Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KingRama9andScience

KingRama9andScience

Description: KingRama9andScience

Search

Read the Text Version

บทความรำ� ลึกถงึ พระราชจรยิ วัตร ของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช

นักวทิ ย์คดิ ถึงในหลวง ผู้เขียน รศ. ดร.ศักรนิ ทร์ ภมู ริ ตั น ดร.ปิยะ เฉลิมกล่ิน ดร.ศรณั ย์ โปษยะจินดา ดร.รอยล จิตรดอน ดร.เฉลมิ พล เกิดมณี ดร.พลงั พล คงเสรี นพพร นนทภา ดร.นิสา เหลก็ สูงเนิน สมาธิ ธรรมศร ดร.สกุ ญั ญา ยงเกยี รตติ ระกลู ดร.บญั ชา ธนบญุ สมบตั ิ พรพิมล ผลนิ กลู รศ. ดร.เดชา วิวัฒนว์ ทิ ยา ดร.นำ� ชัย ชีววิวรรธน์ ดร.อดุ มชยั เตชะวภิ ู ดร.จารวุ รี สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา ธนภทั ร ศรโี มรา บรรณาธกิ าร ศศธิ ร เทศน์อรรถภาคย์ ดร.น�ำชัย ชีวววิ รรธน์ วัชราภรณ์ สนทนา รกั ฉตั ร เวทวี ฒุ าจารย์ ภาพวาด สุธน วงศ์สชุ าต ชมุ พล พนิ ิจธนสาร รปู เลม่ สุดารตั น์ แก้วแท้ ตรวจตน้ ฉบับ รศ. ดร.โกศลั ย์ คูส�ำราญ ตรวจคำ� ราชาศพั ท ์ พล.ต.ต. เฉลมิ พงศ์ โกมารกลุ ณ นคร ISBN 978-616-12-0512-6 สงวนลิขสทิ ธิ์ บทความท้ังหมดในเล่มน้สี งวนสิทธิภ์ ายใต้สัญญาอนญุ าต ครเี อทีฟคอมมอนส์ อนุญาตให้เผยแพรอ่ า้ งอิงแหล่งท่มี า ห้ามน�ำไปใช้ เพือ่ การค้าและห้ามดดั แปลง ผลติ และเผยแพร่ ศนู ยห์ นงั สอื สวทช. สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) โทรศพั ท์ ๐ ๒๕๖๔ ๗๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๕๖๔ ๗๐๑๕ อเี มล [email protected] ฉบับออนไลน์ www.nstda.or.th/r/KingRama9andScience

บทนำ� ปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ จากคน ๓-๔ คนท่ีมีความเห็นตรง กันว่า เราน่าจะช่วยกันท�ำอะไรบางอย่างเพื่อร่วมบันทึกความทรงจ�ำถึง ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ เราช่วยกันท�ำให้ภาพชัดข้ึนด้วยการแลกเปลี่ยน ความคดิ เติมแตง่ ภาพทค่ี วรจะเป็น ภารกจิ ทีเ่ ราจะช่วยกันท�ำใหล้ ลุ ่วง เพ่อื เปลี่ยนจากความรสู้ ึกสูญเสียอันยิง่ ใหญ่ ใหก้ ลายเป็นพลงั ทส่ี รา้ งสรรค์ และ ก้าวเดนิ ไปข้างหนา้ ด้วยกันตอ่ ไป เป้าหมายท่ีเราร่วมกันก�ำหนดในวันน้ันคือ รวบรวมความนึกคิด ของนักวิทย์ที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เพราะนอกเหนือจากความจงรักภักดีที่นักวิทย์จะมีต่อพระองค์ ไม่ได้น้อย ไปกว่าคนไทยท้ังประเทศแล้ว ความนึกคิดและบทวิเคราะห์ท่ีเหล่า นักวิทย์จะถ่ายทอดผ่านตัวอักษรออกมา ซ่ึงตั้งอยู่บนข้อเท็จจริงและหลัก การทสี่ อดรบั กนั ทงั้ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ เยาวชน คนรุน่ ตอ่ ๆ ไปทีจ่ ะได้ศึกษาเรยี นรู้ และนำ� ไปเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติตน จึงเป็นท่ีมาของบทความ “นักวิทย์คิดถึงในหลวง” ซ่ึงเขียนโดย นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และนักวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ ท่ีวิเคราะห์ถึง พระราชกรณยี กจิ พระราชดำ� ริ และพระราชจรยิ วตั รของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทั้งด้านการทรงเป็นนักคิด นักค้นคว้า นกั ทดลอง นกั ปฏบิ ตั ิ และทรงมคี วามเปน็ ครู ผถู้ า่ ยทอดความรทู้ ที่ รงเรยี นรู้ และค้นพบ โดยมีเป้าหมายเพ่ือเผยแพร่บทความเหล่านี้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไปอา่ น เพ่ือสรา้ งแรงบันดาลใจ และนำ� ไปเปน็ แบบอย่าง ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น รวมทงั้ การดำ� เนนิ ชวี ติ ได้ ตลอดช่วงเวลา ๑๐ กว่าเดอื นทผี่ ่านมา เราได้สัมผสั ความนกึ คิดและ บทวเิ คราะหข์ องนักวิทยท์ ั้ง ๑๘ ทา่ น ผ่านบทความ ๒๒ ชน้ิ ท่ีรวบรวมไวใ้ น

หนงั สือเล่มน้ี เป็นเครือ่ งยืนยันวา่ “ในหลวงรัชกาลท่ี ๙” เปน็ ทงั้ ศนู ยร์ วม จติ ใจ เปน็ แรงบันดาลใจ และเป็นต้นแบบการท�ำงานของนักวทิ ยเ์ ชน่ กัน ผู้เขียนท้ัง ๑๘ ท่านนี้มีทั้งอาจารย์ นักวิจัย วิศวกร นักวิชาการ นักส่ือสาร และผู้บริหารในวงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ ประเทศไทย ซงึ่ เปน็ เพยี งนกั วทิ ยก์ ลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนงึ่ ทเ่ี ราไดร้ ว่ มกนั ทำ� งาน ในช่วงเวลาทผ่ี ่านมา ยังมีนักวิทย์อีกมากมายหลายท่านที่ยังคงท�ำหน้าที่ของตนอย่าง ต่อเน่ือง สม่�ำเสมอ เพื่อร่วมกันพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ ประเทศไทยให้เข้มแข็งและก้าวต่อไปข้างหน้า โดยยึดหลักตามรอย คำ� สอนและสงิ่ ท่ีพอ่ สรา้ งไวก้ อ่ นหนา้ แล้ว เพอื่ ให้คนไทยมคี วามเปน็ อยู่ดขี ึน้ บทความ “นักวิทย์คิดถึงในหลวง” จัดพิมพ์เป็นรูปเล่มคร้ังแรก จ�ำนวน ๕,๕๐๐ เล่มในเดือนตุลาคม ๒๕๖๐ โดยส�ำนักงานพัฒนา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ และบริษัท เอสซจี ี แพคเกจจ้ิง จ�ำกดั (มหาชน) โดยไดร้ บั การสนบั สนุนการจดั พิมพจ์ �ำนวนหนง่ึ จากบริษัท ซกิ มา กราฟฟิคส์ จ�ำกัด เพื่อเผยแพร่ไปยังห้องสมุดประชาชนและสถานศึกษา ทั่วประเทศ และเผยแพร่แก่ประชาชนท่ัวไปในงานมหกรรมหนังสือ ระดบั ชาติ ครง้ั ที่ ๒๒ ยงั มบี คุ คลเบอื้ งหลงั อกี หลายทา่ น ซงึ่ ไมส่ ามารถเอย่ นามไดห้ มดในทน่ี ี้ ทค่ี อยใหก้ ารสนบั สนนุ และใหค้ วามรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดี ทำ� ใหง้ านชน้ิ นสี้ ำ� เรจ็ ลุล่วงลงได้ ทุกความตั้งใจของพวกเราทกุ คน ล้วนผสานเป็นหนงึ่ เดยี ว เพื่อ บอกวา่ “นักวิทย์คิดถงึ ในหลวง” ศศธิ ร เทศนอ์ รรถภาคย์ บรรณาธิการ

สารบญั ในหลวงในใจผม ๗ เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา ๑๑ สุขที่พอ่ สอน ๑๕ เมอ่ื นกั วทิ ยค์ ดิ ถึงในหลวง ๑๙ ดาราศาสตร์ไทยใต้ร่มพระบารม ี ๒๓ ต้นแบบการท�ำงานโดยใชแ้ ผนที่ ๒๗ พระมหากษตั ริย์นักคดิ ๓๑ พระราชาในตำ� นาน ๓๕ พระราชาผูท้ รงเป็นแรงบันดาลใจ ๔๐ ในหลวงกบั การพัฒนางานด้านธรณีวิทยาและบรรพชีวนิ วทิ ยา ๔๕ ในหลวงกบั พิพธิ ภณั ฑท์ างธรรมชาติ ๔๙ ต้นไมพ้ ยากรณ์ฝน ๕๓ ในหลวงกับการแก้ปญั หาดนิ เค็ม ๕๗ ต้นหญา้ ของพระราชา ๖๒ ธ ทรงเป็น “ในหลวง” ของเรา ๖๖ พระมหากษัตรยิ น์ กั วทิ ยาศาสตร์ ๗๑ จากอักษรเทวนาครถี งึ พระไตรปฎิ กฉบบั คอมพวิ เตอร ์ ๗๘ ต้นแบบของนักวิจยั ไทย ๘๔ วรรณศิลปข์ อง ร. ๙ ๙๐ สำ� นกึ ในพระมหากรณุ าธิคุณดา้ นการศกึ ษา ๙๕ องคผ์ ู้เปน็ มหาปราชญ์ของแผน่ ดิน ๑๐๔ ส.ค.ส. พระราชทาน ๑๐๙



ในหลวงในใจผม รศ. ดร.ศกั รินทร์ ภมู ิรัตน ผมรกั พระองค์ ผู้เขียนได้มีโอกาสถวายงานพระองค์ เนื่องจากการได้ติดตามคุณพ่อ (ศาสตราจารย์อมร ภูมิรัตน) ซ่ึงถวายงานพระองค์อยู่ในช่วงเวลาน้ัน เม่ือได้ลงไปสัมผัสงานในพื้นที่ ผู้เขียนก็พบว่าเป็นงานท่ีได้ไปช่วยผู้ที่ ด้อยโอกาสหรือขาดโอกาสจริงๆ แม้ภายหลังคุณพ่อเสียชีวิตลง ผู้เขียน ก็ยังคงท�ำงานสนองพระราชด�ำริมาโดยต่อเน่ือง ตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมา ผู้เขียนรู้สึกเสมอว่า เราไม่ได้ท�ำตามพระราชด�ำริเพียงเพราะ พระเจา้ แผน่ ดนิ รบั สงั่ ใหท้ ำ� แตเ่ ราทำ� เพราะนน่ั เปน็ สง่ิ ทน่ี า่ จะทำ� สง่ิ เหลา่ น้ี ผู้เขียนไม่ได้รู้สึกต้ังแต่วันแรกๆ ที่เริ่มสนองงานในพระราชด�ำริ แต่เป็น ความร้สู ึกท่ีคอ่ ยๆ เพม่ิ ข้ึนๆ ย่ิงรสู้ กึ รักและเทิดทนู ในพระองค์ เปน็ ความ รสู้ กึ ทม่ี ากกวา่ การทเ่ี ราไดถ้ วายงานแดพ่ ระเจา้ อยหู่ วั แตเ่ ปน็ เพราะเราได้ ท�ำงานทม่ี คี ณุ คา่ และมคี วามหมายจรงิ ๆ พ้ืนท่ีท่ีผู้เขียนมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานสนองพระราชด�ำริต่างๆ เป็นงานของโครงการหลวง มีจุดเริ่มอยู่ในพ้ืนท่ีภาคอีสาน ส่ิงที่น่าท่ึง ประการหนึ่งคือ พระองคไ์ ดร้ บั สั่งต่อเนื่องมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๓ และ เป็นแนวทางที่พวกเราใช้เป็นฐานในการท�ำงานต่อเน่ืองมาตลอดก็คือ “วิธีการสามขั้นตอน” ได้แก่ การเข้าไปช่วยเหลือชาวบ้านในพ้ืนที่แล้ว ทำ� ให้ “ความเป็นอยู่เขาดขี นึ้ ” เมอื่ ท�ำใหด้ ีขน้ึ แลว้ ก็ต้องหาวธิ ใี หเ้ ขามี อาชีพ เพ่อื ใหเ้ ขา “ชว่ ยเหลือตัวเองได”้ ไมใ่ ช่แจกอยตู่ ลอดเวลา เม่ือเขา ประกอบอาชีพได้แลว้ ก็ต้องหาวิธีให้เขา “พัฒนาตวั เองต่อไปได”้ -9-

พระองค์ทรงเปน็ วิศวกร เม่ือพระองค์เสด็จพระราชด�ำเนินไปยังภาคอีสาน ทรงเห็นประชาชน ยากจน ทรงรวู้ า่ ชาวบา้ นตอ้ งอาศยั นำ�้ ฝนเพอ่ื ปลกู ขา้ วกนิ ทเ่ี หลอื กห็ าของ ปา่ เทา่ ทท่ี ำ� ได้ สง่ิ ทพ่ี ระองคท์ รงทำ� เปน็ สง่ิ แรกๆ คอื การจดั ระบบนำ้� ตอน ที่พวกเราไปท�ำงานในพื้นท่ีจังหวัดสกลนครและบุรีรัมย์ ในขณะที่ได้รับ มอบหมายให้ลงไปในพ้ืนท่ีเพื่อช่วยพัฒนาชาวบ้าน เราพบว่าระบบน้�ำ กำ� ลังจะสรา้ งเสร็จ และทันทที เ่ี ราพร้อมจะท�ำงาน ระบบจ่ายนำ้� ซึง่ มักจะ เป็นเข่ือนหรอื ฝายเลก็ ๆ กเ็ สร็จพร้อมใช้งาน ในลกั ษณะของการมีแปลง ประณีตอยู่ใตเ้ ข่ือน คือมีการจดั แปลงทีพ่ ร้อมจะท�ำงานด้านการเกษตร เมอ่ื พวกเราไปสง่ เสรมิ ชาวบา้ นใหป้ ลกู ผลติ ผลทางการเกษตร การจดั ระบบการแปรรปู การมองตลาด เราจะตอ้ งรวู้ า่ เกษตรกรควรจะผลติ อะไร เมอ่ื รวู้ า่ จะผลติ อะไรกต็ อ้ งมนี ำ�้ มพี น้ื ที่ ซงึ่ ทกุ อยา่ งไดจ้ ดั เตรยี มไวก้ อ่ นแลว้ เหล่าน้ีคือสิ่งที่พระองค์ทรงออกแบบภาพใหญ่และวางแผนไว้ก่อน เรา เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของแผนการพัฒนา สิ่งน้ีแสดงให้เห็นอย่างชัดเจน วา่ พระองคท์ รงคดิ เปน็ ระบบ คิดเชงิ วิศวกรรม คดิ ถงึ เปา้ หมาย เพื่อให้ คนไดม้ โี อกาส สอนใหค้ นหดั ท�ำงาน พระองค์ทรงจัดไวอ้ ย่างชัดเจนมาก พระองคท์ รงเปน็ นักเทคโนโลยี พระองคท์ รงไมป่ ฏเิ สธเทคโนโลยีอะไรเลย แต่จะรบั สง่ั กลบั เสมอวา่ ตอ้ ง มีความพอดี ไมม่ ากเกนิ ไป ไม่น้อยเกินไป อย่าไปสดุ โตง่ กับวทิ ยาศาสตร์ กับเทคโนโลยี แต่เทคโนโลยีต้องใช้บนความเหมาะสม ใช้แต่พอดี เพอ่ื แกไ้ ขปัญหา บนความเขา้ ใจในโจทย์ปญั หาอย่างแทจ้ รงิ เป็นที่ทราบกันดีว่า พระองค์ทรงสนพระทัยเรื่องข้าวมาโดยตลอด เมื่อครั้งที่ผู้เขียนได้มีโอกาสเข้าร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และ - 10 -

ในนคักหดิ วถลทิ งึ ยว์ ง เทคโนโลยี และคณะนกั วจิ ยั ไทยเขา้ เฝา้ ฯ ทลู เกลา้ ฯ ถวายเหรยี ญสดดุ พี ระ เกยี รตคิ ณุ “พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช” ทท่ี รง อุทิศก�ำลังพระวรกายในการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาพันธุ์ข้าว และการผลิตข้าวไทย และกราบบงั คมทลู รายงานเกีย่ วกบั สิทธบิ ัตรยีนท่ี ควบคุมความหอมในข้าว เม่ือวันท่ี ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ณ วงั ไกลกงั วล อำ� เภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ครงั้ นัน้ พระองค์ทรง มรี บั สงั่ ขอบใจทท่ี ำ� ใหข้ า้ วไทยเปน็ ขา้ วไทยเสมอ ขา้ วหอมไทยจะเปน็ ขา้ ว ของไทยท่ีไม่มีใครเอาไปได้แล้ว เพราะเราบอกว่าน่ีคือยีนข้าวหอมไทย แล้วเรากจ็ ดสทิ ธิบัตรว่า คนไทยเปน็ คนพบ พระองค์ทรงท�ำให้พวกเราประจักษ์ว่า ทรงมีพระราชด�ำริถึงข้าว หอมมะลิ ในฐานะของขา้ วหอมมะลิไทย ทรงกังวลเรือ่ งเทคโนโลยวี ่าคน อื่นจะไม่สามารถท�ำให้เราบอกได้ว่าอันน้ีเป็นของเรา แต่เราสามารถใช้ เทคโนโลยสี มยั ใหมม่ าบง่ บอกไดว้ า่ เปน็ ขา้ วของเรา จงึ เปน็ เรอื่ งทคี่ วรทำ� พวกเราโชคดที ไี่ ดเ้ กดิ มาเปน็ คนไทยภายใตพ้ ระบรมโพธสิ มภารของ พระองค์ จะท�ำอย่างไรให้เราได้ใช้ส่ิงที่พระองค์ทรงมอบให้เราตลอดมา ช่วยกันน�ำพาให้สังคมเราดีข้ึนเรื่อยๆ หากเราได้ศึกษาแนวพระราชด�ำริ และนำ� มาปรบั ใชใ้ นการเรยี น การทำ� งานของเรา จะทำ� ใหส้ งั คมเราเขม้ แขง็ ขน้ึ พวกเรากจ็ ะมคี วามสขุ มชี วี ติ ความเปน็ อยทู่ ดี่ ี ปญั หาสงั คมตา่ งๆ กจ็ ะ เบาบางลงได้ - 11 -

เก่ยี วกบั ผเู้ ขยี น รศ. ดร.ศักรินทร์ ภูมิรัตน ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เกยี รตนิ มิ ยมอันดับหนง่ึ ใน ๒ สาขาวิชา คอื  สาขาเคมแี ละสาขา วิศวกรรมเคมีจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เดวิส และระดับ ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมเคมีจากมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน (เมดิสัน) สหรัฐอเมริกา เคยถวายงานในโครงการพัฒนาตาม พระราชด�ำริด้วยการด�ำเนินงานโรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูป โครงการหลวง มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่ง อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี - 12 -

เขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา ดร.รอยล จติ รดอน ตลอดระยะเวลาที่ได้มีโอกาสถวายงานแด่ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ หนึ่งใน หลักทรงงานของพระองค์ท่ีผู้เขียนได้เรียนรู้อย่างแจ่มชัดคือ ศาสตร์การ ทำ� งานอยา่ ง “เขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา” เวลาพระองคจ์ ะพระราชทานความ ช่วยเหลือ หรือด�ำเนินโครงการพระราชด�ำริในเร่ืองใด พระองค์จะทรง ศึกษาอย่างเข้าใจ ทดลองจนได้ผลส�ำเร็จก่อน แล้วจึงน�ำไปสู่การพัฒนา เพอ่ื ให้สามารถนำ� ไปปฏบิ ตั ใิ ช้ไดจ้ รงิ หากแตว่ า่ สำ� หรบั หลกั การทำ� งานของคนสว่ นใหญแ่ ลว้ เรามกั จะเรม่ิ งานจากการเขียนแผนงานก่อน ซึ่งหลายคร้ังท่ีเขียนแผนไปแล้วกลับไม่ คอ่ ยไดใ้ ช้ เพราะแผนไมส่ มบรู ณ์ แลว้ กก็ ลายเปน็ เหตผุ ลทเ่ี รามกั ไมเ่ ดนิ ตาม แผน แตส่ ำ� หรบั พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลท่ี ๙ แลว้ พระองค์ ทรงเนน้ การปฏบิ ตั ิ หรอื เอากายภาพเปน็ ตวั นำ� ทรงปฏบิ ตั จิ นกระทงั่ ไดผ้ ล มีข้อมูลเพยี งพอ ถึงจะทรงเรมิ่ ทำ� แผนดำ� เนินงาน - 13 -

วิธที พ่ี ระองค์ทรงสอนผูเ้ ขียนคือ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ หลังจากท่เี ริม่ ถวายงานดว้ ยการพัฒนาระบบทเี่ รียกว่า Weather 901 เพอ่ื ใช้สง่ ขอ้ มูล สภาพภูมิอากาศทัง้ ในและต่างประเทศทลู เกล้าฯ ถวายใหท้ อดพระเนตร ด้วยระบบออนไลน์แบบเรียลไทม์ เพื่อให้ทรงติดตามการเปล่ียนแปลง สภาพอากาศ สถานการณ์นำ�้ ปริมาณฝน และทิศทางลมได้โดยตรง พอ ระบบเรม่ิ ใชง้ านได้ แกไ้ ขปญั หานำ�้ ทว่ มไดจ้ รงิ พระองคร์ บั สงั่ กบั องคมนตรี เชาว์ ณ ศลี วนั ต์ ใหม้ าจดั ใหผ้ เู้ ขยี นไปดงู านทหี่ ว้ ยฮอ่ งไคร้ ซงึ่ กค็ อื สถานที่ ท�ำงานของพระองค์ โดยพระองค์โปรดทจ่ี ะให้ทดลอง ทำ� เปน็ กรณีศกึ ษา ขนึ้ มา และใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญหลากหลายสาขามารว่ มกนั ทดลองทำ� จนสำ� เรจ็ เป็นผลออกมา แล้วจึงเริ่มเขียนแผนด�ำเนินการที่จะน�ำไปสู่การพัฒนา ตอ่ ไป ซ่งึ ส่ิงนคี้ อื กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สงิ่ ทพ่ี ระองคท์ รงสอน ผเู้ ขยี นไดย้ ดึ ถอื และนำ� มาปฏบิ ตั ใิ ชต้ ลอด โดย ตอนทเ่ี รมิ่ ทำ� เรอ่ื งการจดั การนำ้� ชมุ ชน ผเู้ ขยี นไมไ่ ดเ้ รม่ิ จากการเขยี นแผน แต่เร่มิ จากการศกึ ษาข้อมลู แลว้ ท�ำความเข้าใจว่าโจทยข์ องประเทศไทย เปน็ อยา่ งไร โจทยข์ องประเทศไทยกค็ อื มพี น้ื ทก่ี ารเกษตรอยู่ ๑๕๔ ลา้ นไร่ มีปริมาณน้�ำฝนเฉล่ีย ๑,๔๖๔ มลิ ลิเมตร/ปี ทง้ั น้ีหากใครเคยไปประเทศ เยอรมนมี าแล้ว จะเห็นว่าป่าดำ� ของเยอรมนนี ัน้ ฝนตกเพยี งครง่ึ หนึง่ ของ ประเทศไทยเทา่ นน้ั เอง แต่ปา่ ของเขาเขียวมาก จงึ เรียกกนั ว่าป่าด�ำ เพราะฉะนั้นเม่ือเข้าใจโจทย์ของประเทศไทยแล้วว่า ปริมาณฝน เพียงพอ แต่สิ่งท่ีขาดคือการจัดการน�้ำ ซึ่งมีพ้ืนท่ีเกษตรกรรมเพียง ๒๐ เปอร์เซ็นต์เท่านั้น (๒๗ ล้านไร่) ที่อยู่ในเขตชลประทาน ส่วนอีก ๘๐ เปอร์เซ็นต์อยนู่ อกเขตชลประทาน ไมม่ ีโครงสร้างการจัดการนำ�้ เลย แล้วจะแก้ไขอย่างไร ในหลวงรับสั่งว่า ให้คิดภาพใหญ่ (macro) แต่ให้ เริม่ ทำ� จากภาพเลก็ (micro) ก่อน จากข้อมูลท�ำใหเ้ ราเหน็ ภาพคือ โจทย์ - 14 -

ในนคักหดิ วถลิทึงยว์ ง ของประเทศไทย การคิด macro ทำ� micro กค็ อื พิสจู นก์ รณีศกึ ษาตา่ งๆ หรือท�ำกรณีศึกษา แล้วต้องเลือกท�ำในพ้ืนท่ีท่ีด้อยท่ีสุด ซึ่งตอนน้ันเรา เลือกไปทำ� ท่ีบรุ รี มั ย์ ซึง่ เป็นพืน้ ที่ท่ีแล้งท่สี ุด ไม่มนี ำ�้ มา ๕๐ ปี และยงั ไม่มี หน่วยงานใดลงไปทำ� งานในพ้นื ที่ และช่วงน้ันดูตัวเลขปรมิ าณฝนแล้วคดิ ว่าท�ำได้ จึงสร้างโครงสร้างน�้ำระดับชุมชนขึ้นมาร่วมกับชุมชน ด้วยวิธี การท�ำแผนที่อย่างท่ีในหลวงรับสั่ง คือน�ำเอาข้อมูลมาลงว่าตรงไหนคือ แหลง่ นำ้� ตรงไหนตอ้ งการใชน้ ้ำ� เกดิ เป็นผงั ทีเ่ รียกวา่ DSLM (Demand Supply Logistic Management) จากการถวายงานมาเกอื บ ๑๐ ปี สงิ่ เหล่านท้ี ำ� ใหผ้ ู้เขยี นเขา้ ใจกระบวนท้ังหมด ว่านแี่ หละคือหลกั การท�ำงาน แบบ “เขา้ ใจ เข้าถงึ และพัฒนา” เขา้ ใจ คอื เข้าใจปญั หา ตง้ั โจทยส์ �ำเรจ็ โจทย์จะเหน็ เหมือนกันหมด ตอ้ ง อยู่บนข้อมลู หรอื แผนท่ี เข้าถึง คือ การจบั มือกนั ระหว่างภาครัฐ เอกชน ตำ� บล ชุมชน รวมถงึ ระหว่างชุมชนด้วยกนั ต้องให้ชุมชนมีสว่ นร่วมมากทีส่ ดุ พฒั นา คือ แผนการด�ำเนนิ งาน อย่างไรก็ดี “เข้าใจ เขา้ ถงึ พฒั นา” ไมใ่ ช่เปน็ เพียงศาสตรพ์ ระราชา ทพ่ี ระองคท์ รงใชใ้ นการทรงงานเพอื่ คลายทกุ ขร์ อ้ นใหป้ ระชาชนมาตลอด การครองราชย์ ๗๐ ปเี ทา่ นน้ั แตย่ งั เปน็ ดง่ั ยทุ ธศาสตรพ์ ระราชทานทท่ี รง มอบใหข้ า้ ราชการ ประชาชน และหนว่ ยงานตา่ งๆ ไดน้ ำ� ไปใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ เพอ่ื ชว่ ยใหง้ านสมั ฤทธผิ์ ล ประสบความสำ� เรจ็ ไดอ้ ยา่ ง ยั่งยืน - 15 -

เกยี่ วกับผู้เขยี น ดร.รอยล จิตรดอน ส�ำเร็จการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ในระดับ ปริญญาตรีและโทจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ตามลำ� ดบั และปรญิ ญาเอกสาขาวทิ ยาการ คอมพวิ เตอรจ์ ากมหาวทิ ยาลยั อนิ สบ์ รกุ โดยทนุ รฐั บาลออสเตรยี ถวายงานแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในการรวบรวมข้อมลู น�้ำของลุ่มน้ำ� เจา้ พระยา ภายใต้ “โครงการ ระบบเครอื ขา่ ยเพอื่ การจดั การทรพั ยากรนำ�้ แหง่ ประเทศไทย” ตอ่ มาเมอื่ มกี ารจดั ตงั้ สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้� และการเกษตร ได้ขยายผลการพัฒนาและรวบรวมข้อมูลน้�ำจนครบทั้งประเทศ เกิดเป็นคลังข้อมูลน�้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ ให้หน่วยงานที่ เก่ียวข้องใช้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจบริหารจัดการน้�ำ รวม ทง้ั ทำ� งานวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยเี พอ่ื บรหิ ารจดั การทรพั ยากร นำ้� ไดร้ บั พระราชทานพระราชวโรกาสใหเ้ ขา้ เฝา้ ฯ กราบบงั คมทลู ถวายรายงานผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๙ - 16 -

สุขทพ่ี ่อสอน ดร.รอยล จิตรดอน สง่ิ สำ� คญั ของผทู้ ม่ี โี อกาสถวายงานรบั ใชใ้ ตฝ้ า่ ละอองธลุ พี ระบาท ในหลวง รชั กาลท่ี ๙ นอกจากเปน็ เกยี รตแิ ละความภมู ใิ จสงู สดุ ในชวี ติ แลว้ กค็ อื การ ไดม้ ีโอกาสเรียนรู้และปฏบิ ตั ติ ามสง่ิ ทีพ่ ระองค์ทรงสอน - 17 -

ส่ิงหนึ่งท่ีผู้เขียนได้เรียนรู้จากการถวายงานแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ คือ พระองค์จะทรงสอนด้วยวิธีตั้งค�ำถาม แลว้ ใหเ้ ราตอบอยา่ งเชน่ เรอ่ื งคลอง ทงั้ ทพี่ ระองคท์ รงรจู้ กั เกอื บทกุ คลอง อย่แู ลว้ ก็จะทรงตัง้ คำ� ถามแกผ่ ถู้ วายงานเสมอ ถ้าตอบได้ พระองคก์ ็จะ รบั สง่ั ดว้ ย ถา้ ตอบไมไ่ ดก้ เ็ ลกิ งานนนั้ เลกิ แลว้ เวลาเลกิ กไ็ มร่ จู้ ะทำ� อยา่ งไร ขนาดนายกรฐั มนตรบี างทา่ นยงั ประสบมาแลว้ คอื จะทรงนง่ิ ไมร่ บั สง่ั ดว้ ย บางครง้ั นานเป็นเวลาเกอื บ ๑๕ นาที ซึง่ นน่ั หมายความว่า เรายงั เตรียม ตวั ไมด่ พี อ เพราะพระองคท์ รงโปรดใหก้ ารเขา้ เฝา้ ฯ ทกุ ครงั้ เปน็ ประโยชน์ ต่อประเทศชาติ เป็นการสอนให้ผู้ที่เข้าเฝ้าฯ หรือถวายงานทุกครั้งต้อง เตรียมข้อมูลให้พร้อมและครบถว้ นมากท่สี ุด ถา้ ทุกคร้ังท่ผี ูเ้ ขียนเขา้ เฝ้าฯ เพอื่ ทลู เกลา้ ฯ ถวายรายงานสรปุ ไดถ้ กู ตอ้ ง ขอ้ มลู ทง้ั หมดกจ็ ะถกู สง่ ตอ่ ไป ใหค้ ณะรฐั มนตรถี อื ปฏบิ ตั ิ แตถ่ า้ ครง้ั ไหนไมไ่ ดส้ รปุ หรอื สรปุ พลาดมาก ก็ ต้องกลบั มาทบทวนและเตรยี มพรอ้ มใหม้ ากขึ้น นอกจากนส้ี งิ่ ทพ่ี ระองคท์ รงสอนตลอดคอื วธิ กี ารเลา่ เรอ่ื ง โดยในทกุ เรอื่ งไมว่ า่ เรอ่ื งอะไรตอ้ งสรปุ ใหไ้ ด้ ถา้ สรปุ ไดค้ อื เขา้ ใจ และทส่ี ำ� คญั เลยคอื สรุปต้องไม่ใหย้ าว อย่างเชน่ รายงานท่ที ลู เกลา้ ฯ ถวายพระองค์ จะทรง ตรวจดว้ ยพระองค์เอง แลว้ ทรงปรับแก้ ฉะนนั้ รายงานทกุ ฉบบั ยาวไมไ่ ด้ ตอ้ งสนั้ กระชบั และไดใ้ จความ ไม่เพียงแต่เรื่องของเน้ือหา พระองค์ยังทรงห่วงใยเก่ียวกับการใช้ ภาษาไทยของคนไทยดว้ ย โดยตลอดระยะเวลาทผ่ี า่ นมาทรงเปน็ แบบอยา่ ง ของการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องมาโดยตลอด ดังน้ันการเขียนรายงาน ภาษาไทย ตอ้ งเปน็ ภาษาไทยแท้ ขนึ้ ตน้ ประโยคไมใ่ หเ้ ปน็ passive voice (ประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระท�ำ) เพราะคนไทยเดี๋ยวนี้ชอบขึ้นค�ำว่า “โดยที”่ “มกี าร” เป็นต้น ซงึ่ ค�ำเหลา่ น้เี ป็นประโยคของภาษาองั กฤษ - 18 -

ในนคักหิดวถลทิ ึงยว์ ง ประโยคภาษาไทยท่ีถูกต้องจะขึ้นต้นด้วยประธาน ตามด้วยกริยาและ กรรม ครง้ั หนง่ึ พระองคท์ รงสอนถงึ ขน้ั วา่ “ฉนั เองไมเ่ คยเรยี นภาษาไทยนะ คอื ตอ้ งเรยี นเอง” เนอื่ งจากพระองคท์ รงเจรญิ พระชนมพรรษาทป่ี ระเทศ สวิตเซอรแ์ ลนด์ ทรงเข้ารับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยโลซาน แต่พระองค์ ทรงมพี ระปรีชาญาณและพระอจั ฉรยิ ภาพทางด้านภาษาไทยอย่างมาก สิ่งเหล่าน้ีเป็นเพียงตัวอย่างส่วนหนึ่งท่ีพระองค์ทรงมีพระมหา กรุณาธคิ ุณตอ่ ผูถ้ วายงาน ส่งิ ทท่ี รงสอนหรอื ทรงให้ค�ำแนะนำ� ล้วนกอ่ ให้ เกดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเอง และตอ่ พสกนกิ รชาวไทยทกุ คน เพราะ หากเรามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถน�ำ “ค�ำพ่อสอน” ไปปรับใช้ ในการทำ� งานได้ดแี ลว้ ผลทเี่ กิดขึน้ กค็ อื “ความสขุ ” ของประชาชนของ พระองค์น่ันเอง “เวลาพระองค์ทรงงาน ส่ิงท่ีรับส่ังถึงเสมอคือ ความสุข พระองค์ ไม่ได้รับส่ังถึงความม่ังมี เพราะความม่ังมีหมายถึงส่ิงของ แต่ความสุข คือคน” - 19 -

เกีย่ วกบั ผ้เู ขยี น ดร.รอยล จิตรดอน ส�ำเร็จการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ในระดับ ปริญญาตรีและโทจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ มหาวิทยาลัยมหดิ ล ตามลำ� ดับ และปรญิ ญาเอกสาขาวทิ ยาการ คอมพวิ เตอรจ์ ากมหาวทิ ยาลยั อนิ สบ์ รกุ โดยทนุ รฐั บาลออสเตรยี ถวายงานแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในการรวบรวมข้อมลู น�ำ้ ของลุม่ น�ำ้ เจ้าพระยา ภายใต้ “โครงการ ระบบเครอื ขา่ ยเพอ่ื การจดั การทรพั ยากรนำ�้ แหง่ ประเทศไทย” ตอ่ มาเมอื่ มกี ารจดั ตงั้ สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ้� และการเกษตร ได้ขยายผลการพัฒนาและรวบรวมข้อมูลน�้ำจนครบท้ังประเทศ เกิดเป็นคลังข้อมูลน�้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ ให้หน่วยงานที่ เก่ียวข้องใช้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจบริหารจัดการน้�ำ รวม ทง้ั ทำ� งานวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยเี พอื่ บรหิ ารจดั การทรพั ยากร นำ้� ไดร้ บั พระราชทานพระราชวโรกาสใหเ้ ขา้ เฝา้ ฯ กราบบงั คมทลู ถวายรายงานผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๙ - 20 -

เมอื่ นกั วิทย์คิดถงึ ในหลวง ดร.ปยิ ะ เฉลิมกลน่ิ ความประทับใจในชีวิตที่ได้ท�ำงานถวายเบ้ืองพระยุคลบาทแด่องค์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ “ในหลวง” ของปวงชนชาวไทย มานานนับสบิ ปี ในต�ำแหนง่ ผอู้ �ำนวยการโครงการพัฒนาเกษตรดินทราย ชายทะเลอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบลปากคลอง อ�ำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ซ่ึงเป็นท่ีดินโครงการส่วนพระองค์ รวมทั้งเป็นนักวิจัย ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำริ ต�ำบล กะลวุ อเหนอื อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั นราธวิ าส และเปน็ กรรมการในโครงการ แฝกอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ ทกุ ครง้ั ทท่ี ำ� งาน ไดเ้ หน็ พระราชจรยิ วตั ร ท่ีงดงาม เห็นพระองคท์ รงทุ่มเทเพือ่ ให้ความสขุ กบั ปวงชนชาวไทย แลว้ นักวทิ ย์อย่างเรา ขอบอกว่า......ซาบซงึ้ และหายเหน่ือย - 21 -

ถึงแม้พวกเราจะไม่ได้เห็นพระองค์ทรงงานวิทยาศาสตร์เช่น นักวิทยาศาสตร์ท�ำ แต่ทรงใช้วิทยาศาสตร์แต่ละแขนงมาบูรณาการ จนเกิดเป็นผลงาน เป็นเคร่ืองมือท่ีชาวไทยชื่นชม ชาวโลกยกย่อง อาทิ ฝนหลวง เครื่องตีน�้ำ การปลูกและใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝก ดว้ ยแนวคิดด้านวิทยาศาสตรข์ องพระองคท์ ่ีว่า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” ยอ้ นรำ� ลกึ ถงึ เรอื ใบ “ซเู ปอรม์ ด” ทพ่ี ระองคท์ รงเลอื กใชว้ ธิ ตี อ่ ขน้ึ เอง ดว้ ยความชาญฉลาดและประหยดั ทรงวนิ จิ ฉยั วา่ จะใชแ้ ผน่ ไมช้ นดิ ใดทมี่ ี เนอ้ื ไมเ้ หนยี วแนน่ ทนทานตอ่ แรงกระแทกของคลนื่ ลมในทะเล มคี วามเบา คงตัว ไม่ยืดหดต่อน้�ำทะเล จะต่อเรือด้วยรูปร่างอย่างไรจึงจะเพรียวลม ทะยานแหวกทะเลไปได้อย่างรวดเรว็ ทรงตัวได้ดี ไมพ่ ลิกกลับเมอ่ื ปะทะ คล่ืนลม สามารถควบคุมและบังคับเรือได้ด้วยพระองค์เอง ถึงแม้ว่า ความเร็วลมจะผันผวนเพียงไร ทรงวินิจฉัยว่า เรือจะต้องกว้างและยาว เทา่ ไร จึงจะพุ่งทะยานไปขา้ งหนา้ อย่างรวดเร็ว จะต้องลดแรงเสยี ดทาน ให้น้อยที่สุด จนกระทง่ั ทรงสร้าง “ซเู ปอรม์ ด” ได้สำ� เร็จ และทส่ี �ำคญั เมือ่ ทรงนำ� เข้าแขง่ ขันในกฬี าแหลมทองครง้ั ท่ี ๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ แลว้ ทรงชนะเลิศ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ทรงมีพระราชดำ� ริเกย่ี วกับ “ฝนหลวง” เพ่อื นำ� มาใชแ้ กป้ ญั หาความแหง้ แลง้ ใหก้ บั เกษตรกร และเพอ่ื หาแหลง่ นำ้� อปุ โภค บริโภคให้กับมวลพสกนิกร กวา่ จะเข้าใจงาน เร่ิมต้นงาน แล้วพัฒนางาน กลายมาเปน็ สตู รสำ� เรจ็ การทำ� ฝนหลวง “กอ่ กวน เลย้ี งใหอ้ ว้ น แลว้ โจมต”ี จนสำ� เรจ็ เปน็ ฝนหลวงทพี่ วกเราเหน็ และไดใ้ ชป้ ระโยชนก์ นั อยใู่ นปจั จบุ นั นี้ พระองคท์ รงใชก้ ระบวนการและเครอ่ื งมอื ทางวทิ ยาศาสตรห์ ลายดา้ นมา บรู ณาการ ดว้ ยพระวิรยิ ะอุตสาหะอันแรงกล้า - 22 -

ในนคกัหดิ วถลิทึงยว์ ง เม่อื นึกถึงโครงการพระราชด�ำริ “แฝก” หน่ึงในพระราชกรณยี กิจ ด้านดินและน�้ำ ที่ไดร้ บั ทูลเกล้าฯ ถวายรางวลั “นกั วิทยาศาสตร์ดินเพ่อื มนุษยธรรม” จากสหภาพวิทยาศาสตร์ทางดินนานาชาติ ก็เนื่องด้วย พระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยและศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ตงั้ แตย่ งั ทรงพระเยาว์ ทรงมพี ระราชดำ� รถิ งึ ความจรงิ ในทฤษฎคี วามสมดลุ ของธรรมชาติ ดงั กระแสพระราชด�ำรสั ตอนหนึง่ ว่า “.......อาจมีบางคนเข้าใจว่าท�ำไมจึงสนใจเรื่องชลประทานหรือ เร่ืองป่าไม้ จ�ำได้เม่ืออายุ ๑๐ ขวบ ที่โรงเรียนมีครูคนหน่ึง ซึ่งเดี๋ยวนี้ ตายไปแล้ว สอนเรื่องวิทยาศาสตร์ เร่ืองการอนุรักษ์ดิน แล้วให้เขียน ว่า ภูเขาต้องมีป่าไม้อย่างนั้น เม็ดฝนตกลงมาแล้วจะชะดินลงมา เร็ว ท�ำให้ไหลตามน�้ำไปท�ำความเสียหาย ดินหมดจากภูเขา เพราะ ไหลตามสายน�้ำไป ก็เป็นหลักของป่าไม้เร่ืองการอนุรักษ์ และเป็น หลักของชลประทานท่ีว่า ถ้าเราไม่รักษาป่าไม้ข้างบน จะท�ำให้เดือด ร้อนตลอด ตั้งแต่ดินภูเขาจะหมดไป กระท่ังการท่ีจะมีตะกอนลงมา ในเขื่อน มีตะกอนลงมาในแม่น้�ำ จะท�ำให้น้�ำท่วม เรียนเรื่องน้ีมา ต้ังแต่ ๑๐ ขวบ....”* พระองค์จึงทรงน�ำ “แฝก” มาทดลองปลูก ศึกษาวิจัย แล้วพัฒนากระบวนการปลูกและใช้ประโยชน์ ด้วยพระราช ประสงคจ์ ะอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้� เพอ่ื ปอ้ งกนั การกดั ชะการพงั ทลายของดนิ และเพอ่ื ปรบั ปรงุ สภาพพนื้ ทเี่ สอ่ื มโทรม ทรงผา่ นการทดลองเพอ่ื หาความ * พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๙ พระราชทานแก่ คณะกรรมการสโมสรไลออนสส์ ากล ภาค ๓๑๐ (ประเทศไทยและประเทศลาว) ณ พระต�ำหนกั จติ รลดารโหฐาน วันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๑๒ - 23 -

เหมาะสมของระดบั ความลาดเทของพนื้ ทก่ี บั ชนดิ ของดนิ และหนิ หนา้ ดนิ กบั ความรนุ แรงของลมฝน กับปรมิ าณของน�้ำฝนท่ีไหลบา่ เพ่อื ปลกู แฝก ใหไ้ ดป้ ระสทิ ธิภาพสงู สดุ เมื่อนักวิทย์อย่างเราคิดถึงในหลวง คิดถึงพระอัจฉริยภาพด้าน วทิ ยาศาสตรแ์ ตล่ ะสาขาอนั เปน็ เลศิ ผนวกกบั พระวริ ยิ ะอตุ สาหะอนั ยงิ่ ใหญ่ จนบูรณาการมาเป็นช้ินงานและกระบวนการที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ พสกนิกรชาวไทยและชาวโลก นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาท่ีสุด มไิ ด้ จะจารึกอยู่ในจิตใจของนักวิทยเ์ ชน่ เราตลอดไป เกี่ยวกับผเู้ ขียน ดร.ปยิ ะ เฉลมิ กลนิ่ สำ� เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรดี า้ นชวี วทิ ยา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร  ปริญญาโท สาขาพืชสวนและปริญญาเอกสาขาปฐพีวิทยาจากมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ และระดบั หลงั ปริญญาเอกจากมหาวทิ ยาลยั แหง่ ชาตโิ ซล สาธารณรฐั เกาหลี เป็นนักพฒั นาและอนุรักษพ์ รรณไม้ หายากและใกล้สูญพันธุ์ รวมท้ังไม้ถิ่นเดียวที่พบเฉพาะใน ประเทศไทย เพอ่ื มิให้สูญพนั ธุ์ โดยคน้ พบพรรณไมช้ นิดใหม่ของ โลก ได้แก่ จ�ำปีสริ ินธร มหาพรหมราชนิ ี และมะลเิ ฉลิมนรินทร์ เคยเปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญพเิ ศษ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย และได้รับรางวัลบุคคลดีเด่นของชาติ สาขา อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๕๖ - 24 -

ดาราศาสตรไ์ ทยใตร้ ม่ พระบารมี ดร.ศรณั ย์ โปษยะจินดา “ถ้าไม่ได้เป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงปรารถนาท่ีจะเป็น นักดาราศาสตร์ และอยากมีหอดูดาวท่ีจังหวัดเชียงใหม่” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ผู้เขียน นอ้ มเกลา้ ฯ รำ� ลึกถงึ แมว้ ่าผเู้ ขยี นจะไม่เคยถวายงานแดพ่ ระองคโ์ ดยตรง แตม่ ีโอกาสได้ถวายงานแดส่ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราช กุมารีอยูห่ ลายคร้งั พระดำ� รัสที่สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ ทรงรับส่งั ถงึ ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ในหลายโอกาสว่า “ถ้าไมไ่ ด้เป็นพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงปรารถนาที่จะเป็นนักดาราศาสตร์ และอยากมีหอดู ดาวทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม”่ ผเู้ ขยี นคดิ วา่ พระราชดำ� รนิ อ้ี าจเปน็ สว่ นสำ� คญั วา่ - 25 -

ท�ำไมพระองค์ทรงมีแรงบันดาลพระราชหฤทัย และพระปรีชาสามารถ ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมาก และอาจจะเป็นด้วยความสน พระราชหฤทัยทางด้านวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะดาราศาสตร์ต้ังแต่สมัย ทรงพระเยาว์ เมอื่ ปีพ.ศ.๒๕๔๔พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงโปรดให้คณะบคุ คล ซงึ่ มนี าวาอากาศโท ฐากูร เกิดแก้ว รวมอยู่ด้วย เขา้ เฝา้ ฯ เพอื่ ตดิ ตง้ั กลอ้ งโทรทรรศนถ์ วาย ณ พระราชวงั ไกลกงั วล จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ทรงถา่ ยรปู ดาวองั คารและดาวหางลเิ นยี ร์ เอ๒ (LINEAR A2) ในปีนั้นมีปรากฏการณ์ส�ำคัญทางดาราศาสตร์คือดาวอังคารโคจร เขา้ ใกลโ้ ลก โดยปกตดิ าวองั คารจะโคจรเขา้ ใกลโ้ ลกทกุ ๒๖ เดอื น แตล่ ะครง้ั จะโคจรเขา้ มาใกลโ้ ลกไมเ่ ทา่ กนั ครั้งนั้น นาวาอากาศโท ฐากูรกลับมาเล่าให้ผู้เขียนฟังว่า ในหลวง รบั สงั่ วา่  “รไู้ หมวา่ ดาวองั คารมอี ะไรทต่ี า่ งจากโลกอยอู่ ยา่ งหนงึ่ คอื โลกเรา จะเห็นดวงจันทร์ปรากฏข้ึนทางทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตก เพราะโลกเราหมุนรอบตัวเองจากตะวันตกไปตะวันออก ที่ดาวอังคารก็ มีการหมุนรอบตัวเองเหมือนโลก แต่ดวงจันทร์โฟบอส (ดวงจันทร์ของ ดาวองั คาร) ขน้ึ จากทศิ ตะวนั ตกไปทศิ ตะวนั ออกวนั ละ ๔ รอบ” ผเู้ ขยี นรสู้ กึ ประหลาดใจปนประทบั ใจอยา่ งมากวา่ พระองคท์ รงทราบในรายละเอยี ด ถึงขนาดนัน้ แสดงว่าทรงมคี วามรอบร้เู รอ่ื งดาราศาสตรอ์ ย่างลกึ ซงึ้ ผู้เขียนเคยสงสัยว่า ท�ำไมพระองค์ทรงโปรดดาราศาสตร์มาก? ก่อนหน้านั้นผเู้ ขียนเคยไดย้ ินเรือ่ งราวเก่ียวกับสมเด็จย่ามากมายวา่ ท่าน ทรงสนพระทัยเรื่องดาราศาสตร์และการดูดาวมาก โดยเฉพาะในช่วงท่ี ประทบั อยู่ท่ีโลซาน ทุกคร้งั ท่ที ้องฟา้ ใสและเหน็ ดาวระยิบระยับ ท่านจะ - 26 -

ในนคกัหิดวถลิทึงยว์ ง ทรงโปรดใหข้ า้ ราชบรพิ ารออกมาดดู าว และทรงสอนดดู าวใหก้ บั ผตู้ ดิ ตาม อยเู่ สมอ ราว ๒๐ ปที ผี่ า่ นมา ม.ร.ว.ดศิ นดั ดา ดศิ กลุ เคยเลา่ ใหผ้ เู้ ขยี นฟงั วา่ “ศรณั ยร์ ไู้ หมวา่ เมอื่ ครงั้ ทสี่ มเดจ็ ยา่ ทรงมพี ระชนมายมุ ากแลว้ ทรงเขา้ ไป เรยี นในมหาวทิ ยาลยั โลซาน๒วชิ าไมไ่ ดเ้ รยี นเพอื่ เอาปรญิ ญาแตเ่ รยี นเพอื่ รู้ กค็ อื วชิ าปรชั ญาซงึ่ ทรงโปรดอยแู่ ลว้ กบั วชิ าดาราศาสตร์เหตทุ ที่ รงไปเรยี น กเ็ พื่อจะนำ� มาสอนให้พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ขณะทรงพระเยาว์” จากค�ำถามน้ันท�ำให้ผู้เขียนคิดว่าการที่ในหลวง รชั กาลที่ ๙ ทรงโปรดและใฝ่ฝนั จะเปน็ นกั ดาราศาสตร์ สมเดจ็ ย่านา่ จะมี สว่ นส�ำคญั ทีท่ ำ� ใหพ้ ระองคม์ ีพระราชดำ� ริเช่นนี้ หนงั สอื “เวลาเป็นของมคี า่ ” ท่ีนิพนธ์โดย สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้ทรงนิพนธ์ ไวว้ า่ สมเดจ็ ยา่ ทรงโปรดดาราศาสตรม์ าตงั้ แตท่ ปี่ ระทบั อยทู่ ส่ี หรฐั อเมรกิ า ก่อนท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจะทรงมี พระบรมพระราชสมภพ สมเดจ็ ยา่ ทรงใช้หนงั สือชอ่ื “Le Ciel” (ภาษา ฝร่ังเศส แปลว่า ท้องฟ้า) จนกระทั่งแผนท่ีดาวในหนังสือหลุดออกมา ในหนังสือเล่มน้ีจะมีแผนท่ีดาวแบบหมุนที่เด็กๆ ชอบใช้กัน เป็นแบบ เดียวกับที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๘ และ ๙ ทรงใช้ เมอ่ื ทรงพระเยาว์ ราว ๗๐-๘๐ ปีก่อน ผเู้ ขยี นมคี วามเขา้ ใจวา่ ดาราศาสตรเ์ ปน็ แรงบนั ดาลพระราชหฤทยั ท่ีทำ� ให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว รชั กาลท่ี ๙ ทรงโปรดวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ รับสั่ง หลายครั้งว่า มีพระราชประสงค์ให้ใช้ดาราศาสตร์เป็นเคร่ืองมือในการ สร้างคน หลายคนอาจจะมองว่าการท�ำงานเร่ืองดาราศาสตร์เป็นเรื่อง ไกลตัว ไม่เกี่ยวข้องกับการสร้างคน แต่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ - 27 -

ทรงมีพระราชด�ำริในโครงการท่ีเกี่ยวกับดาราศาสตร์ต่างๆ มากมาย และยงั ทรงรบั สงั่ อยเู่ สมอวา่ “ดาราศาสตรค์ ือเคร่ืองมอื ในการสร้างคนท่ี สำ� คญั ที่สุด” ความมงุ่ มนั่ ทมุ่ เท และต้ังใจอย่างยิ่งทจ่ี ะทำ� งานเพ่ือสนอง พระราชดำ� ริ และสานตอ่ พระราชปณธิ านในการนำ� ดาราศาสตรม์ าใชใ้ น การพัฒนาคน สะท้อนผ่านการด�ำเนินงานของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์ แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ตลอดระยะเวลา ๘ ปี นับแต่ก่อตั้งจนถึง ปจั จบุ นั ซงึ่ ทมี งานของสถาบนั ฯ กลา่ วไดอ้ ยา่ งภาคภมู ใิ จวา่ “ดาราศาสตร์ ท่ีพระองค์ทรงสนพระราชหฤทัยมาแต่เยาว์วัย บัดน้ีได้หยั่งรากบน แผ่นดินไทยอย่างมั่นคง งอกงามแล้ว ด้วยพระมหากรุณาธิคุณหาท่ีสุด มไิ ด้ พระพุทธเจา้ ข้าฯ” เกย่ี วกับผเู้ ขียน ดร.ศรณั ย ์ โปษยะจนิ ดา นกั เรยี นทนุ โครงการพฒั นาและสง่ เสรมิ ผู้มคี วามสามารถพเิ ศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาโทด้านวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์จาก มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ และปริญญาเอกด้านวิทยาศาสตร์ พอลเิ มอรแ์ ละวศิ วกรรมเคมจี ากมหาวทิ ยาลยั แบรดฟอรด์ สหราช อาณาจักร มีความสนใจและหลงใหลในความสวยงามของวัตถุ ท้องฟ้าและดาราศาสตร์มาตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้เห็นดาวเสาร์ผ่าน กล้องโทรทรรศน์ขนาดเล็ก เป็นแรงบันดาลใจให้ศึกษาค้นคว้า ดา้ นดาราศาสตร์ จนกา้ วเขา้ สวู่ งการดาราศาสตรเ์ ต็มตวั ปัจจบุ ัน ด�ำรงต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - 28 -

ตน้ แบบการท�ำงานโดยใช้แผนท่ี ดร.วราวุธ สธุ ีธร การทำ� งานดา้ นธรณวี ทิ ยาจะตอ้ งออกไปสำ� รวจหนิ ตามทตี่ า่ งๆ “แผนท”ี่ จงึ เป็นหวั ใจของการท�ำงาน เชน่ เดียวกับทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๙ ทรงใช้ “แผนที่” ในการทรงงานแก้ปัญหาให้กับพสกนิกร ในพ้ืนที่ต่างๆ พระองค์ทรงใช้แผนที่ภูมิประเทศ ซึ่งแสดงภูมิประเทศ ของแตล่ ะพื้นท่ี ทงั้ ภเู ขา แม่นำ�้ ถนนหนทาง หม่บู า้ น ยอ่ สว่ นลงมาเปน็ สัญลกั ษณ์ เสน้ และสบี อกระดบั ความสงู ตำ�่ ของพืน้ ที่ ไรน่ า ป่าไม้ แมน่ �้ำ ล�ำธาร สันเขา หบุ เขา ถนนหนทาง ซงึ่ เปน็ ประโยชน์มากในการวางแผน จัดการในการใช้พ้ืนที่สร้างบ้านเมือง หาแหล่งน้�ำ เพื่อใช้อุปโภคบริโภค ท�ำการเกษตรกรรม เปน็ ตน้ - 29 -

การใช้ข้อมูลภูมิประเทศจากแผนท่ีประกอบกับการทอดพระเนตร ในพ้ืนท่ี ท�ำให้ในหลวงทรงวางแผนและทรงมีพระราชด�ำริในการแก้ไข ปัญหาต่างๆ ตั้งแต่เร่ืองการใช้พื้นท่ี การตั้งถิ่นฐาน และข้อส�ำคัญท่ีสุด คอื การหาแหลง่ น้�ำ ซึ่งตอ้ งอาศัยการศึกษาลักษณะภูมปิ ระเทศและการ ไหลของนำ�้ เพอ่ื หาแหลง่ กกั เกบ็ นำ้� แผนทสี่ ามารถบอกไดเ้ กอื บทง้ั หมดวา่ พนื้ ทแ่ี ตล่ ะแหง่ มพี นื้ ทใี่ ชง้ านกวา้ งใหญเ่ พยี งใด และจะสามารถกกั เกบ็ นำ้� ไว้ได้บริเวณใด การศึกษาภูมิประเทศและลักษณะดินท�ำให้พระองค์ทรง แกไ้ ขปญั หาเรอื่ งนำ้� อนั เปน็ ปจั จยั พน้ื ฐานของการดำ� รงชวี ติ ของประชาชน ในแต่ละภูมภิ าคได้ ชาวอสี านตอ้ งอาศยั อยกู่ บั ความแรน้ แคน้ เนอ่ื งจากลกั ษณะของชนั้ ดนิ ทเ่ี ปน็ หนิ ทราย ไมส่ ามารถกกั เกบ็ นำ�้ ไวไ้ ด้ ในชว่ งฤดฝู นภาคอสี านจะมี ความอดุ มสมบรู ณ์ แตเ่ มอื่ สิ้นฤดูฝน นำ้� ฝนทตี่ กลงมาส่วนหนึง่ จะไหลลง สูแ่ ม่น�้ำ อีกส่วนหนึง่ จะระเหยออกจากหน้าดิน ท�ำให้ระยะเวลา ๗ เดือน ที่เหลือจึงมีแต่ความแห้งแล้ง ชาวบ้านไม่มีแม้กระทั่งน้�ำด่ืม น�ำมาซึ่ง ปัญหาการอพยพย้ายถ่นิ ไปท�ำงานในพ้นื ทอี่ น่ื แต่ดว้ ยพระปรีชาสามารถ พระองค์ทรงมีพระราชด�ำริให้มีการสร้างเขื่อนขนาดเล็กหลายแห่งไว้บน พ้ืนท่ีสงู ในบริเวณทเ่ี ป็นรอ่ งลึก และมชี ่องแคบสำ� หรบั ทำ� สันเข่ือน สว่ น หน่ึงเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ทีก่ กั เกบ็ น�้ำไวใ้ ช้ยามหน้าแล้ง อีกสว่ นหนึ่งจะชว่ ยลดการ ระเหยของน�้ำจากหน้าดนิ เพิม่ การไหลซมึ ไปกกั เกบ็ ไวเ้ ป็นน�้ำบาดาล ในการแก้ปัญหาเร่ืองน้�ำในภาคเหนือ ซ่ึงมีพื้นที่สูงต่�ำต่างกัน มากๆ การจดั ทำ� แหลง่ กกั เกบ็ น�้ำยง่ิ มีความยงุ่ ยากย่งิ กว่า พระองคท์ รงมี พระราชด�ำริให้ท�ำการเก็บแหล่งน�้ำตามหุบเขาขนาดเล็ก หากมีล�ำธาร จะใช้วิธีการสร้างฝายชะลอน�้ำ รวมท้ังอ่างเก็บน้�ำบนเชิงเขา ทั้งหมดก็ - 30 -

ในนคักหิดวถลิทึงยว์ ง เพ่ือชะลอน�้ำไว้ ก่อนท่ีน้�ำจะไหลลงแอ่งหรือพ้ืนท่ีราบท่ีเป็นแหล่งชุมชน โครงการพระราชด�ำริท่ีเกิดขึ้นทั้งหมดล้วนแล้วแต่มาจากการที่พระองค์ ทรงเหน็ คณุ คา่ ของแผนที่ และทรงใชป้ ระโยชนจ์ ากแผนทใี่ นการวางแผน สิ่งที่บ่งบอกความเป็นมืออาชีพทางด้านการใช้แผนท่ีของในหลวง ที่เราเห็นกันเสมอ ในทุกครั้งที่เสด็จพระราชด�ำเนินลงพื้นที่ พระองค์ จะทรงใช้แผนท่ีปึกใหญ่กว่าแผนที่ปกติ เนื่องจากทรงน�ำแผนท่ีหลายๆ แผน่ มาต่อกนั เพือ่ จะสามารถเห็นภมู ิประเทศในภาพกว้างในเวลาทที่ อด พระเนตรพืน้ ท่ลี งมาจากเฮลคิ อปเตอร์ โดยท่ัวไปแผนท่ี ๑ ระวางจะกิน พ้ืนท่ีประมาณ ๗๕๐ ตารางกิโลเมตร พระองค์ทรงน�ำแผนท่ีมาต่อกัน ประมาณ ๔ ระวางเพื่อให้กินเน้ือที่ประมาณ ๓,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร และในการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ลงพื้นท่ีแตล่ ะครัง้ คาดวา่ นา่ จะใชแ้ ผนท่ี ๔ ระวาง ประมาณสามถงึ สช่ี ุด เพื่อใช้ทอดพระเนตรพนื้ ทปี่ ระมาณหนง่ึ หมน่ื ตารางกโิ ลเมตร และดว้ ยทรงเปน็ นกั ใชแ้ ผนท่ี พระองคท์ รงตอ่ แผนที่ ทรงงานดว้ ยพระองคเ์ อง อกี ทง้ั ยงั ทรงมวี ธิ กี ารพบั และกางแผนทท่ี ถ่ี กู ตอ้ ง กลา่ วคอื หนา้ แผนทจ่ี ะหงายหนา้ ขนึ้ เสมอ ทำ� ใหก้ ารใชแ้ ผนทป่ี กึ ใหญห่ นา มไิ ด้เปน็ อุปสรรคเมือ่ ตอ้ งเปิดใช้งานในสนาม ผลพลอยได้จากการให้ความสำ� คัญกับการใช้แผนท่ี และการเสด็จ พระราชด�ำเนินไปยังหลายพื้นที่ ท�ำให้กรมแผนที่ทหารต้องท�ำการ ปรับปรุงข้อมูลในแผนท่ีให้มีความเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ท�ำให้แผนท่ี ภมู ปิ ระเทศของประเทศไทยมคี วามทนั สมยั และเราซงึ่ เปน็ นกั ธรณวี ทิ ยา จงึ มแี ผนทร่ี นุ่ ใหมๆ่ สำ� หรบั ใชใ้ นการทำ� งานสำ� รวจ ซง่ึ ชว่ ยใหก้ ารวางแผน การลงพืน้ ท่ีในแต่ละคร้ังสะดวกมากข้ึน - 31 -

เกีย่ วกบั ผเู้ ขียน ดร.วราวุธ สุธีธร ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาธรณีวิทยา จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกาศนียบัตร Vertebrate paleontology, University Paris VI และปรญิ ญาดุษฎีบณั ฑิต กติ ตมิ ศกั ดิ์ สาขาชวี วทิ ยาจากมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ปจั จบุ นั เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและการศึกษาบรรพชีวินวิทยา มหาวิทยาลยั มหาสารคาม และยังดำ� เนินภารกจิ ดา้ นการสำ� รวจ ขดุ ค้น รวมถงึ วจิ ัยดา้ นฟอสซิลในประเทศไทยตอ่ ไป - 32 -

พระมหากษตั รยิ ์นักคิด ดร.รอยล จิตรดอน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว รชั กาลท่ี ๙ ทรงมคี วามสนพระราชหฤทยั ในเทคโนโลยี ทรงเป็นนักคิด และทรงมีสายพระเนตรท่ียาวไกล ดงั เช่น เรอ่ื งเข่ือนใต้ดนิ เม่อื ๓๐ ปที ี่แล้ว ทรงเคยรับสั่งวา่ อยากจะสร้าง ‘เข่อื น ปิดปากถ�ำ้ หินปูน’ เพอ่ื กกั เก็บน�้ำไว้ใตด้ ินส�ำหรบั ชาวบา้ น ต้ังแตญ่ ี่ปุ่นยัง ไมม่ แี นวคดิ เรอ่ื งนเ้ี ลย แตไ่ มม่ ขี า้ ราชการคนไหนทำ� เพราะดว้ ยเทคโนโลยี สมัยน้ัน ไม่มใี ครเชอื่ ว่าทำ� ได้ แตพ่ ระองคท์ รงเชอื่ วา่ ทำ� ได้ และทรงศกึ ษาเรอ่ื งเขอื่ นมาเปน็ อยา่ งดี เนอ่ื งจากประเทศไทยมปี ญั หามากเรอ่ื งนำ้� ๑. ไมม่ ที เี่ กบ็ ๒. ปา่ เสอ่ื มโทรม แลว้ ตะกอนมากขดุ ลอกไมท่ นั และ ๓. นำ้� ระเหยหนา้ แลง้ ดงั นน้ั ทำ� ไมเราจงึ ไมเ่ กบ็ ไวใ้ ตด้ นิ ทง้ั ทคี่ า่ ความพรนุ ของหนิ (porosity) มตี งั้ ๒๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ - 33 -

แถมเกบ็ นำ้� ไวใ้ ตด้ นิ กไ็ มร่ ะเหย ทส่ี ำ� คญั เกบ็ นำ�้ ไวใ้ ตด้ นิ แลว้ ดา้ นบนยงั ปลกู ตน้ ไมไ้ ด้ ศาสตราจารย์ ดร.ไพรชั ธชั ยพงษ์ ซง่ึ ไดไ้ ปเหน็ กบั ผเู้ ขยี น บอกวา่ การทำ� เข่ือนใต้ดินไม่เสียที่แม้แต่นิดเดียว ปลูกต้นไม้ข้างบนก็ได้ นำ้� ก็ไม่ ต้องรด เพราะระดับน�ำ้ ใต้ดนิ ยกขนึ้ มาจนกระทงั่ ถงึ รากได้ และนั่นคือสงิ่ ทพ่ี ระองคท์ รงคดิ ทรงคดิ และเหน็ โดยทไ่ี มใ่ ครคาดคดิ ซงึ่ ผเู้ ชยี่ วชาญจาก ตา่ งประเทศทที่ ราบถึงแนวคิดนตี้ ่างพูดเสียงเดยี วกนั ว่า “Genius” และ นี่คอื พระอัจฉริยภาพของพระองคโ์ ดยแท้ พระปรชี าญาณของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ ไมไ่ ด้ เปน็ ประโยชนเ์ พยี งตอ่ พสกนกิ รชาวไทย แตย่ งั เปน็ ทป่ี ระจกั ษแ์ ละถกู นำ� ไป ใชท้ วั่ โลก วนั ทผ่ี เู้ ขยี นไปเยย่ี มหนว่ ยงาน NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration) ของสหรัฐอเมรกิ า เม่อื ๒-๓ ปีท่ีแลว้ นกั วิทยาศาสตร์ท่ี NOAA นำ� เสนอข้อมูลเกีย่ วกบั การศึกษาวิจยั เรือ่ งฝน บทความงานวิจัยที่ถูกน�ำเสนอฉบับแรกคือ ภาพท่ีพระองค์ทรงทดลอง เรอื่ งไมโครฟสิ กิ ส์ (microphysics) ของฝนเปน็ รายแรกของโลก เราในฐานะ พสกนิกรชาวไทยก็รสู้ ึกปลาบปลื้มใจเป็นอยา่ งมาก จากนน้ั ต่อมาผเู้ ขียน มโี อกาสไปประชมุ ที่จอรแ์ ดน และพบว่าเดดซี เจอราช เยรซู าเลม็ ซ่งึ เป็น แหล่งอารยธรรมของโลก ทเี่ กิดปญั หาเรอื่ งการบล็อกน�้ำ จนกระทงั่ เดดซี เกอื บจะเสยี หายทงั้ ระบบ สิ่งทเ่ี ขาทำ� คือ เขาติดตอ่ โครงการพระราชดำ� ริ ฝนหลวงและเรม่ิ ท�ำฝนเทยี มแล้ว เหตุการณ์นีเ้ ปรยี บเสมอื นน้�ำพระทยั ที่ ชว่ ยบรรเทาทกุ ขใ์ หก้ บั ชาวจอรแ์ ดนดว้ ย สว่ นอกี เรอื่ งหนง่ึ ทเ่ี หน็ ทจี่ อรแ์ ดน คอื วิธีฟื้นทะเลทราย โดยจดุ ใดทีเ่ ปน็ โอเอซสิ เขาจะใช้วธิ ีการปลกู กลว้ ย ส่ิงเหล่าน้ีสะท้อนให้เห็นว่า ส่ิงที่พระองค์ทรงคิดค้นทั้งเคร่ืองมือ ตลอดจนพระราชทานแนวความคิดต่างๆ เป็นสิ่งท่ีอยู่เหนือกาลเวลา ใชไ้ ดท้ ุกยุคทุกสมัย และทั้งหมดไมไ่ ดม้ ไี ว้เพียงเพอื่ แก้ปญั หาเฉพาะความ - 34 -

ในนคักหดิ วถลิทงึ ยว์ ง ทกุ ขย์ ากของประชาชนคนไทยเทา่ นนั้ แตย่ งั บำ� บดั ทกุ ขภ์ ยั ใหก้ บั อกี หลาย ประเทศทวั่ โลก เกย่ี วกบั ผูเ้ ขยี น ดร.รอยล จิตรดอน ส�ำเร็จการศึกษาด้านคณิตศาสตร์ในระดับ ปริญญาตรีและโทจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และ มหาวิทยาลัยมหิดล ตามล�ำดบั และปริญญาเอกสาขาวิทยาการ คอมพวิ เตอรจ์ ากมหาวทิ ยาลยั อนิ สบ์ รกุ โดยทนุ รฐั บาลออสเตรยี ถวายงานแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในการรวบรวมขอ้ มลู น�ำ้ ของลุ่มน�้ำเจ้าพระยา ภายใต้ “โครงการ ระบบเครอื ขา่ ยเพอื่ การจดั การทรพั ยากรนำ�้ แหง่ ประเทศไทย” ตอ่ มาเมอ่ื มกี ารจดั ตงั้ สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากรนำ�้ และการเกษตร ได้ขยายผลการพัฒนาและรวบรวมข้อมูลน้�ำจนครบท้ังประเทศ เกิดเป็นคลังข้อมูลน้�ำและภูมิอากาศแห่งชาติ ให้หน่วยงานที่ เก่ียวข้องใช้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจบริหารจัดการน�้ำ รวม ทงั้ ทำ� งานวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยเี พอื่ บรหิ ารจดั การทรพั ยากร นำ้� ไดร้ บั พระราชทานพระราชวโรกาสใหเ้ ขา้ เฝา้ ฯ กราบบงั คมทลู ถวายรายงานผลการดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอื่ งตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๙ - 35 -



พระราชาในตำ� นาน ดร.เฉลิมพล เกิดมณี ณดนิ แดนทถ่ี กู เรยี กกวา่ สยามประเทศ มชี ว่ งเวลาแหง่ ความมน่ั คงอนั นำ� มา ซึ่งความสุขเกษมเปรมปรีด์ิของปวงชนชาวไทย ทุกพื้นที่ที่รอยพระบาท แห่งพระราชาย่างก้าวไป พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตแห่งความ พออยพู่ อกนิ และรอยยมิ้ แหง่ ความสขุ ของพสกนกิ รทว่ั แผน่ ดนิ พระราชา ผทู้ รงธรรมทป่ี กครองแผน่ ดนิ ยาวนานทสี่ ดุ จนถกู กลา่ วขานเปน็ ตำ� นาน ได้ เรม่ิ ขน้ึ จากครอบครวั หนง่ึ ทดี่ ำ� รงชวี ติ เฉกเชน่ สามญั ชน โดยมพี ระราชชนนี ท่ีทรงเล้ียงดูพระโอรสและพระธิดาแต่ล�ำพังพระองค์เดียว ด้วยพ้ืนฐาน ทไี่ ดร้ บั การฝกึ ฝนเปน็ อยา่ งดดี า้ นการพยาบาล จงึ ทรงมคี วามสามารถทาง จิตวิทยาในการเล้ียงดูพระโอรสให้เติบใหญ่เป็น “ในหลวงรัชกาลท่ี ๙” พระราชาผ้ทู รงธรรมของปวงชนชาวไทยทกุ คน “ฉนั เปน็ แบบนเ้ี พราะแมฉ่ นั เวลาถามอะไร แมไ่ มต่ อบทนั ที เงยี บจน รทู้ างกนั วา่ แมใ่ หค้ ดิ เอง แลว้ นำ� เสนอวา่ เราคดิ อยา่ งไร ถกู หรอื ไมอ่ ยา่ งไร ประมาณน้ี ฉันเลยคิดเองเป็น และเน้นทำ� อะไรเองเปน็ เมื่อผิดจงึ ร้วู า่ ผิด และจะไดห้ าทางแกไ้ ข”(วิทยจุ ุฬา ๙.๐๐ น. ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙) พระราชชนนที รงบม่ เพาะพระโอรสใหม้ พี ระอจั ฉรยิ ภาพทางปญั ญา อารมณ์ คุณธรรม และความเสียสละได้อย่างถึงพรอ้ ม พระอัจฉริยภาพ ท่ปี รากฏให้เหน็ ประจักษ์คอื - 37 -

๑. ทรงเป็นนกั สังเกต จดบันทกึ และถา่ ยภาพ เพราะพระราชชนนีทรงท�ำให้เห็นเป็นตัวอย่างในการเป็นนักเก็บข้อมูล และจดบันทึกอย่างเป็นระบบ ดังจะเห็นได้จากการท่ีพระราชชนนีทรง ถา่ ยภาพ ทงั้ ภาพนงิ่ และภาพยนตรข์ องพระธดิ าและพระโอรสทกุ พระองค์ ต่อมาในหลวงรัชกาลที่ ๙ ก็ทรงบันทึกไว้ด้วยพระองค์เอง ทรงบันทึก วนั เดือนปี เกบ็ รักษาไวเ้ ป็นอยา่ งดี และได้พระราชทานแกพ่ ระราชโอรส และพระราชธิดา ส่ิงท่ีเราเห็นกันจนชินตาเสมอมาคือ ขณะที่เสด็จ พระราชด�ำเนินเยี่ยมพสกนิกร สิ่งที่พระองค์ทรงน�ำติดพระวรกายเสมอ คอื แผนที่ กลอ้ งถา่ ยรปู และดนิ สอ ทรงใชเ้ ปน็ อปุ กรณใ์ นการบนั ทกึ ขอ้ มลู รายละเอยี ดและปัญหาต่างๆ ในพื้นที่ ๒. ทรงเป็นนกั ทดลองและพัฒนา พระราชชนนีทรงอภิบาลพระโอรสภายในวังสระปทุม ให้ทรงเรียนรู้ จากประสบการณ์ด้วยการเล่นกองทราย ดังบางข้อความจากหนังสือ เจา้ นายเลก็ ๆ-ยวุ กษตั รยิ ์ หนา้ ๗๓ “เพราะเมอ่ื เอานำ้� เทลงในทราย นำ�้ กจ็ ะ ซมึ ลงไปหมด จึงยา้ ยกันออกมาเลน่ ข้างนอก ขดุ คลองในดนิ นำ� น้�ำมาใส่ ให้มาไหลในคลอง แล้ววิ่งไปเก็บกิ่งไม้ท่ีพุ่มไม้” เหล่านี้เปรียบดังสัมผัส คร้ังแรกกับงานชลประทาน การปลกู ป่า และการเขา้ ใจธรรมชาติ ๓. ทรงเปน็ นกั คดิ อยา่ งเปน็ ระบบ เปน็ เหตุเปน็ ผล ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ทรงได้รับการอบรมบ่มเพาะให้ใช้เหตุและผล และ รับผิดชอบในส่ิงที่พระองค์ทรงกระท�ำ คร้ังทรงพระเยาว์ เมื่อทรงท�ำผิด จนถึงข้ันสมควรต้องลงโทษ พระราชชนนีจะทรงอธิบายก่อนว่าท�ำไมถึง ถกู ลงโทษ บางคร้ังจะมีการตอ่ รองกันวา่ ควรตีกีค่ ร้ัง “แต่ส่วนมาก และ อย่างยงิ่ เมอื่ โตขึ้นแลว้ แมจ่ ะใชว้ ธิ อี ธิบายส่งิ ที่ควรไมค่ วร สิง่ ท่ดี ีไม่ดี โดย พดู จากนั ด้วยเหตดุ ว้ ยผล” (หนังสือ เจา้ นายเล็กๆ-ยวุ กษตั ริย์ หน้า ๖๒) - 38 -

ในนคกัหดิ วถลิทึงยว์ ง ๔. ทรงมีจนิ ตนาการและการคดิ นอกกรอบ เมอื่ ยงั ทรงพระเยาว์ ทรงเลน่ บทบาทสมมตุ ติ ามจนิ ตนาการ เชน่ เปน็ ชา่ งไม้ เจก๊ หาบน�ำ้ และได้เล่นของจรงิ เช่น รถยนตท์ สี่ มเด็จพระพนั วัสสาฯ ทรง ไม่ใช้แล้วและเกา่ มาก ทรงถอดเครอ่ื งยนต์ออก และใช้เล่นกนั ตามแตจ่ ะ ทรงโปรด เม่ือเจริญพระชันษาจึงทรงมีจินตนาการท่ีสามารถวิเคราะห์ สาเหตไุ ดต้ รงประเด็น ๕. ทรงมีมนษุ ยสัมพันธท์ ่ดี กี ับสิ่งรอบตวั ด้วยพระราชชนนีทรงโปรดสตั ว์เลย้ี ง อย่างสุนขั ลิง มา้ นกขุนทอง เรียก ได้วา่ ในสมัยทรงพระเยาว์ ทรงพระเกษมส�ำราญจากการเลน่ กบั ส่งิ มีชวี ิต ทตี่ อ้ งอาศยั การเอาใจเขามาใสใ่ จเรา ทรงดแู ลใจคนรอบขา้ ง ทรงรบั นำ้� ใจ แมจ้ ะเปน็ สิ่งเลก็ นอ้ ย เชน่ เสวยกลว้ ยทชี่ าวบ้านนำ� มาถวาย ทรงเล็งเหน็ คณุ ค่าของส่ิงต่างๆ แม้เล็กน้อย ๖. ทรงยึดหลักการพึ่งตนเอง พระราชชนนที รงโปรดใหพ้ ระโอรสและพระธดิ ารบั ผดิ ชอบหนา้ ทที่ กุ อยา่ ง ด้วยตนเอง เมื่อครัง้ ทรงประทบั ทีส่ วิตเซอร์แลนด์ พระองค์ทรงใชช้ ีวติ ที่ เรยี บงา่ ย ทรงเดนิ ทางดว้ ยรถและรถไฟสาธารณะ ทรงจา่ ยตลาดและหวิ้ ของ ที่ซือ้ จากตลาดกลบั มาด้วยพระองค์เอง ทรงไมพ่ งึ่ พาผ้อู น่ื มากนกั ๗. ทรงใชช้ ีวติ ทพ่ี อเพยี ง ทรงรับส่งั กบั ขา้ ราชบรพิ ารเสมอวา่ ให้นง่ั รถรวมกันหลายๆ คน จะไดไ้ ม่ สิ้นเปลือง ไม่โปรดให้มีขบวนรถยาวเหยียด เม่ือทรงพระเยาว์ พระองค์ ทรงจักรยานไปโรงเรียนแทนประทับรถพระที่น่ัง ทรงรีดและใช้ยาสีฟัน จนหมดหลอด ทรงสวมเสอื้ เชต้ิ ทใี่ ชม้ านานจนคอปกเปอ่ื ย ฉลองพระบาท หนังสีด�ำที่มีสภาพช�ำรุดทรุดโทรมก็ทรงให้เจ้าหน้าที่น�ำไปซ่อมเพ่ือมา ใชง้ านตอ่ ของใชส้ ว่ นพระองคไ์ มจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งแพงหรอื เปน็ ของแบรนดเ์ นม - 39 -

๘. ทรงเขา้ ใจธรรมชาตคิ วามจรงิ ของสรรพสิง่ เม่ือคร้ังทรงประทับและเจริญพระชันษา ณ เมืองโลซาน ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ ซ่ึงมีสภาพแวดล้อมและธรรมชาติท่ีสมบูรณ์ ผู้คนอยู่ ใกลช้ ดิ และดแู ลธรรรมชาติ พระองคย์ งั เสดจ็ ไปกราบพระสายปฏบิ ตั อิ ยา่ ง สมำ�่ เสมอ ดงั คำ� กลา่ วของหลวงปดู่ ู่ พรหมปญั โญ พระสายปฏบิ ตั ชิ อื่ ดงั รปู หนงึ่ วา่ “หากไมม่ ใี นหลวง พระพทุ ธศาสนากต็ ง้ั อยไู่ มไ่ ด”้ เปน็ เครอื่ งยนื ยนั ในคุณธรรมที่ทรงตั้งมั่นในการปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์ สุขแหง่ มหาชนชาวสยาม ๙. ทรงยึดม่ันในหลักจาคะการแบง่ ปนั พระราชชนนีทรงปฏิบัติเป็นแบบอย่างตั้งแต่พระองค์ยังทรงพระเยาว์ การช่วยเหลือและสนับสนุนคนใกล้ชิดท่ีเป็นคนดีและเดือดร้อน พระราชชนนีทรงอบรมพระธิดาและพระโอรสให้รู้จัก “การแบ่งปัน” ทรงต้ังกระป๋องออมสินท่ีเรียกว่า “กระป๋องคนจน” หากพระองค์ใด เสด็จไปกิจกรรมใดแลว้ มรี ายได้ มีกำ� ไร จะต้องทรงหยอดใส่กระปุก ๑๐ เปอร์เซ็นต์ และทุกส้ินเดือนจะประชุมกันว่าจะน�ำเงินนี้ไปท�ำประโยชน์ อะไรตอ่ ไป เชน่ บรจิ าคโรงเรยี นสอนคนตาบอด มอบใหเ้ ด็กกำ� พร้า หรอื ทำ� กจิ กรรมเพ่อื คนยากจน ๑๐. ทรงปกครองแผน่ ดนิ ดว้ ยทศพศิ ราชธรรมในความดี ความจรงิ และ คณุ ธรรมตลอดรชั สมยั เพ่ือประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจใน พ้นื ท่ีห่างไกลและยากจนด้วยพระองคเ์ อง เพื่อให้รวู้ ่าอะไรเปน็ ประโยชน์ สำ� หรบั ผคู้ น ใหเ้ ขา้ ใจปญั หาทแี่ ทจ้ รงิ ไดท้ รงพบและมพี ระราชปฏสิ นั ถาร กับพสกนิกรท่ียากไร้หรือข้าราชการผู้น้อย ดังค�ำที่ว่า “เข้าใจ เข้าถึง พฒั นา” เพราะเปน็ สงิ่ สงู สดุ ในการเขา้ ใจรากเหงา้ ของการพฒั นาทส่ี ำ� คญั - 40 -

ในนคกัหิดวถลทิ ึงยว์ ง เพื่อปลดปล่อยความยากจนของพสกนิกร และเป็นแบบอย่างแห่งการ สรา้ งสมดลุ ในการพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื ผา่ นการใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพยี ง สรา้ งต�ำนานแห่งพระราชาผูท้ รงธรรม ในแผน่ ดนิ สยามท่รี ม่ เยน็ และการ อยรู่ ่วมกนั ดว้ ยเมตตาธรรม เกีย่ วกับผเู้ ขยี น ดร.เฉลมิ พล เกดิ มณี นกั วจิ ยั อาวโุ ส สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ ปจั จุบันดำ� รงต�ำแหนง่ หวั หน้าโครงการ “พลงั ปญั ญา” มลู นธิ มิ น่ั พฒั นา สำ� นกั งานทรพั ยส์ นิ สว่ นพระมหา กษตั รยิ ์ สบื สานพระราชปณธิ าน สรา้ งผนู้ ำ� นกั พฒั นาทม่ี คี ณุ ธรรม น�ำพาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสู่สังคมไทย ด้วย การ “เปลย่ี นวธิ ีคดิ พลิกชวี ติ ดว้ ยปญั ญา” สู่การสร้างชมุ ชนแห่ง ปัญญา ชุมชนแหง่ ความสขุ ท่ยี งั่ ยนื - 41 -

พระราชาผูท้ รงเป็นแรงบันดาลใจ ดร.พลงั พล คงเสรี ถา้ จะมเี รอ่ื งราวประการใดประการหนง่ึ ทผี่ เู้ ขยี นในฐานะนกั วทิ ยาศาสตร์ จะระลึกและจดจ�ำ “ในหลวงภมู พิ ลอดลุ ยเดช” ในสว่ นของการทรงงาน ที่หลากหลายเพื่อพสกนิกร ผ่านโครงการในพระราชด�ำริมากมาย คือ ความเพยี ร (ตปะ) และความอดทน (ขนั ต)ิ ซงึ่ ผเู้ ขยี นเชอื่ วา่ เปน็ สว่ นสำ� คญั ที่ท�ำให้หลายเรื่องหลายโครงการผ่านความยากล�ำบากและได้รับความ สำ� เรจ็ ในทส่ี ุด เม่อื กว่าสามสิบปีก่อน ผู้เขยี นมโี อกาสรว่ มเฝา้ ฯ รบั เสดจ็ พระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในโอกาสที่พระองค์เสด็จ พระราชดำ� เนนิ มาในพธิ เี ปดิ อาคารอเนกประสงคข์ องโรงเรยี นสวนกหุ ลาบ วทิ ยาลยั ขณะนนั้ ผเู้ ขยี นเรยี นอยชู่ นั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่๓หอ้ ง๓เปน็ นกั เรยี นท่ี เรยี นวทิ ยาศาสตรไ์ ดด้ แี ละไมอ่ ยากเรยี นแพทยห์ รอื อะไรๆ ทเ่ี ขาจะเรยี นกนั ผเู้ ขยี นรบั ทนุ โครงการ พสวท. ระดบั มธั ยม โดยยา้ ยมาทโี่ รงเรยี นสามเสน - 42 -

วทิ ยาลยั ดว้ ยความมงุ่ หมายทจ่ี ะเรยี นวทิ ยาศาสตร์ โดยมคี วามเชอื่ มน่ั ใน วิทยาศาสตร์ด้วยมุมมองของเด็กๆ จนวันน้ีท่ีเป็นนักเคมีมากว่าครึ่งชีวิต และมักจะพจิ ารณาสงิ่ ต่างๆ ด้วยสายตาแบบนักวิทยาศาสตร์ สงั คมไทยกวา่ ๗๐ ปภี ายใตพ้ ระบรมโพธสิ มภารของในหลวงรชั กาล ที่ ๙ มีเอกลักษณ์ของตัวเองที่สั่งสมมาจากรุ่นสู่รุ่น ด้วยวัฒนธรรมที่ หลอ่ หลอมทห่ี ลากหลาย ทง้ั เชอ้ื ชาติ วฒั นธรรม ประเพณี ความเชอ่ื ตา่ งๆ ลกั ษณะหนึ่งของสงั คมไทยคือ การเปน็ ตัวตนสูงที่มักทำ� งานในเชิงบคุ คล ไดด้ ี แต่ในการทำ� งานประเภททมี ทต่ี ้องอาศยั การประสานร่วมมอื มักจะ เป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ หรืออาจไม่น�ำไปสู่ประโยชน์โพดผลอะไร นัก ในทางเคมีอาจจะมองได้ว่าเป็นสังคมท่ีเกิดปฏิกิริยาร่วมกันได้ยาก ถ้ามองไปยังความส�ำเร็จของโครงการพระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจ�ำนวนมากมาย ท่ีเป็นประโยชน์ต่อ สงั คมไทยและพสกนกิ รนน้ั ลว้ นตอ้ งอาศยั ความรว่ มมอื รว่ มใจประสานงาน กันในทุกระดับของหลายหน่วยงาน หลายอาชีพ หลากหลายความ - 43 -

เชย่ี วชาญ ไม่ว่าจะเปน็ โครงการหลวงด้านการเกษตร การบรหิ ารจัดการ นำ้� และการชลประทาน พลังงานทดแทน การจราจรและโครงการท่เี กย่ี ว เนอื่ งกบั วศิ วกรรมตา่ งๆ ถา้ เปรยี บโครงการตา่ งๆ เหลา่ นเ้ี ปน็ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ทม่ี หี ลายสว่ นประกอบ โครงการเหล่านอ้ี าจจะเกดิ ไดย้ าก หรือไม่ไดเ้ ลย ถ้าขาดคะตะลสิ ต์ตัวเร่งปฏิกิริยาท่ีเป็นศูนย์รวมใจ ท�ำใหพ้ ลังงานกระตุ้น (activation energy) ลดลง และนำ� ไปสู่การเปลี่ยนแปลง เป็นผลิตผล ของปฏิกิริยา การท�ำงานของคะตะลิสต์จะท�ำให้อัตราเร็วของการเกิด ปฏกิ ริ ยิ าเรว็ ขนึ้ ไมม่ ผี ลตอ่ ตำ� แหนง่ ของสมดลุ เมอ่ื ทำ� งานเสรจ็ คะตะลสิ ต์ จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ในทางเคมีการท�ำงานของคะตะลิสต์จะต้องมี ความจ�ำเพาะและตอ้ งท�ำงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงมสี ่วนรว่ ม ในการเปลย่ี นแปลงของสงั คมไทยมาตลอดระยะเวลากวา่ ครงึ่ ศตวรรษของ การครองราชย์ ความสำ� เรจ็ ของโครงการในพระราชดำ� รติ า่ งๆ ทำ� ใหค้ นไทย ไม่จ�ำกัดเฉพาะนักวิทยาศาสตร์ได้เรียนรู้ว่า การท�ำงานให้ประสบความ สำ� เรจ็ ตอ้ งมวี สิ ยั ทศั นช์ ดั เจน มงุ่ ตอ่ เปา้ หมายรว่ มกนั ทำ� ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื และร่วมใจ แบ่งปันทรัพยากร ท้ังยังต้องทุ่มเทก�ำลังกาย กำ� ลังปัญญา ความสามารถ แม้บ่อยครั้งจะมีทุนรอนอันจ�ำกัด ก็ยังสร้างประโยชน์ให้ กบั สงั คมและประชาชนทล่ี ว้ นเป็นพสกนิกรของพระองค์ ถา้ เรามามองดู ปญั หาตา่ งๆ ในปจั จบุ นั ของคณุ ภาพชวี ติ ของสงั คมไทยทลี่ ว้ นตอ้ งการการ แก้ไข ดว้ ยการร่วมแรงรว่ มใจอย่างจรงิ จงั ของทกุ ภาคส่วน เลกิ แบ่งพรรค แบ่งพวก หรือมัวแต่มองถึงประโยชน์ส่วนตนมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว การที่ท�ำใหส้ งั คมดขี น้ึ ยอ่ มมผี ลดกี บั ตัวเองในทางออ้ มเช่นกัน จากเด็กน้อยๆ ท่ีได้รับเสด็จในวันน้ัน จนถึงวันนี้ที่รับราชการเป็น อาจารย์ ในมหาวิทยาลัยมหิดล ท่ีซ่ึงน้อมน�ำพระราชด�ำรัสของสมเด็จ - 44 -

ในนคกัหิดวถลทิ ึงยว์ ง พระมหติ ลาธเิ บศรอดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก มาเปน็ ปณธิ านของ มหาวทิ ยาลัย ว่า “True success is not in the learning but in its application to the benefit of mankind” ความส�ำเร็จท่ีแท้จรงิ อยูท่ ี่ การนำ� ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ ประโยชนส์ ขุ แกม่ วลมนษุ ยชาติ สะทอ้ นให้ เหน็ ถงึ การนำ� ความรไู้ ปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ และหนา้ ทขี่ องเราในปจั จบุ นั ที่ มคี วามรมู้ ากมายในระดบั หนงึ่ จากการเรยี น การคน้ ควา้ วจิ ยั คอื การเรยี นรู้ กระบวนการทจี่ ะประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ หลา่ นนั้ ใหเ้ กดิ เปน็ “ปญั ญา” ผเู้ ขยี น ขอแสดงให้เห็นความสอดคล้องของความส�ำเร็จแห่งโครงการใน พระราชดำ� รกิ บั พระราชดำ� รสั ของพระบรมราชชนกวา่ โครงการฯ เหลา่ นน้ั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชไดท้ รงนำ� ศาสตรต์ า่ งๆ มาประยุกตใ์ ช้เพื่อประโยชนส์ ุขแกม่ วลมนุษยชาติอยา่ งชัดเจน เราคนรนุ่ ใหมแ่ ละทา่ นผอู้ า่ นบทความนท้ี กุ ๆ ทา่ น ควรไดถ้ ามตนเอง ถึงการสร้างประโยชน์ต่อสังคมตามศักยภาพที่มี โดยถ้าน้อมน�ำเอา พระราชจริยวัตรเป็นตัวอย่างและแรงบันดาลใจ หลายสิ่งอย่างท่ีเราได้ เรียนรู้จากพระองค์ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต มีความ ทนั สมัยในวิทยาการ และการน�ำไปประยุกต์ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ ผา่ นการ ทำ� งานเปน็ ทมี โดยมจี ดุ มงุ่ หมายทชี่ ดั เจน มวี สิ ยั ทศั นท์ กี่ า้ วไกล ลดการมอง ถงึ ประโยชน์ตนแตใ่ ห้ค�ำนงึ ถึงประโยชน์สว่ นรวม คณุ สมบตั ติ า่ งๆ เหล่าน้ี เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ และเปน็ สง่ิ สำ� คญั สำ� หรบั สงั คมทจ่ี ะพฒั นาเปน็ ประเทศไทย ๔.๐ ดว้ ยองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรม ถา้ จะพดู ใหท้ นั สมยั คอื เยาวชนไทยรนุ่ ใหมต่ อ้ งมี grit คอื ตอ้ งมคี วาม “ถดึ ” คอื ตอ้ งอดึ และถกึ เพยี รและพยายาม อย่างมุง่ ม่ัน ไม่ใหใ้ ครวา่ ทำ� ตัว slow life หรือจบั จด ไมอ่ ดทน ในฐานะนกั วทิ ยาศาสตรใ์ นแผน่ ดนิ รชั กาลท่ี ๙ ในยคุ ทส่ี งั คมไทยจะ กา้ วสู่“ประเทศไทย ๔.๐” ผเู้ ขยี นอยากเหน็ สงั คมไทยนอ้ มนำ� พระราชดำ� รสั - 45 -

ของพระบรมราชชนกที่ว่า “ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตนเป็นท่ีสอง ประโยชนข์ องเพือ่ นมนุษย์เป็นกิจทหี่ น่ึง” มาเป็นหลักปฏิบัติ ดว้ ยความ สมถะและเพยี งพอตามทฤษฎเี ศรษฐกจิ พอเพยี งทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั แกน่ มากกว่ากระพี้ ผเู้ ขียนอยากเหน็ ภาพเหล่าน้ใี นสังคมและในองคก์ รต่างๆ ด้วยการลดการท�ำกิจกรรมแบบผักชี และใช้งบส�ำหรับผักชีไปลงทุนกับ ส่งิ อ่ืนๆ อยา่ งมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์แกส่ ว่ นรวมอย่างแทจ้ ริง เก่ียวกับผู้เขยี น ดร.พลังพล คงเสรี อาจารย์ประจ�ำภาควิชาเคมี และนักวิจัย หน่วยวิจัยเทคโนโลยีโปรตีนและเอนไซม์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ได้รบั ทนุ การศึกษาจากโครงการพัฒนาและ ส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พสวท.) ต้ังแต่ระดับมัธยมถึงปริญญาเอก ศิษย์เก่าโรงเรียน สวนกหุ ลาบวทิ ยาลยั และโรงเรยี นสามเสนวทิ ยาลยั ไดร้ บั ปรญิ ญา ตรจี ากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ปริญญาโทและ เอกจากมหาวิทยาลัยคอร์แนล สหรัฐอเมริกา ได้ใช้ความรู้ทาง เคมี เพื่อการศึกษาทางชีววทิ ยาและนาโนเทคโนโลยี เช่น กลไก การท�ำงานของสารออกฤทธจ์ิ ากผลิตภณั ฑ์ธรรมชาติ การพัฒนา ตัวตรวจวัดทางเคมีและชีววิทยา รวมถึงการน�ำความรู้ไปพัฒนา เพอ่ื ประโยชนต์ อ่ สงั คมในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ ผลติ ภณั ฑเ์ พอื่ ความ ปลอดภัยของอาหารและเคร่ืองส�ำอาง การใหค้ วามรสู้ ู่สังคมเพื่อ สรา้ งใหเ้ กดิ ศรทั ธาและมองเหน็ ความสำ� คญั ของวทิ ยาศาสตรแ์ ละ การศกึ ษา - 46 -

ในหลวงกับการพฒั นางานดา้ นธรณวี ทิ ยา และบรรพชีวินวทิ ยา ดร.วราวธุ สธุ ธี ร ความสนใจด้านบรรพชีวินวิทยาหรือฟอสซิลของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๙ ปรากฏใหเ้ ราเหน็ ไมม่ ากนกั เนอื่ งจากพระองค์ ทรงให้ความส�ำคัญกับเรื่องทุกข์สุข ปากท้อง และความเป็นอยู่ของ พสกนกิ รมาเปน็ อนั ดบั หนงึ่ แตจ่ ากพระราชดำ� รสั พระบรมราโชวาท และ โครงการในพระราชดำ� รหิ ลายโครงการ ผา่ นทางผแู้ ทนในพระองค ์ (สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา ฯ ฯลฯ) ทรงเป็นคุณูปการให้แก่วงการธรณีวิทยาและบรรพชีวินวิทยาของไทย เป็นอยา่ งย่ิง - 47 -

ดงั เชน่ งานทำ� แผนทธ่ี รณวี ทิ ยา สงิ่ ทจี่ ะเปน็ ขอ้ มลู สำ� คญั คอื ตวั อยา่ ง หนิ จากแหลง่ หนิ โผล่ (outcrop) ซง่ึ เปน็ หนิ ดา้ นทโ่ี ผลพ่ น้ ดนิ โดยเกดิ ตาม ธรรมชาตจิ ากการกดั เซาะของนำ้� หรอื โดยการขดุ เปดิ เอาดนิ ทปี่ ดิ ทบั ออก ไป ในการสร้างถนน ท�ำเหมือง หรือสร้างเข่ือน ในการเก็บตัวอย่างหิน นกั ธรณวี ทิ ยาจะใชค้ อ้ นธรณี ซงึ่ เปน็ คอ้ นเหลก็ ปลายดา้ นหนงึ่ แหลมใชข้ ดุ ดนิ ดา้ นทใู่ ชท้ บุ หนิ ใหแ้ ตกเปน็ กอ้ นพอเหมาะ ๑๐ x ๑๐ x ๑๐ เซนตเิ มตร โดยประมาณ โดยเลอื กหนิ สดใหมท่ เี่ พงิ่ ทบุ ออกมา หนิ โผลท่ อี่ ยกู่ ลางแจง้ มานานจะผุ สเี ปลยี่ น ฉะน้นั นกั ธรณจี ะดหู ินจากสที แี่ ตกใหม่ ซง่ึ จะเหน็ เนื้อหินและแรป่ ระกอบหนิ ชดั เจนด้วย การริเร่ิมโครงการพระราชด�ำริด้านการพัฒนาแหล่งกักเก็บน้�ำของ ในหลวง สง่ิ แรกท่ีเกิดขน้ึ คือ “ถนน” ล�ำดบั ตอ่ มาคือ “การทำ� สันเขื่อน” ซึง่ ท้ังสองสง่ิ นจ้ี ะมตี อ้ งการขุดเปิดหิน นักธรณีวทิ ยาจงึ ได้ประโยชน์อย่าง ยิ่งจากการไปส�ำรวจตามพ้ืนท่ีเหล่านี้ เพราะจะได้เห็นหินโผล่ที่สวยงาม ชดั เจนเป็นบริเวณกวา้ ง เช่นเดียวกับการส�ำรวจหาฟอสซิล เมื่อชั้นหินถูกเปิดออกหลังจาก ผา่ นฤดฝู นไปสกั สองสามฤดกู าล ผวิ หนา้ ดนิ จะถกู นำ�้ ชะลา้ งไป ชนิ้ สว่ นของ ฟอสซิลจะโผล่ขึ้นมาใหไ้ ดเ้ หน็ หินชน้ั หรือหินตะกอนที่มีฟอสซลิ สะสมอยู่ การเปิดพื้นทีใ่ นหลายบรเิ วณท่วั ทุกภาค ทำ� ให้นกั ธรณวี ทิ ยาเห็นตวั อยา่ ง หินและฟอสซิลท่ีดี และมีความต่อเนื่องกัน น�ำไปสู่การวิเคราะห์ข้อมูล ทางธรณี สามารถจัดจ�ำแนกชนิดหินและอายุของชั้นหิน ท�ำเป็นแผนท่ี ธรณีวิทยาของประเทศไทยที่มีความถูกต้องสูง ใช้เป็นลายแทงแหล่ง บรรพชีวนิ ของประเทศไทย โดยเฉพาะไดโนเสาร์ - 48 -

ในนคักหิดวถลทิ ึงยว์ ง จากงานดา้ นบรรพชวี นิ วทิ ยาของประเทศไทย โดยเฉพาะการสำ� รวจ ไดโนเสาร์และสตั ว์มกี ระดูกสนั หลังทีเ่ ร่ิมทำ� เมอ่ื ๓๐ กว่าปีก่อน เรียกได้ วา่ มองแทบไมเ่ หน็ ฝง่ั เปรยี บดงั เชน่ พระราชนพิ นธเ์ รอ่ื งพระมหาชนก ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่๙ ซง่ึ วา่ ดว้ ยเรอื่ งของ“ความเพยี ร” พระมหาชนกผู้มีความเพียรในการแหวกว่ายท่ามกลางมหานทีท่ีมอง ไม่เห็นแม้ฝั่ง แต่ยังคงเพียรว่ายต่อไปจนกระท่ังบรรลุถึงเป้าหมายได้ใน ที่สุด การท�ำงานด้านฟอสซิลในไทยตอนนั้นก็เช่นกัน แม้จะมองแทบไม่ เห็นฝั่ง แต่เราก็ยังเพียรท�ำ จนได้ไปเห็นตัวอย่างประเทศในยุโรปและ อเมรกิ าเหนอื ทเี่ ขาทำ� เรอื่ งนมี้ านาน เราไปศกึ ษากระบวนการทำ� งานของ เขา แล้วลงมือท�ำงานกันต้ังแต่ต้น จนมีองค์ความรู้มากพอท่ีจะก่อเกิด เป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาด้านบรรพชีวินวิทยาที่ภูกุ้มข้าว จังหวัด กาฬสนิ ธ์ุ ตง้ั แตเ่ รมิ่ ขดุ พบฟอสซลิ กระดกู ไดโนเสาร์ จนมกี ารสรา้ งศนู ยว์ จิ ยั ไดโนเสาร์ มีอาคารคลมุ หลุมขุดในลกั ษณะ site museum และที่สุดคอื พพิ ธิ ภณั ฑ์สิรินธรในปัจจบุ นั การทำ� งานของนักบรรพชวี นิ วิทยานนั้ ตอ้ งยึดหลัก “ความเพียร” เป็นอย่างย่ิง เน่ืองจากไม่มีใครรู้ว่าฟอสซิลจะฝังอยู่ในชั้นหินตรงจุดไหน จะรู้ก็แต่เพียงว่าบริเวณใดเป็นชั้นท่ีมีการสะสมตัวของฟอสซิลเท่านั้น การเดินส�ำรวจจึงเป็นเร่ืองที่เหน่ือยมาก แต่เราก็ต้องท�ำให้ถึงท่ีสุดจึงจะ สำ� เรจ็ เมอื่ ไปถงึ จดุ ทพี่ บฟอสซลิ แลว้ กต็ อ้ งเรมิ่ ขดุ คน้ จดบนั ทกึ เกบ็ ตวั อยา่ ง นกั บรรพชวี นิ วทิ ยาจงึ ตอ้ งมคี วามเพยี ร ความอตุ สาหะ ทำ� อยา่ งไมท่ อ้ ถอย นอกจากนย้ี งั ตอ้ งมี ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ มคี วามตงั้ ใจ เพราะวา่ งาน สำ� รวจพวกน้เี ป็นงานอิสระ ตวั เราเป็นนาย หลายคนถา้ ไปแล้วเหนอื่ ยไม่ ทำ� ต่อ งานท่อี อกมากไ็ ม่ดี ไม่สำ� เร็จ ฉะนนั้ กจ็ ะต้องมคี วามซ่ือสตั ยส์ จุ ริต - 49 -

แลว้ กต็ ง้ั ใจทจ่ี ะทำ� คดิ วางแผน คดิ หาวธิ กี ารทำ� ใหไ้ ดด้ ขี น้ึ ไปเรอื่ ยๆ พอไป พบฟอสซลิ แลว้ จะทำ� อยา่ งไร จะขดุ อยา่ งไร ใชเ้ ครอื่ งมอื อะไร เมอ่ื การขดุ มีปัญหา ตอ้ งหาวธิ แี กไ้ ข เมอ่ื นำ� ฟอสซิลกลบั มาทห่ี อ้ งแลบ็ ตอ้ งทำ� ความ สะอาดฟอสซิล แล้วจึงวิจัยจ�ำแนกชนิด เขียนรายงานการวิจัยตีพิมพ์ เผยแพร่ ตัวอย่างก็ต้องจัดเก็บเป็นระบบในคลังตัวอย่างเพ่ืออ้างอิง ใช้ เวลา ใชค้ วามรู้ ใชค้ วามอดทน ตอ้ งเรียนรตู้ ลอดเวลา แล้วกต็ อ้ งพฒั นา ศูนย์วิจัยให้เป็นสถาบันวิจัยที่ทันสมัย มีนักวิจัยเก่งมีคุณธรรม ท่ีค้นพบ ฟอสซิลชนดิ ใหม่ของไทยให้ระบือไกลท่ัวโลก เพือ่ เราจะได้มที ่ยี ืนบนฝั่ง หลักการท�ำงานเหล่าน้ีในหลวงทรงมีพระราชด�ำรัสให้พวกเรา ชาวไทยฟงั บอ่ ยครง้ั บางเรอ่ื งเราไมท่ นั ไดค้ ดิ แตเ่ มอ่ื เราไดน้ ำ� พระราชดำ� รสั มาพจิ ารณาและลองปฏบิ ตั ิ เราจะพบวา่ สง่ิ ทพี่ ระองคท์ รงสอนนนั้ สามารถ น�ำมาปรับใช้ในการด�ำรงชีวติ และการทำ� งานได้เปน็ อยา่ งดี เกี่ยวกับผูเ้ ขียน ดร.วราวุธ สุธีธร ส�ำเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาธรณีวิทยา จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกาศนียบัตร Vertebrate paleontology, University Paris VI และปรญิ ญาดุษฎีบัณฑติ กติ ตมิ ศกั ดิ์ สาขาชวี วทิ ยาจากมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ปจั จบุ นั เป็นผู้อ�ำนวยการศูนย์วิจัยและการศึกษาบรรพชีวินวิทยา มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม และยงั ด�ำเนนิ ภารกจิ ด้านการสำ� รวจ ขุดค้น รวมถึงวจิ ัยดา้ นฟอสซิลในประเทศไทยต่อไป - 50 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook