บุลยา เรียบเรียง
บนรอยทางแห่งรอยธรรมจากพทุ ธทาสถงึ ว.วชิรเมธี บุลยา เรยี บเรียง พิมพค์ รง้ั ที่ ๑ - ๔ : มนี าคม - มิถุนายน ๒๕๕๒ พิมพ์ครง้ั ท่ี ๕ - ๖ : กนั ยายน - พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ พมิ พ์ครัง้ ที่ ๗ - ๑๐ : มนี าคม ๒๕๕๓ - มกราคม ๒๕๕๗ จัดพิมพโ์ ดย : ส�านกั พมิ พส์ ขุ ภาพใจ บริษทั ตถาตา พับลิเคชน่ั จ�ากัด ประธานกรรมการบริหาร : บญั ชา เฉลิมชัยกิจ กรรมการผูจ้ ัดการ : โชนรังสี เฉลิมชัยกิจ คณะท่ีปรึกษา : ถาวร สกิ ขโกศล, ประชา หุตานวุ ตั ร, ผ่องศรี ลอื พรอ้ มชยั , สงวนศรี ตรีเทพประติมา บรรณาธิการบริหาร : วรตุ ม์ ทองเชื้อ บรรณาธิการ : ษุภชา โศภิษฐกมล เลขานกุ ารคณะบรรณาธิการ : กนกพร ถา้� โคนทอง แบบปก : วโิ รจน์ จิรวิทยาภรณ์ รูปเล่ม : เกรียงไกร พรพิพฒั นก์ ุล ฝ่ายการตลาด : อัคคณัฐ ชมุ นุม, อรปราง อธิหริ ัญวงศ์ ฝ่ายขาย : มนญั ชยา ศริ วิ งษ,์ อดุ ร ปญั ญาชัย, นธิ ิวิทย์ วรสมภพพล ฝ่ายโรงพิมพ์ : ไพบลู ย์ ชาครยิ านนท์, จริ วรรณ พยาฆรินทรังกรู ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของส�านกั หอสมดุ แหง่ ชาติ บุลยา. บนรอยทางแห่งรอยธรรมจากพุทธทาสถงึ ว.วชริ เมธี. พิมพ์คร้งั ท่ี 10 กรงุ เทพฯ : สุขภาพใจ, 2557 120 หนา้ . 1. ว.วชริ เมธี. I. ชือ่ เร่ือง. 294.30922 ISBN 978-974-409-982-2 พมิ พ์ท:ี่ ฝา่ ยโรงพมิ พ์ บรษิ ทั ตถาตา พับลิเคช่นั จ�ากดั โทรศัพท์ ๐-๒๔๑๕-๖๗๙๗ จดั จา� หน่าย: สายส่งสุขภาพใจ บริษัท บ๊คุ ไทม์ จ�ากดั ๒๑๔ ซ.พระรามที่ ๒ ซอย ๓๘ ถ.พระราม ๒ แขวงบางมด เขตจอมทอง กรุงเทพฯ ๑๐๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐-๒๔๑๕-๒๖๒๑, ๐-๒๔๑๕-๖๕๐๗ โทรสาร ๐-๒๔๑๖-๗๗๔๔ แนะนา� เพิ่มเตมิ ติดตอ่ : [email protected] www.booktime.co.th, SukkhapabjaiPUB
จากใจสำนกั พมิ พ์ เมื่อได้ต้นฉบับมาอ่านครั้งแรก รู้สึกสะดุดใจชื่อเรื่อง เพราะทั้ง ๒ นามนี้ “พุทธทาส” และ “ว.วชิรเมธี” มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลง โฉมหน้าพุทธศาสนาในประเทศไทย “ท่านอาจารย์พุทธทาส” ได้รับการยกย่องจากองค์การยูเนสโก ใหเ้ ปน็ บคุ คลสำคญั ของโลก ในโอกาสรอ้ ยปชี าตกาลของทา่ น ดว้ ยการเสยี สละทำงานเผยแผ่พระธรรมคำสอนทางพุทธศาสนาอย่างเต็มกำลัง มีความเด็ดเดี่ยวกล้าหาญ เสียสละ และสร้างสรรค์ผลงานไว้เป็นมรดก แห่งธรรมอันทรงคุณค่าต่อคนรุ่นหลังไว้มากมาย สำหรบั “ทา่ น ว.วชริ เมธ”ี นามนเ้ี ปน็ ทร่ี จู้ กั อยา่ งกวา้ งขวาง ในฐานะ พระนักเทศน์ นักสร้างสรรค์กิจกรรมทางธรรมต่างๆ เพื่อคนรุ่นใหม่ สร้างปรากฏการณ์ใหม่ ธรรมะอินเทรนด์ เจาะเข้าไปในหัวใจวัยรุ่นยุคนี้ ได้อย่างโดดเด่นเป็นรูปธรรม เบื้องหลังของแรงบันดาลใจ ที่ทำให้สามเณรน้อยจากชายขอบ ประเทศ สามารถสร้างกระแสความสนใจใฝ่ธรรมะให้เกิดขึ้นในสังคมได้ อย่างกวา้ งขวาง กบั คนทุกชนชัน้ ทุกเพศ ทกุ วยั ในเวลาอนั ส้ันเชน่ นี้ คำตอบที่เป็นเบื้องหลังความอัศจรรย์แห่งธรรมะอินเทรนด์ ได้ ถูกรวบรวมมาอยู่ในมือของท่านแล้ว การสืบทอดต่อยอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น เป็นเรื่องราวเปี่ยมแรง บันดาลใจให้ทุกคนก้าวต่อไปในเส้นทางแห่งความสุขของมนุษยชาติ ษุภชา โศภิษฐกมล
สารบัญ บทนำ ๑๐ ปฐมบทแหง่ มรรคาธรรม ... สู่พระนกั เขยี นช่อื ดังแห่งยุค ๑๒ มัคคุเทศก์ธรรม ๒๐ นักเขียนในดวงใจ ๒๔ ต้นแบบแห่งชีวิต ๒๘ เหตุแห่งความเข้าใจ ๓๐ สวนโมกข์รำลึก ๓๒ การตกผลึกทางความคิด ๓๘ พุทธทาสภิกขุ ... นกนางนวลแหง่ ไชยา ๔๒ ความกล้าหาญทางจริยธรรมกับ ปรากฏการณ์บันลือสีหนาท ๔๖ ปฏิจจสมปุ บาท หัวใจแห่งพระพุทธศาสนา ๕๔ ธรรมะไร้นิกาย ๖๐ ธรรมะไร้รูปแบบ ๖๒ ธรรมะเชิงลึก ธรรมะประยุกต์ ๖๘ อิสรภาพทางปัญญา ๗๑ ธรรมอันเป็นสากลไร้กาลเวลา ๗๕ สืบสานปณิธานธรรม จากความฝันสู่ความจริง ๘๒ บทความจากนิตยสารเนชั่นสุดสัปดาห์ ๙๘
{ข้าพเจ้ามอบชีวิตและร่างกายนี้ ถวายแด่พระพุทธเจ้า, ข้าพเจ้าเป็นทาสของพระพุทธเจ้า, พระพทุ ธเจา้ เปน็ นายของขา้ พเจา้ เพราะเหตดุ ังวา่ มาน้ี ขา้ พเจา้ จงึ ชอ่ื วา่ {“พุทธทาส” (คำประกาศตนเป็นพุทธทาสของพระธรรมโกศาจารย์ : พุทธทาส อินฺทปญฺโญ)
บทนำ แมจ้ ะไมเ่ คยไดพ้ บหนา้ คา่ ตาหรอื ไดก้ ราบนมสั การทา่ นพทุ ธทาส ในหว้ งเวลาทท่ี า่ นยงั มชี วี ติ อยู่ และมโี อกาสแตเ่ พยี ง “รจู้ กั ทา่ นเปน็ การ สว่ นรวม” เฉกเชน่ ผอู้ า่ นจำนวนมากมายทต่ี ดิ ตามผลงานของทา่ น หาก พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี เจ้าของนามปากกา ว.วชิรเมธี ก็นับตนเอง เปน็ หนง่ึ ในลกู ศษิ ยข์ องทา่ นพทุ ธทาสอยา่ งสมบรู ณ์ ดว้ ยนบั ตง้ั แตไ่ ดเ้ รม่ิ อ่านหนังสือเล่มแรก ท่าน ว.วชิรเมธีก็เกิดอาการตกหลุมรักในธรรมะ ของพระพุทธเจ้าที่ท่านพุทธทาสนำมาแสดงอย่างจับจิตจับใจ อันเป็น แรงผลักดันให้เริ่มลงมือศึกษาผลงานอีกนับร้อยที่ท่านได้ทิ้งเอาไว้ เสมือนเป็นมรดกแทนตัวอย่างจริงจัง วัตรปฏิบัติตลอดจนหลักธรรมที่ ทา่ นพทุ ธทาสแสดงไวอ้ ยา่ งแกลว้ กลา้ อาจหาญ และซอ่ื ตรงตอ่ พระพทุ ธ เจา้ อยา่ งถงึ ทส่ี ดุ ไดก้ ลายมาเปน็ ตน้ แบบหลอ่ หลอมใหภ้ กิ ษผุ มู้ าทหี ลงั ได้อาศัยเป็นหลักยึด เป็นแสงสว่างนำทาง กระทั่งกล่าวว่า “ตัวของ อาตมาเองไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากทา่ นพทุ ธทาสกวา่ ๗๐ เปอรเ์ ซน็ ต”์
เส้นทางการศึกษาพุทธทาสธรรมนับจากเป็นสามเณรน้อยแห่ง เมืองเหนือ กระทั่งเติบใหญ่ กลายมาเป็นพระภิกษุผู้พลิกสถานภาพ หนงั สือธรรมะจาก “ลูกเมียน้อย” มาเปน็ “ธรรมะอนิ เทรนด์” เจ้าของ ผลงาน ธรรมะตดิ ปกี ธรรมะดบั รอ้ น ซง่ึ ขน้ึ ไปยนื ตดิ อนั ดบั หนงั สอื ขาย ดอี นั ดบั หนง่ึ ไดอ้ ยา่ งนา่ ทง่ึ นน้ั มเี งาของทา่ นพทุ ธทาสซอ้ นทบั อยอู่ ยา่ งไร การศกึ ษาเสน้ ทางธรรมของทา่ น ว.วชริ เมธี ไมเ่ พยี งทำใหเ้ ราไดม้ องเหน็ ทม่ี าทไ่ี ปของพระนกั เขยี นผหู้ นง่ึ ซง่ึ มผี ลงานโดดเดน่ แหง่ ยคุ หากเรายงั จะไดม้ องเหน็ อตั ลกั ษณข์ องทา่ นพทุ ธทาส ผา่ นสายตาและการตคี วาม ของพระรุ่นใหม่ ศิษย์ผู้ไม่เคยพบอาจารย์แม้แต่ครั้งเดียว แต่ประกาศ กอ้ งว่า “ทา่ นพทุ ธทาสเปน็ ตน้ แบบในหวั ใจของอาตมา” ว.วชริ เมธี ๑๑
ปฐมบทแหง่ มรรคาธรรม ... สพู่ ระนกั เขียนช่อื ดังแหง่ ยคุ ทราบมาวา่ พระอาจารยบ์ วชตง้ั แตอ่ ายยุ งั นอ้ ยไมท่ ราบ วา่ อะไรคอื แรงจงู ใจในการบวช ตง้ั แตเ่ ลก็ ๆ จำความได้ โยมแมก่ พ็ าไปวดั แลว้ ตามโยมแมไ่ ปวดั ทุกๆ วันพระ ชีวิตจึงผูกพันกับวัด กับพุทธศาสนา มาตั้งแต่ยังเด็ก ชอบพระและวัด ต่อมาโยมแม่ไม่ไป เราก็ไปของเราเอง แล้วโรงเรียน ของอาตมาอยู่ติดกับวัด ซึ่งเป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรมของคณะสงฆ์ สอนทง้ั แผนกธรรมะและสายสามญั มตี ง้ั แตม่ ธั ยม ๑-๓ มพี ระมาเรยี น นบั รอ้ ยรปู อาตมานง่ั เรยี นอยใู่ นหอ้ งมองทะลไุ ป เหน็ พระเหน็ วดั กร็ สู้ กึ อยากบวช เป็นภาพพิมพ์ใจที่งดงามมาก รู้สึกว่าการบวชเป็นการ ได้สองต่อ คือ ได้เรียนธรรมะและได้เรียนต่อทางโลก คิดว่าหากบวช กค็ งจะไดเ้ รยี นเยอะแนน่ อน เพราะฉะนน้ั เมอ่ื เรยี นจบ ป. ๖ กบ็ วชเลย
แล้วได้เรียนอย่างที่ตั้งใจหรือไม่ เมอ่ื บวชแลว้ อาตมาบา้ เรยี นมาก เรยี นนกั ธรรมตรี โท เอก คกู่ บั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ ตอ่ มาพอยา้ ยเขา้ มาอยใู่ นเมอื ง (อำเภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งราย) กม็ โี อกาสไปเรยี นภาษาองั กฤษและพมิ พด์ ีดเพม่ิ เตมิ หลงั จากจบเปรยี ญธรรม ๕ ประโยค อาตมากไ็ ปลงทะเบยี นเรยี นมสธ. (มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช) ทางดา้ นศกึ ษาศาสตร์ เรยี นรเู้ ทคนคิ การเขยี น การทำงาน ทกั ษะการเปน็ ครทู ด่ี ี คไู่ ปกบั บาลเี ปรยี ญธรรม ๖ ประโยค เพราะฉะนั้นตอนจบเปรียญธรรม ๙ ประโยค ก็จบคู่กับ ปริญญาตรีทางโลกอีกหนึ่งใบ ถือเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้เราเรียนรู้ ทางโลกทางธรรมไปพรอ้ มๆ กนั และอกี อยา่ งหนง่ึ คอื อาตมาชอบเขา้ หอ้ งสมดุ ถอื เปน็ การเรยี นตามอธั ยาศยั ซง่ึ ปลกู ฝงั ใหอ้ าตมารกั การอา่ น เมอ่ื นำมาพฒั นากท็ ำใหม้ ศี กั ยภาพในการเขยี นหนงั สอื และเปน็ เครอ่ื งมอื ในการเผยแผ่ธรรมะของเราในเวลาต่อมา เมื่อจบปริญญาตรีแล้ว อาตมายังเรียนต่อปริญญาโท ด้าน Buddhist Study หรอื พทุ ธศาสตรศ์ กึ ษา อกี อยา่ งนอ้ ย ๓-๔ ปี เรยี กวา่ ใชเ้ วลากวา่ ๑๕ ปี ไปกบั การเรยี นโดยไมพ่ กั ขลกุ อยู่กบั หนงั สอื หนงั หา ตำรับตำรามาตลอด เพราะฉะนั้นเมื่อจบปริญญาโท อาตมาจึงคิดว่า พอกนั ที ไดเ้ วลาทำงานแล้ว ซึ่งก็คือจุดเริ่มต้นของการทำงานเขียนเผยแผ่ธรรมะ จรงิ ๆ อาตมาเรม่ิ เขยี นบทความมาตง้ั แตย่ งั เปน็ สามเณร ชน้ิ แรก ว.วชริ เมธี ๑๓
ชอ่ื มงคลแท้ มงคลเทยี มในพระพทุ ธศาสนา เปน็ บทความเชงิ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ กง่ึ วชิ าการ พอชน้ิ นน้ั ไดต้ พี มิ พก์ เ็ ขยี นชน้ิ อน่ื ๆ สง่ ไปตามหนงั สอื พิมพ์ สยามรัฐบ้าง ข่าวสดบ้าง ก็ได้ลงเรื่อยมา โชคดีที่ส่งอะไรไป ก็ไมค่ ่อยไดล้ งตะกรา้ กเ็ กดิ กำลงั ใจวา่ เราเขยี นได้ ปี ๒๕๓๙ จงึ เรม่ิ เปน็ คอลมั นน์ สิ ตใ์ หก้ บั นติ ยสารเนชน่ั สดุ สปั ดาห์ พออายุ ๒๙ ปี กเ็ รม่ิ มงี าน พ๊อคเก็ตบุ๊ครวมเล่มชื่อ ปรัชญาหน้ากุฏิ ปีต่อมาก็มีเรื่อง ดีเอ็นเอ ทางวญิ ญาณ เมอ่ื เรยี นจบปรญิ ญาโท กต็ ง้ั ใจเขยี นงานอยา่ งจรงิ จงั และงานที่ออกมาหลังจากนั้นก็สร้างกระแสให้กับ วงการหนังสือไม่น้อย ก่อนหน้านั้นอาตมาเคยเขียนงานเครียดๆ แล้วรู้สึกว่าไม่มีการ ตอบรบั มากนกั จงึ เปลย่ี นแนวกลายมาเปน็ ธรรมะตดิ ปกี ธรรมะดบั รอ้ น ธรรมะหลับสบาย ซึ่งเป็นธรรมประยุกต์ ปรากฏว่ามีกระแสตอบรับ ทด่ี มี าก ตดิ อนั ดบั หนงั สอื ขายดที ส่ี ดุ จนกระทง่ั มกี ารนำไปทำเปน็ ละคร โทรทศั น์ จากเดิมซงึ่ เป็นหนงั สอื ผูใ้ หญ่ พอเป็นละคร เดก็ กห็ ันมาอา่ น วัยรุ่นก็อ่าน เกิดกระแสอ่านกันทุกชนชั้น เหมือนกับเราโยนก้อนหิน ก้อนหนึ่งลงไปในสระ ตีวงกระเพื่อมไปทุกวงการ แล้วก็ตรงนั้นเอง อาตมาคิดว่าเป็นรอยต่อที่ทำให้เกิดคำว่าธรรมะอินเทรนด์ เมื่อก่อน หนังสือธรรมะเหมือนลูกเมียน้อยในร้านหนังสือ แต่ทุกวันนี้เปลี่ยน รปู โฉมโนมพรรณกลายเปน็ กระแสใหญโ่ ต ใครๆ กแ็ หม่ าอา่ น แหม่ าพมิ พ์ แห่มาทำหนังสือธรรมะ ว.วชริ เมธี ๑๕
พระอาจารยค์ ดิ ว่าอะไรเปน็ ปจั จยั ทท่ี ำใหห้ นงั สอื ของ ท่านได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี ตรงน้ี อาตมามองวา่ นค่ี อื คณุ ปู การของ “ธรรมะตดิ ปกี ” ไมใ่ ช่ คุณูปการของอาตมา อาตมาใช้คำว่า “ธรรมะติดปีก” ไม่ได้หมายถึง หนังสือที่ตัวเองเขียน แต่ใช้เป็นภาษาสัญลักษณ์ ซึ่งหมายถึงการรู้จัก ประยกุ ตธ์ รรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ยคุ สมยั อกี อยา่ งหนง่ึ อาตมาเชอ่ื วา่ เปน็ เพราะจังหวะของยุคสมัยด้วย คือตอนนั้น สังคมไทยกำลังอยู่ในยุค เปลย่ี นผา่ น เราเพง่ิ ผา่ นวกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ (วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ “ตม้ ยำกงุ้ ” ชว่ ง ปี ๒๕๔๐) มาไมน่ าน คนยงั บอบชำ้ อยู่ คอื เมอ่ื คนมที กุ ขม์ าก ธรรมะก็ จำเปน็ มากเปน็ ธรรมดา เหมอื นทท่ี า่ นพทุ ธทาสเกดิ ขน้ึ มาตรงกบั จงั หวะ ที่สังคมไทยกำลังอภิวัฒน์ครั้งใหญ่ (การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ปี พ.ศ. ๒๔๗๕) ทา่ นจงึ กลายเปน็ นกั อภวิ ฒั นช์ น้ั นำไมน่ อ้ ยไปกวา่ นาย ปรดี ี พนมยงค์ อาตมามองวา่ ธรรมะของพระพทุ ธเจา้ นน้ั เหมอื นเพชร กลา่ วคอื มีคุณค่าในตัวเอง มีความงดงามแพรวพราวอยู่แล้วด้วยตัวของตัวเอง เราเพียงแต่เอาเพชรที่แพรวพราวนั้นมาจัดวางให้ถูกที่ ถูกเวลา แล้วก็ ถูกโอกาสเท่านั้น เพชรก็สามารถที่จะแพรวพราวต้องตาต้องใจ ของสาธารณชนทกุ เมอ่ื เราไมไ่ ดท้ ำอะไรมากไปกวา่ การนำเพชรมาวาง ในที่ๆ เหมาะที่ควร เพราะฉะนั้น คุณงามความดี (คือการที่คนหันมา สนใจธรรมะมากๆ) เหล่านี้ อาตมาคิดว่า เป็นเพราะเสน่ห์อันแท้จริง ของพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ๑๑๖๖
จะเห็นได้ว่าพระอาจารย์มีผลงานออกมาในหลาย รปู แบบ ไมท่ ราบวา่ ตอนนพ้ี ระอาจารยท์ ำงานอะไรบา้ ง ตอนนอ้ี าตมาเขยี นคอลมั นใ์ หก้ บั นติ ยสารตา่ งๆ กวา่ ๑๐ ฉบบั (ทา่ นมผี ลงานตพี มิ พใ์ นรปู ของพอ็ คเกต็ บคุ๊ อกี จำนวนกวา่ เกา้ สบิ หา้ เลม่ ซงึ่ บางส่วนได้รับการแปลไปเปน็ ภาษาองั กฤษ จนี ญป่ี ่นุ เกาหลี และ ภาษาอนิ โดนเี ซยี ) เปน็ อาจารยส์ อนระดบั ปรญิ ญาโทอยทู่ ม่ี หาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเป็นอาจารย์พิเศษให้กับสถาบัน การศึกษากว่ายี่สิบสถาบัน นอกนั้นก็แล้วแต่จะนิมนต์เข้ามา มที ง้ั บรรยาย ปาฐกถา เสวนา สมั มนา อภปิ ราย (ทา่ นว.วชริ เมธี ไดร้ บั ยกย่องจากสหพันธ์นานาชาติและศาสนาเพื่อสันติภาพโลก ให้เป็น “ทตู สนั ตภิ าพโลก” เมอ่ื ปี ๒๕๔๘, ไดร้ บั รางวลั พระธรรมทตู ผมู้ ผี ลงาน ดีเด่นระดับโลก จากรัฐบาลและคณะสงฆ์แห่งประเทศศรีลังกา และ องค์กรยุวพุทธสงฆ์โลกในปี ๒๕๔๙, และได้รับรางวัลพระราชทาน “เสาเสมาธรรมจกั รทองคำ” สาขาการแตง่ หนงั สอื ทางพระพทุ ธศาสนา จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในงานสปั ดาห์ วิสาขบูชาโลก ปี ๒๕๕๐, คณะกรรมการจัดงานวันเยาวชนแห่งชาติ มอบโล่เกียรติคุณในฐานะเป็นบุคคลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อเยาวชน สาขาการศึกษาและวิชาการ ในปี ๒๕๕๐, สภาสังคมสงเคราะห์แห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มอบโล่เกียรติคุณ ในฐานะเป็น ลูกที่มีความกตัญญูกตเวทีอย่างสูงต่อแม่ ในโอกาสวันแม่แห่งชาติ ปี ๒๕๕๑, สถานีวิทยุ อสมท. F.M. 96.5 คลื่นความคิด ประกาศ ว.วชริ เมธี ๑๑๗๗
เกยี รตคิ ณุ ในฐานะ “สดุ ยอดนกั คดิ ” ประจำปี ๒๕๕๑) การทต่ี อนนม้ี ผี มู้ านมิ นตไ์ ปทำงานเยอะๆ กเ็ ปน็ สง่ิ ทถ่ี กู ตอ้ งแลว้ เราบวชมากเ็ พอ่ื ทำในสง่ิ น้ี ตอนนช้ี ว่ งอายกุ ด็ ี ความพรอ้ มทจ่ี ะเลกิ เรยี น ในหอ้ งแตย่ งั เรยี นนอกระบบอยกู่ ด็ ี เออ้ื ใหเ้ ราทำงาน พรอ้ มทจ่ี ะทำงาน และมีงานให้ทำ เพราะฉะนั้นเมื่อใครนิมนต์มาก็ไปทำงาน เป้าหมายในการทำงานของพระอาจารยค์ ืออะไร อาตมามองวา่ สงั คมไทยเหมอื นสวนหยอ่ มในแผนทโ่ี ลก เพราะ ฉะนัน้ ถา้ จะสอนพทุ ธศาสนา สอนวิปสั สนากรรมฐาน ก็ตอ้ งไปทวั่ โลก เหมอื นทา่ น ตชิ นทั ฮนั ท์ (พระมหาเถระชาวเวยี ดนามในพทุ ธศาสนา นิกายมหายาน ซึ่งได้รับยกย่องจากนิตยสารไทม์เอเชียให้เป็นหนึ่งใน หกสบิ “ฮโี ร”่ หรอื วรี บุรษุ แหง่ เอเชยี ) กด็ ี ทา่ นทะไลลามะกด็ ี (ผนู้ ำทาง จติ วญิ ญาณสงู สดุ ในพทุ ธศาสนา นกิ ายวชั รยาน หรอื พทุ ธศาสนาแบบ ทเิ บต ซง่ึ ไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขาสนั ตภิ าพในปี ๒๕๓๒) ทำอยู่ อาตมา อยากนำธรรมะไปสทู่ กุ หนทกุ แหง่ เหมอื นอยา่ งทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทา่ นทรงทำ เพื่อให้เจตจำนงของพระพุทธเจ้าสัมฤทธิ์ผล เหมือนที่พระองค์ตรัสไว้ เมื่อคราวแสดงปฐมเทศนาว่า “ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงจาริกไป เพอ่ื ประโยชนเ์ กอ้ื กลู เพอ่ื ความสขุ เพอ่ื อนเุ คราะหช์ าวโลก” อาตมาจะ พยายามทำหน้าที่ถึงตรงนั้น จะได้มากได้น้อยก็เป็นอีกเรื่องหนึ่ง แต่ถือว่าเป็นวิสัยทัศน์ของเรา ๑๘
อาตมารสู้ กึ มาตง้ั แตย่ ังเดก็ แลว้ วา่ เราเปน็ อยา่ งอน่ื คงไมเ่ หมาะ นอกจากเปน็ พระ เพราะรสู้ กึ วา่ ถกู ฝาถกู ตวั เหมอื นเรามตี ลบั ยาหมอ่ ง สองตลบั ถา้ ถกู ฝา ถกู ตวั เอามาคลกิ ครง้ั เดยี วกจ็ บ อาตมากเ็ ปน็ อยา่ งนน้ั เพราะฉะนั้นตั้งแต่บวชมา จนกระทั่งถึงเวลานี้ ก็ยังรู้สึกว่าชีวิตพระ เป็นชีวิตที่เหมาะสมกับเราอยู่ { การบวช คอื การออกไปแสวงหาวา่ อะไรเป็นกุศล (คำตรัสของพระพุทธเจ้า) จากหนงั สือ “บวชทำไม” การบวช คอื การออกไปอยอู่ ยา่ งตำ่ ตอ้ ย อยา่ งไมม่ ที รพั ยส์ มบตั อิ ะไร {(ท่านพุทธทาส) จากหนงั สือ “บวชทำไม” ว.วชริ เมธี ๑๙
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: