เกาะ มธี รรมเปนท่ีพึ่ง อยา มีสงิ่ อนื่ เปนที่พ่งึ เลย”

52 กอ นหนา ทพี่ ระพุทธศาสนายงั ไมอุบตั ขิ ้ึนมา มนษุ ยน นั้ มสี ภาพจติ ออ นแอ เมื่อถกู ภยั คกุ คาม ก็หนั หาปาไม ภูเขา หรืออารมเจดียว าเปน สรณะทพ่ี ึ่ง ดงั พระพุทธคาถาวา พหุ เว สรณํ ยนฺติ วนานิ ปพฺพตานิ จ อารามรกุ ขฺ เจตยฺ านิ มนสุ สฺ า ภยตชฺชติ า ฯ สว นมาก มนุษยเมอ่ื ถูกภยั คกุ คาม ก็ถงึ ปา ไม ตน ไมภเู ขา อารามเจดยี  วาเปน สรณะที่พงึ่ ฯ เพราะมนษุ ยม สี ภาพจิตทอ่ี อ นแอน่นั เอง จงึ ไมอ าจปกปอ งคุมครองตน และไมม ัน่ ใจวา จะ พฒั นาตนได จึงหันหาทพี่ งึ่ ในภายนอก เม่อื เกดิ ความหวาดกลวั ก็เซนสรวงภตู ผีปศ าจ จนกลายเปน การนบั ถือเทพเจา และพฒั นาออกมากลายเปนศาสนา เรยี กวา ศาสนาเทวนิยม (Theism) คือนบั ถอื พระเจา เชน ศาสนาครสิ ต อสิ ลาม เหลาศาสนกิ ชนก็ถงึ พระเจา (God) วา เปน สรณะที่พ่ึง ให ความเคารพนบั ถอื ยําเกรง หากทําดพี ระเจา จะโปรดปรานประทานรางวลั ให หากทาํ ชั่วพระเจา จะ พโิ รธลงโทษทัณฑ ดังปรากฏในคร้ังท่ีโมเสสพาชาวยวิ อพยพออกมาจากประเทศอยี ปิ ต เดนิ ทางเขา สดู ินแดนแหงพันธสัญญาท่พี ระเจาประทานไว โมเสสพาชาวยวิ หลายหมื่นคน วากนั วา ๔๐,๐๐๐ – ๕๐,๐๐๐ คน เดนิ ดน้ั ดน มาตามทางทรุ กนั ดารอันรอนระอุ ขามทะเลแดงถึงภูเขาซีนาย พากนั ตงั้ คาย พักแรมทีเ่ ชิงเขา เนือ่ งจากคนหมมู ากหลากหลายพอ พนั แมไมสงบเรียบรอ ย เกิดทะเลาะเบาะแวงชก ตอยตบตีกนั และถงึ กบั ลวงละเมิดประเวณี โมเสสไมส ามารถใหค นหมูมากยอมเชอ่ื ตนสงบสามคั คี กนั ได จึงขน้ึ ไปท่ีภเู ขาซีนายเปนเวลา ๔๐ วัน และลงมาพรอมกบั ศลิ า ๒ แผน ในแผนศิลานั้นถกู สลกั ดวยอกั ษรภาษา โมเสสกลาววา “นค้ี อื บัญญัติ ๑๐ ประการของพระเจา ท่ีไดทรงประทานใหแ ก เราทั้งหลาย พวกเราจะตองปฏบิ ัติตาม หากผใู ดไมย อมปฏิบัตติ าม พระเจา จะลงโทษ” ในบญั ญตั ิ ๑๐ ประการนน้ั ๓ ขอตนมคี วามวา ๑. อยามพี ระเจา อนื่ ใดนอกจากเรา ๒. อยาสรางรปู เคารพสําหรบั ตัวเอง และอยากราบไหว ๓. อยาเอย นามพระเจา อยา งไมบ งั ควร ศรัทธาจะบอดใบหากไรป ญ ญา ชาวยวิ ทุกคนตา งก็ยนิ ดีปฏิบตั ิตามบัญญัตขิ องพระเจา แตสําหรับชาวพทุ ธกลาวถงึ ความเชอื่ ในลักษณะเชน นัน้ วาเปน ศรทั ธาญาณวิปยตุ คอื ความเชอื่ ทป่ี ราศจากปญ ญา ไมตอ งไปพิสจู นว าพระ เจา จะมจี รงิ หรอื ไม ใหเ ชื่อปฏบิ ัตติ ามนน้ั จะดีเอง เปน การปกใจเชื่อเลย ทางวิชาการเรียกศรทั ธา ประเภทนนั้ วา Dogma คือความเชือ่ แบบตายตัวไรก ารพสิ ูจน หรอื ความเชือ่ แบบดนั ทุรงั ไมม ี เหตผุ ล ในทางพระพทุ ธศาสนากใ็ หเช่อื เหมือนกนั เรยี กวา ศรัทธา ๔ คอื

53 ๑. กรรมศรัทธา เช่ือในเรอื่ งกรรม ๒. วิบากศรัทธา เชื่อในเร่ืองผลของกรรม ๓. กมั มสั สกตาศรัทธา เชื่อในเร่อื งความมกี รรมเปนของ ๆ ตน ๔. ตถาคตโพธศิ รทั ธา เชื่อในการตรัสรูข องพระตถาคตเจา ขอสดุ ทายมีความคลา ยคลงึ กับศาสนาเทวนิยม คือเช่ือพระเจา แตที่พระองคตรัสเชน น้มี ิได เปนไปเพื่อผลประโยชนของผกู ลา ว แตเพอื่ ประโยชนสขุ ของผสู ดับ ใหผฟู งมีความเช่ือ ยอมรับ สมาทานกอน ถา ไมเชื่อเลยจะไมย อมรับสมาทาน จึงมคี วามจําเปน ทจ่ี ะตองเชือ่ ม่ันในการตรสั รูของ พระองคกอ นเขาสกู ารปฏบิ ตั ิ แตมใิ หป ก ใจเชอื่ ทนั ที ยงั เปดโอกาสใหใ ชปญ ญาพจิ ารณาใครครวญ (โยนิโสมนสกิ าร) มปี ญญาไตส วนตรวจสอบ ศรทั ธาในทางพระพทุ ธศาสนาจงึ ชอ่ื วา ญาณสัมปยุต คือความเชอื่ ที่ประกอบดว ยปญ ญา ไมมศี รทั ธาเดียว ๆ โดด ๆ แตมปี ญ ญามาประกอบการพจิ ารณา อยดู ว ย ศรทั ธาในทางพระพทุ ธศาสนาจึงเอ้อื ใหเกิดการพฒั นาปญ ญาเพ่ือไตเตาเขา ไปสูความรแู จง ทวา ในเบือ้ งตน จะตอ งมศี รทั ธาเปน แกนนาํ กอ น มาดว ยความสงสยั อาจจะกลับไปดว ยความฟงุ ซา น มาดวยศรัทธาจะกลบั ไปดว ยปญ ญา เพราะไมมาเชอื่ อยา งเดียว แตม าประพฤตปิ ฏิบัติดวย ดังนน้ั ขอใหทา นสาธชุ นทม่ี าประพฤตปิ ฏิบตั ิมีศรทั ธา นอ มใจเช่อื กอน จึงคอยนําหลกั การและวธิ ีการ ปฏิบตั ิไปฝก ปฏิบตั ดิ ูวา จะเปน อยา งไร ฝก ทําไม เพ่ือประโยชนอ นั ใด ก็ฝกปฏบิ ตั ิเพอ่ื พักผอน ระงบั ความทกุ ข ใหเ กิดความสงบสุข เพราะชีวติ น้ีมแี ตก ารดน้ิ รนจงึ ทกุ ขร อน ทุกขก ายทุกขใจมีอะไรเปนสาเหตุ ถา จะแบงความทกุ ขออกมางาย ๆ กม็ อี ยู ๒ ประการ คือ ๑. กายทกุ ข ทุกขท างกาย (Physical suffering) ๒. จติ ทุกข ทุกขท างจติ วญิ ญาณ (Spiritual suffering) ปจจยั ทท่ี ําใหเ กดิ ความทุกข คอื กิเลสเหตุแหง ความรอน จงึ ปฏิบตั ิเพอ่ื ลดความรอ นลง ญาติโยม ทงั้ หลายทีม่ าปฏิบตั ิ ในเบื้องแรกเปน เหมอื นแกวนาํ้ รอนทนี่ ํามาตั้งไวซ ง่ึ ยงั รอน ๆ อยู กวาจะอนุ จะ เยน็ ลงก็ตองใชเวลา เยน็ แลว นําไปแชใ นตูเยน็ กวาจะเยน็ ไดระดบั ก็ตอ งใชเวลาอกี ฉันใด การปฏบิ ัติ ใหม ๆ กฉ็ นั นนั้ ตองคอ ยเปน คอยไป ปฏบิ ตั ิตามวิธีการที่พระวิปส สนาจารยแนะนําให ดว ยการเดนิ จงกรมและน่ังสลบั สบั เปล่ยี นกนั ไป พระวิปส สนาจารยจะบอกใหท าํ ชา ลงกวา ปรกติ ความจริง สภาพรางกายสามารถทําชาไดอ ยแู ลว แตท ีช่ าไมไ ดเ พราะใจรอ น รา งกายสามารถเหยยี ดออกไปชา ๆ คเู ขามาชา ๆ นีค้ อื วธิ ีการฝกท่ที าํ ใหใจเยน็ ลง เม่ือฝก ก็ตองฝน เปนธรรมดา ทาํ ใหช าลงหนอย คอ ย ๆ ฝก คอย ๆ ฝนไป ในไมช าก็จะชนิ และกลายเปนเรือ่ งปกติ กลาวถงึ ความรอ น อะไรเปน เหตุปจ จัยทําใหเกดิ ความรอ น ทางพระพทุ ธศาสนาไดแสดงไว วา สิ่งที่ทําใหร อนคือกเิ ลส เปนไฟมากลุมรุมเผารนจติ ใจใหร มุ รอน ดงั พระพทุ ธคาถาวา

54 นตถฺ ิ ราคสโม อคคฺ ิ นตฺถิ โทสสโม กลิ นตฺถิ ขนฺธสมา ทุกขฺ า นตถฺ ิ สนตฺ ปิ รํ สุขํฯ ไมมไี ฟรอนเราเทา ราคะ อันโทสะกไ็ มมกี ลเี สมอ ไมมีทุกขเทาขนั ธต อ งหมั่นเปรอ สุขเลศิ เลอเทา สขุ สันตน้นั ไมม ี ฯ กลัวอะไรก็กลัวไปแตขอใหกลัวกิเลส ราคะ โทสะ โมหะ คือไฟทที่ ําใหเกดิ ความรอน รอ นขน้ึ มาคราใดกท็ กุ ขข นึ้ มาครานั้น ภาวะ ของความรอ นจึงควรคลายระบายออกไปหรอื ลดความรอ นลง กิเลสทง้ั ๓ ตัวนเ้ี ปนกเิ ลสทีน่ ากลวั หากเราตกไปสูกระแสของมนั จะมพี ฤติกรรมทไี่ มพ ึงประสงคแสดงออกมา ถา ถามวเ กดิ มานก้ี ลัว อะไร จะไดร บั คําตอบหลาย ๆ อยา งวา กลวั ทุกขย ากลําบาก กลัวไมมอี ยูไมม ีกนิ กลวั เจบ็ ไขไ ดปว ย กลวั ตาย เหลา นี้เปนเรือ่ งทนี่ ากลวั ไมน อย แตก เิ ลสเปน เรอื่ งทีน่ ากลวั กวา เพราะถาเราลุแกอาํ นาจ ของมันไปทาํ ความผดิ ก็เกดิ ทุกขโทษตามมา และตอ งชดใชว บิ ากกรรม เชน ลุแกอ ํานาจของโทสะ ก็ ดาวาชกตอยตบตจี นถึงขนาดฆาฟน กนั ตอ งไปตดิ คกุ ตดิ ตะรางรับโทษทณั ฑ กิเลสจึงเปน เรอื่ งทน่ี า กลวั อาตมาอยทู ว่ี ัดชนะสงคราม คร้ังหนงึ่ มีชาวธรรมกายจาํ นวนมากมาชุมนุมกนั ภายในวัดเพอื่ เรยี กรอ งขอความยตุ ธิ รรม เจาประคณุ สมเดจ็ พระมหาธีราจารย ไดล งมาทาํ วตั รเชาสวดมนตไหว พระ เสร็จแลว กป็ รารภข้นึ วา “ความยุตธิ รรมอยทู ี่ไหน อยูท่คี วามถกู ใจหรอื วาความถูกตอ ง เขามาเรยี กรองขอความ ยตุ ิธรรมจากเรา ครั้นเราไมใ หตามทเี่ ขาขอ ก็ตอ วา เราไมมคี วามยุตธิ รรม นค่ี อื ความยตุ ธิ รรมตาม ความถกู ใจทไี่ มถ ูกตอง ความยตุ ธิ รรมจะตอ งมาพรอ มกบั ความถูกตอ งมิใชถ ูกใจ ขอใหจําไวอ ยา ง หนง่ึ วา กลวั ผดิ ผมกลวั กลวั ตายผมกลัว แตกลวั คนผมไมก ลวั ถา ผมตรี ะฆังดังข้นึ มาเมอ่ื ไหร ใคร จะเฉย ก็เฉย ใครจะมาก็มา จาํ ไวน ะเราเกดิ มาเจอคนไมต องกลวั คน” เจา ประคุณสมเด็จไดกลาวเชน นี้ เพอื่ บอกวา “ไมตองกลวั คน แตใ หก ลวั ความผดิ ” คือทาน จะไมทาํ ผดิ ตอ ธรรมวินยั ถา เราไมอยากทาํ ความผดิ ก็ตองกลวั กิเลส กลวั ราคะ โทสะ โมหะ ถาไมก ลัว สามตัวนตี้ กไปสกู ระแสอํานาจของมนั กต็ องทําความผดิ เปนแนแ ท มีนกั เทศนอ ยทู างภาคอีสานรูปหนึ่ง มาเยยี่ มอาตมา เลา ใหฟง วา “เวลาผมไปเทศนสอนญาตโิ ยมทไี ร มักจะถามวา โยมกลวั อะไร เกดิ มานกี่ ลวั อะไร อาตมาวา โยมตองกลัวโกรธนะกลวั โกรธใหคนอนื่ เพราะอะไรรมู ยั้ ถา โกรธขึ้นมาแลว เดยี๋ วกจ็ ะดา วา ตบตี บางทถี งึ กับฆา ฟน ตอ งถกู จบั ไปติดคกุ ตดิ ตะราง เวลาเชา โยมต่นื ขึ้นมาใหอ ธษิ ฐานจติ บา ง นะวา “วนั นข้ี า พเจา จะไมโกรธ ถึงโกรธกจ็ ะไมดาวา ไมแ สดงอาการใด ๆ ดว ยความโกรธ ตอง

55 อธษิ ฐานจติ ไวอ ยา งนี้ อธษิ ฐานจติ เสร็จแลวก็ไปนงึ่ ขาว นง่ั นง่ึ ขา วกาํ ลงั ไดที่ใกลจะสุกเต็มทแี ลว แมวไมรูว ากระโดดมาจากไหน ชนหวดขา วนงึ่ ขาวควาํ่ ลงเพงเลง แตก อ นถา แมวกระโดดมาชน แบบนี้ กบ็ อกลกู บอกหลานใหชวยกนั จบั แมว จับไดก็ตอ งตี แตค ราวนมี้ ีสตริ ทู นั เพราะไดอธิษฐาน จิตไว เออ หวดมันลม ลงมาแลว ก็ไมเ ปน ไรนึ่งใหมไ ด ไมต อ งโกรธ ระงบั ความโกรธเสยี ” ในทางวิปสสนาถา เกิดความโกรธข้นึ มากใ็ หก ําหนดวา “โกรธหนอ ๆ” “ไมพอใจหนอ ๆ” “ขุนเคอื งหนอ ๆ” มสี ตริ ูเทาทัน ไมต กไปสกู ระแสอาํ นาจของความโกรธนั้น ไลเจา ทีอ่ อกไปไมมคี วามผดิ จิตของคนเราน้นั เปนทหี่ มกั หมมกิเลส สะสมมาเปนเวลายาวนาน ไมเฉพาะเพียงชาติน้ี เทา น้นั นานแสนนานไมรกู ภ่ี พก่ชี าติ เกดิ มาแลว ไมมใี ครสอนใหโ ลภมนั กโ็ ลภเปน ไมม ใี ครสอนให โกรธมันกโ็ กรธเปน ไมม ีใครสอนใหห ลงมันก็หลงเปน เมอ่ื มาปฏิบัตกิ เ็ ปนเรื่องยากทีเดียวที่จะขับ ไลใ หอ อกไป เพราะเทา กบั ไลเ จาที่ สมมตวิ า เราไปอาศยั อยทู ่ีแหงหน่งึ ซง่ึ มเี จาถิน่ อยูประจาํ มากอน ตองการใหเจาถิ่นออกไปจากพ้นื ท่นี น้ั เขาจะยอมออกไปงา ย ๆ หรอื เปลา ย่ิงถาเจาถน่ิ เปน คนมี อทิ ธิพลครอบครองมาเปน เวลานานกเ็ ปนเร่อื งยากมาก ดจุ เดียวกนั เจาที่ ๆ อยปู ระจําขันธสนั ดานน้ี คอื โลภะ โทสะ โมหะ ซงึ่ ครอบครองมาเปน เวลานานแสนนาน ไมเฉพาะเพียงชาตนิ ี้ ไมร กู ภ่ี พกี่ชาติ ทผ่ี า นมา จะไลอ อกไปมใิ ชเ ร่ืองงายเลย เปนเรื่องยากจรงิ ๆ แตย ากนที่ าํ ไดหรอื เปลา ยากยงั ทาํ ไดอ ยู ทาํ ไดแ ตยาก มิใชย ากแลว ทาํ ไมไ ด ตามท่ที ราบวาวิปส สนากรรมฐานมีหลักการและวธิ ีการตาง ๆ เปน ไปเพอื่ การฝกกายและ จิต ท่ผี านมาเราทา นทัง้ หลายไดฝก กําหนดทางกายมาพอสมควร บัดนจ้ี ะอธบิ ายการกาํ หนดจติ วา จติ น้นั ควรกาํ หนดอยางไร กาํ หนดความคิดพชิ ิตใจ ในเบอ้ื งแรกมาทาํ ความเขาใจเก่ยี วกบั ธรรมชาติของจติ กอ น พระอรรถกถาจารยได วิเคราะหธรรมชาตขิ องจติ ไววา “จนิ ฺเตตตี ิ จิตฺตํ ธรรมชาตทิ ค่ี ดิ ชอื่ วา จติ ไดช ่ือวาจติ เพราะคิด นามตตี ิ นามํ ธรรมชาตทิ ่ีนอ มนกึ หาอารมณ ชื่อวานาม ไดช อ่ื วา นาม เพราะนอมนึกหาอารมณ” นคี้ ือธรรมชาตขิ องจติ หรอื นาม และเปนธรรมชาติท่ีตกอยใู นสภาพอนตั ตาหาตวั ตนบงั คับบัญชา ไมได จะหา มไมใ หคดิ กห็ ามยาก หา มลําบาก หามไมไ ด จะหามไมไ ด นึกหนว งหาอารมณ กห็ าม ยาก หา มลาํ บาก หามไมได เม่ือมาปฏบิ ัตกิ ็ใหทาํ ความเขา ใจเกยี่ วกับธรรมชาติของจติ วา เปนอยา งนี้ อยาไปฝนธรรมชาติ หากไปฝน กดขม เชน คดิ ขน้ึ มาก็ฝนไมคดิ หรือกดขม ความคดิ ลง นกึ หนวงหา อารมณก ็ดึงกลับสลดั ทง้ิ ทันที นั่นเปนการปฏบิ ตั แิ บบสมถกรรมฐาน ซง่ึ จะเกดิ อาการตึงเครียด การ

56 ปฏบิ ตั แิ บบวปิ ส สนากรรมฐานจะไมฝ นกดขม แตอ ยางใด กาํ หนดไปตามสภาพความจรงิ ที่กําลังคดิ หรอื นกึ หนวงนนั้ วา “คิดหนอ” “นึกหนอ” หายแลวก็เวียนกาํ หนดดตู ามปจจบุ นั อารมณตอไป ดังกลาววา ธรรมชาติของจติ หรือนามมีการนกึ นอ มหาอารมณ อารมณท ่ีจติ มกั นกึ นอ มไปมี ๒ ประการคอื อฏิ ฐารมณ อารมณท น่ี าปรารภนา อนฏิ ฐารมณ อารมณท ี่ไมนาปรารถนา ๑. อิฏฐารมณ จติ มกั จะคดิ นึกไปหาคนที่ชอบใจเปนทีร่ กั เรียกวา ปย บคุ คล เกดิ คิดนึกถงึ ให กําหนดวา “คิดถึงหนอ” “นกึ ถึงหนอ” บางครั้งในขณะท่กี ําลงั กําหนดอยูนน้ั หนา ตาหรอื มโนภาพ ของคนท่ีชอบใจเปน ทีร่ กั นน้ั อาจปรากฏหรอื ผดุ ข้นึ ในหวงความรูส กึ กําหนดเพยี งอาการท่จี ิตคิดถึง นกึ ถงึ นนั้ เทา น้ัน อยาไปเพง มองหนา ตาทป่ี รากฏหรอื ผดุ ขน้ึ มานั้น ประเดีย๋ วจะคดิ ถงึ ไปกันใหญ ๒. อนฏิ ฐารมณ จติ มักจะนกึ ถึงคนทไี่ มช อบใจเปนทเ่ี กลยี ดชงั เรยี กวา เวรบี คุ คล นกึ ข้ึนมา ก็โกรธไมพ อใจ ใหก ําหนดวา “โกรธหนอ” “ไมพอใจหนอ” บางครงั้ หนาตาของคนท่ไี มช อบ เปนท่ีเกลียดชงั นั้นอาจปรากฏใหเหน็ เปนมโนภาพ กาํ หนดเพยี งอาการโกรธหรือความคิดที่กาํ ลังคิด โกรธอยเู ทา นน้ั อยา ไปจองมองหนา ตาทป่ี รากฏเปน มโนภาพน้นั ถาจอ งมองก็ย่งิ โกรธไมพ อใจ และแลวความพึงพอใจกด็ ี ความขุนเคอื งแคนก็ดี จะคลีค่ ลายสลายตัวไปตามธรรมชาติของ การเกิด-ดับ โดยสวนมาก ผูปฏบิ ัตใิ หมมกั จะสับสนวุนวายอยกู บั ความคิด ความคดิ พรง่ั พรเู ขา มา มากมาย ยิ่งกาํ หนดยิง่ มา เพราะเรามาขงั แตก ายมิไดขงั จติ สิง่ กีดขวางตา ง ๆ สามารถขังกายได แตข งั จิตไมไ ด ยงิ่ กายมาถูกกกั บริเวณอยูอยา งนี้ จติ ก็ยิง่ ด้นิ รนออกไปหาอารมณต า ง ๆ ผูป ฏิบัติใหมควรใจ เย็น ๆ ขอใหท ําความเขา ใจวา นัน่ คอื ธรรมชาตขิ องจติ ทีม่ ีปกตคิ ดิ และนึกหาอารมณ อยา ฝน บงั คบั กดขม เพราะยงิ่ บงั คบั ยิ่งด้นิ รน ยิ่งกดขม ยิง่ ขดั ขนื ยงิ่ ฝน ยงิ่ กวัดแกวง ตอ งใจเยน็ ๆ คอ ย ๆ กําหนด ในการกาํ หนดความคดิ พระวิปสสนาจารยม กั จะแนะนําอยูเสมอวา ถาความคดิ ไมห นัก หนวงไมเปน เรือ่ งเปนราว คดิ ธรรมดา ๆ ก็กาํ หนดแบบธรรมดาวา “คิดหนอ ๆ” แตถ า ความคดิ หนักหนวงเปน เร่อื งเปนราววกไปวนมาไมจ บสักที อยใู นลกั ษณะพายเรือในอา ง ตองกาํ หนดใหถ่แี รง เร็ววา “คดิ หนอ ๆ ๆ” หนกั ๆ อยากาํ หนดแบบหาง ๆ วา “คิดหนอ...คดิ หนอ...” กาํ หนดอยา งน้จี ะ ไมทนั ความคดิ และจิตจะปรุงแตง ไปเร่ือย จนเกาะแนนไมย อมสลายตวั อยางไรก็ตาม การกําหนดอยา งธรรมดากด็ ี ถี่เร็วแรงก็ดี มไิ ดหมายความวา จะทําใหความคิด นัน้ หายไป การกําหนดความคดิ กเ็ พยี งมาดอู าการหรือลักษณะของจิตท่กี ําลงั คิดอยู มไิ ดไ ลใ ห หายไป เพยี งแตก าํ หนดรตู ามสภาพความจริง หายหรอื ไมหายเปน เร่ืองของสภาวะซงึ่ ตกอยูใน ลักษณะการเกดิ ขนึ้ ตั้งอยู ดบั ไป หากบงั คบั ใหห ายกแ็ สดงวา ฝนสภาวะใหเปน อตั ตาตามบัญชาของ ตน สภาพที่แทจริงของจติ คอื อนัตตาหาตวั ตนบงั คบั บญั ชาไมไ ด หากไปบงั คับกดขม จะกลายเปน วิธีของสมถะ วธิ ีของวปิ ส สนามไิ ดบ งั คบั กดขม เพยี งแตใหก าํ หนดรตู ามธรรมชาตขิ องจิต คดิ กค็ ดิ หนอ กาํ หนดทนั กท็ นั ไมทันก็ท้งิ ไป

57 ไมชนะ ไมแ พ แตอ ยกู ึ่งกลาง สตทิ กี่ าํ ลังทาํ หนา ท่กี ําหนดดูความคิดอยนู ้ัน ควรอยกู ึ่งกลาง ไมเอนเอียงไปดา นใดดา นหน่งึ คอื ไมอ ยากเอาชนะและอยากใหห าย ดังกลาวนเี้ ปน วธิ ีการปฏิบตั ติ รงตออารมณท ุกอยา ง ไมว า จะ เปนอารมณท างกาย เวทนา จติ ธรรม หากอยากเอาชนะหรอื อยากใหห าย จะมคี วามอยากนาํ หนา ตก ไปสกู ระแสของโลภะ ไมชนะไมห ายก็หงดุ หงดิ ไมพ อใจ ตกไปสูกระแสของโทสะ นคี้ ือสิ่ง ตองหา มในการปฏบิ ัตทิ ่มี ิใหป ฏบิ ัตเิ พือ่ เอาชนะและหายไป ดงั พระพทุ ธคาถาวา ชยํ เวรํ ปสวติทกุ ขฺ ํ เสติ ปราชโย อปุ สนโฺ ต สขุ ํ เสตหิ ิตวฺ า ชยปราชยํ ฯ ผชู นะยอ มประสบพบเวรแท ผพู า ยแพไรช น่ื ทกุ ขขื่นขม สว นผูละชนะแพแ นนิยม สงบสมสขุ สันตนิรนั ดร ฯ ละท้งั ชนะและแพก ็สงบ ถา ชนะจะไดใ จไปกอ เวรอีก ถา แพก ็ทกุ ขใ จหาทางแกม ือ จงึ ใหอยู กงึ่ กลางระหวา งชนะและแพ ไมช นะไมแ พ ไมหนี ไมสู ไมอยู ไมถอย หากทําไดอยางนี้ ผปู ฏบิ ัติจะมี แตจ ิตเปน กลาง กาํ หนดไดอ ยา งสบาย ๆ ไมวิตกกังวลอะไร สภาวะจะเกิดกเ็ กิด จะดับกด็ บั เปน เรอื่ ง ของธรรมชาติ ความคดิ เปนเรอื่ งตองระวังอยาพลงั้ เผลอลืมละท้ิง หากละทิง้ ไมยอมกาํ หนด ความคดิ จะกอ ตัวปรงุ แตง มากยิ่งขึ้น จนกระทัง่ คดิ ภเู ขาพงั ทลายกลายเปน ทองทุง ความคิดเล็ก ๆ นอ ย ๆ เหมอื นไฟ แมเ ลก็ นอ ยมันกส็ ามารถกอ ตวั ข้นึ มาลุกโพลงเผาไหม อยาปลอ ยปละละเลยเปน อันขาด พยายาม กาํ หนดไป ในทีส่ ุดความคิดที่มากในเบือ้ งตน จะนอ ยลงในเบ้อื งปลาย มเี พียงหนง่ึ เดยี วไมเ กย่ี วกับสอง ประการตอมา คือพยายามอยูกบั ปจ จบุ นั อารมณใ หไ ดม ากท่ีสดุ อยูก ับขวายางหนอ ซา ยยา ง หนอ พองหนอ ยบุ หนอ ถา ตั้งใจอยกู บั ปจจบุ นั อารมณ ความคดิ จะนอยลง เพราะธรรมชาติของจิต เปน เอกจรํ อสรรี ํ ไมม รี ปู พรรณสัณฐาน ทอ งเทย่ี วไปตามลาํ พงั เพยี งหนงึ่ เดียว มหี นง่ึ กต็ อ งรับ อารมณเพยี งหน่งึ รับสองไมไ ด แตท ม่ี คี วามรูส ึกวารบั สองอารมณไ ดพ รอ ม ๆ กัน เพราะความ รวดเร็วของจิต ดังพระพุทธดาํ รัสวา “ดูกรภกิ ษทุ ัง้ หลาย เราไมพ ิจารณาเห็นธรรมอ่นื ใดเลยท่ีเปลี่ยนแปลงไปเรว็ เหมือนจติ แมจ ะนําสงิ่ ใดมาเปรียบเทยี บกบั จติ ท่เี ปลยี่ นแปลงไปเรว็ นนั้ ก็มใิ ชเรอื่ งงาย ดูกรภิกษทุ ้งั หลาย

58 ลงิ เที่ยวเตน ไตไ ปตามไพรพง กระโดดควา จบั ก่งิ ไม ปลอ ยก่งิ นีจ้ บั กง่ิ น้ัน ปลอ ยกิง่ นน้ั ก็จบั ก่ิง โนน ฉนั ใด ธรรมชาตทิ ี่เรียกวา จิต มโน วญิ ญาณน้ี ก็ฉนั น้นั ดวงหนง่ึ เทยี วเกิด ดวงหนง่ึ เทียว ดับอยูอยา งน้นั ทัง้ วันทง้ั คนื ” แสงท่วี า เดินทางเร็วกวา ส่งิ ใด ยงั ไมเ รว็ เทา กบั จติ นกึ ปบุ ถึงอเมรกิ าปบ และเกดิ ดับเร็ว เพียง ลัดน้ิวมอื เดยี วกเ็ กิดดบั ไมรูกพ่ี ันครั้ง ดว ยความเรว็ ของจติ จงึ เหมือนกับรบั อารมณไ ดห ลาย ๆ อยา ง พรอ มกนั เชน ขณะทดี่ ู ทวี ี ทง้ั ตากเ็ หน็ ภาพ ทงั้ หกู ็ไดย นิ เสยี ง เหมอื นรบั อารมณส องอยางพรอ มกัน แทจ ริงรบั ทีละอยาง แตเพราะความเรว็ ของจติ น่ันเอง จงึ ไมเห็นวารบั ทลี ะอยาง แตเ พราะความเร็ว ของจติ นั่นเอง จึงไมเห็นวารับทลี ะอยา ง ถาตงั้ ใจอยกู บั ปจจบุ ันอารมณแตล ะอยางแตล ะอาการคอื ขวายา งหนอ อยูก บั ขวา ซา ยยางหนอ อยกู ับซา ย พองหนอ อยกู บั พอง ยบุ หนอ อยกู บั ยบุ ความคดิ จะ เขา มาแทรกไดยาก ดังกลาวมานี้ เปนวิธกี ารฝกจิตตามกระบวนการของวปิ สสนากรรมฐาน ที่ใหกาํ หนดดู อาการของจติ ทีค่ ดิ ปรุงแตงนกึ หนวงหาอารมณต าง ๆ ตามสภาพความจรงิ โดยปราศจากการฝน บังคับกดขม หกขอน้มี ีคาพระศาสดาทรงแสดง การฝกฝนอบรมจิตมใิ ชเ รอ่ื งงา ย จะมาทําประเดี๋ยวประดาวชว่ั ครูช ่วั ยามไมได ตอ งใชเวลา พอสมควร และตอ งมีองคป ระกอบหลาย ๆ อยางเขา มาเปนสว นรว ม หรอื มีความจาํ เปนทจ่ี ะตอ ง ปฏิบัตติ ามแนววิธีท่ีเอื้อใหเ กดิ ผลทางการปฏบิ ตั ิ แนววิธีนพ้ี ระพทุ ธเจาไดทรงแสดงไวว า ๑. อกมฺมารามตา ไมย นิ ดใี นการทําการงาน การงานในทน่ี คี้ อื การงานทีไ่ มเ ก่ยี วของกับการ กําหนด เชน ตัดตน ไมด ายหญา ซง่ึ จะกําหนดไมท นั การงานของวิปส สนาคอื การกําหนด ถา ไปปด กวาดเชด็ ถู กาํ หนดไดอยวู า “กวาดหนอ” “ถูหนอ” ยงั คอื วา เปนการงานของวิปส สนา สว นการ งานใดทที่ ําแลวกําหนดไมไ ดเลย การงานน้ันถือวา ไมพ งึ ประสงคและเปน ปฏปิ กษต อ การปฏิบัติ ๒. อภสสฺ ารามตา ไมย นิ ดใี นการพดู คุยสนทนา หากพดู คุย สมาธทิ ีก่ อ ตัวขน้ึ มากร็ ่วั ออกไป ทา นกลาววา การกาํ หนดแตล ะคร้งั เหมอื นนาํ้ ทลี ะหยดทหี่ ยดลงสูภาชนะมขี ันเปนตน หยด ลงมาทลี ะติง๋ สองต๋งิ กวาจะเตม็ ขนั ตองกาํ หนดไมรกู คี่ รั้ง แตถ า พดู คยุ กเ็ ทากับเอาน้ําขันนนั้ ไปเททง้ิ กรรมฐานรั่วออกไปทางการพูดคุยหมด เพราะการพูดคยุ กําหนดไดย าก ทา นจึงหามมิใหพดู คุย ให พูดคยุ กับพระวิปส สนาจารยเ ทานนั้ เพราะถอื วา เปนการพูดคุยในเรอ่ื งกรรมฐาน ๓. อนิทฺทารามตา ไมยนิ ดีในการพกั ผอนหลับนอน มาปฏิบตั มิ ไิ ดมาพักผอ น ถา ตอ งการ จะพกั ผอ นไปท่ีอนื่ ดกี วา ในสงั คมปฏิบตั ิธรรมหากมวั มานง่ั เลน นอนเลน กไ็ มเกิดประโยชนอะไร กลายเปนตวั อยางไมด ี อยา หาความสขุ จากการหลบั นอน บางคนกลาววา ถา นอนนอ ย พกั ผอนไม เพียงพอจะเปน อันตรายตอสุขภาพ ไมตองกงั วล เพราะการปฏบิ ตั ิมกี ารเดนิ และการนงั่ ที่ปรบั ความ ยดื หยนุ อยใู นตัว การน่ังนนั่ เองคอื การพกั แตสําหรบั ผปู ฏบิ ตั ิใหม เริ่มแรกกไ็ ปพักผอ นใหพ อเหมาะ

59 กอ น เพราะยังไมช นิ กบั การเดิน-น่งั ครน้ั ปฏิบัติไดใ นระดับหนึง่ ตองนอนนอ ยลง เพราะการปฏบิ ตั ิ เริ่มไดท ่ีแลว และสมาธทิ ่ีกอ ตัวจะสง ผลไปหลอ เลีย้ งรา งกายใหอ ม่ิ ตวั ลง จึงไมจําเปน ตองนอนมาก หากนอนมากกลบั จะกลายเปนผลเสยี ไป ๔. อสงฺคณิการามตา ไมยนิ ดกี ารคลกุ คลีดวยหมคู ณะ เห็นเขาจบั กลมุ คุยกันทไ่ี หนกเ็ ขา ไปทน่ี ั่น คลุกคลตี ีโมงพูดคยุ เรือ่ งโนนเร่อื งน้ี จะมเี ร่อื งตา ง ๆ ตามมารบกวนในขณะปฏบิ ัติ ถงึ แมว า มาอยูใ นสงั คมปฏบิ ัติธรรมเปนกลมุ เปน คณะก็ตาม ตอ งทาํ เปนประหน่ึงวา อยูเพยี งคนเดยี ว ตอ งยนื น่งั กาํ หนดตามลําพัง อยูหลายคนเหมอื นอยูค นเดยี ว อยาอยูค นเดยี วเหมือนอยหู ลายคน มคี ํากลา ว วา “อยคู นเดยี วเหมอื นอยูหลายคน อยูหลายคนเหมือนอยคู นเดียว” หมายความวาอยา งไร บางคน อยูคนเดยี วกค็ ดิ ถงึ คนน้ันนกึ หาคนนี้ มแี ตค นโนนคนนเี้ ขา มา ไมไดอยูคนเดยี วมหี ลายคนมาอยดู ว ย นเี้ รียกวา อยคู นเดยี วเหมอื นอยูหลายคน บางคนอยใู นกลมุ ของผปู ฏิบตั ิ เห็นคนโนน เดนิ คนนน้ี ง่ั ก็ ไมใ สใจ ใสใจแตตัวเอง อยกู บั ปจ จุบนั อารมณเทานนั้ อยกู บั ขวา-ซา ย พอง-ยบุ นเ้ี รยี กวา อยหู ลายคน เหมอื นอยูคนเดยี ว ฉะนน้ั อยา ไปคลกุ คลีตีโมงเกาะกลมุ กนั เปนหมคู ณะหรอื ไปสง อารมณก ันเอง เพราะผปู ฏบิ ตั ิใหมเ หมอื นคนกําลังหัดวายน้ํา หากไปสง อารมณก นั เอง จะพากนั กอดคอจมนํ้าตาย ใหม าสงอารมณก ับพระวปิ สสนาจารยเ ทาน้นั ๕. อินฺทฺริเยสุ คุตตฺ ทวฺ ารา รูจกั คมุ ครองอนิ ทรีย หากไมส าํ รวมตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ กิเลสจะไดช อ งไหลบา เขา มาทางทวารนน้ั ๆ ๖. โภชเน มตตฺ ฺ ตุ า รจู กั ปริมาณในการบรโิ ภคอาหาร ถา ผปู ฏบิ ตั ิมากินใหมาก นอน ใหมาก ทอ งกเ็ ต็มแนน จบั พอง-ยบุ ไดล ําบาก หนงั ทอ งตงึ หนงั ตากห็ ยอ น เกดิ อาการงว งเหงา หาวนอนเซ่ืองซมึ จงึ ตองรจู ักประมาณในการบรโิ ภคอาหาร ถากินมาก คยุ มาก นอนมาก จะไมม ี ประโยชนอ ันใดเกดิ ขึ้น ย่ิงเปน เหตใุ หอ กศุ ลธรรมเจริญเติบโต ท้ัง ๖ ประการเหลาน้ี เปนไปเพื่อความเจริญงอกงามแหงกศุ ลธรรม กศุ ลธรรมที่ยงั ไม เกดิ ขึ้น ยอ มเกดิ ข้ึน ทเ่ี กดิ ขึ้นแลว ยอ มเจริญงอกงามมากยงิ่ ขน้ึ ปด หูปด ตาปญ หาไมมี วิธที เี่ อ้ือใหเ กดิ ผลทางการปฏบิ ัติ กลาวโดยสรปุ คือ กินนอย คุยนอย นอนนอย ปฏบิ ตั มิ าก ซึ่งเปน คติของสาํ นักวิปสสนาวิเวกอาศรมโดยเฉพาะ ทานใดยา งกรายเขา มาทางประตขู องสาํ นกั หากหนั ไปมองสกั นดิ จะเหน็ ลิงอยู ๓ ตัว ตวั หน่ึงมือปด ตา ตวั สองมอื ปดหู ตวั สามมอื ปดปาก เปน ปรศิ นาธรรมเตอื นสตผิ ปู ฏบิ ตั วิ า เขา มาภายในสาํ นกั แลว จะตอ งปดตาทง้ั คู ปด หูสองขา ง ปด ปากเสีย บา ง แลว กําหนดอารมณ ถามาเปด ตามองโนน ดนู ่ี เปด หฟู ง เรื่องโนน ไดย นิ เรอ่ื งนี้ เปด ปาก พดู โนน คุยน่ี จะไมเ กิดผลดีเลย มาแลว ตอ งทําไวภ ายในใจวา

60 ใครชอบใครชงั ชา งเถิด ใครเชดิ ใครชชู างเขา ใครเบอื่ ใครบน ทนเอา ใจเรารม เยน็ เปนพอฯ และทข่ี า ง ๆ ทางกอ นเขาสาํ นักกม็ ีเสือโครง ตวั ใหญย ืนคาบรางของนายพรานเลือดไหลโชก ออกมา อกี ทางดา นหนงึ่ มีชายหนมุ ผูเปน ลูกชายของนายพรานโกง ธนจู ะย่งิ เสอื มบี ทกลอนท่ีขา ง ๆ เขียนไวว า นายเอยนายพราน กรรมบันดาลพลาดทา นา หวาดเสยี ว ถกู เสอื คาบกลางกายตายแนเ ชยี ว ลูกชายเหลียวพบพลันทันเวลา โกง ธนูหมายเขมนเขนฆา เสอื พอโลภเหลอื บอกลกู ยงิ ดิง่ ตรงขา หากถกู ตวั กลวั เสียหนงั หวงั ราคา จะมรณาโลภมิคลายเสยี ดายเอย ฯ เปน บทกลอนท่ีเตือนสตวิ า เขา มาสูสาํ นักแลว ก็ขอใหต งั้ ใจปฏบิ ัตเิ พอื่ ปลดปลอ ยวาง มใิ ช โลภอยากไดโนนอยากเปน นี่ (อยากไดส ภาวะ อยากสอนกรรมฐาน) ใหป ฏิบตั ไิ ปตามเหตุปจ จยั ตามเรยี่ วแรงกาํ ลังของตนอยางเต็มความสามารถ ครนั้ ออกจากสํานกั แลว กใ็ หความโลภมนั เบาบาง ลงบา ง อยา ใหเหมือนนายพรานถกู เสอื กดั จะตายอยแู ลว ลูกมาชว ยจะยงิ เสอื ก็บอกใหยงิ ทขี่ า ถาถูก ตัวกลัวเสียราคา ยังโลภอยากไดห นังเสอื ไปขายอีก โลภเหลือหลาย โลภมากลาภหาย จะตายเพราะ โลภนแี่ หละ พระธรรมเทศนาในวันนไี้ ดแ สดงถงึ วธิ ีการฝกฝนอบรมตนตามวปิ ส สนาวิถี ซ่ึงมแี นวทาง ตา ง ๆ ทเ่ี อ้ือตอ การปฏบิ ัตโิ ดยตรง และแสดงถึงการกําหนดดจู ติ โดยอาศยั นยั ทป่ี รากฏใน พระไตรปฎกและการสบื ทอดของพระวปิ ส สนาจารยมาอธบิ ายขยายความตอ หากทา นใดเขา ไป กาํ หนดรูตามธรรมชาติของจติ น้ี ก็สามารถกาํ จดั อภิชฌาและโทมนสั ได ดังพระพุทธดาํ รัสทอี่ าตมา ไดย กข้ึนเปนนกิ เขปบทในเบือ้ งตนวา จิตฺเต จิตตานุปสฺสี วิหรติ อาตาป สติมา สมฺปชาโน วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌาโท มนสฺสนติ ฯ ภิกษุตามดูจิตในจิตอยู เพียรพยายามอยางมีสติสัมปชัญญะ กําจัดอภิชฌาและ โทมนสั เสยี ไดในโลกฯ ดงั แสดงพระธรรมเทศนามากส็ มควรแกก าลเวลา ขอยุติลงปลงไวแตเพียงเทานี้ เอวํ ก็มี ดวยประการฉะนี้

61 กัณฑท ี่ ๖ ธัมมายานปุ สสนากถา สําหรับวิปสสนากรรมฐานจะใหความสําคัญตออัตนัย คือดูภายในใสใจตนมากกวาปรนัย คือดูภายนอกสนใจคนอ่ืน อยางไรกต็ าม เราไมอาจปฏิเสปรนัย คือปจจัยภายนอกที่เขามามีสวนรวม ในการปฏิบัติ เพราะหมวดหมูหน่ึงท่ีแสดงถึงปจจัยภายนอกโดยตรง คือ ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกาย และอารมณทางใจ เหลานี้เปนปจจัยภายนอกที่เขามา เก่ียวของใหเกิดการรับรู เรียกเปนภาษาวิชาการวา ปฏิสัมพันธ (Interaction) คือปฏิกิริยา โตตอบกันระหวา งอายตนะภายในคือ ตา หู กับอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง ซ่ึงจะตองมาทําความ เขา ใจใหช ัดเจนวา ควรปฏิบตั อิ ยางไร นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพทุ ธฺ สสฺ นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสสฺ นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทธฺ สฺส ธมเฺ มสุ ธมฺมานปุ สฺสี วหิ รติ อาตาป สติมา สมปฺ ชาโน วิเนยยฺ โลเก อภิชฌฺ าโทมนสสฺ นตฺ ิ ฯ ณ บัดน้ี อาตมภาพจักไดแสดงพระธรรมเทศนา พรรณนาถึงธรรมานุปสสนากถา วาการ กําหนดดูธรรม เพ่ือเปนเคร่ืองเจริญศรัทธา เพ่ิมพูนปญญาบารมี ใหแกทานสาธุชนคนดี โยคีและ โยคินี ท้ังทเ่ี ปน คฤหสั ถและบรรพชติ อนุสนธิสืบตอจากวันพระท่ีแลวไดแสดงจิตตานุปสสนากถา วาดวยการกําหนดจิต ได กลาวเกริ่นไววา “คนจะดีไดเพราะฝกและศึกษา” ขอกลาวซ้ําอีกวา วิปสสนากรรมฐานนั่นแลคือ วิธีการฝกกาย วาจา ใจ ฝกกายดวยการเดินจงกรม ฝกวาจาดวยการมาสงอารมณแกพระวิปสสนา จารย ฝกใจดวยการกาํ หนดจติ การฝก ก็คอื การใชเรี่ยวแรงกําลังประกอบความเพียร ในเบื้องตนการ ประกอบความเพียรจะเปนศัตรูกับเรา แตจะเปนมิตรกับเราในภายหลัง ความเกียจครานจะเปนมิตร กบั เราในเบื้องตน แตจะเปน ศตั รูกับเราในเวลาตอมา การใชเร่ียวแรงกําลังประกอบความเพียรก็ตอง เหน็ดเหน่ือยเปนธรรมดา เพราะใชพลังงาน ไมวาจะยืน เดิน น่ัง ลวนแตใชพลังงานทั้งน้ัน มีสิ่งใด หรือท่ีทําแลวจะไมเหนื่อย มองไมเห็นส่ิงใดเลย แมแตการนอน นอนอยูเฉย ๆ ก็ยังเหนื่อย ดังนั้น อยาพะวงวามาปฏิบัติแลวจะตองเหนื่อย แตถาจะเหนื่อยทั้งทีขอใหมีคุณคาเกิดขึ้นบาง การปฏิบัติ ธรรมนแี่ หละคือการเหนอ่ื ยอยา งมีคุณคา

62 กลาวโดยเฉพาะความเพียรท่ีเรียกวา วิริยะ เปนบอเกิดของกุศลธรรม ความเกียจครานเปน บอเกดิ ของอกุศลธรรม ดังพระพุทธดํารัสวา “ดูกรภกิ ษุท้ังหลาย เราไมพ จิ ารณาเห็นสงิ่ ใดเลยทีเ่ ปนที่ตั้งของกศุ ลธรรม กุศลธรรมท่ียัง ไมเกิดข้ึนยอมเกิดข้ึน ท่ีเกิดข้ึนแลวยอมเจริญงอกงามมากย่ิงขึ้นเหมือนความเพียร และไม พิจารณาเห็นสิ่งใดเชนกันที่เปนท่ีตั้งของอกุศลธรรม กุศลธรรมท่ียังไมเกิดข้ึนยอมเกิดขึ้น ที่ เกิดขน้ึ แลว ยอ มเจริญงอกงามมากย่งิ ข้ึน เหมือนความเกียจครา น” ความขยันหมั่นเพียรเปนเหตุใหเกิดความเจริญกาวหนา ความเกียจครานเปนเหตุใหเกิด ความเสอื่ มถอย ผลจากการฝก กายและจติ นา พิศวง กลาวถึงธรรมะทพี่ ระพทุ ธเจาทรงแสดงน้ัน เปนธรรมะท่ีมนุษยฝกไดและเทวดาก็ฝกได ถา เปนธรรมะที่มนุษยและเทวดาไมสามารถฝกได พระองคจะไมทรงแสดง ช้ีใหเห็นวา ธรรมะท่ี พระพุทธเจาทรงแสดงนั้น เปนไปเพื่อการฝก ฝกกาย วาจา และใจ ฝกอยางไรไดอยางน้ัน ฝกขยันก็ ขยนั ฝกเกยี จครานกเ็ กยี จครา น มนุษยนั้นสามารถพัฒนาศักยภาพของตนดวยการฝกท้ังกายและใจ คนท่ีฝกกายไดดีแลว สามารถแสดงอาการทางกายดวยทาทีท่ีนุมนวลหรือโลดโผนผิดแผกออกไป จากภาวะปกติท่คี นทั่วไปทําไมไ ด เชน นกั ยมิ นาสตกิ สามารถตีลังกาหลายรอบในอากาศมวนตัวลง มายนื อยูบ นพื้นทีไ่ ดโดยไมเ ปนอนั ตราย โดยปกติรา งของคนสามารถทําอยางนั้นไดอยูแลว เพียงแต ตองมาฝก นั่นเฉพาะทางรางกายกอน สวนทางจิตใจก็สามารถฝกได จิตท่ีไดรับการฝกดีแลว สามารถแสดงผลออกมาย่ิงกวากาย เพราะจิตเปนศูนยรวมของพลังอํานาจ เปนใหญในกองสังขาร จิตเปนนายกายเปน บาว ดังพระพุทธคาถาวา มโนปุพพฺ งฺคมา ธมมฺ า มโนเสฏฐา มโนมยา ฯ ธรรมทัง้ หลายมีใจเปนหัวหนา มีใจประเสริฐ สําเร็จไดด วยใจ ฯ หากฝกจิตใหมีความเปนหน่ึงไมซัดสาย ก็สามารถแสดงผลออกมา ดังท่ีปรากฏในคัมภีร ทางพระพุทธศาสนาวา ภิกษุผูฝกจิตมีสมาธิท่ีควรแกการงาน (กัมมนียะ) สามารถนอมเขาไปสู อภิญญา ๕ มี อิทธิวิธี แสดงฤทธิ์เหาะเหินเดินฟา ทิพยจักษุ มีดวงตาทิพย ทิพยโสตะ มีหูทิพย เจโต ปริยญาณ รรู อบจติ ใจของสตั วอ ่นื ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาตไิ ด เหลา นม้ี ปี จ จัยมาจากการฝก จติ เทาน้นั ไมฝก จติ ยอมทาํ ไมไ ดเ ลย ไมจบั จดกาํ หนดจิต ในเรอ่ื งของจติ มีคาํ เปรยี บเทียบไวว า “จิตเหมอื นปลา เมตตาเหมือนนาํ้ ปลาขาดนา้ํ กต็ อง ตาย จิตขาดเมตตาก็หาความชมุ ช่ืนไมได” เหตใุ ดจึงกลา ววา จิตเหมือนปลา เพราะปลามีปกตอิ ยูใน

63 น้าํ แหวกวายไปมา ย่ิงถาไดน า้ํ ใหมใ สสะอาด ปลาจะดาํ ผุดดาํ วายอยางลิงโลด ครั้นนํ้าแหง ขอดลง ปลากย็ งั ชอบอยูในนํ้าแหงนน้ั รสู กึ สงสารจงึ จบั มนั ข้ึนมา นาํ ไปปลอยทส่ี วนอุทยานปาทีก่ วา งขวาง รม รืน่ ปลาจะอยูไ ดห รอื ไม ปลากอ็ ยูไ มไดด ิ้นพลาน ฉนั ใด จิตกฉ็ นั นนั้ ในกาลกอ นเราปลอยจติ ให ทองเท่ยี วไปตามอารมณต า ง ๆ อยางเพลิดเพลนิ คร้นั มาปฏิบัตวิ ปิ สสนากรรมฐาน ใหอยกู บั ขวา- ซาย พอง-ยุบ กไ็ มอยากอยู ดนิ้ รนไปหาอารมณต ามเดมิ เหมือนปลาท่ถี ูกนําออกจากแหลง นาํ้ มา ปลอยไวท ี่สวนอุทยานปา ถึงแมจ ะเยน็ รมรืน่ กด็ ้นิ รนไปหานาํ้ ดงั เดมิ เพราะอารมณตา ง ๆ เปน ท่ี อาศัยของจิตเหมือนปลามที อี่ าศยั คือน้ํา ใหเ ปลีย่ นที่อาศยั ใหมกต็ องตอตา นเปน ธรรมดา น่คี อื เรอ่ื ง ปกตขิ องจิตทต่ี องทาํ ความเขาใจเปนอนั ดบั แรก หากมาฝก ใหอ ยกู บั ขวา-ซา ย พอง-ยุบ จงรวู า จติ มัก ไมยอมอยกู บั อารมณก รรมฐาน มีวธิ ีการอยา งไรที่จะทาํ ใหจติ ยอมอยกู บั อารมณก รรมฐานน้ี ทา นมี ขอ อปุ มาเปรยี บเทยี บไววา เหมอื นโคหนมุ ที่นายโคบาลปลอ ยใหไปกนิ หญา ท่ีทุง กวา ง พบโคสาวก็ ชอบใจเขาไปคลอเคลีย จนติดโคสาวไมยอมกนิ หญา นายโคบาลเห็นโคของตนไมยอมกนิ หญา กลัววา จะผอมแหง แรงนอ ย ใชไถนาไมไ ด จึงจบั โคหนุมนั้นใชเ ชอื กผกู ไวทเี่ สา ในเบื้องแรก โค หนุมที่ถกู ผูกมดั ไวจ ะดนิ้ รน เดนิ บา ง นัง่ บา ง เหลียวซา ยแลขวา สงเสียงรองไมยอมอยูเ ฉย จนใน ที่สดุ ก็เหนื่อยหมดแรง ดน้ิ รน ยอมกนิ หญา ขอ นฉ้ี ันใด จิตก็ฉนั น้นั ครน้ั มาปฏบิ ตั ิ พระวิปสสนา จารยบอกใหใ ชเชือกคือสติจับกาํ หนดจิตนนั้ ในเบอ้ื งแรกจะจบั ไดบ า ง จับไมไ ดบาง เพราะจิตยังซดั สายออกไปหาอารมณอยู แตถ าผปู ฏิบัตติ ั้งใจจบั กําหนดวา “คิดหนอ ๆ” “นกึ หนอ ๆ” อยูเรอื่ ย ๆ ใชเ ชอื กคอื สตจิ บั ผกู ไวท ี่เสาคือหลกั หลกั ในทนี่ ี้คอื กาย เวทนา จติ ธรรม ในท่สี ดุ จติ ก็หมดฤทธ์สิ ิน้ พยศ ยอมอยกู บั หลกั นนั้ นัน่ เอง ปรากฏการณท างจิตอยาคิดสงสัย เมอ่ื ฝก จับจิตใหอ ยูกับหลักไดมากข้นึ จติ กส็ ามารถแสดงผลใหเ ห็นเปน ปรากฏการณต าง ๆ ดงั ที่ผูปฏิบตั ิบางคนเหน็ นมิ ติ สสี นั แสงตาง ๆ เพราะจติ มสี มาธิ สามารถเนรมิตหรอื สรา งภาพตา ง ๆ ใหป รากฏได ตองกาํ หนดวา “เห็นหนอ” อยาไปเพลิดเพลนิ พอใจอยกู บั ภาพหรือสสี นั แสงตา ง ๆ ที่ จติ เนรมติ หรอื สรา งภาพขน้ึ มานน้ั จิตท่ีมสี มาธจิ ะเกิดพลังเหมอื นแมเหลก็ ทป่ี ระกอบดว ยมวลสาร ละเอียดมาก มีพลงั ดงึ ดดู เหลก็ เขา มาติดกับตัวได จิตกด็ งั นนั้ เม่ือมสี มาธมิ ั่นคงรวมพลงั กันเตม็ ที่ จะ ดึงภาพตาง ๆ เขา มาปรากฏทางตา บางครง้ั เปนภาพทเี่ ราไมเคยพานพบมากอน ทาํ ไมเกดิ ปรากฏให เห็นได ผูปฏบิ ตั บิ างทา นนกึ สงสัย ถา อยากทราบสาเหตุจะอธบิ ายวา ตามแนวทางอภิธรรมไดจ าํ แนกจติ ไว ๒ ระดบั คอื ๑. ภวังคจติ ๒. วิถจี ิต ภวงั คจิตคอื จิตใต สํานึก วิถีจติ หรือจติ เหนอื สาํ นกึ ขอนําไปเปรียบเทียบกบั นกั จิตวทิ ยาชาวออสเตรเลยี คนหนึ่ง ชอื่ ซกิ มัน ฟรอยด เขากลา ววา มจี ติ อยู ๒ ระดบั คอื จติ ใตส าํ นกึ (Id) จิตเหนอื สาํ นกึ (Ego) และจติ มโนธรรม (Super Ego) ภวงั คจิตเทากบั จติ ใตสํานกึ วิถีจิตเทากบั จติ เหนือสํานกึ อปุ มาเหมอื น

64 นํา้ แขง็ กอ นโต ๆ ลอยอยใู นน้ํา นํ้าแขง็ กอ นโตนัน้ จะจมลงไปในนํ้าเกอื บหมด เหลือเพียงผิวนา้ํ แขง็ โผลพ น นา้ํ นดิ เดยี ว เปรยี บเทียบใหเ ห็นวา สว นทจี่ มลงไปในนํ้านัน้ เปรียบเปน ภวังคจติ คือจิตใต สาํ นึก สวนทโ่ี ผลพน น้ําเพียงนอยนดิ เปน วถิ ีจิตคอื จิตเหนอื สาํ นกึ ภาพตา ง ๆ ไดถ กู เกบ็ ไวภ ายในจิต ใตสํานกึ นน้ั หรือจิตใตสาํ นกึ ไดท ําหนาทเี่ กบ็ ภาพตา ง ๆ นัน้ ไว ไมเ ฉพาะในปจจบุ นั ชชาตนิ ้เี ทาน้ัน ในอดตี ชาติอกี นบั ไมถ วน เพราะจิตมธี รรมชาตเิ กบ็ สะสม ดังบทวเิ คราะหว า “อตฺตโน สนตฺ านํ จโิ น ตตี ิ จติ ตฺ ํ ธรรมชาติท่สี ะสมความหนาแนน ของตนช่อื วา จิต” ครั้นผปู ฏิบัติสามารถปรับจิตใหมสี มาธิไดในระดับหนึง่ กเ็ ทา กับไปเปด ประตูใหภ าพตา ง ๆ ภายในจติ ใตสาํ นกึ นนั้ แสดงตวั ออกมาปรากฏ บางครง้ั จงึ เปนภาพทเ่ี ราไมเคยพานพบมากอ น น่คี อื สาเหตุทที่ าํ ใหเ ราไดเ หน็ ภาพตาง ๆ อยา งไรก็ตาม ผปู ฏิบตั ไิ มค วรไปสบื สาวหาสาเหตวุ า มาอยา งไรไปอยางไร เพราะการไปสืบ หาสาเหตุนนั้ จะทําใหผูปฏบิ ตั พิ ลัดออกไปจากการกาํ หนด ตกไปสูหว งแหงอดีต คิดหาสาเหตวุ ามนั มาจากไหน คอื อะไร บางคนบางทานไปทกึ ทักวาเปนเร่ืองกรรม เลยตอ งหาทางไปแกกรรมดว ยวธิ ี ตา ง ๆ ในเรื่องการแกก รรมน้ขี อใหผ ปู ฏิบัตทิ าํ ความเขาใจวา สาํ นกั วปิ ส สนาวเิ วกอาศรม ชลบุรี มิได สอนเรอ่ื งกรรมฐานแกก รรม แตสอนเนน การกาํ หนด ไมต องสนใจวา จะมาอยางไรจะไปอยา งไร ปรากฏขน้ึ มาก็กําหนดเทานน้ั หากมวั ไปคดิ วาเปน กรรมเปนเวร คอยหาทมี่ าทไี่ ป จะพลาดออกจาก การกาํ หนดไมอ ยูก ับปจ จุบนั อารมณ และกรรมฐานก็รั่วออกไป นอกและในเปน ปจจยั ใหแ กก ัน เม่ือกา วเขา สวู ปิ ส สนาวถิ ี กม็ คี วามจาํ เปนทจี่ ะตองรูขอบขายของการปฏิบัตวิ ามขี อบขาย เทาไหร กลา วถงึ ภาคปริยัตทิ ่ที านจําแนกขอบขายของการปฏบิ ตั ิในแงข องอารมณเ พอื่ นาํ มา ประกอบการกาํ หนด มอี ยู ๖๓ อารมณ เรียกวา วปิ ส สนาภูมิ ๖ ไดแ ก ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรยี  ๒๒ อริยสจั ๔ และปฏจิ จสมปุ บาท ๑๒ เหลา นเี้ ปน ขอบขายท่ผี ปู ฏบิ ัตจิ ะตอ งไตไ ป ตามลําดบั เริม่ ต้งั แตข นั ธ ๕ จนถงึ ปฏิจจสมปุ บาท ๑๒ ในเบ้อื งตน ขอบขายของผูปฏิบตั ใิ หมคือ อะไร คือขนั ธ ๕ ทาํ ความเขาใจงา ย ๆ วา รา งกายอันกวา งศอกยาววาหนาคบื มวี ญิ ญาณครองเรยี กวา รูป-นามน้เี องคอื ขอบขา ย ใหกลับมาดูรูป-นามของตน อยา ไปดูรปู -นามของคนอ่นื มาใสใจ ไตรต รองมองดูและกาํ หนดรูอ ยางจดจอตอ เนื่อง หากมวั ใสใ จไปมองคนอน่ื จะออกไปจากขอบขา ย น้ี หากสนใจในรา งกายอนั กวางศอกยาววาหนาคืบของตนนี้ กอ็ ยใู นขอบขายของวปิ ส สนา กรรมฐานโดยแท ดงั กลาวนเี้ ปน การปฏบิ ตั แิ บบอัตนยั มใิ ชปรนัย คือใหความสําคัญตอการดูภายใน มิใชภายนอก ภาษาปรัชญาเรียกวา Subjective และ Objective ในสวนของปรัชญา นัก ปรัชญาบางคนใหความสาํ คญั ตออัตนยั ปฏเิ สธปรนัย บางคนใหค วามสําคญั ตอปรนยั มากกวาอัตนยั

65 ก็ตามแตทรรศนะของแตล ะทา น แตส าํ หรับวปิ สสนากรรมฐานจะใหค วามสําคญั ตอ อัตนยั คือดู ภายในใสใ จตนมากกวาปรนัยคือดภู ายนอกสนใจคนอน่ื อยา งไรกต็ าม เราไมอาจปฏิเสธปรนัย คอื ปจจยั ภายนอกทีเ่ ขามามสี ว นรวมในการปฏบิ ตั ิ เพราะหมวดหมูหน่งึ ทีแ่ สดงถึงปจจัยภายนอกโดยตรงคอื ธมั มานุปส สนาสติปฏฐาน ไดแก รปู เสยี ง กล่นิ รส สมั ผัสทางกาย และอารมณท างใจ เหลานเ้ี ปจ ปจจัยภายนอกท่เี ขา มาเกยี่ วขอ งใหเ กิดการ รับรู เรียกเปนภาษาวิชาการวา ปฏิสมั พนั ธ (Interaction) คือปฏกิ ริ ิยาโตต อบกันระหวาง อายตนะภายในคือ ตา หู กบั อายตนะภายนอก คอื รูป เสียง ซ่ึงจะตองมาทําความเขา ใจใหช ดั เจนวา ควรปฏบิ ัติอยา งไร ในเร่อื งของรูป เสยี ง กลนิ่ รส สัมผสั ทางกายและอารมณท างใจ จัดเปน อายตนะ ภายนอกเขา มาสมั พันธก นั กบั อายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เชน รปู มาสัมพนั ธก บั ตา ก็ เกิดการเหน็ ในเรอื่ งการเหน็ ไดย นิ ล้มิ รส สัมผัสถูกตอ ง และการรบั รูท างใจ เหลา นมี้ ขี อแตกตางกนั อยใู นระยะหา งตางก็ปรากฏ ตามแนวทางอภิธรรมแสดงถงึ รปู วิภาคนยั คอื การจาํ แนกแจกแจงในเร่ืองรายละเอยี ดของ รูปไวว า รูป เสียง กลนิ่ รส ก็กําหนดวา “รหู นอ” ในสว นของการไดกลิน่ ลมิ้ รส สัมผัสถกู ตอง และ การรบั รูท างใจ จงึ ตองกาํ หนดตรงท่ีถูกกระทบท่เี กิดการรบั รูน้ัน ๆ วา “ไดกล่ินหนอ” “รรู สหนอ” “ถูกหนอ” “รูหนอ” ประเดน็ สาํ คญั คือการเห็น การไดย นิ ไดก ลิ่น ล้มิ รส สมั ผัสถูกตอง และการรเู หลา นี้ จะตอง ปฏิบตั เิ พียงสกั แตวาเห็น ไดย นิ ไดกลน่ิ ลม้ิ รส สมั ผสั ถกู ตอง และรเู ทาน้ัน ไมลว งเลยไปมากกวา นน้ั ดังพระพทุ ธดาํ รัสวา “ดกู รมาลกุ ยบตุ ร ในบรรดาธรรมทมี่ กี ารเหน็ ไดยนิ ลิ้มรส สัมผัสถูกตอ ง และรู เหน็ กส็ ัก แตว า เห็น ไดย นิ ก็สกั แตว า ไดยนิ ล้ิมรสกส็ กั แตว าล้มิ รส สมั ผสั ถูกตอ งกส็ ักแตวา สัมผัสถูกตอ ง รู ก็สกั แตวา ร”ู ไมรวู า เปน อะไรก็ไรป ญหา เม่ือเขา ไปกําหนดการเหน็ กด็ ี การไดย นิ กด็ ี ตองกําหนดเพียงสกั แตว า คือไมเขาไปสาํ คัญ ม่นั หมายวา เปน รปู เสียงอะไร เปนรปู ผหู ญิงหรือรปู ผูช าย เปนเสยี งผูหญิงหรือเสยี งผูช าย ไมเ กดิ การ ปรงุ แตง ใดใด ในขอทว่ี าปฏบิ ัตเิ หน็ กส็ ักแตว าเหน็ นี้ มกี ารปฏิบัตอิ ยางไร พระวิปสสนาจารยไดสบื ทอดมาวา ในขณะท่ีเห็นจะลมื ตาเต็มตาไมได เพราะถา ลืมตามองเต็มตาจะเหน็ เปนรปู ผูหญงิ รปู ผชู ายทันที และเกดิ การปรุงแตงทันใด ไมอาจกาํ หนดสกดั กนั้ รปู ผูหญิงหรือรูปผชู ายนน้ั ได จงึ ใหหร่ี ตาลงครึ่งหนงึ่ จนเห็นรูปท่ปี รากฏนนั้ เพยี งราง ๆ มวั ๆ ไมปรากฏชดั เหมือนคนสายตาสั้นประมาณ ๒๗๕ – ๓๐๐ ท่ีมองพรามัวเบลอ ๆ ดไู มอ อกวาหนาตาเปนอยางไร นนั่ แลใหก าํ หนดวา “เหน็ หนอ

66 ๆ” จึงจะเปน เพียงสกั แตวาเห็น การไดย นิ กเ็ ชน กัน แตในเรื่องการไดยนิ ทา นไมใ หรายละเอยี ดวา ควรทาํ อยา งไร ใชส ําลีอดุ หูหรือก็ไมใ ช บอกแตว า เสียงก็สกั แตวา เสียง อยา ไปรวู า เสียงเพราะ หรอื ไมเพราะ สว นการไดก ลนิ่ ลม้ิ รส สัมผัสถูกตอ งและการรูกใ็ หปฏบิ ัตติ ามทแี่ สดงมาน้ี จะเห็นไดวา การปฏิบตั ิในหมวดของธมั มานุปสสนาสติปฏฐานน้ัน จะตองเกีย่ วเนอื่ งกับ อายตนะ คือตากบั รปู หกู ับเสียง จมกู กบั กล่ิน ลนิ้ กับรส กายกับสง่ิ สัมผสั ถกู ตอ ง ใจกับธรรมารมณ ซึ่งมคี วามสมั พนั ธกนั ทีต่ องปฏบิ ตั ิโดยตรง การปฏบิ ัติธรรมกอ็ ยูตรงนนี้ ่ีเอง ทํากนั ไดหรอื เปลา ได ยนิ ก็เพยี งสักแตว า ไดย นิ ไมรับรอู ารมณปรงุ แตง อะไร การทถี่ ูกดาวาเกิดโกรธขนุ เคืองคับแคน ปลอ ยใหจิตคดิ ปรุงแตงจนลกุ ลามกลายเปน เรือ่ งใหญโ ต เพราะวา เราไมไดย นิ สกั แตว าไดย นิ ถาจะ แกปญหาใหถ กู จุด ตอ งแกป ญ หาตรงทไ่ี ดย ินนี้ กาํ หนดวา “ไดยนิ หนอ ๆ” เทา น้ันกจ็ บ แตเ พราะเราไมสามารถกําหนดไดอ ยา งน้ี จงึ เกดิ ปญ หาเปน เรื่องเปนราว คอย เกบ็ มาครนุ คิดอยวู า เขาวาเรา เขาดาเรา ปญหาจึงไมอ ยทู ี่หู แตม าอยทู ่ีใจ ถา จะแกก ันก็ตอ งแกทใ่ี จ โกรธตอ งกําหนดโกรธหนอ ไมพ อใจกไ็ มพอใจหนอ ยายจดุ มาแกทใี่ จ บางทรี นุ แรงจนสงบระงบั ไมลง เพราะเปน การแกปญ หาที่ปลายเหตมุ ิใชต น เหตุ ถาจะแกทีต่ น เหตใุ หถ กู จดุ ตอ งแกท ี่หู เคยได ยนิ บางมย้ั “ระวงั หูของเราจะดกี วา เฝา ดปู ากคนอืน่ ” ครงั้ หนง่ึ อาตมาไปอบรมขาราชการตาํ รวจระดบั สารวัตรรนุ ที่ ๕๓ ท่ีวดั เน่ืองจาํ นง ชลบุรี ยามเชา ไดพ าตาํ รวจทั้งชายและหญิงจาํ นวนมาก ประมาณ ๑๐๐ กวา คน เดินจงกรมรอบสระนํ้าใหญ โดยแยกออกเปน ๒ ฝาย อาตมานาํ ฝายหนง่ึ เดนิ ไป อกี ฝา ยหนงึ่ กม็ ีพระรูปหน่ึงเดนิ สวนมา ในขณะ เดนิ อาตมาสาํ รวมสายตาโดยหรีต่ าลงครง่ึ หนึง่ มองไมเ หน็ วาเปน หญงิ หรอื ชาย กําหนดวาขวายาง หนอ ซายยา งหนอไปเรอื่ ย ๆ เดนิ ไดส กั ระยะหนึ่งไดก ลิน่ น้าํ หอมชัดมาก รทู นั ทวี าทปี่ รากฏเบอ้ื ง หนานนั้ เปน ผหู ญิงแนน อน เดินรอบสระนา้ํ เสร็จแลวก็พาเขา มาภายในศาลาปฏิบตั ิธรรม อาตมาเลา ใหผูฝก อบรมฟง วา “อาตมาไดนําพาทานท้ังหลายเดินจงกรมรอบสระนาํ้ ในยามเชานี้ ในขณะทเี่ ดนิ จงกรมอยู นัน้ กําหนดวา “ขวายา งหนอ ซายยา งหนอ” ทอดสายตาไปขางหนา ประมาณ ๓-๔ ศอก ไมสนใจผู ท่ปี รากฏอยูเบอ้ื งหนา วา เปน หญิงหรือชาย นี้คือการปฏบิ ตั ิทางตาดวยการสํารวมระวัง หากปฏิบตั ิได เชน นกี้ เิ ลสจะเขา มาแทรกไมไ ด เพราะไมร บั รอู ารมณและไรก ารปรงุ แตงใด ๆ แตครน้ั เดินไปไดส กั ระยะหนงึ่ ไดกลิ่นนํ้าหอมชดั มาก แสดงวา คนท่อี ยูเบ้ืองหนานั้นเปน สตรเี พศอยางแนน อน” ในยามเยน็ มีจดหมายมาฉบับหน่ึงเขียนวา “ในขณะทีเ่ ดินจงกรม ทานบอกวากําหนด “ขวายางหนอ ซา ยยา งหนอ” ไมเ ห็นเปน หญงิ หรือชาย แตครนั้ มกี ล่นิ เขามาทานกลับรูวา เปนผหู ญิง และหอม แสดงวา ทา นยงั มีกิเลสอย”ู อาตมาตอบวา “โยมก็เหน็ อาตมาเปน พระหนิ พระปนู ไปได ถา ไดกล่นิ ก็ไดกลิน่ หนอ ถา หอมกห็ อมหนอเทา นั้นเอง ไมม ีอะไร”

67 นัน่ คอื การปฏิบตั ติ รงตอรูป เสยี ง กลนิ่ รส สิ่งสัมผัสถูกตอ งและอารมณท างใจ ซึง่ จะตอง หยดุ เพียงเทานั้น เพราะถา ไมห ยุดเพียงเทานัน้ จะเปน อันตราย เกดิ การปรงุ แตง และกเิ ลสก็จะตามมา เปนพรวน ในทีน่ ีท้ า นมีอุปมาเปรียบเหมอื นการไปเรยี นขับรถ ในสถานท่ีบางแหง มีปายตดิ ไวว า สอน ขบั รถ มคี รูฝกสอนขบั รถอยู ครสู อนจะมานงั่ อยูใกล ๆ และฝกใหข บั รถไป ฝก หดั ขับไดส ักระยะ หนึ่ง ครฝู กกใ็ ชช อลคขีดทาํ เครือ่ งหมายวา ถาถึงตรงทข่ี ีดเสนน้จี ะตอ งหยุดรถเบรกทนั ที แรก ๆ ผฝู ก ขบั รถใหมข บั ไปถึงที่ ๆ ทาํ เคร่อื งหมายไว ก็หยดุ ตรงบางไมต รงบาง ถา หยุดตรงถอื วา ปลอดภยั ถา หยุดไมตรง เลยไปจะประสบอุบัตเิ หตุ รถไปชนรถคนั อ่ืน หรอื ชนสง่ิ กีดขวางขา งหนา จะตองหยดุ ใหไดระยะตรงทีน่ นั้ เทา นน้ั จงึ จะปลอดภัย ขอ นีฉ้ นั ใด ในการปฏิบัตกิ ็ฉนั นน้ั การใหก าํ หนดวา เหน็ หนอกด็ ี ไดย นิ หนอกด็ ี เพยี งสกั แต วาเหน็ และไดย นิ เทา นน้ั หยดุ อยแู คนน้ั อยาเลยเถดิ ไปปรุงแตงตอ ถาไปปรงุ แตง ตอ กเิ ลสจะเขา มาทํา อันตรายได ธรรมกวางใหญอ ยูท ีใ่ ดก็มีธรรม ในหมวดของธมั มานุปส สนาสตปิ ฏ ฐานนี้ ไมมเี พยี งเหน็ ไดย นิ ไดก ลิ่น ลม้ิ รส สมั ผสั ถูกตอง และรับรูเทานัน้ ยงั มีขอบขายทก่ี วางมากกวา น้นั แทจ รงิ ธัมมานุปสสนาสตปิ ฏฐาน มี ขอบขายกวา งกวาสตปิ ฏ ฐานทั้งหมด ในกาลกอนท่พี ระอาจารยภ ทั ทนั ตะอาสภะเถระ ซึ่งเปน พระ อาจารยใหญฝ า ยวิปส สนาธรุ ะ ยังพาํ นักอยู ณ สาํ นักวิปสสนาวเิ วกอาศรม ทหี่ นา กุฏิของทา นมี รูปภาพหนงึ่ แขวนไว คอื ภาพของแมโ คยนื ใหน มแกล กู โค ๓ ตวั เปน ภาพปริศนาธรรมบงบอกวา ในบรรดากาย เวทนา จติ ธรรมนั้น กาย เวทนา จติ เปรียบเปนลูกโค ๓ ตวั สว นธรรมเปรียบเปนแม โค มีความหมายวา แมโ คใหญก วา ลกู โค ๓ ตวั ธรรมกวา งกวา กาย เวทนา จติ และครอบคลุม ทงั้ หมด ธมั มานุปส สนาสติปฏฐาน จงึ มขี อบขา ยกวา งใหญ คงไมอ าจอธบิ ายไดท ัง้ หมด ขอนาํ อารมณในธัมมานปุ ส สนาหมวดหนง่ึ มาแยกอธบิ ายกอ น น่ันคือ นวิ รณธรรม ๕ ประการ ๑. กามฉันทะ คอื ความพงึ พอใจในกามคณุ ทัง้ ๕ ไดแ ก รูป เสยี ง กลนิ่ รส สมั ผสั ถกู ตอง และการรับรทู างใจ ที่นาปรารถนานา ใครน า พอใจ ๒. พยาปาทะ คือ ความขุนเคอื งอาฆาตมาดรา ย ตองการแกแ คน กระทาํ ตอบ ๓. ถีนมิทธะ คือ ความงว งเหงาหาวนอนเซ่ืองซึม หดหู ทอแททอ ถอย ๔. อทุ ธจั จกุกกจุ จะ คอื ความฟุง ซานราํ คาญใจ หงดุ หงิดงนุ งาน ๕. วจิ ิกิจฉา คอื ความเคลือบแคลงสงสยั ลงั เลไมม ่ันใจ

68 เหลา น้คี อื ธรรมเปนเคร่อื งกางกนั้ ผูป ฏบิ ัติมิใหประสบผลดีทางการปฏบิ ตั ิ ในทีน่ ีข้ ออธิบาย นวิ รณธรรมเพยี ง ๒ ตวั คือ ถีนมิทธะ และอุทธจั จกุกกุจจะเทา นนั้ เพราะเหน็ วา เกีย่ วขอ งกบั ผูป ฏิบัติ โดยสว นมาก นวิ รณธรรมก้นั กลางอยา วางเฉย ในบรรดานวิ รณธรรมทั้ง ๕ ประการ นิวรณธรรมตัวใดทไ่ี มเ ปด โอกาสใหกําหนด ตวั อนื่ ๆ ยงั เปดโอกาสใหก าํ หนดไดบ าง แตน วิ รณธรรมตวั นจี้ ะปด โอกาสการกําหนด หากมีปริมาณมากเขา มาแทรกแซงครอบงาํ แลว สติสัมปชัญญะจะออ นกาํ ลงั ลงจนกาํ หนดไมไ ด ตกเขาสหู ว งของโมหะ ทันที นั่นคอื ถนี มิทธะ ถนี มิทธนิวรณน ้มี อี ยู ๓ ระดบั คอื ตน กลาง สูง ระดบั ตน ๆ ยงั ไมเ ทา ไหร กําหนดได ระดับกลางพอทนไหว ตานทานอยู แตระดับสงู มกี ําลังมากจรงิ ๆ ตา นทานไมไหวเอาไม อยู มีผูปฏบิ ตั ธิ รรมเปนพระรูปหน่งึ เลา ใหฟ ง วา “เจอถีนมทิ ธนิวรณใ นระดับท่ีโงกงว งมาก เดินยงั จะหลับ นั่งทไ่ี หนกจ็ ะหลบั ทา เดียว นอน ๔ ช่ัวโมงก็งวง นอน ๘ ชัว่ โมงยงั งว ง เดินเรว็ มาน่งั ยังงว ง อกี ตองว่งิ ว่ิงมานัง่ ก็ยงั งว งเหมอื นเดมิ เอ ทําไมมันถงึ งวงขนาดนนี้ ะ เอา เปน ไงเปน กัน นาํ อา งน้าํ ใหญ ๆ มาเทนํ้าใสประมาณคร่ึงอาง เดนิ เสร็จแลวก็ลงมานง่ั แชในอา งน้ํานั้น ขนาดนั่งแชน้ําอยูอยา ง นน้ั ยงั งว งซมึ คอย ๆ กม ลง ๆ บมุ จมลงไปในนา้ํ ศีรษะจมอยูใ นน้าํ อยางนัน้ ยงั จะหลับเสยี ใหไ ด รบี เงยหนาขน้ึ มา ถอนหายใจ เฮอ โอไมไ ดเดย๋ี วตายแน” นนั่ คอื ความรนุ แรงของถนี มทิ ธะท่ไี มธ รรมดา ญาตโิ ยมอาจจะไมเ ช่ือ แตอ าตมามีพยาน บุคคลคอื คณุ ชัยวัฒนน ่ังอยมู มุ โนน มาบอกวา “จรงิ ครบั พระอาจารย ผมใชฝ ก บัวรดหนายังจะหลบั เลย” ถีนมทิ ธะเปนเร่อื งทีย่ อมกนั ไมได งว งขึ้นมาอยาไปนอนเดด็ ขาด ถา ยอมไปนอนหลบั ถือวา แพอยา งราบคาบ และมนั จะสะสมกาํ ลงั เขา ไป ตอ งต่นื ตวั กระฉับกระเฉงขะมกั เขมน มากขึน้ อยาทาํ เปนออ ยสรอยออยอิง่ ถาออ ยสรอ ยเด๋ยี วเสร็จมนั แน ตอ งขงึ ขงั ตง้ั ใจประกอบความเพียรอยา งเตม็ กาํ ลงั ขนื ปลอ ยไว ถีนมทิ ธะนจ้ี ะชกั ชวนพรรคพวกเขา มา คือความหดหู ทอแททอถอย เหนอื่ ยหนา ย เกียจคราน ซึ่งอยูในฝายของโมหะ เอาไปเอามาเลยละทิ้งการปฏบิ ัติหาทางนอนลกู เดยี ว การแกปญหาถีนมิทธนิวรณ มีวิธปี ฏบิ ตั ิดังตอ ไปนี้ ๑. น่งั ต้ังกายตรงดาํ รงสติใหม ัน่ ต้ังใจกาํ หนด “พองหนอ” “ยุบหนอ” ความงว งเริม่ จะเขา มาแทรกซึมรบี กาํ หนดทนั ทวี า “งว งหนอ ๆ” กําหนดแบบหนักเนน ถแี่ รง อยา ไปกําหนดแบบหา ง ๆ วา “งว งหนอ...งวงหนอ...” เอาไมอ ยูห รอก คํานับแน ๆ คาํ นับ ๑ งกึ คาํ นบั ๒ งกึ คาํ นบั ๓ งกึ อยาออมกําลงั ตอ งเพิ่มพลังการกาํ หนดเขา ไปเตม็ ท่ี ๒. กําหนดจิต หากกําหนดทค่ี วามงวงยงั เอาไมอยู กห็ นั มากาํ หนดจิต ปกตกิ อนจะหลับจะมี ความคิดบาง ๆ เกดิ ข้นึ แลว เร่มิ สะลมึ สะลอื ใหก ําหนดทคี่ วามคดิ น้นั ทนั ทวี า “คิดหนอ ๆ”

69 ๓. เดนิ ใหม าก นง่ั เทา ทจ่ี ะนั่งได ถึงกําหนดอยอู ยางนัน้ ยงั เอาไมอ ยจู ะตอ งลุกขนึ้ เดินจงกรม ทันทอี ยาไปนง่ั ตอ เดินใหมากขน้ึ นงั่ ใหนอ ยลง เดิน ๔๕ มานัง่ ไดไ มถ ึง ๕ นาที งวง ตองลุกขน้ึ เดนิ เลย เดินแลว มาน่งั ใหมไ ดแค ๖-๗ นาที งว งเหมือนเดิม กต็ องลุกขึน้ เดนิ อีก ๔. ไปปด กวาดเชด็ ถูหรือยกของหนกั ๆ หากอยใู นหองกรรมฐานคอ นขางมดื ทึบไมสวาง ตา เปนเหตใุ หโ งกงวงอยู กอ็ อกจากหอ งนนั้ มาอยูในทโ่ี ลงแจง เดินจงกรม ไปปดกวาดเชด็ ถู “กวาด หนอ ๆ” “เช็ดหนอ ๆ” หรือยกของหนัก ๆ ใหเ หนด็ เหน่ือย มีเหงอื่ ออกมา แลว ไปอาบนา้ํ จะไดส ด ชน่ื ๕. ไมตองนง่ั ทําตามทั้ง ๔ ยังโงกงว งอยู ใหเดนิ อยางเดยี วไมต องน่ัง เหนอ่ื ยก็น่ังพกั สักครู แลวเดนิ ตอ ในขณะเดินจะเดนิ แบบท้งิ ๆ ขวา ง ๆ กาํ หนดบางไมกาํ หนดบางก็ไมเ ปน ไร ๖. นอนใหน อยลง ความโงกงว งเปน สภาวะไมเ กย่ี วกับนอนมากนอนนอย ดังน้นั อยานอน มาก นอนใหน อ ยลง รสู กึ ตวั เมอื่ ไหรลกุ ขนึ้ ทันทอี ยาไปนอนตอ ถา นอนตอจะเพม่ิ กาํ ลังใหแ กถนี มทิ ธะ ใหปฏบิ ัติตามวิธกี ารทัง้ ๖ นี้จนกวา เวลานง่ั จะขยบั ตวั ขนึ้ มาเทากบั เวลาเดินโดยไมง ว งซึม เลย นนั่ แหละจงึ จะหายจากถนี มทิ ธะ ตอมาคืออทุ ธัจจกุกกุจจะ ความฟุงซา นนกี้ ็ตัวราย ถา ปลอ ยใหเกดิ ขึ้นมาไมย อมกําหนดสกดั ก้นั ต้ังแตต น จะชักชวนพรรคพวกเขามาเหมอื นกนั คือ ความหงดุ หงดิ งนุ งานรําคาญใจ ขัดของเคอื ง ขนุ ซึ่งอยูใ นฝา ยของโทสะ พลอยพาลรีพาลขวางไมย อมปฏิบตั ิ ทวา ความฟุงซา นนี้ยังเปดโอกาสให กาํ หนดอยู มาทําความเขาใจกอ นวา ความฟงุ ซานกบั ความคิดแตกตา งกนั แตมาจากสมุฏฐาน เดยี วกนั คอื จติ จติ ทีค่ ดิ ไมม าก เรียกวาความคดิ แตจติ ทค่ี ดิ มากเรอื่ งนยี้ งั ไมเ สรจ็ เรอื่ งน้ันเขา มา เรอ่ื ง นัน้ ยงั ไมห ายเร่ืองโนน กเ็ ขา มาอกี วกไปเวยี นมาไมรูจ กั จบ เรยี กวา ความฟงุ หากจะกาํ หนดสกดั ความฟุงกอ น ตอ งกาํ หนดความคดิ วา “คดิ หนอ ๆ” อยา ปลอ ยใหคดิ ความคดิ จะมากข้ึนจนแตก ซา นจับตน ชนปลายไมถูก ไมร ูว า เรอื่ งไหนเปนเรอ่ื งไหน กลายเปนความฟุงเอาไมอ ยู ถาฟงุ แลว ตอ ง กาํ หนดใหมวา “ฟงุ หนอ” กาํ หนดแบบหนักเนน เหมอื นกันวา “ฟงุ หนอ ๆ” คนท่ีฟงุ ซานจนสงบ ระงับไมไ ด บางครั้งจะแสดงอาการพลุกพลา นหาทางระบายดว ยการพูดคยุ ในขณะปฏิบัตอิ นญุ าต ใหไ ปคยุ กบั พระวิปสสนาจารยเ ทา นั้น อยา ไปคยุ กับเพ่อื นปฏิบัติเดย๋ี วจะพากนั ฟุงอกี ฟุงคนเดยี วก็ พออยา ทาํ ใหคนอืน่ ฟุง ดว ย ถา นัง่ กาํ หนดไมไ หวจริง ๆ ก็นอนกาํ หนดใหห ลับไปเลย ดงั กลา ววาความฟงุ มาจากความคดิ การกาํ หนดวา “ฟุงหนอ” บางคร้งั จะเอาไมอยู เพราะ มาแกป ญ หาทป่ี ลายเหตุ ดงั น้ันอยาปลอ ยใหคิด ตองกําหนดท่ีความคดิ กอนท่ีจะคดิ มากจนเกินไป สว นการเดนิ -นัง่ เดนิ ใหน อ ยลงเพอ่ื ลดความเพียร นงั่ ใหม ากขนึ้ เพ่อื เพมิ่ สมาธิ การเดินและการนงั่ ดงั กลา วมานี้ เปนการเปล่ียนอิริยาบถซง่ึ จะเขาไปปรับวริ ยิ ะกับสมาธใิ ห พอเหมาะพอดี มิใหต วั ใดตวั หนึ่งเหล่อื มลาํ้ นําหนา ดว ยการเดินใหมากน่งั ใหน อ ยเพอ่ื ปรบั วริ ยิ ะให เทา กับสมาธิ และเดนิ ใหนอ ยน่ังใหมากเพอ่ื ปรับสมาธิใหเ ทากับวริ ยิ ะ เร่ืองของเวลาจึงไมจาํ กดั

70 ตายตัว ทงั้ นขี้ นึ้ อยกู บั สภาวะเปน ตวั แปร แตในเบอ้ื งตน กม็ ีความจาํ เปน ท่จี ะตอ งกาํ หนดเวลาดูกอ น วาจะเปน ไปไดห รือไม ควรปรบั อยา งไร วธิ ีการดงั กลาวนีเ้ รียกวา ปรบั อินทรยี  อินทรยี ไ มเหล่ือมล้าํ จะนําทางถกู การปรับอินทรยี ไมจ าํ เพาะวา ตองปรับวิรยิ ะกับสมาธเิ ทานนั้ หากแตต องปรบั ศรัทธากบั ปญ ญาดวย รวมแลว เปน การปรับอนิ ทรีย ๕ คอื ศรทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปญญา ปรับศรัทธากบั ปญ ญาและวริ ยิ ะกบั สมาธิใหเ ทาเทยี มกัน เรียกเปน ภาษาวิชาการวา ปรับอินทรยี ใหมดี ลุ ยภาพ อนิ ทรยี  ๕ หากเปรยี บเทยี บก็เหมอื นกับนวิ้ ทัง้ ๕ จะสงั เกตเหน็ วา นวิ้ โปงกับน้วิ กอยมีความยาวเทา ๆ กัน นวิ้ ชก้ี ับนว้ิ นางมีความยาวเทา ๆ กัน แตนิ้วกลางยาวกวาทุกนว้ิ สามารถนํามาเปรียบเทยี บกบั อนิ ทรีย ๕ ไดวา นว้ิ โปง เปรียบเปนศรทั ธา นวิ้ ชเ้ี ปรียบเปน วริ ยิ ะ น้วิ กลางเปรยี บเปนสติ นว้ิ นาง เปรียบเปนสมาธิ และน้วิ กอ ยเปรียบเปน ปญญา ศรัทธาคือนว้ิ โปง จะตองเทากบั ปญ ญาคือนิว้ กอย วิริยะคอื น้ิวชจี้ ะตองเทากบั สมาธิคือนวิ้ นาง แตส ติคือน้ิวกลางจะตอ งชไู ว สตยิ งิ่ มากเทา ใดยิง่ ดี เทานน้ั สติเปน ทพี่ งึ ประสงคของวิปส สนากรรมฐานโดยแท กลา วไดว า การปฏิบัตวิ ิปส สนากรรมฐาน คือการพัฒนาสติ สตติ อ งนาํ เปน ท่ี ๑ มิใชส มาธนิ ํา สมาธติ องเปน ที่ ๒ รองลงมาสตินน้ั เปนแหลงรวมใหก ศุ ลธรรมตา ง ๆ เกิดข้ึน อปุ มาเหมือนรอยเทา ชา ซึ่งรอยเทาทกุ ชนิดสามารถรวมลงทรี่ อยเทาชา งนน้ั สติเปน องคธ รรมใหญ ธรรมตาง ๆ จะมา รวมลงทสี่ ตนิ น้ั ปญญาเกดิ จากสติ ดงั คําพดู วา สตมิ าปญ ญาเกิด สติเตลดิ จะเกิดปญ หา ดวยเหตุน้ีสติ จงึ ทําหนา ทน่ี าํ ทางใหแกศรัทธา วิริยะ สมาธิ และปญ ญา อุปมาเหมอื นรถทีเ่ ทยี มดวยมา ๔ ตัว มนี าย สารถนี ง่ั ขบั อยคู อยลงแส มาตวั ที่ ๑ เปรียบเปน ศรัทธา มาตวั ที่ ๔ เปรียบเปน ปญญา มาตวั ท่ี ๒ เปรยี บเปนวริ ยิ ะ มาตวั ท่ี ๓ เปรียบเปน สมาธิ สวนนายสารถีเปน สตทิ าํ หนา ที่กําหนดทิศทางใหแ กม า ทัง้ ๔ ตวั นว้ี งิ่ ไป ถา มา ตัวใดวง่ิ เตลิดเลยไป นายสารถจี ะชักมา ตวั นน้ั ลงมาพรอมกบั ลงแสทีม่ า ตวั หน่ึงทชี่ าใหวง่ิ เรว็ ข้ึนจะไดทนั กัน ตัวใดเร็วก็ตอ งชักใหช าลงมา ตวั ใดชาก็ตอ งลงแสใหเ ร็วขนึ้ ไป สติจงึ ทําหนา ทคี่ วบคุมดูแลและกาํ หนดทิศทางให ถา วิริยะมากไปกด็ งึ ลงมาเพ่มิ สมาธเิ ขา ไป ถา สมาธมิ ากไปกด็ ึงลงมาเพิ่มวริ ิยะเขาไป ถา ศรทั ธามากไปกต็ องดงึ ลงมาเติมปญ ญาเขา ไป ถา ปญญา มากไปก็ดงึ ลงมา เติมศรทั ธาเขาไป เรือ่ งการปรบั อนิ ทรียน้ี จะปรากฏชดั ในรปู ของการเดนิ -น่ัง ถา ฟงุ ซาน ตอ งเดนิ ใหนอ ยนั่ง ใหม าก ถางว งเหงาหาวนอนเซ่อื งซึม ตอ งเดนิ ใหมากนั่งใหน อย จนกวา จะไมฟงุ ซานงว งเหงา หาวนอนเซ่ืองซึม และอยูในระดับเดยี วกัน คอื เดนิ ได ๓๐ นาที น่ังได ๓๐ นาที จงึ จะช่ือวา อินทรยี  สม่ําเสมอ แทจ รงิ ในเร่อื งการปรับอนิ ทรยี  ๕ นั้น ไมปรับเวลาแตป รบั สภาวะตา งหาก มไิ ดบ อกวา จะตอ งเดิน ๓๐ น่ัง ๓๐ นาทีเทา กนั ตลอด ไมเ ทากนั ไมไ ด หาเปน เชน นน้ั ไม ขนึ้ อยกู บั สภาวะ

71 มากกวา เพราะในครงั้ พทุ ธกาล พระภกิ ษุที่เรยี นกรรมฐานจากพระพทุ ธเจา ไปปฏิบตั ิธรรม ไมม ี นาฬิกาบอกเวลา เดนิ ไดสกั ระยะหนงึ่ เห็นวา พอสมควรกม็ านงั่ นง่ั ไดส กั ระยะหน่ึงเห็นวาพอสมควร กล็ กุ ขนึ้ เดนิ แตพระในกาลกอนทา นจะทราบไดดว ยตนเองวาอะไรขาด อะไรเกนิ เทา กนั หรอื ไม เทา กนั สามารถปรบั เองได จึงไมจําเปนตองมนี าฬกิ า แตป จจบุ นั นผ้ี ปู ฏบิ ตั ิกําหนดรูสภาวะของตน ไมไ ด จึงตองใชเวลาเปนเครอื่ งกําหนดกอ น เกดิ ปญหาคอ ยมาปรับแกก นั ทีหลงั เดินทางสายกลางจะกระจางธรรม การปรับอนิ ทรยี นั้น เพอื่ ใหอ ยกู ึ่งกลางอยา งพอเหมาะพอดมี ิใหโยกไปดานซา ย มใิ หย า ยไป ดา นขวา ซ่ึงเปน การปฏิบตั ิแบบมชั ฌมิ าปฏิปทา จะเห็นไดวา การปฏบิ ัตสิ ายน้มี ีการเดิน-นั่งทีส่ ลบั สบั เปล่ียนปรบั กนั อยใู นตวั มใิ ชไ ปเดินเปน ๓-๔ ช่วั โมง มานงั่ ๓๐ นาที หรือนงั่ เปน ๓-๔ ชัว่ โมง ไป เดิน ๓๐ นาที มใิ หทําเชนนัน้ จงึ ไดช อ่ื วา ปฏิบัตติ ามแนวมชั ฌมิ าปฏปิ ทา ผูทีป่ ฏิบตั ติ ามแนวมชั ฌิมาปฏปิ ทาจนประสบผลสําเรจ็ เปน เนตติ วั อยา งใหแ กเราทา น ทง้ั หลาย คอื พระโพธิสัตว พระองคประกอบความเพยี รอยา งย่งิ ยวด ดว ยการบาํ เพ็ญทกุ รกริ ยิ า (การ กระทําท่ียากลาํ บาก) โดยไมยอมเสวยพระกระยาหารจนพระวรกายซบู ผอมหมดเรีย่ วแรงกําลงั และ ลม สลบลง ครั้นทรงต่ืนฟนพระชนมขน้ึ มา ทาวสกั กเทวราชกเ็ สด็จมาดดี พิณ ๓ สายใหไดท รงสดับ ดังบทกวใี นพทุ ธประวตั ติ อนหนงึ่ วา เมือ่ นั้น ทาวสกั กเทวราช รวู า พลาดพลงั้ ไปไมสมประสงค รูมุนีมใี จไมตกลง พลันหายองคจ ากอาสนป ราสาทวัง มาดีดพิณสามสายผอ นคลายเศรา ขอองคเ จา จงสมั ฤทธพ์ิ ชิ ติ หวัง ดดี สายหนง่ึ ยานไปไมน า ฟง เสียงไมด งั กังวานหวานจบั ใจ ดดี สายสองกองดงั มฝิ ง จิต หาชวนชิดช่ืนชวี าพาหลงใหล ยนื สาํ เนียงเสยี งดงั พอฟงไป สายพณิ ไซรทีต่ งึ จงึ ขาดพลนั ตดิ สายสามเสยี งใสฟงไพเราะ แสนเสนาะเพราะพร้งิ ยงิ่ จับขวญั ชวนเคลบิ เคลม้ิ เจมิ ใจไปหลายวนั เพราะสายนัน้ มิขงึ ยานตึงไป เสยี งสายพิณดดี ดงั วงั เวงแวว ครนั้ ฟงแลวพระองคมิสงสยั จึงสอดสองมองเหน็ จบเจนใจ รูความนัยอยา งนัน้ ดวยปญ ญา เหมอื นบาํ เพ็ญความเพียรท่ีเวยี นกอ หากยานหนอหยอนไปก็ไรคา ยอ มไมพบสบแสงแหง อาภา แมนอุตสา หพ ากเพยี รหลายเวียนวนั หากเครง นักหนกั ไปก็ใชเหตุ เกิดอาเพศชวี าจะอาสัญ ยอ มไมสบแสงธรรมสองอาํ พนั ชีพตนน้ันคงดบั ลับลงเอย ตอ งเพยี รพอดดี ีดงั ทีว่ า มัชฌมิ าสายกลางใจวางเฉย หากหยอ น-ตึงนกั นะจงละเลย จะไดเ ชยช่ืนทางกระจางธรรม ฯ

72 เมอื่ พระองคทรงทราบวา การปฏิบตั ิจะตอ งมีความพอเหมาะพอดี ไมห ยอ นยานและเครง ตึง จนเกนิ ไป จงึ กลับมาเสวยพระกระยาหารบํารุงพระวรกายใหทรงมกี าํ ลัง และบําเพ็ญเพียรทางจติ ดว ยการปรบั ใหเกิดความสมดลุ ตามแนวมชั ฌมิ าปฏิปทา ในไมช า พระองคก็ทรงบรรลุอนตุ รสมั มา สัมโพธญิ าณ สําเรจ็ เปน พระสัมมาสมั พทุ ธเจา พระธรรมเทศนาในวันนี้ ไดแสดงถึงเรอื่ งอายตนะภายนอกมาสัมพนั ธกับอายตนะภายใน วา ควรกาํ หนดอยางไร และนวิ รณธรรมบางตัวท่ีไมค วรไวว างใจตองกาํ หนดอยางจรงิ จัง รวมทั้งการ ปรับอนิ ทรียใหเ กิดความพอเหมาะพอดตี ามแนวมชั ฌิมาปฏิปทาดงั กลา วนี้อยใู นขอบขา ยของธัมมา นปุ ส สนาสตปิ ฏฐาน หากทา นใดเขา ไปกาํ หนดรธู รรมตามที่แสดงมา กส็ ามารถกาํ จดั อภิชฌาและ โทมนัสไดดังพระพุทธดํารสั ที่อาตมาไดยกข้ึนเปน นกิ เขปบทในเบ้ืองตน วา ธมเฺ มสุ ธมฺมานปุ สฺสี วหิ รติ อาตาป สตมิ า สมฺปชาโน วิเนยฺย โลเก อภชิ ฌฺ าโทมนสฺสนตฺ ิ ฯ ภิกษุตามดูธรรมในธรรมอยู เพียรพยายามอยางมีสติสัมปชัญญะ กําจัดอภิชฌาและ โทมนสั เสยี ไดใ นโลก ฯ ดงั แสดงพระธรรมเทศนามากส็ มควรแกก าลเวลา ขอยตุ ิลงปลงไวแ ตเ พยี งเทา น้ี เอวํ ก็มี ดว ยประการฉะนี้

73 กณั ฑที่ ๗ ความแตกตา งระหวางสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน คนไทยสวนใหญจะชอบอทิ ธิปาฏิหาริย (แสดงฤทธิเ์ ดชตา ง ๆ) อาเทสนาปาฏหิ าริย (แสดง ดักใจ) สว นอนสุ าสนียปาฏิหารยิ  (แสดงใหร ูเหน็ ตามสภาพความจรงิ ) จะไมช อบ ดังทีเ่ ราเห็นกนั อยางดาษดื่นวา ชอบทําวัตถมุ งคลเคร่อื งรางของขลงั ปลกุ เสกเลขยันตใ หเ กดิ ฤทธ์เิ ดชอยยู งคง กระพัน เหลานอ้ี ยูในขา ยอทิ ธปิ าฏหิ าริย เมือ่ มาสอนอนสุ าสนยี ป าฏหิ ารยิ  กลา วคอื วิปสสนา กรรมฐาน ก็ไมชอบ เห็นวาจืดชดื เช่อื งชานา เบอ่ื หนาย ไมเหมอื นสมถกรรมฐานทมี่ เี ครอ่ื งอลงั การมา ตกแตง มีอภิญญาอันนา พศิ วงมาประกอบ ถาเปรียบเหมอื นอาหาร สมถกรรมฐานคอื อาหารปรุงดว ย เคร่ืองแกงมรี สเดด็ เชน ตม ยํา ผัดเผ็ด วิปส สนากรรมฐานคอื อาหารจดื ๆ ไมปรุงรสอะไร เชน ตมจดื ทอดไขไ มมีนาํ้ ปลา คนทงั้ หลายกต็ องชอบทานอาหารทปี่ รุงรสจึงจะเอรด็ อรอย สวนตม จดื ทอดไข ไมม นี าํ้ ปลากไ็ มอยากทาน นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทธฺ สฺส นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทธฺ สสฺ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพทุ ฺธสสฺ สมโถ จ วปิ สสฺ นา จ อสทิสภาวํ คจฉฺ ตตี ิ ฯ ณ บัดนี้ อาตมภาพจักไดแสดงพระธรรมเทศนา พรรณนาถึงความแตกตางระหวางสมถ กรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน เพื่อเปนเคร่ืองเจริญศรัทธา เพิ่มพูนปญญาบารมี ใหแกทาน สาธชุ นคนดี โยคีและโยคนิ ี ทัง้ ที่เปนคฤหัสถแ ละบรรพชติ กอนท่ีจะมาทําความรูจักหรือมาทําความเขาใจเกี่ยวกับกรรมฐาน ๒ สาย คือ สม ถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน ควรมาทําความเขาใจเก่ียวกับคําวา “กรรมฐาน” วาหมายถึง อะไร คําวา “กรรมฐาน” แยกออกเปน ๒ คํา คือคําวา กรรมะ + ฐานะ กรรมะหมายถึงการงาน ฐานะหมายถึงที่ต้ังอาศัย คําวา “กรรมะ” คือการงาน ในท่ีน้ีหมายถึงการงานทางรางกายและจิตใจ แตมีจุดเนนท่ีจิตใจมากกวา เพราะเปนงานยกระดับจิต ท้ัง ๒ คํามารวมกันเปนกรรมฐาน ไดความ เต็มตามความหมายวา ท่ีตั้งของการงานทางกายและจิต กลาวโดยสรุปวา กรรมฐานคืองานยกระดับ จิตเม่อื ตองการทาํ งานทางจิตหรอื ใหจิตมงี านทํา ก็มีความจําเปน ทจี่ ะตอ งมีหลกั อะไรบางประการมา เปนเคร่ืองยึดเหน่ียวเกาะเก่ียวไวมิใหจิตเรรวนหรือซัดสาย กรรมฐานจึงเขามามีสวนรวมโดยตรง กรรมฐานแยกออกมาเปน ๒ สาย คือสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน สมถกรรมฐานเปนไป

74 เพื่อความสงบ คําวา “สมถะ” แปลวา สงบ ดังมีรูปวิเคราะหวา “ปจฺจนึกธมฺเม สเมตีติ สมโถ การ ทําใหธรรมท่ีเปนขาศึก (นิวรณธรรม สงบ ช่ือวา สมถะ” สมถกรรมฐานจึงมีอุบายวิธีมากมาย เพ่ือใหเกิดความสงบ สมถะจึงเปนตัวสมาธิ ภาษาอังกฤษใชคําวา Calm Meditation หมายถึงสมาธิสงบนงิ่ สว นวปิ ส สนากรรมฐาน หมายถึงการเห็นประจกั ษแ จง ที่ผา นมาภาษาอังกฤษ ไดใชคําวา Insight Meditation คือสมาธิท่ีเจาะลึกในรายละเอียด แตคร้ันมาพิจารณาคําวา “ปสสนา” ก็ไมตรงกับคําวา Meditation ตรงกับคําวา Seeing มากกวา ดังนั้นจึงขอใชคํา วา Insight Seeing หมายถึงการเห็นรายละเอียดตาง ๆ ของรูป-นามอยางเจาะลึก เห็นอาการ อันหลากหลาย (Variety) ของรูป-นามอยางชัดเจน ดังมีรูปวิเคราะหวา “อนิจฺจาทิวเสน วิวิเธหิ อากาเรหิ ธมฺเม ปสฺสตีติ วปิ สฺสนา การเห็นธรรมท้ังหลายดวยอาการตาง ๆ อยางท่ีไมเท่ียง เปน ตน ชื่อวา วิปสสนา” วิปสสนาจึงมิใชตัวสมาธิ แตมีสมาธิเปนองคประกอบ อาศัยสมาธิมาเปน เครอ่ื งมอื เพื่อเกิดวปิ ส สนา สมถะมมี านานวิปส สนาเฉพาะกาลเทาน้ัน ในเบื้องแรกจะขอกลาวถึงประวัติความเปนมาของสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน กอนวา มีความเปนมาอยางไร สมถกรรมฐานนั้นมีมาแตกอนพุทธกาล ดังท่ีเราศึกษาประวัติศาสตร ของพระพุทธศาสนาไดทราบวา มีอสิตดาบส อาฬารดาบส และอุททกดาบส บําเพ็ญสมถกรรมฐาน สําเร็จฌานสมาบัติ แสดงใหเห็นวา สมถกรรมฐานมีมากอนท่ีพระพุทธเจาจะตรัสรู สวนวิปสสนา กรรมฐานมีเฉพาะในพุทธกาล กอนพุทธกาลก็ไมมี หลังพุทธกาลก็ไมมี ถาพระพุทธศาสนามีอายุ อยู ๕,๐๐๐ ป วิปส สนากรรมฐานจะมอี ายุเพียง ๕,๐๐๐ ป หลังจากน้ันก็ไมมีวปิ สสนากรรมฐาน มีแต สมถกรรมฐานเทาน้ันที่ยังดําเนินการตอไป เหตุใดวิปสสนากรรมฐานจึงไมมีกอนพุทธกาลหรือ หลังพุทธกาล เพราะวิปสสนากรรมฐานเปนพุทธวิสัย จุดสําคัญของวิปสสนากรรมฐานคืออนัตตา ในขณะที่สมถกรรมฐานหรือลัทธิความเชอื่ อยา งอ่ืนจะเชือ่ เรอื่ งอตั ตา ดงั กลาวกันวามีปรมาตมันเปน องคอมตะสถิตอยูอยางนิรันดร (อัตตวาทุปาทาน) จึงมีแตลัทธิอัตตา อนัตตาไมปรากฏ เพราะ อนัตตาน้ันเปดเผยไดยาก มิใชวิสัยของใครคนใดคนหน่ึง เปนพุทธวิสัยโดยตรง ดังพระอรรถกถา จารยกลาวไววา “การประกาศอนัตตลักษณะเปนวิสัยของพระสัพพันญูพุทธเจาเทาน้ัน มิใชวิสัย ของคนใดคนหน่ึง เพราะวาอนัตตลักษณะน้ันสุขุมคัมภีรภาพยิ่งนัก ไมปรากฏไดโดยงาย เหตุนั้น องคพระศาสดา เม่ือทรงแสดงอนัตตลักษณะจะแสดง อนิจจัง ทุกขังกอน จึงแสดงอนัตตาใน ภายหลงั ” ขอความดังกลาวน้ีเปนหลักฐานสําคัญท่ีบงบอกวา อนัตตาเปนวิสัยของพระพุทธเจาโดน เฉพาะ แมในกาลท่ีพระพุทธเจาทรงเสวยพระชาติเปนสรภังคดาบสบําเพ็ญปญญาบารมี ก็ไม สามารถแสดงอนัตตาได แสดงไดแตอนิจจังกับทุกขัง ซ่ึงยังเปนอนิจจัง ทุกขังแบบเทียมไมแท เชน

75 ถวยโถโอชามแตก ก็บอกวาไมเท่ียง หรือเกิดความเจ็บปวดบีบค้ันก็บอกวาเปนทุกข อนิจจังกับทุก ขังท่ีสรภังคดาบสแสดงเปนบัญญัติ (สมมติ) มิใชปรมัตถ (ตัวสภาวะ) เม่ือไมเห็นปรมัตถก็ไมอาจ เปดเผยอนตั ตา ดังนั้นพระพทุ ธเจา จึงแสดงอนจิ จงั ทกุ ขงั แท (ปรมตั ถสภาวะ) กอนเชื่อมเขาสูอนัตตา เปดเผยใหปรากฏ ศาสนาบรรดาหลายท่ีมีอยูในโลกนี้ลวนแตแสดงอัตตา มีเพียงพระพุทธศาสนา เทาน้นั ท่ีแสดงอนัตตา นค้ี อื ขอ แตกตา งทีม่ มี าแตเดมิ ทําไมในเมืองไทยไมนยิ มวิปส สนา ถาถามวา เมืองไทยในปจจุบันน้ี นิยมเจริญสมถกรรมฐานหรือวิปสสนากรรมฐาน มีสม ถกรรมฐานเทาไหร มีวิปสสนากรรมฐานเทาไหร เม่ือพิเคราะหตรวจสอบดูก็ประเมินผลตอบไดวา มีการปฏิบัติสมถกรรมฐานถึง ๗๐-๘๐ เปอรเซ็นต มีการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานเพียง ๒๐-๓๐ เปอรเซ็นต วิปสสนามีอัตรานอยกวาสมถะ เพราะวาในเมืองไทยไปศึกษาวิสุทธิมรรคหลักสูตรของ ประโยค ป.ธ. ๘ เพียงเลม ๑-๒ คือสีลนิเทศ สมาธินิเทศ วาดวยศีล สมาธิ เปนสมถกรรมฐานลวน ๆ ซึ่งพระพุทธโฆสาจารยรจนาดวยภาษาท่ีสละสลวยไพเราะ แสดงเน้ือหาไดอยางละเอียดถ่ีถวน จึง เกิดความพอใจไมประสงคจะเรียนเลา ๓ หรือเรียนเฉพาะชวงตน ๆ เพียงประปราย เลม ๓ นั้น คือ ปญญานิเทศ วาดวยปญญา เปนสวนของวิปสสนากรรมฐานโดยเฉพาะ พระพุทธโฆษาจารยแสดง ไดอยางละเอียดถี่ถวนดวยภาษาท่ีสละสลวยไพเราะเชนกัน แตเปนเรื่องอภิธรรม ไปศึกษาแลวก็ บอกวายาก เขา ใจลําบาก ดวยการศึกษาไมครบถวนกระบวนความน่ีเอง จึงเปนสาเหตุใหสมถกรรมฐานในเมืองไทย มมี าก วปิ สสนากรรมฐานมนี อ ย สาเหตุตอมาคือ คนไทยสวนใหญจะชอบอิทธิปาฏิหาริย (แสดงฤทธ์ิเดชตาง ๆ) อาเทสนา ปาฏิหาริย (แสดงดักใจ) สวนอนุสาสนียปาฏิหาริย (แสดงใหรูเห็นตามสภาพความจริง) จะไมชอบ ดังทเี่ ราเหน็ กนั อยา งดาษดนื่ วา ชอบทาํ วัตถมุ งคลเคร่ืองรางของขลังปลุกเสกเลขยันตใหเกิดฤทธิ์เดช อยูย งคงกระพัน เหลา นอ้ี ยใู นขายอิทธิปาฏหิ าริย เม่อื มาสอนอนสุ าสนียปาฏหิ าริย กลา วคอื วิปสสนา กรรมฐาน ก็ไมชอบ เห็นวา จืดชืดเชือ่ งชา นา เบื่อหนาย ไมเหมือนสมถกรรมฐานท่มี ีเครอ่ื งอลงั การมา ตกแตง มอี ภญิ ญาอันนา พศิ วงมาประกอบ ถา เปรยี บเหมือนอาหาร สมถกรรมฐานคอื อาหารปรุงดวย เครื่องแกงมรี สเด็ด เชน ตม ยํา ผัดเผ็ด วิปส สนากรรมฐานคอื อาหารจดื ๆ ไมปรงุ รสอะไร เชน ตมจืด ทอดไขไมมีน้ําปลา คนทั้งหลายก็ตองชอบทานอาหารท่ีปรุงรสจึงจะเอร็ดอรอย สวนตมจืด ทอดไข ไมมีน้ําปลาก็ไมอยากทาน การปฏิบัติสมถกรรมฐานมีความเพลิดเพลินเจริญใจเต็มไปดวยปติสุข สว นการปฏิบตั วิ ปิ ส สนากรรมฐาน มแี ตค วามยากลาํ บาก แสนจะเหน็ดเหนื่อยเต็มไปดวยทุกข เด๋ียว เจ็บโนนเดี๋ยวปวดน่ี ท้ังจิตก็ไมสงบซัดสายคิดเรื่องโนนเร่ืองน้ีอยูเรื่อย สภาพความจริงเชนนี้คน

76 ทั้งหลายไมตองการรับรู จึงคอยหลบเล่ียงไปอยูในโลกมายาหาอามิสมาหลอกลอ น้ีก็เปนอีกสาเหตุ หนึ่งทส่ี มถกรรมฐานในเมืองไทยมีมาก วปิ สสนากรรมฐานมีนอย กลาวถึงประวัติความเปนมาของวิปสสนากรรมฐานเรียกวาวิปสสนาวงศ ไดมีการสืบทอด กันมาสามารถสืบสาวไปหาพระโสณะและพระอุตตระที่มาเผยแผพระพุทธศาสนาในแดนสุวรรณภู มิไดไปจนถึงพระพุทธเจา ผูใดสนใจประวัติความเปนมา ศึกษาไดที่หนังสือวิปสสนาทีปนีฎีกา รจนาโดยพระอาจารยใหญภัททันตะ อาสภเถระ ซึ่งกลาวถึงการสืบทอดของพระเถระแตละรูปมา ตามลําดบั มิใชเพิ่งจะมาเกิดขึ้นเม่ือ ๒๐๐ – ๓๐๐ ปท ผ่ี านมา หรือขาดชวงตกหลนหายไป มาเกิดผุด โผลใ นกาลน้ี แตมมี าตัง้ แตครัง้ พุทธกาลและสบื ทอดกันมาตราบเทา ปจจุบัน กรรมฐานสองอยางอยูตา งมติ ิ บัดน้ีจะไดแสดงความแตกตางระหวางสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐานวาเปน อยางไรไปตามลาํ ดบั ๑. อารมณ หมายถงึ อารมณทางการปฏิบัติ สมถกรรมฐานมีบัญญัติคือสิ่งสมมติเปนอารมณ สวนวิปสสนากรรมฐานมีปรมัตถคือสภาพความจริงเปนอารมณ สิ่งที่ถูกบัญญัติดวยการต้ังช่ือหรือ จดั แตงอาจจะเปนสมมตบิ ญั ญัตหิ รอื สจั บัญญตั ิกต็ ามแต แตไ ดชอ่ื วา เปน บัญญัติ เชน นําดินสีอรุณมา แตงเปนดวงกสิณ บริกรรมภาวนาคําวา ปฐวี ๆ หรือ ดิน ๆ ซ่ึงเปนภาษาที่คุนเคย เบื้องแรกเปน บริกรรมนิมิตกอน เพ่ือใหเกิดอุคคหนิมิตคือนิมิตติดตา ตอมาคอยแปรสภาพจากอุคคหนิมิต กลายเปนปฏิภาคนิมิต คือนิมิตที่ขยายยอสวนได สมถกรรมฐานจึงมีการจัดแตงอารมณที่เหมาะแก จริตเพื่อใหจิตเขาไปยึดเกาะ สวนวิปสสนากรรมฐานมีธรรมชาติความจริงที่เรียกวา ปรมัตถ เปน อารมณ ไมแตงอารมณใด ๆ ใหเขาไปกําหนดรูสภาพความจริงอยางตรงไปตรงมา สภาพความจริง นั้นคือ รูป-นาม ไดแกรางกายและจิตใจน่ันเอง สภาพรางกายมีอะไร มีอิริยาบถหลักคือ ยืน เดิน น่ัง นอน อิริยาบถรอง คือ เหยียด คู กม เงย เหลียวหนา แลหลัง เหลาน้ีเปนอากัปกิริยาท่ีแสดงออกทาง กาย ใหกําหนดรูอาการที่เคล่ือนไหวไปตามสภาพนั้น ๆ สภาพจิตใจมีอะไร มีคิด หงุดหงิด ฟุงซาน รําคาญ เบ่ือหนาย หดหู ทอแท ทอถอย หรือ ดีใจเสียใจอันเปนเวทนาทางจิต ก็กําหนดรูตามสภาพ ความจริง ความจริงเปนเชนใด ก็เขาไปกําหนดูตามความเปนจริงเชนนั้น น้ีคือการใชอารมณท่ีเปน จรงิ ตามธรรมชาตเิ ขา มาประกอบการปฏิบัติ มไิ ดบ ัญญัติจัดแตง ขน้ึ มา แตเ บือ้ งแรกใหมบี ัญญตั คิ อื คาํ กําหนดเขามาสําทับกับปรมัตถคือความจริงกอน การปฏิบัติดังกลาวก็เพียงเพื่อเปนส่ือเขาไปรูเห็น ปรมัตถ เปรียบเหมือนจะเขาบานตองเปดประตูกอน ถาไมเปดประตูก็เขาบานไมได บัญญัติเปรียบ เหมือนประตู ปรมัตถเปรียบเหมือนภายในบาน หรือเหมือนผลสม บัญญัติเปรียบเหมือนเปลือก นอก ปรมัตถเปรียบเหมือนเน้ือใน การที่เรากําหนดวา พองหนอ ยุบหนอ คิดหนอ ไดยินหนอ ได

77 กลิ่นหนอ ชาหนอ เจ็บหนอ ปวดหนอ เหลานี้เปนคําบัญญัติเขามาประกอบการปฏิบัติเพื่อไปทํา ความรูจกั ปรมตั ถค ือความจรงิ น่ันเอง นี้คือเร่ืองของอารมณท่ีนํามาปฏิบัติตอสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน กลาวโดย สรุปคือ สมถะมีส่งิ สมมติเปนอารมณ วปิ สสนามีสภาพความจรงิ เปน อารมณ ๒. วิธีการปฏิบัติ อารมณของสมถะและวิปสสนามีความแตกตางดังกลาวถึง สวนการ ปฏิบัติจะเหมือนกันหรือไม การปฏิบัติก็ตองแตกตางกัน สมถกรรมฐานจะเกาะอยูกับอารมณเดียว ยึดอยูกับสมมติบัญญัติที่จัดแตงข้ึนมา เชน ปฐวีกสิณ ก็เกาะอยูกังดวงกสิณน้ันเทานั้น ไมเปล่ียนยัก ยายไปหาอารมณอื่น หากอารมณอ่ืนเขามากระทบก็ไมใสใจ เชน เสียงเขามาก็ไมใสใจ เวทนา ปรากฏก็ไมสนใจ สมถกรรมฐานจึงอยูกับอารมณท่ีหยุดนิ่ง ไมอยูกับอารมณท่ีเคล่ือนที่หรือ เปล่ียนแปลง จะตองพัฒนาใหเกิดความน่ิงแนบแนนไปตามลําดับ ซ่ึงเริ่มจากขณิกสมาธิ (สมาธิชั่ว คร)ู เขา สอู ปุ จารสมาธิ (สมาธจิ วนจะมนั่ คงเปนหนึ่ง) และเขาสูความแนบแนนในระดับสูงคือ อัปป นาสมาธิ (สมาธิที่ม่ันคงเปนหนึ่ง) เปรียบเหมือนนําเสามาตอกลงไปในดิน ทีแรกเสาจะเอนโอน โคลงเคลงไปมาไมมั่นคง ก็ตอกยํ้าลงไปเรื่อย ๆ จนกวาจะปกฝงแนนไมขยับเขยื้อนเลย เสาเหมือน อารมณเดียวซ่ึงสมถกรรมฐานจะตองอยูกับอารมณนั้นใหคงความเปนหน่ึง (เอกคฺคตา) นั่นคือสม ถกรรมฐานทีพ่ ัฒนาสมาธิตอ งการความนิ่งแนบแนนด่งิ ลกึ อยา งเดยี ว สวนวิปสสนากรรมฐานมิไดพัฒนาความแนบแนนด่ิงลึก จึงตองเปล่ียนยักยายไปตาม อารมณที่สับเปล่ียนเวียนวนกันเขามา หรืออาการตาง ๆ ที่เกิดข้ึนทางฐานทั้ง ๔ คือกาย เวทนา จิต ธรรม อารมณเกิดทางฐานใดก็กําหนดรูทางฐานน้ัน ไมเจาะจงฐานใดฐานหน่ึงเปนการเฉพาะ เพียงแตเกิดจากฐานใดกอนก็กําหนดฐานน้ัน เชน ขณะน่ังมีเสียงปรากฏกอนก็กําหนดท่ีเสียงน้ัน ทันที กําหนดอารมณหนึ่งดับไปก็ท้ิงไป อารมณใหมเขามาก็กําหนดอารมณใหมนั้นตอไป ซ่ึง แปรเปล่ียนยักยายไปตามอารมณท่ีเกิด-ดับ ๆ เรื่อยไป ไมปกด่ิงอยูกับอารมณใดอารมณหนึ่งเลย เปรียบเหมือนเคร่ืองจักรเย็บผาที่ถักเย็บไปตามเนื้อผาที่เล่ือนเขามา ไมเย็บถักปกอยูกับที่อยางเดียว เนื้อผาจะตองเลื่อนเขามาใหเคร่ืองจักรเย็บ เชนกันวิปสสนากรรมฐานจะตองมีอารมณตาง ๆ ไหล เขามาใหกาํ หนด อารมณม ากเทาใดยิ่งดีเทาน้นั กลาวโดยสรุป วิปสสนากรรมฐานอยูกับอารมณที่เคล่ือนที่เคลื่อนไหว ไมอยูกับอารมณที่ หยุดยิ่ง ขวายางหนอ ซายยางหนอ ก็ตองเคลื่อนท่ีเคล่ือนยายไป พองหนอ ยุบหนอ ก็ตองกระเพื่อม เคล่อื นไหว อยูกบั กิรยิ าอาการตาง ๆ และเผชิญกับทุก ๆ อารมณ ไมไดเลือกวาจะตองกําหนดเฉพาะ อิฏฐารมณ อารมณที่นาปรารถนาเทาน้ัน อนิฏฐารมณ อารมณที่ไมนาปรารถนาไมตองกําหนด วิปสสนากรรมฐานไมมีการเลือกอารมณ กําหนดทุกอยางที่ขวางหนา จะสังเกตไดวา แมแตถาย หนักถายเบาในหองสุขาก็ตองกําหนด จะบอกวาสกปรกไมกําหนดไมได โดยเฉพาะอารมณฝายลบ เชน ความหงุดหงิดงุนงานฟุงซานรําคาญใจ ยิ่งตองกําหนด ถาไมยอมกําหนดผูปฏิบัติจะตกไปสู กระแสอํานาจของอารมณฝายลบน้ัน และแสดงพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคออกมา วิปสสนา

78 กรรมฐานจึงไมหลบหนีซึ่งแตกตางจากสมถกรรมฐานที่เลี่ยงหลบ เชน โกรธ ก็เล่ียงออกมาจาก ความโกรธ โดยหันไปพิจารณาวา โกรธทําไม โกรธตรงไหน คนน้ันเปนเพียงองครวมของธาตุทั้ง ๔ คอื ดนิ น้าํ ลม ไฟ ถาโกรธกโ็ ง โมโหกบ็ า ไมโกรธดีกวา จะไดไ มบาไมโง หรือไมก็หันไปนับเลข นับ ๑-๒-๓-๔-๕-๖-๗-๘-๙-๑๐ เพื่อเล่ียงหลบอารมณออกมา ไมปะทะอารมณโกรธนั้นตรง ๆ มี เร่อื งหนง่ึ ขอนาํ มาเลา ประกอบเปน ตัวอยาง มีเด็กผูชายคนหนึ่งชื่อปอง เปนเด็กอารมณรอน ไปโรงเรียนไมพอใจใครก็ชกตอยหัวราง ขางแตกกลบั มาบานอยเู ร่อื ย ๆ แมต องคอยบอกคอยสอนอยูเปนประจําวา “ปอ งทําไมลกู เปนคนอารมณร อ นแบบนนี้ ะ ใจเย็น ๆ หนอ ยสิ โตขึ้นมาเปนผใู หญจ ะตอ งมี ครอบครัว ถาอารมณรอนแบบน้ี ครอบครัวก็ไมมีความสุข ตองหัดใจเย็น ๆ ลงบาง” สอนอยางไร ไอปอ งก็เกิดเรื่องชกตอ ยอยเู หมอื นเดิม “เอาอยางน้ีปอง ถาปองโกรธข้ึนมาอยากจะชกใครละก็ใหรีบนับเลขเลย คนอื่นเขานับ ๑- ๑๐ แตสาํ หรบั ปองน่ี ตอ งนบั ๑-๒๐ นับชา ๆ นะ ในขณะท่ีนับหามทําอะไรเด็ดขาด หยดุ อยูนิง่ ๆ” “ครบั ๆ” ไอป องรบั ปาก รุงเชาไปโรงเรยี นกลับมาตาเขียวช้าํ เหมือนเดมิ “อา ว ปอ ง ทาํ ไมไมทาํ ตามแมบอกละ บอกใหน ับ ๑-๒๐ ทําไมไมนับ ไมทําตามคําแมสอน เลย” “กเ็ พราะทาํ ตามคาํ แมสอนนแี่ หละ ปอ งถงึ ตาเขียวกลบั มาเนย่ี ” “ทําไมเปน อยา งน้นั ละ ” “เพราะไอแตมนะสิ แมของมันสอนเหมือนแมนี่แหละวา ถาโกรธขึ้นมาเมื่อไหรใหนับ ๑- ๑๐ ไอแตมมันก็นับ ๑-๑๐ พอนับเสร็จปุบมันก็ตอยตาปองเปร้ียงเลย กวาปองจะนับ ๑-๒๐ ไอแตม ว่งิ หนไี ปไหนแลวก็ไมรู” เปนอยางน้ันไป เดก็ ไมร ูเ รื่องรรู าวอะไร นน่ั คอื ลกั ษณะทเี่ ล่ียงออกมาจากอารมณไ มป ะทะตรง ๆ ดวยการหันไปนับเลขแทน เพื่อให ความโกรธจางคลายไปดวยตัวของมันเอง แตสําหรับวิปสสนากรรมฐานจะไมมีการเล่ียงหลบ อารมณ จะตองสูกับอารมณนั้นตรง ๆ ถาโกรธก็กําหนดวา “โกรธหนอ ๆ” ดูที่อาการโกรธหรือ ความโกรธนั้น จนกวาความโกรธจะคล่ีคลายหายไปดับไป พบวา แทจริงความโกรธก็เกิดขึ้น ต้ังอยู ดบั ไป เปนธรรมดา ไมเ ท่ียงแทแ นนอนเหมอื นกัน เม่อื มสี ตกิ าํ หนดความโกรธ องคกําหนดกท็ าํ หนาทกี่ าํ จัดกดั กรอ นความโกรธน้ันใหเบาบาง ลงไป มีผูปฏิบัติธรรมทานหน่ึงอายุได๕๐ ปมาบวชยามชรา คนที่มีประสบการณผานทางโลกมา มากนักมีเรื่องราวมากมายติดตามมา มันผุดขึ้น ๆ คอยกําหนดวา “คิดหนอ” “ฟุงซานหนอ” ใช เวลาเปนปกวาจะหมดไป ทานเลาใหฟงวาคราวที่ครองเรือนอยูนั้น เคยโกรธภรรยาอยูคร้ังหน่ึง โกรธมาก โกรธจนตัวส่ัน ในขณะนั้นถามีปน ตองหยิบฉวยมายิง ถามีกอนอิฐกอนหินก็ตองจับปา กัน ถาอยูใกลก็ตองตอยเตะ ผานไปนานจนลืมไปแลว คร้ันมาปฏิบัติถึงระดับหนึ่งอารมณโกรธนั้น

79 มันผดุ ข้นึ มา เคยโกรธอยางไรก็โกรธอยา งน้นั น่งั โกรธตัวส่ันอยู กําหนดวา “โกรธหนอ ๆ” คอย ๆ ตบมันลงไป องคกําหนดก็กัดกรอนกําจัดกิเลสที่เปนของเกา เรียกวา ชําระอนุสัยกิเลสท่ีนอนเนื่อง อยูนาน การปฏิบัติจงึ เปนการลางของเกา และกน้ั ของใหม ระดบั จิตจะถกู ยกใหส งู ขึ้น สมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน จึงแตกตางกันในการหลบเลี่ยงและการเผชิญ สม ถกรรมฐานตองการสมาธิจึงหลบออกมาจากอารมณอ่ืน ๆ เพื่ออยูกับอารมณเดียว (ปลีกวิเวก) วปิ ส สนากรรมฐานกําหนดทุกอารมณ เพ่ือรูแจงอารมณนั้น ๆ ไมจํากัดเปนการเฉพาะวา จะตองเดิน เทาน้ัน หรือน่ังอยางเดียว แตใหกําหนดดูตามอิริยาบถทุกอยางและอารมณทุกชนิด ตองปฏิบัติใน ขณะที่ยังมีสติสัมปชัญญะอยู เวลาที่ไมปฏิบัติคือเวลานอนหลับ นอกจากนั้นตองอยูในอารมณของ การปฏบิ ตั ทิ ั้งหมด และตองทําใหต อ เนื่องเกาะเกีย่ วกันไป ถาทํา ๆ หยุด ๆ หยุด ๆ ทาํ ๆ จะเกาะเกี่ยว กันไปไมได ทงั้ สมาธิก็รว่ั ออกไป มาปฏิบตั ิอีกคร้งั กเ็ หมอื นมาเร่มิ ตน ใหม ดวยเหตุวาสมถกรรมฐานตองการความน่ิงแนบแนน วิปสสนากรรมฐานตองการรูแจง อารมณ รูชัดอาการตาง ๆ จึงเกิดขอแตกตางอีกอยางหน่ึงคือ สมถกรรมฐานน่ังมากดี เดินมากไมดี เพราะเดนิ มากจะซดั สา ยฟุงซา นอารมณท ่ีเปนหน่ึงไมมั่นคง จึงนิยมใหนั่งมาก ๆ นาน ๆ ไมคอยเดิน ถึงเดนิ กเ็ พียงเพื่อผอนคลายอิริยาบถ แตสําหรับวิปสสนากรรมฐานน่ังมากไมดี เดินมากดี เพราะจะ เกิดความหลากหลายทางอารมณและพบรายละเอียดของอาการตาง ๆ ไดมากขึ้น การเดินมากจะทํา ใหสติต่ืนตัวเปนปฏิปกษตอความงวงโดยตรง ถาน่ังมากสมาธิจะนําเกิดอาการงวงเหงาหาวนอน เซ่ืองซึม ความนิ่งเฉยจึงมิใชอารมณท่ีพึงประสงคของวิปสสนากรรมฐาน ถานั่งน่ิงเฉยอยู ตอง กําหนดคลายสมาธิวา “น่ังหนอ ถูกหนอ” อยาไปกําหนดวา “นิ่งหนอ” ถาเฉยมากไปใหลุกขึ้น เดินจงกรม อยาไปนั่งกําหนดตอ เพราะทางวิปสสนาถือวา นิ่งก็ดี เฉยก็ดี เปนบอเกิดของโมหะ ไม เห็นการเคล่ือนที่เคลื่อนไหว ไมเห็นการเกิด-ดับ วิปสสนากรรมฐานจึงประสงคอารมณท่ีเกิด-ดับ และไมตองการรักษาอารมณท่ีเกิดข้ึนน้ันใหคงอยู ใหเขาไปกําหนดรูเพื่อเห็นความแปรปรวน เปลี่ยนแปลงแตกดับ เห็นความเปนอนิจจังเกิดข้ึน ตั้งอยู ดับไป ความเปนทุกขังทนตั้งอยูในสภาพ เดิมไมได ความเปนอนัตตาหาตัวตนไมไดตานทานไวไมอยู ซึ่งเล่ือนเคลื่อนไปไมหยุดนิ่ง ดุจ กระแสน้ําท่ีไหลไปเร่ือย ๆ ดังน้ัน จะมาน่ังมากเปน ๓-๔ ชั่วโมงไมดีแนนอน แตคร้ันถึงระดับหนึ่ง อาจจะแปรเปล่ียนไป ไมจํากัดวา ตองเดิน ๓๐ นั่ง ๓๐ นาทีเทา น้ัน ท้ังน้ีขึ้นอยูกับสภาวะของผูปฏิบัติ โดยเฉพาะ ถาเกิดความโงกงวงมาก ตองเดินใหมากขึ้นนั่งใหนอยลง เพ่ือปรับสมาธิใหทัดเทียมกับ วิริยะ บางคร้ังอาจจะเดินเปนช่ัวโมง นั่งเพียง ๑๕ นาที น้ีคือความยากของวิปสสนากรรมฐานท่ีตอง คอยปรับประคองความสม่ําเสมอของอินทรีย โดยเฉพาะการปรับอินทรียดวยการเดิน-นั่งนั้นเปน เรื่องเหน่ือยยาก จึงเปนเหตุใหคนไทยไมชอบ เพราะใชพลังงาน เกิดความเหน็ดเหน่ือย สูมานั่งอยู เฉย ๆ สบาย ๆ จะดีกวา วิปสสนากรรมฐานใชความเพียรในการเดิน ไมเพลิดเพลินเหมือนสมถกร รมฐานท่ีน่ังเฉยนงิ่ สงบ ไมต องใชความเพียรในการเดินมากนัก ยิ่งถาไดอารมณแลวก็ติดอารมณน้ัน เลย เรียกวา ตดิ สมถะ ไมอ ยากออกมาจากสมาธิ ถาจะเปรียบอกี อยางหน่ึงคอื เหมอื นกับการเขา ไปอยู

80 ในหองแอร อากาศเย็นสบายทีเ่ กิดจากเครอ่ื งปรบั อากาศ มีความรูสึกวา เยน็ สบายเงียบ จึงอยากอยูใน หองแอรน้ันนาน ๆ ไมอยากออกมา แตวิปสสนากรรมฐานมิใหอยูในหองแอร ตองออกมาสัมผัส ธรรมชาติความจริงวาเย็นรอนออนแข็งอยางไร และกําหนดรูตามธรรมชาตินั้น ๆ แตคนท่ีติดแอรก็ ไมอยากออกมาจากหองแอร เพราะรอนไมเย็นสบาย คนติดสมถะก็เหมือนกัน ไมอยากออกจาก สมถะมาสงู านวิปส สนาเพราะเหนือ่ ยยาก ไมสงบสุข ๓. กุศลผลปรากฏ ก็มีความแตกตางกัน สมถกรรมฐานพัฒนาฌาน เปนอาเนญชาภิ สงั ขาร คอื โนม ไปในฌาน สังขารมีอยู ๓ ประการ คือ ๑. ปญุ ญาภิสังขาร เกิดความคิดโนม ไปใหสรา งกศุ ลดว ยการใหทาน รักษาศีล ๒. อปุญญาภสิ ังขาร เกดิ ความคิดโนม ไปใหกอบาปกรรม ทําอกุศลดวยการฆาสัตว ลัก ทรัพย ๓. อาเนญชาภิสงั ขาร เกิดความคดิ โนม ไปใหบ ําเพญ็ ฌานสมาบตั ิ เมื่อสมถกรรมฐานเปนอาเนญชาภิสังขาร กุศลที่เกิดขึ้นจึงเปนวัฏคามินีกุศล คือกุศลให ไปเกิดในภพภูมิเบื้องสูงคือพรหมโลก ผูที่บําเพ็ญสมถกรรมฐาน ยังฌานใหเกิดข้ึนจะไปเกิดใน พรหมโลกแตล ะระดับชน้ั เร่ิมตง้ั แตพ รหมปรสิ ัชชาจนถึงเนวสัญญานาสญั ญายตนะ ตามอํานาจของ ฌานมปี ฐมฌาน เปนตน มอี ายุอานามแตกตางกัน เชน ปญจมฌานก็ไปเกิดเปนพรหมลูกฟก เรียกวา อสัญญีสัตตพรหม มีอายุถึง ๕๐๐ มหากัป กุศลผลทางสมถกรรมฐานจึงขยายภพภูมิใหยืดยาว ออกไปและไมดับทุกขอยางแทจริง เปนเพียงการกดขมกิเลส (วิกขัมภนนิโรธ) สวนวิปสสนา กรรมฐานเปน ววิ ัฏคามินีกุศล คอื กุศลทีเ่ ปน ไปเพื่อยน ยอ วฏั สงสารอันหาประมาณมิไดใหส้ันลงและ ออกจากการเวียนวายตายเกิด ดวยเหตุน้ีจึงตองการใหเห็นทุกขเห็นโทษของรูป-นามสังขาร ไมเกิด ความชน่ื ชมพอใจ เห็นทกุ ขเ หน็ โทษแลวกต็ อ งการหลุดออกมาจากวงจรของสังสารวัฏ มนุสสโลกก็ ดี เทวโลกก็ดี พรหมโลกก็ดี ลวนเต็มไปดวยทุกขโทษที่แปรปรวนเปล่ียนแปลงไปไมคงทนถาวร เมื่อเกิดความเห็นเชนน้ี (เกิดวิปสสนาญาณ) ก็ไมประสงคจะไปเกิดในมนุสสโลก เทวโลก และ พรหมโลก ตองออกไปจากโลกท้ัง ๓ น้ีเพื่อเขาสูมรรคผลนิพพาน กุศลผลทางวิปสสนากรรมฐาน จงึ ยน ยอ ภพภูมิใหส ั้นลงและขา มพนจากการเวยี นวา ยตายเกดิ ดบั ทกุ ขอยางแทจรงิ (สมจุ เฉทนโิ รธ) พฒั นาตอไปไมยดึ ตดิ ประการสุดทายคืออัตราเส่ียงของการปฏิบัติท้ังสองสาย การมาบอกกลาวเชนนี้ มิได หมายความวาสมถะไมดี วิปสสนาดี หรือวิปสสนาไมดี สมถะดี สมถะก็ดีวิปสสนาก็ดี สมถะเปน บาทฐานใหแกวปิ สสนาอยูในข้ันศีลบริสุทธิ์ (สีลวิทสุทธิ) และจิตบริสุทธิ์ (จิตตวิสุทธิ) คือศีลสมาธิ น่ันเอง สวนวิปสสนาอยูในข้ันความรูแจงคือปญญา เริ่มตนจากทัศนบริสุทธิ์ (ทิฏฐิวิสุทธิ) ซึ่งมีศีล สมาธิเปนเครื่องหนุนสงเพ่ือเกิดความรูแจง ดวยเหตุน้ีการปฏิบัติจึงควบคูกันระหวางสมถะและ

81 วิปสสนา หรือสมถะขึ้นกอนวิปสสนาในภายหลัง ใหสมถะเปนบาทฐานของวิปสสนา แตในที่สุด จะตองโคงเขามาหาวิปสสนา ถาไมยอมมาหาวิปสสนาก็ไปพรหมโลก ไมเขาสูอริยมรรคอริยผล ดังน้ันวิปสสนากรรมฐานชอบก็ทํา ถึงไมชอบก็ตองทํา ถาประสงคไปมรรคผลนิพพานจะปฏิเสธ วิปสสนากรรมฐานไมได ถาปฏิเสธก็เทากับปฏิเสธมรรคผลนิพพาน การท่ีกลาวเชนนี้มิได หมายความวาสมถะไมดี เพราะทาน ศีล สมาธิ ปญญา ลวนแตเปนคําสอนของพระพุทธเจา ถาบอก วาสมถะไมดี เพราะทาน ศีล สมาธิ ปญญา ลวนแตเปนคําสอนของพระพุทธเจา ถาบอกวาสมถะไม ดี ทานก็ไมดี ศีลก็ไมดี ดีท้ังน้ัน เพียงแตมีการพัฒนาไปตามลําดับ จากทานเขาสูศีล จากศีลเขาสู สมาธิ จากสมาธิเขาสูปญญา มิใหไปหยุดชะงักติดอยูจุดใดจุดหน่ึง พัฒนาการทางพระพุทธศาสนา น้นั เปน ไปตามขัน้ ตอนเหมอื นมหาสมทุ รท่ลี าดลกึ ไปตามลําดับฉะนน้ั หลงตดิ กับไมขยับข้ึนเบอื้ งสงู อัตราเส่ียงของการปฏิบัติท้ัง ๒ สายก็เกิดข้ึนไดอยู มิใชไมเกิดข้ึน กลาวคือ สมถกรรมฐาน จะเปดโอกาสใหผูปฏิบัติเกาะติดอยูกับอารมณไดงาย จนถึงกับไมยอมกาวขยับเขาไปสูวิปสสนา กรรมฐาน ทางการแพทยไ ดม ีการพิสจู นว า ในภาวะท่ีคนนั่งนิ่งสงบไมไหวติง จะมีสารประเภทหนึ่ง หลั่งออกมา สารประเภทนั้นเรียกวา Endophine สารประเภทน้ีเมื่อหล่ังออกมาแลวจะเกิด ความรูสึกสบาย สดชื่นกระปร้ีกระเปรา จนกระทั่งเกิดความดื่มด่ําเคลิบเคลิ้ม Endophine จะมี ความคลายกับ Morphine จัดเปนสารเสพยติดชนิดหน่ึง ดวยเหตุน้ีเองผูปฏิบัติสมถกรรมฐาน จึงติดอยูกับความสบายสดช่ืน เรียกวาติดอยูในองคปติ ไมเปนอันทําอะไรนอกจากนี้ แหละน่ีคือ อัตราเสี่ยงของสมถกรรมฐาน หากผูใดไมมีโยนิโสมนสิการ (พิจารณาใครครวญ) จะติดตกอยูใน หลุมพรางของสมถกรรมฐาน เชน อาฬารดาบสและอุททกดาบสติดอยูในองคฌาน พิจารณาไมเห็น วาจะพนทุกขไดอยางไร และไมสามารถขามพนไปได ดังที่พระพุทธเจาทรงแสดงไวในพรหมชาล สูตร พรหมชาละ ชาละคือขายดักพรหมดักคลุมศาสดาอยางเลิศ ผูบําเพ็ญสมถะแมจะสูงเพียงใดก็ ไมส ามารถหลุดรอดออกจากขายนี้ไป แตพระโพธิสัตวบําเพ็ญปญญาบารมีมาอยางดีย่ิง จึงมีโยนิโส มนสิการสูงมาก พิจารณาเห็นวาไมสามารถชําระลางกิเลสไดอยางแทจริง เปนเพียงการกดขมไว เทานั้น พนจากการเวียนวายตายเกิดไมได จึงเสด็จออกมาจากสํานักของอาฬารดาบสและอุททก ดาบส เขาสวู ปิ สสนาวถิ ดี วยพระองคเอง ดังกลาวมาน้ีคอื อตั ราเส่ยี งของสมถกรรมฐานทผ่ี ูปฏบิ ตั ิจักตอ งระวังอยา งยิ่ง วิปสสนากรรมฐานก็มีอัตราเสี่ยงเชนกัน หากผูปฏิบัติไมมีโยนิโสมนสิการอยางถูกตอง คร้ันมาปฏิบัติเห็นสภาพความจริงคือปรมัตถอันละเอียดประณีตก็เกิดความชอบใน (นิกันติ) กลายเปนอุปกิเลส มาเห็นการเกิดดับก็เพลิดเพลินพอใจ เอาไปเอามาอัตตาก็เกิด อัตตาซอนอัตตา ขึ้นมาวา เราปฏิบัติไดดีกวาคนอ่ืน คนอื่นปฏิบัติไมไดดีเทาเรา เราไดสภาวดี คนอ่ืนไมไดสภาวะดี

82 แทนที่จะปฏิบัติเพื่อมุงเขาไปสูอนัตตา ทําลายความเห็นวามีตัวตน กลับกลายขยายอัตตาใหเติบโต ตรงนี้อันตรายมากขอใหสังวรระวัง ถาชอบตองกําหนดวา “ชอบหนอ” ทันที อยาไปปลอย ถา ปลอยแลวจะเกาะติดอยูกับสภาวะน้ัน ไมตางจากสมถะเลย จนในท่ีสุดก็ไมยอมกาวขยับเขาไปสู สภาวะท่ีสูงย่ิงข้ึนไป การปฏิบัติจึงเนนใหเห็นเพียงสักแตวา เห็นเปนเพียงปรากฏการณทางกาย เวทนา จิต ธรรม เทานั้น มิใชสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา อยาเขาไปยึดหนวงเหนี่ยวไว เรามิไดปฏิบัติ เพื่ออภินิเวศน คือยึดมั่นถือม่ัน แตเพื่อการปลอยวาง ดังพระพุทธดํารัสวา “สพฺเพ ธมฺมา นาลํ อภินิ เวาสย ธรรมท้ังหลายท้ังปวงไมควรเขาไปยึดม่ันถือม่ัน” ถาเขาไปยึดม่ันสําคัญหมายก็กลายเปน อัตตาทันที ไมกาวเขาสูอนัตตา น่ีคืออัตราเสี่ยงของวิปสสนากรรมฐานท่ีเกิดขึ้นแกผูปฏิบัติได เชนกัน ดังแสดงมาทั้งหมดน้ัน คือความแตกตางระหวางสมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐาน เมื่อไดทราบรายละเอียดแลวน้ีก็สามารถวินิจฉัยไดวา อารมณใดเปนอารมณที่พึงประสงคของสม ถกรรมฐาน อารมณใดเปนอารมณที่พึงประสงคของวิปสสนากรรมฐาน จะไดกําหนดทิศทางถูกวา ควรกําหนดอารมณอะไร ไมควรกําหนดอารมณอะไร อารมณใดควรทําใหเจริญ อารมณใดไมควร ทาํ ใหเจริญ พระธรรมเทศนาในวนั น้ี ไดแ สดงถึงความแตกตางกนั ระหวางสมถกรรมฐานและวิปส สนา กรรมฐานไวห ลายประเดน็ หวงั วาคงจะเปน ประโยชนแ กท า นสาธุชนผูสดบั รับฟงไมม ากก็นอย ดงั ภาษามคธท่อี าตมาไดยกข้นึ เปน นกิ เขปบทในเบ้อื งตน วา สมโถ จ วปิ สฺสนา จ อสทิสภาวํ คจฺฉตตี ิ ฯ สมถกรรมฐานและวิปสสนากรรมฐานยอมถึงความแตกตา งกันฯ ดังแสดงพระธรรมเทศนามากส็ มควรแกก าลเวลา ขอยตุ ลิ งปลงไวแ ตเ พียงเทานี้ เอวํ ก็มี ดวยประการฉะนี้

83 วปิ สสนาเทศนาวา ดวยไตรลักษณ (อนจิ จงั ทกุ ขงั อนตั ตา) *********************** สพเฺ พ สงฺขารา อนิจจฺ า สรรพส่งิ คอยคลอ ยเคลื่อน ทุกครา ไมเทีย่ งทนทกุ ทิวา ท่ัวน้นั ปรวนแปรเปลยี่ นโรยรา เหลอื อยู แลฤา มแี ตพังทลายส้นั เส่อื มสน้ิ สูญสลาย ฯ สพฺเพ สงขฺ ารา ทุกฺขา สรรพส่ิงแลมากลวน หลากหลาย ทกุ ขบ เคยกลบั กลาย เกลอ่ื นแท ทนทุกขจวบจนตาย ตราบลว ง ลาแล นา เบอ่ื หนายเกนิ แก เกดิ ข้นึ ทกุ ขเสมอ ฯ สพเฺ พ สงขฺ ารา อนตตฺ า ถงึ ธรรมกเ็ ปลา แท ทานเอย หาหอนมสี ง่ิ ใดเคย คฟู า อยายดึ ม่ันนกั เลย ปลอยวา ง วางเทอญ หากมงุ ไลไขวค วา จกั เควงข่ืนขม ฯ

84 ประวัติพระมหาอุเทน ปญญาปริทตฺโต (สัจจงั ) ผูแตง หนังสอื • เปรียญธรรม ๙ ประโยค (ขณะเปน สามเณร) จากสาํ นักเรยี นวดั ชนะสงคราม กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๓๕ • ปรญิ ญาพทุ ธศาสตรบณั ฑิต (เกียรตินยิ ม) จากมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๓๖ • สอนวชิ าฉนั ทภ าษามคธประโยค ป.ธ.๘ สํานกั เรยี นวดั ชนะสงคราม กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๗ • สอนวิชาธรรมภาคปฏิบตั วิ ทิ ยาเขตบาลศี กึ ษาพุทธโฆส จงั หวดั นครปฐม พ.ศ.๒๕๓๗- ๒๕๔๒ • ผลงานหนังสอื ไดรบั จดั พิมพออกเผยแพรห ลายเลม เชน ฉนั ทปรารมภ, พทุ ธประวัตภิ าค หลากบทกว,ี ธรรมหรรษา, บันเทงิ ธรรม, วปิ ส สนาวิถ,ี พลิ้วเพลงพระธรรม, พัฒนาชีวติ , พระไตรปฎกรวมสมัย ๑-๒ • อบรมกรรมฐานใหแ กผ ูสนใจปฏบิ ตั ิตามทไ่ี ดร บั อาราธนาใหไปเปน พระวปิ สสนาจารย เชน ท่ีสํานกั วปิ ส สนามลู นิธิวิเวกอาศรม ชลบรุ ี, ยวุ พุทธกิ สมาคมแหง ประเทศไทย • ปจ จบุ นั อยูทว่ี ดั ชนะสงคราม คณะ ๙ บางลาํ พู กรงุ เทพฯ ๑๐๒๐๐

85 บทสงทาย ในที่สดุ ‘วิปสสนาวิถ’ี ก็ไดทําหนาท่ีเสนอขอ มูลทางการปฏบิ ัตทิ ีป่ ระกอบไปดว ยหลกั การ และวิธกี ารจนจบ ตามที่กลา วไวใ นเบ้ืองตน วา “ตอ งการใหส ื่อไปสมั ผสั ใจของผูปฏบิ ัติโดยตรง จงึ ขอตดั ความยุงยากตามหลกั วชิ าการ คือการอางอาคตสถานทม่ี าท่ีไป” ไมป ระสงคใหเปน วิชาการ แต ทวา กระบวนการการนําเสนอกลบั อยูในเชิงวชิ าการซึ่งจะเปนไปในลกั ษณะเชน นั้นกไ็ มใชเ ร่อื ง แปลก หากกลาวถึงนักการศกึ ษาผใู ฝรขู อ มลู ทางวชิ าการตองการรูว า วปิ สสนาคอื อะไร มหี ลกั การ และวิธกี ารอยา งไร และถา อยากทราบวาอะไรคือจุดหมายปลายทางของพระพทุ ธศาสนาจะดาํ เนนิ ไปสจู ุดหมายปลายทางนนั้ ไดอ ยางไร ขาพเจาเช่อื วา ‘วิปสสนาวิถ’ี นี้ ตอบสนองความตอ งการของ ทา นได ในใจของขาพเจา เองก็ตอ งการใหเ ปน สมบตั ทิ างวชิ าการเหมือนกนั มิใชอ ยใู นวงแคบ เฉพาะกลมุ ผูปฏิบตั ิธรรมเทานน้ั หากแตตอ งแผขยายออกไปสวู งกวา งใหผ ูตอ งการรขู อมลู วิปส สนา ไดศึกษาและมาทําความเขาใจ ความจริงวปิ สสนากรรมฐานเปน เรื่องลกึ ซงึ้ มรี ายละเอียดขอปลีกยอ ยมากมายอยใู น บรรยากาศของการสง -สอบอารมณระหา งพระวปิ ส สนาจารยและผปู ฏบิ ตั ิ ขา พเจา ยงั ไมไดน าํ เสนอ เพราะเกรงวา เนอ้ื หาจะขยายออกไปมากกวา นีแ้ ละเปน การช้นี าํ ในวงการวปิ สสนาถอื วา ถาผูปฏิบตั ิ ยงั ไมเ กดิ ผลสภาวะใด ๆ จะปด เปนความลบั ไมเ ปดเผยอยา งเดด็ ขาด เพราะตองการใหผปู ฏิบัติเขาไป มีประสบการณสมั ผสั รูช ดั ดว ยตนเอง หากดวนเปดเผย ผปู ฏิบัตจิ ะจดจอ งอยากพบอยากเหน็ มีโลภะ หนวงนําซ่ึงกอ ใหเ กดิ ผลเสียอยางใหญหลวง อปุ มาเหมอื นมีหลุมลุกปกคลุมไปดว ยหญา พรางตาไว คนเดนิ ทางสวนมาบอกวามหี ลมุ ลึกอยเู บือ้ งหนาโนน แนะ เราจะเดนิ ไปก็ตอ งระมดั ระวงั คอยดูวา จะ ถงึ เมอื่ ไหรใกลห รือยัง ครั้นถงึ ท่ใี กลก ็จะเดินวนรอบเล่ียงหลบหลุม แตถ าไมทราบวา มีหลมุ พรางอยู จะเดนิ ไปตกหลมุ นน้ั ฉันใด การปฏบิ ัตกิ ฉ็ ันนั้น ถาผูปฏิบตั ทิ ราบวามอี ะไรรออยู จะจดจอ งวา ถงึ หรือยัง ใชห รอื ไม สภาวธรรมที่ควรเกดิ ขนึ้ กไ็ มเ กดิ ขน้ึ แตถา ไมท ราบเลยวา มีอะไร จะปฏบิ ัติไป ตามปกตไิ มจ ดจอง สภาวธรรมที่ควรเกดิ ขนึ้ ก็เกดิ ข้ึนเพราะในหลมุ พรางนน้ั มสี มบัตลิ ํา้ คาอยู ตอ งการใหเดนิ ไปตกหลมุ เจอจึงไมบอกวา มีหลมุ อะไร ดังนน้ั การสง-สอบอารมณแ ละการปรับแก สภาวะตา ง ๆ จึงรูเฉพาะในแวดวงของพระวปิ ส สนาจารยเทา น้ัน ดว ยเหตนุ ้ี ‘วปิ สสนาวิถี’ จงึ มงุ แสดงแตห ลักการและวิธกี ารกวาง ๆ ใหครอบคลมุ ไว ไม ประสงคจ ะเจาะลกึ ในรายละเอยี ดตาง ๆ หากตอ งการทราบรายละเอียดขอปลกี ยอยมากกวานี้ ขอให ไปปฏิบตั ไิ ถถ ามพระวิปสสนาจารยดว ยตนเอง เมื่อมองโดยภาพรวมก็พบวา ‘วปิ ส สนาวิถี’ นี้ ประกอบไปดวยหลกั การและวิธีการปฏิบตั ิ ซ่งึ ผูมศี รัทธาสามารถนาํ ไปปฏิบตั ิวนั ละ ๑-๒ ช่ัวโมง โดยไมเ ปนอันตราย แตถ าจะปฏบิ ตั ิอยาง จรงิ จังกต็ องเขา ไปพบพระวปิ ส สนาจารยและสง -สอบอารมณ ปฏิบตั ติ ามลาํ พงั ไมได เพราะธรรม

86 เนียมของกรรมฐานสายนม้ี อี ยูวา ผปู ฏบิ ตั ติ องอยภู ายใตก ารดูแลของพระวิปส สนาจารยเ ทานัน้ พระ วิปส สนาจารยน น่ั แลคือกลั ยาณมิตรผมู ีสวนสําคัญยงิ่ ตอ การปฏบิ ตั ิ ดังพระพุทธดาํ รัสวา “ดกู ร อานนทก ลั ยาณมิตรเปน ทงั้ หมดของพรหมจรรย” ขอทงิ้ ทา ยดวยถอยคาํ วา “สาํ หรบั ทา นผเู ปน นักการศกึ ษา ตอ งการรเู พยี งภาคทฤษฎีก็อา น ‘วปิ ส สนาวถิ ’ี นผี้ าน ๆ เปนอาหารสมองได สําหรับทานผูมศี รัทธาประสงคจ ะปฏบิ ตั ิขอใหย อ นกลบั ไปอา นทบทวนใหมท าํ ความเขาใจอยางถอ งแท และหากมเี วลามากพอกข็ อใหเ ขา ไปพบพระ วิปสสนาจารย ปฏบิ ัติตามวิธกี ารของวปิ สสนากรรมฐานดว ยความเคารพเถดิ ” คณุ สนิ รี ัตน ศรีประทมุ พิมพตน ฉบบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook