Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NNFE-255812-ProShow Gold

NNFE-255812-ProShow Gold

Description: NNFE-255812-ProShow Gold

Search

Read the Text Version

คํานาํ 1ชุดการเรยี นการสรา งส่ือเพ่ือการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold จดั ทาํ ขนึ้ เพอื่ ใหโ อกาสและทางเลอื ก ทางการศกึ ษา สําหรับเยาวชนและประชาชนผสู นใจทวั่ ไป สามารถใชศึกษาและผลติ สอ่ื สนับสนุนการเรยี น การสอน การบริหาร และเปน ส่ือนาํ เสนองานไดห ลายรปู แบบ สาระ สําคัญในชดุ การเรยี น ประกอบดว ย องคป ระกอบของส่ือเพอื่ การนาํ เสนอ การวางโครงเรอ่ื ง หลกั การเขียนบท เพือ่ การนาํ เสนอ ความรูพื้นฐานของ โปรแกรมและการติดต้งั สภาพแวดลอ มของโปรแกรม ProShow Gold และการสรา งส่อื เพอ่ื การนาํ เสนอดวย ProShow Gold อันจะเปน ประโยชนอ ยา งยง่ิ สําหรบั ผูที่สนใจนําไปใชงานในการผลิตสอื่ ดา นเทคโนโลยี 2ในการจัดทาํ ชุดการเรยี นในเลม น้ไี ดร ับความรวมมือจากผูรู ผเู ชย่ี วชาญและบคุ ลากรที่เกีย่ วของทกุ ทาน ดงั รายนามท่กี ลา วไวใ นทา ยเลม ในการใหความรแู ละแลกเปล่ยี นประสบการณ ตลอดจนใหข อเสนอแนะ อนั จะสงผลท่เี ปน ประโยชนต อผูเ รยี นและประชาชนท่สี นใจทั่วไป สถาบัน กศน.ภาคเหนือ ขอขอบคุณทกุ ทา น เปน อยางสูงไว ณ ทนี่ ้ี (นายประเสริฐ หอมดี) 4ผูอ ํานวยการสถาบันพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ 5และการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคเหนอื การสรางสอ่ื เพื่อการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | ก |

ชดุ การเรยี น หลักสตู รการสรา งสอื่ เพอ่ื การนําเสนอ ดวย ProShow Gold สถาบันพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ภาคเหนอื สาํ นกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบญั 7คาํ นํา ก 8สารบัญ ข 9คาํ ชี้แจงแนวทางการเรียนรู ค ง 10หลกั สูตรการสรา งสือ่ เพือ่ การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold 1 โ11 ครงสรา งของหลกั สูตร ฉ 5 12หนว ยที่ 1 องคประกอบของส่ือเพ่อื การนาํ เสนอ 40 53 13หนวยที่ 2 การวางโครงเรอื่ งและหลักการเขียนบทเพ่อื การนําเสนอ 60 66 14หนว ยที่ 3 เทคนคิ การถายภาพเบือ้ งตน 19 74 117 15หนวยที่ 4 การใชโปรแกรม Adobe Audition เพ่ือการบันทึกและตดั ตอเสยี ง 16หนว ยที่ 5 ความรูพืน้ ฐานของโปรแกรม 17หนวยท่ี 6 ลักษณะและประเภทของ file ขอมลู ทนี่ ํามาใช 18หนวยที่ 7 พ้ืนท่กี ารทาํ งานของโปรแกรม ProShow Gold หนว ยที่ 8 การสรางสือ่ เพอ่ื การนาํ เสนอดวยโปรแกรม ProShow Gold 20หนวยท่ี 9 เทคนคิ การนาํ เสนอและเผยแพรสื่ออยา งมีคุณภาพ 21บรรณานุกรม 22คณะผจู ัดทาํ การสรางส่อื เพือ่ การนาํ เสนอดวย ProShow Gold | ข |

คาํ ช้ีแจงแนวทางการเรียนรู 24ชุดการเรยี นทางไกล หลกั สตู รการพัฒนาส่อื เพ่อื การนาํ เสนอดวย ProShow Gold ประกอบดวย 1. สือ่ เอกสารการเรียน ในรูปแบบ CD 1 แผน ใชสาํ หรบั ศึกษาดว ยตนเอง ประกอบดว ยเน้ือหา กจิ กรรม และ file โปรแกรมทดลองฝก ปฏิบตั ิ 2. ส่อื บคุ คล ไดแก ครูที่ปรึกษาประจาํ หลักสตู ร วิทยากร ผูรู 3 สอ่ื อื่นๆ ไดแก สอื่ ที่เผยแพรท ว่ั ไป ทั้งที่เปนเอกสารหนงั สอื และ CD DVD ที่สามารถคน ควา ได ตามแหลงตา ง ๆ เชน หองสมุด อินเตอรเ นต็ 28ในการศกึ ษาชดุ การเรยี น ผเู รยี นควรเตรยี มตวั เพอื่ การศึกษาดว ยตนเอง ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางหลกั สูตรการสรา งส่อื เพ่ือการนําเสนอดว ย ProShow Gold 2. ศกึ ษาและทาํ ความเขา ใจกบั แนวคดิ จุดประสงค และขอบขายเน้อื หา ของแตละหนวยใหเ ขา ใจ 3. วางแผนเพอ่ื กาํ หนดระยะเวลาเรียน และหาเวลาศกึ ษาดวยตนเอง วันละ 3-5 ชว่ั โมง เพ่อื ให สามารถเรียนรูรายละเอยี ดของเนื้อหาแตละหนวย พรอ มท้งั ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามที่กําหนด 4. ประสานงานครูท่ปี รกึ ษา เพื่อขอคําแนะนําในการ ฝกปฏิบัตแิ ละทาํ กจิ กรรมเพ่อื ความเขา ใจและ สามารถปฏิบัติไดถ กู ตอง 5. ผเู รยี นสามารถคน ควา หาความรเู พม่ิ เตมิ ไดจ ากส่อื สิง่ พิมพ ผูรู วิทยากร 6. ผูเ รยี นตอ งทาํ กจิ กรรมทุกกิจกรรมทกี่ าํ หนดไวใ นแตล ะหนว ย และใหนํามาสง ในวนั เขารบั การ สมั มนาอยา งพรอ มเพรยี งทกุ คน 7. ใหผูเรยี นเตรียม ชิ้นงานหรือผลงาน มาฝก ปฏบิ ตั กิ าร สรา งสอื่ และฝก การนําเสนอ ในวันเขารว มการ สมั มนา ดงั น้ี 7.1 บทบรรยาย และ file เสยี งบรรยาย 7.2 file ส่ือภาพน่งิ หรอื วีดีทัศนท ่ีไดจ ัดทําไว 7.3 เสยี งดนตรปี ระกอบการทาํ ส่ือ เชน file MP3 หรือ CD เพลง 8. การเรยี นหลักสตู รการสรา งสือ่ เพื่อการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold ผูเรียนจาํ เปน ตองมอี ุปกรณ และเครือ่ งมือใชประกอบใหพรอ ม เพ่ือความสะดวกและประเมนิ ผลสาํ เรจ็ ตามหลกั สตู ร ผเู รยี นควรมีอปุ กรณ เครื่องใชประกอบการเรยี นเปน ของตนเอง ดังนี้ 8.140 เครอ่ื งคอมพิวเตอร PC หรอื Note book กไ็ ด 8.241 หูฟง ไมโครโฟน (แยกจากหฟู ง ) 8.342 Flash drive การสรา งส่ือเพือ่ การนาํ เสนอดวย ProShow Gold | ค |

หลักสูตรการพฒั นาส่ือเพอ่ื การนําเสนอดว ย ProShow Gold ความเปนมา พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ พุทธศักราช 2542 และแกไ ขเพิ่มเตมิ พุทธศกั ราช 2545 มาตรา 22 กําหนดไวว าการจัดการศกึ ษาตอ งยึดหลกั ผเู รยี นทกุ คนมีความสามารถการเรยี นรู การพฒั นาตนเองได และ มาตรา 65 ยังกาํ หนดไววา ครูหรือบุคลากรทม่ี ีสว นเก่ยี วของในการจดั กระบวนการเรยี นรู โดยใชส อื่ เทคโนโลยี ทต่ี อ งทําหนาทผี่ ลิต หรือแสวงหาสื่อ จงึ ควรไดรบั ความรูแ ละทักษะดานการผลติ ส่อื เทคโนโลยีใหส อดคลอ งกับ สังคมยคุ โลกาภิวัฒน และนอกจากน้ี สาํ นักงาน กศน. มนี โยบายตอ เนอ่ื งในการผลิตและเผยแพรสื่อ อเิ ลคทรอนิกสเ พอื่ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั และการบรหิ ารงานในรูปแบบของ CD VCD และ DVD ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีและสารสนเทศไดอ ยางเหมาะสม พอเพียงและสอดคลอ งกบั การ เปล่ยี นแปลงในยุคของสังคมปจ จุบัน พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง ชาติดังกลาว มผี ลใหส ถานศกึ ษา หนวยงาน องคก รและสถาบันตา งๆ ทมี่ ี หนา ทีใ่ นการจัดการศกึ ษาตองเรงปฏิรปู การจดั การ ศึกษาและพฒั นาระบบการทํางาน โดยเฉพาะอยางยง่ิ การ พฒั นาบคุ ลากร ดานเทคโนโลยี ทั้งน้ีเพ่อื ใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงของสงั คม ตลอดจนนโยบายของ รัฐบาล เพ่อื ใหการจดั การศกึ ษาสอดคลอ งกับพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง ชาติ สํานกั งานสง เสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงึ กาํ หนดจดุ เนน การดาํ เนนิ งานจดั การศกึ ษาทางไกล ท่มี งุ พัฒนา ระบบการเรียนการสอนโดยบรู ณาการ การใชเ ทคโนโลยที างการศกึ ษาในรูปแบบที่หลากหลาย มาเพ่มิ ประสิทธภิ าพทางการศึกษาและปฏิบตั ิ งานอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ จึงมอบหมายนโยบายใหสถานศกึ ษา จัด การศกึ ษาทางไกล เพื่อเปด โอกาสใหประชาชน ทุกกลุมเปา หมาย ทส่ี นใจ ศึกษาหาความรู และมกี ารพัฒนา คุณภาพการศกึ ษาอยา งตอเน่ืองตลอดชีวิต สถาบนั พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนือ จงึ ไดพฒั นาหลกั สูตรการ พฒั นาสอื่ เพ่ือการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold สําหรบั ผูจัดการเรียนการสอน เนนกลุมเปา หมาย บรรณารกั ษ/เจาหนาทีห่ องสมุดประชาชนไดศ กึ ษาพัฒนาตนเองอยา งตอ เนื่องโดยกาํ หนดวธิ กี ารเรยี นรูประเภท การศึกษาทางไกลในป 2558 หลกั การ 1. เปน หลักสตู รท่ีสามารถจดั การเรยี นรูไ ดห ลายวิธี เพอ่ื เปน ทางเลอื กที่สอดคลองกับความตองการ ของกลมุ เปา หมาย 2. เปนหลักสตู รท่ีมีโครงสรา งยดื หยุนทั้งดา นสาระ เวลาเรยี น และการจัดการเรียนรู เพอ่ื ตอบสนอง ผูเรยี นใหไ ดป ระโยชนสูงสุด การสรา งส่อื เพอื่ การนําเสนอดวย ProShow Gold | ง |

3. สง เสรมิ ใหผูเรยี นใฝรใู ฝเ รยี น และมุง เนนการนําความรู ประสบการณท ่ไี ดรับไปใชใ นการพฒั นาสอ่ื เทคโนโลยีเพื่อใชก ารนําเสนองานและใชเปนสื่อสําหรับการจัดการศึกษาตามอัธยาศยั ไดต ามความเหมาะสม 4.53 ผูเรียนตอ งมคี วามรูพ้นื ฐานในการใชค อมพิวเตอรได และมไี วส าํ หรับฝกปฏบิ ัติดว ยตนเอง จดุ ประสงคของหลกั สูตร 1. ผเู รียนมีความรู ความเขาใจในหลกั การทาํ งานของโปรแกรม ProShow Gold เพอื่ การนําเสนอ 2. มีความสามารถสรา งสือ่ การนาํ เสนองานดวย โปรแกรม ProShow Gold ได 3. มีทักษะในการนําไปใชเ พ่อื นําเสนองาน และเปน สือ่ ประกอบในการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4.58 มีเจตคติที่ดีตอการใชเทคโนโลยเี พ่อื การปฏบิ ตั งิ าน กลุมเปาหมาย 1. ผูร ับผดิ ชอบงานประชาสัมพันธของหนวยงาน 2. ผูรับผดิ ชอบดา นขอ มลู และสารสนเทศของหนว ยงาน 3. บรรณารกั ษหอ งสมุดประชาชน 4.63 เยาวชนและประชาชนทั่วไป คุณสมบัติผเู รียน 1. มีความรพู น้ื ฐานในการใชคอมพวิ เตอรไ ด 2. มีทักษะการสบื คน ขอ มูลในระบบออนไลน 3. มเี ครอ่ื งคอมพิวเตอรมาตรฐานมัลตมิ ีเดยี สาํ หรับใชในการฝก ปฏบิ ตั ดิ วยตนเองได ระยะเวลาเรยี น จาํ นวนหนว ยกิต หลักสตู รการพฒั นาส่อื เพอื่ การนําเสนอดวย ProShow Gold ใชเวลาเรียน จาํ นวน 48 ชว่ั โมง มคี า เทากบั 1 หนวยกิต แบง เปน 1. ภาคทฤษฎี ศกึ ษาเน้ือหาดวยตนเองจากชดุ การเรยี นและโปรแกรมการฝก ปฏบิ ัติเพ่อื การ 70ทดลอง จํานวน 24 ชัว่ โมง 2. ภาคปฏบิ ัติ กิจกรรมการฝก ปฏิบัติ เพื่อสรางผลงานโดยการเขารับการสมั มนา 24 ชว่ั โมง 72เปน เวลา 3 วัน การสรา งส่อื เพื่อการนําเสนอดวย ProShow Gold | จ |

โครงสรา งของหลกั สูตร หลักสตู รการพัฒนาส่ือเพื่อการนําเสนอดวย ProShow Gold ประกอบดว ยเนื้อหาสาระ 9 หนวย คอื หนว ยที่ 1 องคป ระกอบของส่อื เพอ่ื การนาํ เสนอ จํานวน 1 ช่ัวโมง - ความหมายของการนาํ เสนอ หนวยท่ี 2 -77 ประเภทของสื่อเพื่อการนําเสนอ หนวยท่ี 3 -78 องคป ระกอบของสื่อเพือ่ การนําเสนอ 87หนว ยท่ี 4 - ปจจัยความสําเรจ็ ของการนําเสนอ หนวยท่ี 5 - เทคนคิ และวิธีการนําเสนอ หนวยที่ 6 หนวยที่ 7 การวางโครงเรื่องและหลักการเขียนบทเพือ่ การนําเสนอ จาํ นวน 4 ช่ัวโมง หนว ยท่ี 8 - การวางโครงเรอื่ ง - หลักการเขียนบทเพื่อการนําเสนอ เทคนิคการถา ยภาพเบ้ืองตน จํานวน 2 ชวั่ โมง - การจัดองคประกอบภาพ - ขนาดของภาพและการสือ่ ความหมายของภาพ การใชโ ปรแกรม Adobe Audition เพื่อการบันทกึ และตัดตอเสยี ง จํานวน 5 ชว่ั โมง - ลักษณะท่ัวไปของส่ือวีซดี ี หรอื ดีวดี ี - การสรางและบนั ทึก file เสียงคําบรรยาย ความรูพื้นฐานของโปรแกรมและการติดตัง้ จาํ นวน 2 ชว่ั โมง - ลักษณะทัว่ ไปของโปรแกรม ProShow Gold - คุณสมบัติของเครอื่ งคอมพิวเตอร - การตดิ ตง้ั โปรแกรม ลักษณะและประเภทของ file ขอ มลู ท่ีนํามาใช จาํ นวน 2 ชั่วโมง - ลักษณะและประเภทของ file ขอมลู นาํ เขา - ลักษณะและประเภทของfile ขอ มลู ทไี่ ดจากการสรา งงาน ดว ย ProShow Gold สภาพแวดลอ มของโปรแกรม ProShow Gold จาํ นวน 8 ชวั่ โมง - ลกั ษณะพื้นที่การทาํ งานและเครอื่ งมือที่เกีย่ วของ - การปรบั แตงพน้ื ทกี่ ารทํางาน การสรา งสือ่ เพ่อื การนาํ เสนอดวย โปรแกรม ProShow Gold จาํ นวน 23 ช่ัวโมง - การเตรียมขอมลู ภาพและเสยี ง - การจดั ระบบ File ขอมูลและเสยี งประกอบ - การจัดวาง File ภาพ การสรา งสื่อเพ่ือการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | ฉ |

108หนว ยที่ 9 - การนาํ เสยี งเขาพืน้ ท่ีสรางงาน - การสรา งขอ ความประกอบเรอื่ ง - การจัด effect และ Transition อยา งงา ย - การบันทึกและ Package (Export) เทคนิคการนาํ เสนอและเผยแพรส ือ่ อยา งมีคณุ ภาพ จาํ นวน 1 ชว่ั โมง - การเตรยี มการนาํ เสนอสือ่ -110 การจัดสภาพแวดลอ มกอ นนําเสนอ -111 การแกไขปญหาเบอ้ื งตนในการนําเสนอ - การเผยแพรส อ่ื ทางอนิ เทอรเ น็ต สอ่ื การเรียนรู ประกอบดว ย 1. ชุดการเรยี น - สือ่ VCD เพื่อการเรยี นรแู ละทาํ กิจกรรม -116 ซดี ีโปรแกรมทดลองใชง าน 2. วิทยากร และครูทป่ี รึกษา กระบวนการเรยี นรู หลักสตู รการพัฒนาสือ่ เพ่ือการนําเสนอดว ย ProShow Gold ใชเ วลาเรยี น จํานวน 48 ชว่ั โมง นับเปน 1 หนว ยกติ กระบวนการเรยี นรูประกอบดว ย -. ศึกษาดว ยตนเอง ตามสอื่ ท่กี ําหนดใหท ้งั หมด 9 หนว ย และโปรแกรมฝกปฏบิ ตั เิ พอ่ื การทดลอง 1 โปรแกรม จาํ นวน 24 ชัว่ โมง หรอื ภายใน 1 เดอื น - เขารบั การสมั มนาเพื่อเพิม่ เติมความรแู ละฝก ปฏบิ ัติ รวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณเรียนรูใน การนําเสนอผลงานในหนว ยการเรยี นท่ี 4-9 จาํ นวน 24 ชว่ั โมง การวดั ผลประเมินผล 1. ประเมินจากผลงานการทํากิจกรรมการศึกษาดว ยตนเอง 7 กจิ กรรม (30 คะแนน) 2. ประเมินจากกจิ กรรมการฝกปฏิบัติจนสําเร็จเปน ผลงาน จํานวน 70 คะแนน ดงั นี้ 2.1 การจัดระบบขอมลู การจดั ลาํ ดบั ภาพไฟล การนาํ เสยี งเขาพนื้ ท่ีสรางงาน การบนั ทกึ เสยี งและ export (60 คะแนน) 2.2127 มเี วลาเขารับการอบรม (สัมมนา) ไมนอยกวา รอ ยละ 80 ( 10 คะแนน) เกณฑการจบหลกั สตู ร 1. มคี ะแนนวดั ผลจากการประเมิน ขอ 1 และ ขอ 2 รวมกนั ไมนอยกวารอยละ 60 2. ผา นเกณฑการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคใ นระดบั ดีขึ้นไป ไมนอยกวา รอยละ 80 การสรา งส่ือเพ่อื การนําเสนอดวย ProShow Gold | ช |

1หนวยท่ี องคประกอบของสือ่ เพ่ือการนาํ เสนอ แนวคดิ การนาํ เสนองานโดยผา นทางส่ือ เปน วธิ กี ารหนง่ึ ทจ่ี ะถา ยทอดสาระ เรอ่ื งราว หรือกจิ กรรมทอี่ ยากให ผอู ่ืนรับทราบ เขาใจในสถาบัน องคก รหรือหนวยงานของตนเอง และเรื่องอ่นื ทต่ี อ งการนําเสนอเพอ่ื การเรยี นรู รปู แบบนาํ เสนอดว ยสื่อวีดที ศั น ผูจ ดั ทาํ หรอื ผูนําเสนอจาํ เปนตองเขา ใจในองคป ระกอบ ของสอ่ื ทจี่ ะใช ประกอบการนําเสนอ ตลอดจนเทคนคิ และวิธีการนาํ เสนอ จงึ จะทาํ ใหผ ูชม เกิดความสนใจ คลอ ยตาม ความคดิ อยางเขาใจและจดจาํ ได จดุ ประสงค เพอ่ื ใหผ ูเ รียน 1. เขาใจความหมายของการนาํ เสนอ 2. เขา ใจองคป ระกอบของส่ือการนําเสนอ 3. สามารถพฒั นาหรือสรา งสอื่ เพอ่ื การนาํ เสนอไดถูกตอ ง สมบรู ณแบบ ขอบขายเน้อื หา 1.1 ความหมายของการนําเสนอ 1.2 ประเภทของสื่อเพื่อการนาํ เสนอ 1.3 องคประกอบของสื่อเพอ่ื การนาํ เสนอ 1.4 ปจจัยความสาํ เร็จของการนําเสนอ 1.5 เทคนคิ และวิธกี ารนาํ เสนอ การสรา งส่ือเพื่อการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 1 |

การนาํ เสนอ เปน ศาสตร (วธิ ีการ) ของการสื่อสารทเี่ ปน กระบวนการถา ยทอด สาร จาก ผสู งสาร ไปสู ผูรับสารโดยผา นทางสอ่ื 1.1 ความหมายของการนําเสนอ การนาํ เสนอ คอื กระบวนการหรือวธิ กี าร เพอ่ื ใหรใู หทราบ การนาํ เสนอ คือ ใหเขาใจในกจิ กรรมของสถาบั น องคก ร การนําเสนอ คือ การนาํ เสนอ เปน หนว ยงาน หรอื เรือ่ งราวอ่นื ๆ ท่ตี อ งการ นาํ เสนอเพ่ือการเรียนรู การบอกสาระ เรอื่ งราวเพอ่ื ใหผ ชู มเขา ใจ และหรือคลอ ยตามความคดิ ของผู นาํ เสนอ หรือของหนว ยงาน การถา ยทอดเนื้อหา สาระที่ผสมผสานกนั ระหวาง ศลิ ปะการพูด กบั การแสดงขอมลู ในรปู แบบตา งๆ ผา นทางสือ่ และอปุ กรณ ไดอยางเหมาะสม ชองทางของการแลกเปลย่ี นเรียนรกู าร แบง ปน ความคิดเหน็ การมสี วนรว มใน กรอบความคดิ นน้ั ๆ 1.2 ประเภทของสือ่ เพ่อื การนําเสนอ ส่ือเพอื่ การนาํ เสนอมหี ลากหลายรูปแบบ แตการนําเสนอดว ยส่ือวีดิทัศนนั้น มหี ลายลักษณะ เชน 1.2.1 สอ่ื เพ่ือการนําเสนอโครงการ (กิจกรรม) ใหม 1.2.2 สือ่ เพื่อการสรปุ โครงการ (กจิ กรรม) 1.2.3 สื่อเพือ่ การประชาสมั พนั ธ 1.2.4 สื่อเพ่อื ใชประกอบการบรรยาย 1.2.5 สือ่ เพ่อื นาํ เสนอแบบขาวสาร การสรา งสอื่ เพอื่ การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 2 |

1.3 องคประกอบของสอื่ เพือ่ การนาํ เสนอ สอ่ื เพื่อการนาํ เสนอโดยทั่วไปจะมีสวนประกอบอยู 3 สว น ดังนี้ 1.3.1 สว นนําเร่อื ง (Introduction) 1.3.2 สวนเน้อื หา (Body) 1.3.3 สวนทายเรือ่ ง (Conclusion) 1.3.1 สว นนาํ เร่อื ง (Introduction) เปน สวนสรา งความสนใจใหภ าพรวม หรอื ผลลพั ธของเรอื่ งท่ี นําเสนอ จะเปนสว นท่ใี หอารมณกระตุนความสนใจ ความอยากรู ในเร่อื งราว 1.3.2 สวนเน้อื หา (Body) เปน สว นนาํ เสนอสาระเน้ือหาหลกั ที่ตองรอ ยเรยี ง อยางมขี ้ันตอน กระชบั ไดใ จความ กระบวนการนําเสนอตองคงรายละเอยี ดเทา ท่ีจําเปน และใชภาษาท่ีเขาใจไดง าย 1.3.3 สว นทายเร่อื ง (Conclusion) เปนสว นสดุ ทายของการนาํ เสนอ ซง่ึ ใชส รปุ สาระสําคัญ ขอคดิ เห็น ขอ เสนอแนะ รวมถึงแหลงขอมลู เพม่ิ เตมิ . สําหรับการกาํ หนดสัดสวนจะไมมกี ฎเกณฑตายตัว โดยทวั่ ๆ ไปจะมีสัดสว นอยทู ่ี สว นนาํ เร่ือง ไมเกนิ 10% 35สว นเนอื้ หา ไมเ กิน 80% 36สว นทา ยเร่อื ง ไมเกนิ 10% 1.4 ปจจยั ความสําเร็จของการนาํ เสนอ ในการนาํ เสนอใหป ระสบผลสําเร็จนั้น สิ่งสําคัญตองมคี วามพรอ มของปจ จัย ตา งๆ เชน 1.4.1 ดานสาระ 1.4.2 ดานสอ่ื และเคร่อื งมือ 1.4.3 ดา นเอกสารประกอบ 1.4.4 ดานบรรยากาศ 1.4.5 ดา นผฟู ง 1.4.6 ดานผบู รรยาย การสรา งสือ่ เพือ่ การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 3 |

45นอกจากน้ี การพฒั นาหรือสรางสอ่ื ยงั ตอ งคํานงึ ถึงองคป ระกอบในการ นําเสนอ ดังตอ ไปนี้ - เสนอ เรื่องอะไร - เสนอ ใหใคร - เสนอ ทีไ่ หน - เสนอ ดวยอะไร - เสนอ ชวงเวลาไหน - ใคร เปน ผูนาํ เสนอ - ผูฟง เปนใคร - ความสมบูรณ ขอมูลเนื้อหามีมากแคไ หน 1.5 เทคนิคและวิธีการนําเสนอ วธิ กี ารนาํ เสนอ มี 2 ประเภท 1. ประเภท ไมใ ช สื่อและอปุ กรณ 2. ประเภท ใช ส่ือเเละอุปกรณร ว ม การเลือกใชส อื่ ประกอบการนาํ เสนอท่เี หมาะสมนน้ั ไมสามารถบงบอกวา ส่ือ อปุ กรณใดดที สี่ ุด ทง้ั น้กี ็ ขึน้ อยกู ับ ตัวแปร ปจ จัย และเง่ือนไขตางๆ เชน 1. ปจ จัยทางดา นสาระเนอื้ หา 2. ปจจัยทางดานสถานท่ี 3. ปจ จัยทางสภาพแวดลอ ม 4. ปจจัยทางอปุ กรณ เครือ่ งมอื 5. ปจจยั ดานเวลา หวั ใจสาํ คญั ของการนําเสนอรวมกับส่ือและอปุ กรณจ ะอยูที่ทา นจะมีวิธกี าร นําเสนอรว มกบั ส่อื ให นา สนใจไดอยางไร วิธีการนาํ เสนอทดี่ ตี อ งยึดหลักวา ผูฟงตองไดรับ ตองไดจ าํ และตอ งเขา ใจในสอ่ื ทน่ี าํ เสนอ การสรา งส่อื เพื่อการนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 4 |

2หนวยท่ี การวางโครงเรอ่ื งและหลักการเขียนบทเพ่ือการนาํ เสนอ แนวคดิ การวางโครงเรื่องเปนแนวทางในการเขยี นบท ชว ยใหก ารเขยี นบทเปน ไป ตามเนื้อเรอ่ื ง ไมออกนอก ประเด็น และยงั ชว ยจัดลําดบั หวั ขอ และลาํ ดับความคดิ ได ทัง้ นผ้ี เู ขยี นตอ งมหี ลักการและความเขา ใจในการ เขยี นบทดว ยจึงจะทําใหก ารเขยี นบท เพอื่ การนาํ เสนอมคี วามสมบรู ณม ากย่ิงข้ึน จดุ ประสงค เพื่อใหผเู รยี น 1. สามารถวางโครงเรื่องไดถกู ตอง 2. สามารถเขยี นบทเพื่อการนําเสนอไดถ ูกตอ ง ขอบขายเน้อื หา 2.1 การวางโครงเรอื่ ง 2.2 หลักการเขยี นบทเพอื่ การนําเสนอ การสรางสอ่ื เพ่อื การนําเสนอดว ย ProShow Gold | 5 |

2.1 การวางโครงเรือ่ ง 2.1.1 ความหมายของโครงเรือ่ ง โครงเร่ือง หมายถึงการเขยี นรายการความคดิ หรอื ใจความสําคญั อยางเปนระเบียบ โดยยดึ วัตถุประสงคและขอบขายของเรอ่ื งเปนหลกั แบงออกเปน 2 ประเภท คอื 1) โครงเรือ่ งหยาบหรือโครงเร่ืองรูปหัวขอ 2) โครงเรอื่ งละเอยี ดหรือโครงเรอื่ งในรูปประโยค การเลอื กเขยี นโครงเรื่อง ข้ึนอยูกับเวลาและขอบขายของเนอ้ื เรอ่ื ง หากมีเวลานอยหรอื ขอบขา ยของเรือ่ งมีนอย อาจวางโครงเร่ืองเปนแบบหวั ขอ แตห ากมีเวลาเขียนมาก หรือขอบขายของเรอื่ งกวา ง มาก ควรวางโครงเรือ่ งเปน แบบโครงเรอ่ื ง อยางละเอียด 2.1.2 ลาํ ดับขน้ั ตอนในการวางโครงเรือ่ ง ขนั้ ที่ 1 ข้ันประมวลความคดิ เปนการรวบรวมความรคู วามคิดทมี่ อี ยูท ้งั หมดมาประมวลไว ดวยกนั ข้นั ที่ 2 ขัน้ เลอื กสรรความคดิ เปนการตดั ประเดน็ ที่ซาํ้ กนั หรอื เรอื่ งที่นอกประเดน็ ออกไป ข้ันที่ 3 ขัน้ จดั หมวดหมูความคดิ เปนการนาํ ประเดน็ ท่เี ลอื กสรร แลว มาจดั เปนหมวดหมู ขั้นที่ 4 ขัน้ จดั ลาํ ดับความคิดและเขยี นเปน โครงเรื่อง เปน การนาํ ประเด็นท่ีจัดหมวดหมแู ลว มาเรยี งลาํ ดบั กอ นหลงั โดยอาจใสห มายเลขหรอื อักษร กาํ กับไว จากนั้นจึงนําโครงเรอ่ื งไปเขยี นบท 2.1.3 ประโยชนข องการวางโครงเรอ่ื ง 1) โครงเรื่องชว ยกาํ หนดแนวทางในการเขียน ทาํ ใหผ ูเ ขียนไมก ลาวถงึ หัวขอท่ีนอกประเดน็ 2) โครงเรอ่ื งชวยจัดลาํ ดบั หวั ขอ ทําใหผเู ขยี นไมส ับสนเวลาเขยี นเรอื่ ง 3) โครงเร่อื งชว ยจัดลาํ ดบั ความคิดของผเู ขียนใหสัมพันธตอ เนอ่ื งกัน การสรา งส่อื เพ่อื การนําเสนอดวย ProShow Gold | 6 |

23กิจกรรมท่ี 1 ใหผเู รยี นวางโครงเรื่องสาํ หรับนาํ เสนองาน มีความยาวประมาณ 24หน่ึงหนากระดาษ โดยเลอื กจากชื่อเร่อื ง ดงั ตอ ไปนี้ 1. แนะนาํ หนว ยงาน/หอ งสมุด 2. แหลงเรยี นรูในชมุ ชน 3.27 อาชพี ทนี่ าสนใจในชุมชน (OTOP) ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ การสรา งส่ือเพอ่ื การนําเสนอดวย ProShow Gold | 7 |

2.2 หลักการเขียนบทเพอ่ื การนําเสนอ 2.2.1 ความหมายของบทเพอื่ การนําเสนอ บทเพื่อการนําเสนอสําหรบั สื่อทผ่ี ลติ ดว ยโปรแกรม ProShow Gold มลี ักษณะเดียวกนั กับ บทโทรทศั น ซึ่งหมายถงึ การนําเน้ือหาหรือเรอ่ื งราวที่มกี ารวางโครงเรือ่ งไวแ ลวมาเขยี นรายละเอียดตามลําดบั อยางนาสนใจ เพ่อื นําไปผลิตเปนสื่อ นาํ เสนอ ใหผ ชู มไดรบั ชมและรับฟงอยางประทับใจ รปู แบบการเขยี นบท มหี ลายรปู แบบ อาจเปน การแนะนําหนว ยงาน เปนสารคดี การสาธิต การบรรยาย หรอื การเลาเรอ่ื ง บท โทรทศั น ควรจะมกี ารใชภ าษาทส่ี ละสลวย มกี ารเกรน่ิ นํา การดาํ เนินเรือ่ งและบทสรุปที่กระชับ รูจักสอดแทรก ลีลาที่นาสนใจ และใชสาํ นวนภาษาท่ีนา ฟง 2.2.2 องคประกอบของบทเพอ่ื การนําเสนอ องคประกอบของบทเพือ่ การนาํ เสนอมี 3 สวน ประกอบดวย 1) บทนาํ เปนสวนที่จะกระตนุ ความสนใจของผชู ม เปนการเกริ่นนาํ เพอ่ื ชกั จงู ใหผชู ม ตดิ ตามไปชมเรอ่ื งราวท่ีจะนาํ เสนอตอไป ควรหาสงิ่ ท่ปี ระทับใจหรอื สิง่ ที่ตน่ื เตน เพ่ือ กระตุน เรงเรา เรยี กรอง ความสนใจ ชกั ชวนใหต ดิ ตามดว ยลลี าตางๆ อาจจะเปนภาพ หรอื เสยี ง บทนาํ ไมค วรยาวเกินไป 2) เนอ้ื เรอื่ ง คอื เรื่องราวรายละเอยี ดท้งั หมดท่จี ะนาํ เสนอ เปน การนําเอาแกน ของเร่อื ง หรอื ความคดิ รวบยอดของเรือ่ งมาขยายความอยา งเปนข้นั ตอน หรือเรยี กวา เปน การ ดาํ เนนิ เร่ืองนั่นเอง ผูเขยี นบทจะแสดงออกถงึ ความสามารถความเชี่ยวชาญใน ประสบการณ ทม่ี อี ยอู ยา งเตม็ ท่ี ท้ังสสี นั ลลี า อารมณ การหักมมุ การสรา งความฉงน และความไมคาดคิดใหกับผูชม 3) บทสรปุ เปน การสง ทายหรือการสรปุ เรือ่ งอยางเปนขั้นตอน เปน การยน ยอ เรอ่ื งราว ทั้งหมดตงั้ แตการนาํ เรือ่ งและการดาํ เนินเร่ือง ลงมาอยางมศี ลิ ปะ เปนการสรุปหรือเนน ถงึ ความคดิ รวบยอด ของเร่ืองราว อาจสอดแทรกแงคดิ ขอเตอื นใจ ปลกู ฝง คานยิ ม และ ทัศนคตทิ ี่ดี หรอื อาจจะสง ทายดวยการใหความรสู ึกท่ปี ระทับใจ โดยบทนําและบทสรุป ควรมีความยาวไมเกนิ 25% การสรางสอ่ื เพ่อื การนําเสนอดวย ProShow Gold | 8 |

62กจิ กรรมที่ 2 ใหผูเรียนนําโครงเรือ่ งในกจิ กรรมท่ี 1 มาเขยี นบทเพ่อื การ นําเสนอตาม องคป ระกอบของบทเพอ่ื การนาํ เสนอ ความยาว ประมาณ 5 นาที ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ การสรา งสื่อเพื่อการนําเสนอดว ย ProShow Gold | 9 |

ตวั อยา งบทการผลิตสอื่ เพ่ือการนําเสนอ เร่ือง แนะนําหอ งสมุดประชาชนจังหวัดลําปาง ความยาว 10 นาที หนว ยงาน หอ งสมุดประชาชนจังหวดั ลาํ ปาง ผเู ขียนบท จิตราภรณ เทวะนา ลําดบั ลกั ษณะภาพ เสยี ง/คาํ บรรยาย หมายเหตุ 1 - ภาพรถมากําลงั วิง่ เสียงรถมา วิ่ง face in/face เปดรายการ - ภาพอนสุ าวรียเจา พอทิพยช าง out - ภาพอนุสาวรยี ช ามไก ดนตรีบรรเลงเพลงปราสาทไหว - ภาพหา แยกหอนาฬิกา CG ตวั อกั ษร “หองสมดุ ประชาชน จงั หวดั ลําปาง” 2 - ภาพดา นหนาหองสมดุ ประชาชนจังหวัด หอ งสมุดประชาชนจังหวดั เน้ือเรอ่ื ง ลาํ ปาง ลําปาง เปน หองสมดุ ประชาชน (สว นนาํ เร่ือง) สังกัดศนู ยการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย อําเภอเมืองลําปาง ต้งั อยูบนถนนพหลโยธิน ตาํ บลหัวเวยี ง อําเภอเมือง ลาํ ปาง ในบรเิ วณวัดปา รวก หางจากตวั เมืองประมาณ 3 กโิ ลเมตร 3 - ภาพถา ยในอดีต การจดั ต้งั หองสมุด หอ งสมดุ ประชาชนจังหวัด เนอื้ เรอ่ื ง (สว นเน้ือหา) ณ วัดบุญวาทยวิหาร ลําปาง เริ่มจัดตั้งข้ึนเมอื่ ป พ.ศ. - ภาพถายในอดีต การจดั ตั้งหอ งสมุด 2493 โดยอาศัยอาคารของ ณ โรงเรียนบญุ วาทย โรงเรียนพระปริยัติธรรม วดั บญุ - ภาพอนสุ าวรยี เ จา พอ บญุ วาทยฯ วาทยวิหาร ดา นหลัง ตอ มาในป พ.ศ. 2500 ไดรบั - ภาพถายในอดตี การจดั ตัง้ หอ งสมดุ ณ งบประมาณสําหรับจดั สราง พทุ ธสถานจงั หวดั ลาํ ปาง หอ งสมดุ ใหเ ปน เอกเทศ จงึ ได การสรางส่อื เพอ่ื การนําเสนอดว ย ProShow Gold | 10 |

ลําดบั ลักษณะภาพ เสยี ง/คาํ บรรยาย หมายเหตุ - ภาพบรเิ วณดานนอกหองสมดุ บรเิ วณ สรา งข้นึ ในบรเิ วณโรงเรียนบญุ วดั ปา รวก โดยรอบ วาทยว ทิ ยาลัย เนอื้ เร่อื ง (สวนเน้ือหา) เมื่อป พ.ศ. 2511 โรงเรียน บุญวาทยวทิ ยาลยั ตองการใช พืน้ ท่ี หองสมดุ จึงยายไปอยูท ่ี พุทธสถานจงั หวดั ลําปาง และ ไดร บั งบประมาณสาํ หรับ จดั สรางหอ งสมดุ จํานวนเงนิ 400,000บาท จาก กระทรวงศกึ ษาธิการในป พ.ศ. 2514 โดยไดม าขอเชา ที่สําหรับ สรา งอาคารหอ งสมดุ ในบรเิ วณ วัดปา รวก และทาํ พิธเี ปดอาคาร หองสมดุ ประชาชนจังหวดั ลําปาง ในวนั ที่ 17 สิงหาคม 2515 โดยนายอภยั จนั ทวมิ ล รัฐมนตรวี า การกระทรวง ศึกษาธกิ ารเปน ประธาน ในพิธีเปด 4 ภาพบรบิ ทของหองสมดุ หองสมุดประชาชนจังหวัด - ภาพมมุ กวางของหอ งโถง ลาํ ปาง ต้งั อยใู นทาํ เลทีง่ ายตอ - ภาพเคาเตอรบรกิ าร ยมื คืน การเดินทาง มีพนื้ ท่ีบรกิ าร - ภาพมมุ หนงั สือ ของหองสมุด สาํ หรบั จอดรถอยา งกวางขวาง - ภาพทนี่ ่งั อานหนังสอื ของหองสมุด ตวั อาคารเปนแบบหองสมุด -ภาพคนมาใชบรกิ ารหองสมุด ขนาดใหญ สองชน้ั ภายในมี การระบายอากาศดี การจดั มมุ สําหรับการใหบริการเปน สดั สวนพอเหมาะ มบี รรยากาศ ภายนอกและภายในทเ่ี อือ้ ตอ การเรยี นรู การสรางส่ือเพอ่ื การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 11 |

ลําดบั ลกั ษณะภาพ เสยี ง/คาํ บรรยาย หมายเหตุ 5 - ภาพตวั แกะสติกเกอรวนั เวลา เปด หองสมุดประชาชนจงั หวัด เนอ้ื เรอื่ ง ใหบ ริการของหองสมุด ลาํ ปาง เปด บรกิ ารทกุ วนั (สว นเน้อื หา) - ภาพผูรับบรกิ ารในอริ ิยาบถตา ง ๆ ยกเวน วนั หยุดนักขตั ฤกษ โดยในวันจันทร ถงึ ศุกร จะ เปดบริการในเวลา 09.00 น. – 17.30 น. และในวนั เสาร - อาทิตย จะเปดบริการในเวลา 09.00 น. – 16.30 น. โดยในวนั หยดุ นักขัตฤกษ จะมผี ปู ฏิบตั ิงานหมุนเวียน อยเู วรยามทกุ วนั 6 - รูปผูอํานวยการ กศน. อ.เมอื งลําปาง หองสมดุ ประชาชนจงั หวัด เนื้อเรอื่ ง - รูปบุคลากรของหอ งสมุด ลําปาง อยูภ ายใตการกํากบั ดูแล (สวนเนือ้ หา) ของศูนยก ารศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย อําเภอเมอื งลาํ ปาง โดยมี นางณราวลั ย นันตะ ภมู ิ เปน ผูอ ํานวยการ และมี นางจิตราภรณ เทวะนา บรรณารกั ษชาํ นาญการ เปน ผูปฏบิ ตั งิ านหอ งสมุด โดยมีผรู ว มปฏบิ ัติงานคือ นางสาวกัญจนรตั น ขันตา เครือ บรรณารกั ษอตั ราจา ง นายทองสบื พรหมสาย พนกั งานบริการ และนายศภุ ฤกษ หม่นื อา ย เปน ยามรักษาการณ 7 - ภาพกจิ กรรมสง เสริมการอานภายใน หองสมดุ ประชาชนจังหวัด เนือ้ เร่ือง การสรางสือ่ เพื่อการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 12 |

ลําดบั ลกั ษณะภาพ เสยี ง/คาํ บรรยาย หมายเหตุ หอ งสมุด ลาํ ปาง นอกจากจะใหบ ริการ (สว นเนอ้ื หา) สง เสริมการอานดว ยส่อื สิ่งพิมพ ในมมุ สงเสริมการอานตาง ๆ เชน มมุ หนงั สอื พมิ พ วารสาร มุมนวนิยาย มุมหนงั สือท่วั ไป มุมเด็ก มมุ อาเซยี นแลว ยังให บริการเสรมิ อ่ืน ๆ ดวย เชน การใหบรกิ ารตอบคาํ ถามชว ย การคน ควา การบรกิ ารสืบคน ดว ยอินเตอรเนต็ การใหบริการ ไฟฟาสําหรับผูท ตี่ องการใช เครือ่ งมือสืบคนของตนเอง เชน ผูท น่ี าํ คอมพวิ เตอร โนต บคุ ของตนเองมาดว ย การใหบริการสญั ญาณไวไฟ การบริการหอ งประชุมกลุมยอ ย ตาง ๆ เปน ตน นอกจากการใหบ รกิ ารตา ง ๆ เหลา น้ีแลว หอ งสมุดประชาชน จังหวัดลาํ ปาง ยังมีการจดั นิทรรศการสง เสริมการอา น ตามวาระสําคัญตาง ๆ และจัด กจิ กรรมสง เสริมการอานภายใน หอ งสมดุ อยเู สมอ 8 - ภาพการจัดกิจกรรมสง เสริมการอาน นอกจากการบรกิ ารสงเสริม นอกหอ งสมุด การอานภายในหอ งสมดุ แลว - ลานรมไทร หองสมุดประชาชนจงั หวดั - กิจกรรมหอ งสมุดเคลอ่ื นที่ ลาํ ปางยังจดั ใหม กี ิจกรรม - กจิ กรรมสงเสริมการอา นของหอ งสมดุ สง เสริมการอา นภายนอก หองสมดุ โดยจัดบริการหองสมุด เคลอ่ื นทเ่ี พอื่ หนงั สือและสอ่ื การสรางส่ือเพือ่ การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 13 |

ลําดบั ลกั ษณะภาพ เสียง/คาํ บรรยาย หมายเหตุ สิ่งพมิ พไ ปใหบรกิ ารการอา นแก ประชาชน/ผรู บั บริการภายนอก หอ งสมุด ในพื้นทบี่ รกิ ารของ หอ งสมดุ ประชาชนจงั หวัด ลาํ ปาง เปน ประจาํ สม่าํ เสมอ ตอ เน่ืองตลอดท้ังป และ นอกจากน้ียงั มีการจัดกิจกรรม สง เสริมการอานควบคกู ับการ ใหบ รกิ ารหนงั สือ สื่อสิ่งพมิ พ ควบคกู ันไปดวย 9 - ภาพกจิ กรรมการอานของชาวลําปาง นอกจากการใหบรกิ าร - ภาพการมอบสอ่ื โดยตรงของหอ งสมุดแลว - ภาพการใชสอ่ื สงเสริมการอา นของครู หองสมดุ ประชาชนจงั หวดั กศน.ตําบล ลาํ ปาง ยังเปน แหลง รวบรวม และกระจายส่อื สงเสริมการอาน สําหรบั การจัดบรกิ ารสง เสริม การอานภายนอกหองสมุด ใน รปู แบบของมมุ รกั การอา น ตา ง ๆ เชน มุมรักการอานใน เรอื นจํากลางลําปาง สถาน กกั ขังกลางลาํ ปาง ตลอดจน การสง เสริมการอานในพื้นที่ บรกิ ารของ กศน.อําเภอเมือง ลําปาง เชน กศน.ตําบล และ การสนับสนุนสื่อสาํ หรับ ใหบริการการจัดกจิ กรรม สง เสริมการอา นในชมุ ชน ของครู กศน. ตาํ บล และ การสง เสริมการอานสาํ หรบั บานหนังสอื อัจฉรยิ ะอีกดว ย หองสมดุ ประชาชนจังหวัด การสรา งส่ือเพื่อการนําเสนอดวย ProShow Gold | 14 |

ลําดบั ลักษณะภาพ เสียง/คาํ บรรยาย หมายเหตุ ลาํ ปาง ยังคงยนื หยัดทจ่ี ะ ใหบริการและสงเสริมการอา น ตามกําลังความสามารถของ บคุ ลากรอยางเขมแข็ง และ ยงั คงมงุ มน่ั ทจี่ ะสรา งสรรค สังคมแหง การอา นและการ เรยี นรขู องชาวลาํ ปาง เพ่ือให นครลาํ ปาง เปนนครแหงการ อานอยางยั่งยืน สืบไป 10 บท/บรรยาย/ภาพถาย ดนตรีบรรเลงเพลงฤาษหี ลงถ้าํ ปด รายการ จติ ราภรณ เทวะนา ทปี่ รกึ ษา ณราวัลย นันตะภมู ิ ยุรยั ยา อนิ ทรวจิ ิตร การสรางสอ่ื เพื่อการนําเสนอดวย ProShow Gold | 15 |

94กิจกรรมท่ี 3 ใหผ ูเรยี นนาํ บทการนําเสนอท่ีเขยี นไวใ นกจิ กรรมที่ 2 มาปรับลง ในตาราง เขยี นบท ตามตวั อยา งทใ่ี หไ ว บท ..................................................................................................................................................... เรอ่ื ง ............................................................................................... ความยาว...........................นาที หนวยงาน ..................................................................................... ผูเ ขียนบท .................................... ลาํ ดบั ลกั ษณะภาพ เสียง/คาํ บรรยาย หมายเหตุ การสรางสอื่ เพอื่ การนําเสนอดวย ProShow Gold | 16 |

ลําดับ ลักษณะภาพ เสียง/คําบรรยาย หมายเหตุ การสรางส่อื เพ่อื การนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 17 |

ลําดับ ลักษณะภาพ เสียง/คําบรรยาย หมายเหตุ การสรางส่อื เพ่อื การนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 18 |

การสรา งสื่อเพ่อื การนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 19 |

3หนวยที่ เทคนิคการถายภาพเบ้อื งตน แนวคดิ ในการสรางส่อื เพือ่ การนาํ เสนอ เราจําเปน ตองเรยี นรูในเรือ่ งหลกั ของการถา ยภาพ เปนเรื่องพ้ืนฐาน ในการนาํ เสนอเรอื่ งราวใหม คี วามนาสนใจ ซึ่งปจจบุ ันเทคโนโลยีท่นี าํ มาใชใ นเรือ่ งของการถา ยภาพมี ความกา วหนา ไปอยางมาก ปจจบุ ันกลอ งดิจิตอลสามารถหาซ้อื ไดท วั่ ไปในราคาตา่ํ ไปจนถึงราคาสูงตามคณุ ภาพ ของกลอง แตถ าหากเรามีกลองดีๆ อยูแ ตใชง านไมถ กู วิธี และไมเ ขา ใจหรือเทคนคิ วิธีการถายภาพ คณุ ภาพของ งานท่ีไดก ็จะตา่ํ ในบทน้จี งึ มุง ทจี่ ะใหผูเรยี นศกึ ษาในเรือ่ งของเทคนคิ การถา ยภาพ เพือ่ ท่จี ะใหงานออกมาตรง ตามความตองการและมคี ุณภาพ จดุ ประสงค เพ่ือใหผูเ รียน 1. จดั องคป ระกอบภาพไดอยา งถกู หลกั วธิ ี 2. เรยี นรกู ารถายภาพดวยกลองดิจิตอล 3. เรยี นรูเร่อื งมมุ กลอ งและชอ งวาง 4. เรยี นรหู ลกั ของกฎสามสว น ขอบขายเนือ้ หา 3.1 การจัดองคป ระกอบภาพ 53.2 การถา ยภาพดวยกลองดจิ ิตอล 63.3 มมุ กลอ งและชอ งวาง 73.4 หลักของกฎสามสว น การสรางสอ่ื เพ่อื การนําเสนอดวย ProShow Gold | 19 |

3.1 การจดั องคป ระกอบภาพ (Composition) 9สาํ หรบั การถายภาพใหไดภาพทต่ี รงตามความตอ งการ มีคณุ คา มีความงามทางดา นศิลปะ นอกจาก จะทาํ ความเขา ใจในเร่ืองของการใชกลอ งถา ยภาพ และเคร่อื งมือท่มี ีคุณภาพแลว การจัดองค ประกอบภาพ กเ็ ปน ส่งิ ทส่ี ําคญั ทจี่ ะทาํ ใหภ าพมคี ุณคาขน้ึ ในหนว ยการเรียนนี้ จะกลา วถงึ การจดั องคประกอบ ภาพ ซึง่ ผูเรยี นตอ งศกึ ษาและฝก ปฏิบตั กิ ารถายภาพใหไดทั้งความงามและสอดคลองกบั เนือ้ หาตามลักษณะ ภาพ ดังนี้ 1. รูปทรง เปนการจัดองคประกอบภาพทใี่ หความรูสึก สงา งาม มัน่ คง เหมาะสําหรบั การ ถายภาพ ทางสถาปตยกรรม การถายภาพวตั ถุ หรือถายภาพส่งิ ตางๆ เนน ใหเห็นความกวา ง ความสงู ความลึก โดยใหเ ห็นทัง้ ดานหนา และดา นขาง และความลกึ หรือท่เี รยี กวา ใหเห็น Perspective หรือภาพ 3 มติ ิ ภาพท่ี 1 ภาพตกึ และอาคาร ถายจากดา นขา งเนน ภาพท่ี 2 หนากากผตี าโขน อ.ดา นซา ย จ.เลย เนน ใหเ ห็นความมน่ั คงใหญโ ต ใหเห็นระยะความลึก และรปู ทรงของหนา กาก การสรา งสือ่ เพือ่ การนําเสนอดวย ProShow Gold | 20 |

2.10 รปู รา งลกั ษณะ มกี ารจดั องคประกอบภาพตรงขา มกบั รปู ทรง คอื เนนใหเหน็ เปน ภาพ 2 มติ ิ คือ ความกวา งกบั ความยาว ไมใหเห็นรายละเอียดของภาพ หรือทเ่ี รียกวา ภาพเงาดาํ ภาพ ลกั ษณะน้ี เปน ภาพทดี่ แู ปลกตา นาสนใจ ลกึ ลับ ใหอารมณแ ละสรา งจนิ ตนาการในการดูภาพ ไดดี นิยมถายภาพในลกั ษณะ ยอนแสง 11ขอ ควรระวังในการถา ยภาพลกั ษณะน้ีคอื วตั ถุที่ถา ยตองมีความเรยี บงา ย เดนชัด ส่ือ ความหมาย ไดช ัดเจน ฉากหลงั ตอ งไมม ารบกวนทําใหภ าพนนั้ หมดความงามไป ภาพท่ี 3 ช่ือภาพ เมือบา น (กลับบา น) เปน การ ภาพที่ 4 ช่อื ภาพ ลอดเหล่ยี มไม เปนการถายภาพ ถายภาพยอ นแสงเพอื่ ใหเหน็ เงาดําใหด ูแปลกตา ยอ นแสงใหเ ห็นลีลาของกง่ิ ไม และเนนดวงอาทติ ย ภาพท่ี 5 ชื่อภาพ ผีตากผาออม เปนการถายภาพยอ น ภาพที่ 6 ชอ่ื ภาพ สงู เสียดฟา ศรัทธาไปถงึ ภาพนีเ้ นน แสงเชน กัน รปู ทรงตนไมไมสะดดุ ตาใชเพ่อื ประกอบเทานั้น ใหเห็นรปู รางของมหาเจดยี  วัดธาตุ จ.ขอนแกน ภาพดู ภาพนเ้ี นน แสงแดดใหเขา กบั บรรยากาศผีตากผาออ ม นา สนใจ และไมใ หเ ห็นรายละเอยี ดของฉากหนา ที่รก การสรางส่อื เพ่อื การนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 21 |

3. ความสมดุลทเ่ี ทากัน เปนการจดั องคป ระกอบภาพเพื่อใหภ าพดนู ิง่ สงางาม นาศรทั ธา คลา ยกับแบบเนนดวยรปู ทรง แตจ ะแสดงออกถึงความสมดลุ น่งิ ปลอดภยั ภาพลักษณะนี้ อาจจะดูธรรมดา ไมส ะดุดตาเทา ใดนัก แตก็มเี สนห แ ละความงามในตวั ภาพที่ 7 ภาพหอประชมุ กาญจนาภิเษก มหาวทิ ยาลัย ภาพท่ี 8 ภาพอาคารเฉลิมพระเกียรติ สถาบนั ราชภัฏ ขอนแกน ภาพมีความสมดลุ เทากันสองขา ง มีความเดนสงา มหาสารคาม สมดลุ ทงั้ สองขาง เดน สงา แขง็ แรง มีฉากหนา มั่นคง ประกอบเร่ืองราวไดด ี ภาพท่ี 9 พระท่นี ่งั อนนั ตสม าคม มีเสาสองขา ง ทาํ ให ภาพท่ี 10 งานประติมากรรมริมบงึ แกน นคร จ.ขอนแกน ภาพเดนสงา และแปลกตา นาสนใจ จัดไดสมดุลและแปลกตา จนหลายคนตอ งหันไปมอง การสรา งส่ือเพอ่ื การนําเสนอดว ย ProShow Gold | 22 |

4. ความสมดุลท่ไี มเ ทากัน การจดั ภาพแบบนี้ จะใหความรูสกึ ทีส่ มดุลเชน เดยี วกับแบบทแ่ี ลว แตจะตางกันอยูทีว่ ัตถทุ งั้ สองขาง มขี นาดและรปู รา งทีแ่ ตกตา งกัน แตจ ะสมดุลไดด วยปจ จยั ตาง ๆ กนั เชน สี รปู ทรง ทา ทาง ฉากหนา ฉากหลัง ฯลฯ ภาพดนู า สนใ จกวา แบบสมดลุ ที่ เทา กนั แตใหค วามรสู ึกม่นั คงนอ ยกวา บางคนกอ็ าจมองเหน็ วา ภาพทมี่ ีความสมดลุ ไมเ ทากัน ดแู ลว แปลกตาดี ภาพที่ 11 เรอื 2 ลํา รปู ราง มมุ มอง แตกตางกันแตดู ภาพที่ 12 คลายกับภาพท่ี 11 โดยมีปอ มลอยนาํ้ มา สมดลุ ไดเ พราะ สว นประกอบของฉากหลังมาชวย เสริมนาํ้ หนักใหเ รือลาํ ท่อี ยูดา นหลงั มคี วามสมดุลกบั เรอื ลาํ แรก ภาพที่ 13 ภาพเงาดาํ ของตนไม ขา งเดยี ว แตมดี วง ภาพท่ี 14 พระพุทธรูปท่ีสุโขทัย เสา และกอนเมฆมา อาทิตยมาเสรมิ ให เกดิ ความสมดุล ชว ย การสรางสอ่ื เพื่อการนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 23 |

5. ฉากหนา สว นใหญจ ะใชใ นการถายภาพทวิ ทัศน หรือภาพอ่นื ๆ ใชฉ ากหนาเปนตวั ชว ยให เกิดระยะ ใกล กลาง ไกล หรือมีมติ ขิ ึน้ ทาํ ใหภ าพนาสนใจอาจใชก งิ่ ไม วัตถุ หรือสิง่ ตาง ๆ ท่ี อยูใ กลกับกลอ งเพอื่ ชว ยเนนใหจ ุดสนใจท่ีตองการเนน มคี วามเดน ยง่ิ ขน้ึ และไมใ หภาพมี ชองวา งเกินไป ขอควรระวงั ไมควรใหฉากหนา เดนจนเกนิ ไป ภาพจะขาดความสนใจจากสงิ่ ทีต่ องการเนน และจะทาํ ใหภ าพลดความงามลง ภาพที่ 15 ทศั นียภาพ พระตาํ หนกั ดอยตุง ใช ภาพท่ี 16 ภาพอาคารเปน ทวิ ยาว โดยใชไม ดอกไมสแี ดง ประดบั เปน ฉากหนา ทาํ ใหภาพไมวา งจนเกนิ ไป 6. ฉากหลงั พ้ืนหลังของภาพกม็ ีความสําคัญ หากเลอื กทีน่ า สนใจ กลมกลืน หรอื ชว ยใหสงิ่ ที่ ตองการ เนน เดนขึ้นมา ควรเลือกฉากหลังท่กี ลมกลนื ไมท ําใหจดุ เดนของภาพดอ ยลง หรอื มา รบกวนทาํ ใหภาพน้ันขาดความงามไป ภาพที่ 17 ชอื่ ภาพ ความสดใสในปาลกึ ภาพใบไม ภาพท่ี 18 ผีเส้ือและดอกไม เดนขึ้นมาเพราะฉาก มฉี ากหลังสดี ําสนิท ทาํ ใหใบไมด ูเดน และมีคุณคาขึน้ (วดั หลังสีทบึ แสงทใ่ี บไม) การสรางส่ือเพือ่ การนําเสนอดวย ProShow Gold | 24 |

7. กฎสามสวน เปนการจัดภาพทนี่ ยิ มมากท่ีสุด ภาพดมู ีชวี ติ ชีวา ไมจ ดื ชดื การจัดภาพโดยใช เสนตรง 4 เสน ตัดกันในแนวตั้งและแนวนอน จะเกิดจดุ ตดั 4 จุด (ดังภาพท่ี 19) หรือแบง เปน 3 สว น ทง้ั แนวตง้ั และแนวนอน การวางจดุ สนใจของภาพจะเลอื กวางใกล ๆ หรอื ตรงจุด 4 จุดนี้ จุดใดจุด หนึง่ โดยหนั หนา ของวตั ถไุ ปในทศิ ทางทีม่ ีพนื้ ที่วา งมากกวา ทําใหภ าพดูเดน โปรง ตา ไมแ นน หรอื หลวมจนเกนิ ไป นักถายภาพทง้ั มอื อาชพี และมือสมคั รเลนนิยมจัดภาพ แบบน้มี าก ภาพท่ี 19 ภาพแสดงจดุ ตดั 4 จุด ควรวางจุดเดนของ ภาพที่ 20 ปกของแมลงปออยูท ีจ่ ดุ ลางขวา เปดระยะ ภาพใกล ๆ กบั จุด 4 จดุ ๆ ใด จุดหนง่ึ ทาํ ใหภาพนามองข้นึ ดานหนา มาก ดไู มอึดอดั และเปนธรรมชาติ รูสกึ ถึงความ เคล่อื นไหว ภาพที่ 21 ดวงอาทิตยจะลบั ฟา ที่ภูเกต็ อยูต ําแหนง บน ภาพท่ี 22 ผตี าโขน ทเี่ มืองเลย วางจดุ เดน ดานบนขวา ซา ย ทาํ ใหม ีทิศทาง ทาํ ใหภ าพมคี วามนา สนใจขึ้น มากกวา ทาํ ใหมีชอ งวา งสําหรับทิศทางของสายตา ทําใหภาพมี วางกึง่ กลาง เรอื่ งราวขนึ้ การสรา งส่ือเพอื่ การนําเสนอดวย ProShow Gold | 25 |

8. เสน นาํ สายตา เปนการจัดภาพที่ใชเ สนท่ีเกิดจากวัตถุ หรือส่งิ อ่นื ๆ ทมี่ รี ูปรางลกั ษณะ ใกลเคยี งกัน เรยี งตัวกันเปน ทิศทางไปสูจุดสนใจ ชว ยใหว ัตถุที่ตอ งการเนนมีความ เดนชดั และ นาสนใจยิ่งขึน้ ภาพท่ี 23 แมอ งคพ ระจะมขี นาดเล็ก แตเ สาเรียงตวั ภาพที่ 24 ธงทิว และไมประดับเรยี งตวั กันพงุ ไปสู เปน แนวเดยี วกนั ทั้งสองขาง ทําใหความสนใจพุงเขา ไปหา โบสถท ําใหม ีทิศทางบอกเร่อื งราวไดอ ยา งดี องคพ ระ ทาํ ใหเดน ข้นึ ภาพที่ 25 ฝายน้าํ ลน ที่ อ.ภเู วียง จ.ขอนแกน มีแนว ภาพท่ี 26 แนวหินประดบั เปน ทางเดนิ คดเคีย้ วและออ น สนั ฝาย นาํ สายตาไปสกู ระแสนํา้ และโยงเขา หากลมุ คน ทาํ ชอยนําไปสลู อ เกวยี นและไลร ะดบั ไปหาก้ิงกา ทําใหภ าพ ใหภาพมเี รื่องราว สนุกดี นา มองยิ่งข้ึน การสรา งสื่อเพื่อการนําเสนอดว ย ProShow Gold | 26 |

9. เนนดว ยกรอบภาพ แมวาภาพถา ยจะสามารถนาํ มาประดบั ตกแตงดวยกรอบภาพอยูแลว แตก ารจัดใหฉากหนาหรือสว นประกอบอ่นื ลอ มกรอบจดุ เดน เพอ่ื ลดพื้นที่วาง หรอื ทาํ ให สายตาพงุ สจู ดุ สนใจนั้น ทําใหภ าพกระชับ นา สนใจ ภาพท่ี 27 พระธาตดุ อยสเุ ทพ ซึง่ อยไู กลทําใหม ี ภาพที่ 28 ควายนอนปลัก ภาพน้คี งดโู ลง ๆ ถาไม ขนาดเล็ก จึงใชชายคาบงั สวนทีไ่ มจ ําเปน ทําใหพ ระธาตุ มีกอหญา ลอ มควายไว ทําใหภาพกระชับขน้ึ และพระเอก เดนข้ึนมา เดนขึ้น 10. เนนรปู แบบซา้ํ ซอน หรอื แบบ Pattern เปนการจัดภาพทมี่ ีรูปรา ง ลกั ษณะ ที่คลาย ๆ กันวางเปนกลุม ทําใหภาพดูสนุก สดชนื่ และมเี สนหแปลกตา ภาพที่ 29 ดอกคตั เตอรส ขี าว รวมกนั เปนกลมุ ตดั ภาพที่ 30 เดก็ นัง่ ฟง หมอลาํ แสดงอาการสีหนา กับพนื้ หลงั สีดําทําใหภาพดูสนกุ แปลกตา แมวาจะไมมี ทาทางตาง ๆ ดสู ดช่ืน นา มอง จดุ เดน กต็ าม ทไี่ ดก ลา วมาท้ัง 10 ลกั ษณะ เปน เพียงการจดั องคป ระกอบภาพทเ่ี ปนท่นี ิยมกนั และเปน พื้นฐาน ใน การฝกปฏบิ ัติการถา ยภาพเทา นนั้ ผูถา ยภาพควรฝกการจัดองคป ระกอบภาพในลักษณะ ทแ่ี ปลกใหมอ ยูเสมอ การสรา งส่อื เพื่อการนําเสนอดว ย ProShow Gold | 27 |

3.2 การถา ยภาพดว ยกลอ งดิจติ อล กลอ งดิจติ อลแมจ ะมหี ลกั การทํางานคลา ยกบั กลอ งใชฟ ลม คอื แสงแผนเลนส ผาน ชองรับแสง และ มานชัตเตอรไ ปตกกระทบกบั เซน็ เซอรภาพ (ซึง่ สว นใหญนยิ มใช CCD) กอนกดชตั เตอรก ลอ งจะปรบั โฟกัสและ วดั แสง หรือจะปรบั ตงั้ เองกไ็ ด เพือ่ ใหเ กดิ ผลตามทีต่ อ งการ แตดว ยความท่เี ปน ดิจิตอล ทาํ ให ปรับแตง ฟง กช นั่ หรอื ลกู เลน ตา งๆ ไดม ากมายอยางทีไ่ มเคยมีมากอ นในกลองใชฟ ลม จึงตองเรียนรูเพมิ่ เตมิ และ ทาํ ความเขา ใจ ใหด ี จงึ จะใชก ลองดจิ ติ อลไดอ ยา งคมุ คาเตม็ ประสิทธิภาพ และไดป ระโยชนส งู สดุ 1. ปดสวติ ซทกุ คร้ังทีไ่ มไ ดใ ชงาน กลองดจิ ติ อล มีระบบการทาํ งานแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส ควบคุมดว ย คอมพิวเตอรท งั้ หมด ทาํ ใหส้นิ เปลืองแบตเตอร่ีมาก ควรปด สวิตซทกุ ครง้ั ทเี่ ลิกใชงาน จะชวยใหถา ยภาพไดมาก ขน้ึ โดยไมตอ งเปล่ียนแบตเตอร่ีบอยๆ หากมีฟงกช่นั Auto off ใหต้งั เวลาปดอตั โนมัติเมื่อไมไดใ ชง าน ภายใน 30 หรือ 60 วินาที การสรา งสอ่ื เพอ่ื การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 28 |

2. ใชแบตเตอรี่ชารจดีกวา กลอ งดิจติ อลหลายรุนใชแ บตเตอรแ่ี บบ AA อลั คาไลน โดยแถมมาใหด ว ย 2 หรือ 4 กอน แตคุณอาจตกใจเมอ่ื ใสแบตเตอรใ่ี หมเขาไป กดชัตเตอรถา ยไป 20-30 ภาพ โดยเปดดภู าพ จาก จอมอนเิ ตอร และใชแฟลชถายภาพ แบตเตอรีก่ ห็ มดเสียแลว ขอแนะนาํ ใหเปล่ียนไปใชแ บตเตอร่ีแบบ นเิ กิล- เมทลั ไฮไดร (NiMH) ซง่ึ ชารจไฟเพิ่มได ราคากอ นละ 100-150 บาท เลือกแบบทีใ่ หก าํ ลังไฟ 1000-1500 มิลลิ แอมป จะถา ยภาพไดน านขึน้ ถา หมดก็ชารจใหม หรือจดั หาสํารองไวใ นยามฉกุ เฉิน 2-3 ชุด กไ็ ด 3. ดูภาพในชองมองออฟติคลั ในกลองใชฟ ล ม แบบ SLR หรอื คอมแพค เราจะมองภาพจากชอง มอง ซง่ึ กลอ งดจิ ิตอลกม็ ีเชน กนั เรยี กวาชอ งมองภาพออฟตคิ ัล ออกแบบใหสมั พันธ กับทางยาวโฟกัส ของ เลนสท ุกชวงซูม และยังดภู าพจากจอมอนิเตอรแบบ LCD ทางดา นหลงั ไดดวย ทําใหผใู ชนยิ มดภู าพจาก มอนิเตอรแทน แตว ิธนี แ้ี บตเตอร่ีจะหมดเรว็ มาก ควรใชเ ฉพาะเทา ทจ่ี ําเปน เชน การถายภาพมาโคร ระยะใกลๆ ซ่ึงจะใหม มุ ภาพท่ถี กู ตอ งตามความเปน จรงิ ถาถา ยภาพไกลๆ ตั้งแต 5 เมตรขน้ึ ไป ใหด จู ากชอ งมองภาพแบบ ออฟตคิ ัลแทน การสรา งสอื่ เพ่ือการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 29 |

4. เปลี่ยนไปใชการด ความจสุ ูง การด จัดเกบ็ ภาพมีหลายแบบ เชน CF, Microdrive, SmartMedia, Memory Stick, SD, MMD เปน ตน ปจจบุ นั มีความจสุ งู และราคาลดลง เม่ือการด มีความจสุ ูง ก็จะชว ยให ถายภาพไดมากข้นึ ในบางคร้งั หากไมแ นใจเรื่องสภาพแสง อาจถา ยภาพครอม เผอื่ ไวห ลายๆ ภาพ ไวส าํ หรับ เลอื กภาพที่ดีทส่ี ดุ ภายหลัง 5. อยา ใสการดขณะเปด สวิตซก ลอ ง เพอ่ื ลดความเสียหายทอ่ี าจเกดิ ข้ึนได ไมค วรใสการด ขณะที่ สวติ ซกลองถูกเปด อยู และควรใสก ารดดวยความระมดั ระวัง ใหใ สการด เขา ไปตรงๆ ในดานทรี่ ะบุไวใ นคูม ือ หากใสผ ดิ ดานจะใส เขา ไปไมไ ด อยาไปฝนโดยเด็ดขาด กรณีจะใหผ อู น่ื ยมื ไปใช หรือใชร ว มกันหลายคนก็ ควร อธบิ ายวธิ กี ารใชใ หเขา ใจดว ยทุกคร้งั การสรา งสื่อเพ่ือการนําเสนอดว ย ProShow Gold | 30 |

6. ใชแฟลชภายนอก กลอ งบางรุน สามารถใชแ ฟลชภายนอกได โดยเสียบเขากบั ฮอทชู หรอื สายซิงค แฟลช วธิ ีนีท้ ําใหไ ดภ าพทดี่ ีขน้ึ และใชง านไดไกลกวาแฟลชขนาดเลก็ ท่ีติดอยบู นตวั กลอ ง การใชแฟลช ที่มีกําลัง ไฟสูงภายนอก ชอ งรบั แสงแคบจะแคบลงได สงผลใหภาพมรี ะยะชดั ลกึ มากขึน้ และประหยดั แบตเตอรท่ี ่ีตัว กลอ ง เพราะไมตอ งใชแ ฟลชท่มี อี ยใู นตวั 7. ลอ็ คภาพสาํ คัญเอาไว กลองบางรุนมฟี งกช ัน่ ล็อคภาพ ปอ งกนั การลบโดยไมต ง้ั ใจ เพราะสว นใหญ เนนใหล บภาพทง้ิ ไดง ายๆ เพอ่ื ถายภาพใหมตอไป ทําใหเผลอลบภาพสาํ คัญท้ิงไป ดงั นน้ั หลังจากถา ยภาพจนได ภาพท่ีพอใจแลว ควรกดปุมลอ็ คภาพทุกครั้ง การสรา งส่ือเพอื่ การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 31 |

8. จดั เก็บภาพดว ยซีดีรอม หลังจากถายภาพจนการดเตม็ แลว เรามกั ถายโอนภาพท้งั หมด ไปยัง เครอ่ื งคอมพวิ เตอร ซึ่งภาพจะเพมิ่ มากขึ้นเรื่อยๆ แมว า ฮารดดสิ กจะมมี าก เพียงใด แตถ าเกดิ ปญหาเสยี ข้นึ มา ภาพที่อตุ สา หถ า ยมาทง้ั หมดกจ็ ะสูญหายไปทันที เพื่อความปลอดภัย ควรบนั ทกึ ภาพลงแผนซดี ี-รอม ซ่งึ มี ความจุ 650-700 MB ตอแผน ราคา 20-30 บาทเทา นน้ั ควรเลือกแผนซดี ี ทม่ี ีคณุ ภาพเชน Kodak Fujifilm หรือ Sony ซงึ่ มคี วามคงทนเกบ็ รักษาไดยาวนานหลายสบิ ป สวนเครือ่ งเขยี นแผน ซดี ี ราคาลดลงมาก ประมาณ 4,000 บาทขึน้ ไป และควรเขยี นแผน ซดี ไี วสองแผน เก็บรักษาไวโ ดยไมน ํามาใชงานหนง่ึ แผน อีกแผน สาํ หรบั การใชงานทั่วๆ ไป ถาแผนซดี เี สยี หายหรือสญู หายยงั มตี น ฉบบั อกี แผน นาํ มาสําเนาเพื่อใชง านไดอ กี 9. ซูมขยายภาพดคู วามคมชดั ฟงกชัน่ ดิจติ อลทีผ่ มใชบ อยคอื หลงั จากถายภาพไปแลว ใหก ดปุม ซูม ขยายภาพขน้ึ มาดู โดยซมู ใหม ากทสี่ ดุ จากนั้นเลอ่ื นดูสว นตา งๆ ของภาพวา คมชดั เพยี งพอหรอื ไม บางครั้งการ ถา ยภาพดว ยชวงซูมเทเล แลวเปด รูรบั แสงกวาง ระยะชดั ลึกจะนอยมาก ทําใหค วามคมชดั มเี ฉพาะบางสวน เทานนั้ หากเปนกลองใชฟ ลม ตอ งรอหลังจากลางฟล ม แลว ถึงจะรวู า ภาพทไ่ี ด มคี วามคมชัดดีมากนอยแคไหน นอกจากนี้ ในกรณีทีถ่ า ยภาพ ดวยความเร็วชัตเตอรต าํ่ แลวไมม น่ั ใจวา ภาพจะคมชดั เพยี งพอ สามารถซมู ขยายภาพข้ึนมาดไู ดเชนกนั การสรางส่อื เพ่อื การนําเสนอดว ย ProShow Gold | 32 |

10. ปรบั ความสวางของจอมอนเิ ตอร diIumuj ถายภาพโดยวดั แสงใหพอดี แลวพบวา ภาพที่ ปรากฏ บนจอมอนิเตอร มดื เกนิ ไปหรืออันเดอร อาจจะไมใ ชเ กิดจาก ระบบวดั แสงผดิ พลาด ใหทดลองโหลด ภาพเขาสูคอมพวิ เตอร แลว เปด ภาพนน้ั ดู ขอแนะนําใหใ ชซ อพทแ วรเ ปดภาพที่แถมมาพรอมกลอ ง ถาพบวา ภาพสวา งพอดี แสดงวาจอมอนิเตอรมดื เกนิ ไป ใหเลือกเมนูปรับเพ่ิมความสวา งจนเทา กบั ท่ี ปรากฏ บน จอคอมพวิ เตอร 11. ใชกราฟฮสี โตแกรม กลอ งดิจติ อลสวนใหญใ นปจจุบนั มฟี งกช ั่น แสดงกราฟฮสี โตแกรมบน จอมอนเิ ตอร ทาํ ใหท ราบไดท นั ทีวา ภาพท่ีถายไปแลว มโี ทนภาพดมี ากนอ ยแคไหน หากสวนที่เปนชาโดว (โทน มดื ) หรอื สวนทเ่ี ปน ไฮไลท (โทนสวา ง) ไมดพี อ สามารถปรับแกไ ขโทน หรอื คอนทราสทจากฟง กชั่นเมนู แลว ถา ยภาพใหมจ นไดโทนภาพดีทีส่ ดุ แมว า จะสามารถปรับแกไขโทนภาพจากซอพทแ วรตกแตงภาพเชน Adobe Photoshop กต็ าม แตการถายภาพใหมีโทนภาพดีทีส่ ุด โดยไมต อง ปรับแตง หรอื ปรบั เพยี งเลก็ นอย จะให ภาพทด่ี ีกวา มรี ายละเอยี ดครบถว น ตั้งแตสวนสวา งทส่ี ดุ จนถึงมดื ทส่ี ุดในภาพ การสรางส่ือเพื่อการนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 33 |

12. เลือกใชฟอรแ มท RAW หรอื TIFF กลอ งดิจิตอลมักมฟี อรแ มทภาพใหเลอื กใช 2 อยา งคือ JPEG เปน การบบี อดั ภาพใหม ีขนาดไฟลเล็กลง เพ่อื ประหยดั เน้ือทีใ่ นการจัดเกบ็ ภาพ มขี อ เสยี คอื คุณภาพลดลง การ ไลเฉดสีไมด ีพอ เพราะแสงดไี ดเพียง 24 บติ หากตองการภาพคุณภาพสูงสดุ ควรเลือกฟอรแมท RAW หรือ TIFF ซ่ึงจะไมม กี ารบีบอดั ขอมูล 3.3 มมุ กลองกับชองวา ง การจดั องคประกอบภาพ นอกเหนอื จากหลักการคราวๆ อยา ง กฎสามสวนแลว ยังมีหลกั อกี หลายๆ อยางท่ีจะนาํ มาประยกุ ตใ ชใ นการจดั องคป ระกอบของภาพถาย เพ่อื ใหเ กิดความสวยงาม นาสนใจ ดแู ลวไมเ บ่ือ หลักการตอไปจะกลาวถงึ คอื เรอ่ื งของมุมกลอ งกบั ชอ งวา ง ชอ งวาง 43การจดั องคประกอบภาพ หากจดั ใหจ ุดเดนอยตู รงกงึ่ กลางภาพทกุ รูปภาพทีอ่ อกมากจ็ ะดูนา เบือ่ ไมมี มุมมองทหี่ ลากหลาย และโอกาสทจ่ี ะไดภ าพทแี่ ปลกใหมก ็แทบจะไมมีเลย การกาํ หนดชอ งวา งภายในเฟรม จงึ มสี ว นชว ยใหภาพดเู หมะสม มคี วามหมาย และกอใหเกดิ ความรูส กึ มากยง่ิ ข้ึน เชน การถายรปู วัตถุทีก่ าํ ลัง เคลอ่ื นที่ไปขางหนา หากเราจดั ใหมีการเวนชอ งวา งในทศิ ทางที่วตั ถุหนั หรือเคลื่อนทไี่ ปนัน้ ภาพทีอ่ อกมากจ็ ะ การสรา งสอ่ื เพ่ือการนําเสนอดว ย ProShow Gold | 34 |

ถกู คาดหมายวา วัตถกุ าํ ลงั เคลอ่ื นทีไ่ ปในทศิ ทางท่เี วน วางไว เชน ภาพของการเคลอื่ นที่ของรถยนต การแขง มา การปน จกั รยาน ตัวอยาง การเวน ชองวางเพ่อื ใหเ กดิ ความรูสกึ เคล่อื นไหวไปขางหนา มุมกลอ ง 47นอกจากชองวา งจะมีผลตอ ความรูสกึ ของภาพถายแลว การถา ยภาพในมุมทีต่ า งกัน ยงั มีผลตอ ความคิดความรสู ึกที่จะส่อื ความหมายไปยังผูดไู ด เราอาจแบง มมุ กลอ งไดเ ปน 3 ระดบั คือ 1. ภาพระดบั สายตา คือ การถา ยภาพในตําแหนง ทอ่ี ยูในระดับสายตาปรกติที่เรามองเหน็ ขนานกับ พืน้ ดนิ ภาพที่จะไดจ ะใหความรูส กึ เปน ปกติธรรมดา ภาพตวั อยาง การถายภาพในมมุ มองปกติ 2. ภาพมมุ ต่าํ การถายภาพในมุมตาํ่ คือ การถา ยในตาํ แหนง ท่ีตาํ่ กวา วัตถุ จะใหค วามรูส ึกถงึ ความ สูงใหญ ยิ่งใหญกวา ความเปนจรงิ แสดงถึงความสงา การสรา งสอื่ เพ่อื การนําเสนอดว ย ProShow Gold | 35 |

ภาพตัวอยา ง การถายภาพในมมุ ตาํ่ การถายภาพมุมสูง คือ การตงั้ กลอ งถา ยในตําแหนง ที่สงู กวาวัตถุ ภาพท่ไี ดจะใหค วามรูสกึ ถงึ ความเล็กความตอ ยตํา่ ไมมีความสาํ คัญ ภาพตัวอยา ง การถา ยรูปในมุมสงู 3.4 หลักของ กฎสามสว น (Rule of Third) 56การจัดวางตําแหนงหลักของภาพถา ย เปนองคป ระกอบหนง่ึ ที่สามารถทาํ ใหเ กดิ ผลทางดา น แนวความคิด และความรูสกึ ได การวางตําแหนง ท่ีเหมาะสมของจุดสนใจในภาพ เปนอกี สิง่ หน่งึ ที่สําคัญ และที่ นิยมกันโดยท่ัวไปคอื กฎสามสวน การสรางสื่อเพื่อการนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 36 |

57กฎสามสวนกลาวไววา ไมว าภาพจะอยแู นวต้งั หรือแนวนอนกต็ าม หากเราแบงภาพนัน้ ออกเปนสาม สวน ทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน แลวลากเสน แบงภาพทง้ั สามเสน จะเกิดจดุ ตดั กนั ทง้ั หมด 4 จดุ ซ่งึ จดุ ตดั ของเสน ท้งั ส่ีนี้ เปนตาํ แหนงที่เหมาะสมสําหรบั การจดั วางวตั ถุท่ตี อ งการเนนใหเปน จดุ เดนหลัก สว น รายละเอียดอน่ื ๆ นั้น เปน สว นสาํ คัญที่รองลงมา การจดั วางตาํ แหนง จุดเดน หลักไมจ ําเปนจะตองจาํ กัดมากนกั อาจถอื เอาบรเิ วณใกลเ คียงทง้ั สจ่ี ุดน้ี จากตัวอยาง จะเหน็ ไดวา จุดสนใจจะอยบู ริเวณจดุ ตัด ทําใหภ าพดูสมบูรณ การสรา งสื่อเพอื่ การนําเสนอดวย ProShow Gold | 37 |

ในรปู แนวตง้ั กเ็ ชน เดียวกัน หรอื จะจัดในตาํ แหนงทใี่ กลเคยี งก็ได การสรางสือ่ เพือ่ การนาํ เสนอดวย ProShow Gold | 38 |

66นอกจากนเ้ี รายังสามารถใชแ นวเสนแบง 3 เสนน้ี เปน แนวในการจดั สัดสว นภาพกไ็ ดอ ยางการจัดวาง เสน ขอบฟาใหอยใู นแนวเสนแบง โดยใหสว นพ้ืนดนิ และทองฟาอยใู นอัตราสว น 3:1 หรือ 1:3 แตไมควรแบง 1: 1 68จากตัวอยางจะเหน็ ไดว า อัตราสว นระหวางพนื้ ดินกับทอ งฟาเปน 1:3 นอกจากนต้ี าํ แหนง จุดสนใจยัง อยทู บ่ี รเิ วณจดุ ตัด ทาํ ใหภาพดูสมบูรณ และนาสนใจยง่ิ ขึน้ และเรายังสามารถนาํ ไปประยกุ ตใชใ นการจดั องคป ระกอบภาพอนื่ ๆ โดยใชหลักการเดยี วกัน การสรางสอ่ื เพ่อื การนําเสนอดว ย ProShow Gold | 39 |

4หนว ยที่ การใชโปรแกรม Adobe Audition เพอ่ื การบนั ทกึ และตดั ตอเสียง แนวคิด การตัดตอ File เสยี ง มีความจําเปนตองใชประกอบในการสรางส่อื เพอื่ นาํ เสนอบรรยาย สามารถ ทําไดโ ดยใชโปรแกรมทางคอมพวิ เตอร ซง่ึ ในปจ จุบันมผี ูผลิตออกมาใหทดลองอยา งแพรห ลาย แตล ะโปรแกรม จะมขี อ ดแี ละขอ เสยี ในการใชท ีแ่ ตกตา งกนั ออกไป เชน Sound Forge,Nero Wave Editor,cakewalk,Jet Audio, Goldwave เปนตน และในเนื้อหาหนวยการเรยี นน้ี ไดกาํ หนดใหใ ชโปรแกรม Adobe Audition 1.5 ซึ่งผูผลติ ไดพฒั นามาจาก Cool Edit ตอ มาไดพัฒนาเปน โปรแกรม Adobe Audition ที่สามารใชใ นหอ ง Studio หรอื หองบนั ทกึ เสยี ง และสถานีวทิ ยกุ ระจายเสยี งไดทุกประเภท จุดประสงค เพ่อื ใหผูเรียน 1. สามารถลงโปรแกรม Adobe Audition 1.5 ไดอ ยางถูกหลักวธิ ี 2. สามารถใชโปรแกรมไดอ ยางถกู ตอ ง 3. สามารถกําหนดและตดิ ตง้ั Microphone ได 4. สามารถบนั ทึกเสียง ตัดตอ เสยี งและผสมเสยี งไดถกู ตอง ขอบขายเนอื้ หา 4.1 การลงโปรแกรม Adobe Audition 1.5 4.2 การเปดใชโปรแกรม 4.3 การกาํ หนดและการตดิ ต้ัง Microphone 4.4 การบนั ทึกเสยี ง 4.5 การตัดตอ เสียง 4.6 การผสมเสยี ง การสรา งสื่อเพอื่ การนาํ เสนอดว ย ProShow Gold | 40 |


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook