✦ การฝึกเดก็ ให้แปรงฟนั เมื่อเด็กยนื ได้ เด็กต้องการทำอะไรด้วยตัวเองมากข้ึน จึงเปน็ โอกาสดีทจ่ี ะฝึกเด็กใหแ้ ปรงฟนั โดยการฝกึ ตอ้ งค่อยเป็น คอ่ ยไป ตามความสามารถและพฒั นาการของเดก็ ควรช่ืนชมให้กำลังใจ ไม่ดุหากเด็กแปรงฟันเลอะเทอะ ฝึกเด็กแปรงฟันด้วยวิธี Horizontal scrub หรือ วิธีถูไปมา ซง่ึ เป็นวธิ ีท่เี หมาะกบั ลักษณะฟนั นำ้ นมและช่องปากเด็กเล็ก ดงั น ้ี ให้เด็กจับแปรง วางขนแปรงต้ังฉากกับตัวฟัน ขยับไปมาสั้นๆ บริเวณละ 10 คร้ัง จงึ เปลยี่ นท่ีใหมใ่ หท้ บั ซอ้ นกบั บรเิ วณเดมิ เลก็ น้อย ขยับไปเร่อื ยๆ จนครบทุกซ่ี ทัง้ ดา้ นในและด้านนอก การฝึกแปรงฟันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ควรแนะนำให้ครูพ่ีเล้ียงเป็นผู้บีบยาสีฟันให้เด็ก เพ่ือให้ได้ปริมาณเหมาะสม และฝึกให้เด็กแปรงฟันโดยใช้เพลง หรือการนับ 1-10 ในแต่ละบริเวณที ่ เด็กแปรง ในช่วงเร่มิ ตน้ ฝึกอาจใชเ้ วลาไมม่ ากนกั แล้วค่อย ๆ เพม่ิ ขนึ้ จนเดก็ สามารถแปรงไดน้ านประมาณ 2 นาที แมเ้ ด็กไดแ้ ปรงฟนั หลงั อาหารกลางวนั ท่ีศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ทกุ วนั แตก่ ย็ ังมฟี นั นำ้ นมผเุ พ่มิ ในอตั ราสูง ท้ังน้เี น่ืองจากเด็กยังไม่สามารถแปรงฟันตนเองได้สะอาด พอ่ แม่ หรือผู้เล้ยี งดูตอ้ งช่วยแปรงฟนั ให้เด็กที่บ้านด้วย แต่จากการสำรวจในปี 2550 พบเด็กส่วนใหญ่ พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็กไม่ได้แปรงฟันซ้ำให้ เพราะคิดว่าเด็กแปรงฟันเองได้แล้ว มีเพียงหนึ่งในสามของเด็กอายุ 3 ปี (ร้อยละ 36.35) และหนึ่งใน สบิ ของเดก็ อายุ 5 ปี (รอ้ ยละ 9.85) ทีพ่ ่อ แม่ ผ้เู ลยี้ งดยู งั แปรงฟันให้ ดังนน้ั ทนั ตบคุ ลากร พยาบาลหรอื เจ้า หน้าท่ีที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพเด็ก ควรร่วมมือกับครูพี่เลี้ยงเด็ก จัดฝึกสอน และสนับสนุนให้พ่อแม่ ผู้เลีย้ งดูแปรงฟนั ใหเ้ ด็กทบ่ี า้ นด้วยทกุ วัน 3. การตรวจสขุ ภาพช่องปากเดก็ และการพาเดก็ ไปรบั บรกิ ารทนั ตกรรม ถ้าพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู และครูผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กเป็น ระยะๆ จะทำให้สามารถสังเกตเห็นความผิดปกติต่างๆ ในช่องปากเด็กได้ต้ังแต่เร่ิมแรก จึงป้องกันแก้ไข ได้ง่าย ควรแนะนำให้พ่อแม่ ผู้เล้ียงดู และครูผู้ดูแลเด็ก ตรวจดูความสะอาดช่องปากเด็กหลังการ แปรงฟัน ฟันสะอาดจะไม่มีคราบสีขาวหรือเหลืองอ่อนบนตัวฟัน เมื่อเอาเล็บหรือหลอดน้ำพลาสติกขูดบน ผิวฟัน ไม่พบคราบจุลินทรีย์ติดออกมา นอกจากตรวจความสะอาดฟันแล้ว ควรแนะนำให้ตรวจดูผิวฟันด้วย ถ้าพบมีรอยขาวขุ่นเหมือนชอล์ค บนตัวฟันใกล้ขอบเหงือก แนะนำให้แปรงฟันให้เด็กด้วยยาสีฟันเด็กที่มี ฟลูออไรด์ และควบคุมการกินอาหารหวานของเด็ก รวมท้ังแนะนำผู้ปกครองให้พาเด็กไปรับการทาหรือ เคลือบฟลูออไรดเ์ พอื่ ป้องกันฟันผุ ประตูสสู่ ขุ ภาพที่ดีในทุกช่วงวัยของชีวิต 45
บริการทนั ตกรรมป้องกันฟันนำ้ นมผใุ นเด็กปฐมวยั เป็นวิธีการเสริมเพ่อื ใหก้ ารปอ้ งกนั โรคฟนั นำ้ นมผมุ ปี ระสิทธิผลย่ิงขึ้น ได้แก่ การทาฟลูออไรดว์ ารน์ ชิ การเคลือบฟลูออไรด์ และการเคลือบหลุมร่องฟัน อย่างไรก็ตามวิธีการเหล่านี้มีข้อจำกัดบางอย่าง เช่น การทาฟลูออไรด์วาร์นิช และการเคลือบฟลูออไรด์ มีประสิทธิผลประมาณร้อยละ 20-40 และจะมี ประสิทธิผลท่ีดีถ้าพ่อแม่ผู้ปกครองดูแลความสะอาดในช่องปากของลูกหลานได้ดี แต่ถ้าพ่อแม่ ไม่ใส่ใจดูแลเรื่องอาหาร โภชนาการ และขาดการดูแลเร่ืองความสะอาดของช่องปาก ก็จะมีประสิทธิผล นอ้ ยมาก ในขณะทก่ี ารเคลอื บหลุมรอ่ งฟนั จะชว่ ยป้องกนั ฟันผุเฉพาะดา้ นบดเคย้ี วเทา่ นัน้ การป้องกันฟันผุท่ีมีประสิทธิผล ต้องเน้นท่ีการเล้ียงดูของพ่อแม่ ผู้ปกครองเป็นด้านหลัก อย่างไรก็ตามในสถานการณ์ท่ีสามารถพาเด็กไปรับบริการทันตกรรมได้ พ่อแม่ควรพาเด็กไปให้ทันตบุคลากร ตรวจก่อนที่ลูกจะมีปัญหาฟันผุ เนื่องจากบริการทันตกรรมป้องกันฟันผุที่กล่าวข้างต้น เป็นงานที่ง่าย ทำได้เร็ว และไม่ทำให้เด็กเจ็บปวด เด็กจะคุ้นเคย และมีประสบการณ์ท่ีดีต่อการมาหาหมอฟัน โดยท่ัวไป เด็กอายุ 3 ขวบสามารถให้ความร่วมมือกับหมอได้ดี แต่การทำฟันให้เด็กท่ีมีปัญหาฟันผุแล้ว เป็นงานยาก ทำได้ช้า ต้องใช้บุคลากรท่ีมีความเช่ียวชาญ และมีต้นทุนสูง รวมทั้งยังอาจทำให้เด็กมีประสบการณ์ที่ไม่ดี กลัวการทำฟนั และความกลวั น้ีอาจติดตัวไปตลอดชีวติ จงึ มีความเสย่ี งทจี่ ะมปี ัญหาสุขภาพตา่ งๆ ตามมา ANGE ก ารพัฒนาพฤตกิ รรมสขุ ภาพในเด็กปฐมวัย PDF-XCHANGE o m NOW! NOW! buy วัยเดก็ เป็นชว่ งวยั ของการเรียนรูแ้ ละพัฒนาพฤตกิ รรมสขุ ภาพ ซงึ่ บคุ คลต้องปฏิบัติไปตลอดชวี ิต ack.c đóÖù÷ęĊ êüĉÖ×øสกพĂš øิ่างÜฤöÖทรตÿïĆดี่ตกิ č×óูแ้อรõลùรงćêคมใóหÖĉวสĔø้าคĀุขøมÖวšภöสาĆïาÿมะđพ×čéอสõไĘÖาำดćดคó้ตöใัญลĊðนอÝไøชปąดą่อßÿไพงปüŠĉìรป÷í้อìาดñĉ มกćĞังúĔนกเìĀดันนั้ Ċę÷đš็กÖคคĆęÜĉ÷éืวอฝČîÖบึกćกคเøดาไู่óปร็กçĆ พกใîหับัฒć้แกđนปéาาÖĘรรคĂฝงวฟ÷ึกาćŠัเนดมÜđ็กรðรับใîŨวหผมĂแ้ ิดÜทปÙชั้งøŤรกอüงาบöฟรǰแันÿจลÜŠัดแñะกúลแาĔระรĀงฝอÖšจกึ าćูงวหøใินòจาÖřยัรภĒแกาúลายąระใóกนโภçĆนิ เพชทîน่ือć่ดี ใาใี หหก้wเา้ก.ดdรบัo็กขcเuปอ-ดtraงก็ฏcเkิบ.ดcยัต็กังิto ww Click m o ต้องคำนึงถงึ การสร้างความรับผิดชอบและแรงจงู ใจภายในหรือจติ ลักษณะด้านต่างๆ ในตวั เดก็ ด้วย ÿćöćøëðäĉïĆêĉĕéš (öĊÙüćöøĎšìĆÖþąǰöĊÿõćóøŠćÜÖć÷óøšĂö) ìĞćĕéš สÿงิ่ęÜĉ แĒวüดéลú้อĂš มöเđอĂ้อืČĚĂอĂำĞćนîวüย÷ (มöีแĒĊ ปðรøงÜส÷ฟี ćันǰ/îยĚĞćาĔสßฟีǰš đóันĊ÷นÜำ้óใĂช้เพยี งพอ มöีอĂĊ าćหĀาćรøสÿขุ×č ภõาćพóทìีห่ĀęĊ าćซàอื้ĚČĂไĕดé้งÜš า่ćŠ ย÷ǰรøาćคÙาćเđหĀมöาćะąสÿมöฯĄลúฯĄ)) óùêÖĉ øøö Ă÷ćÖìćĞ öĊĒøÜÝĎÜĔÝõć÷îĂÖǰĕéšĒÖǰŠ øćÜüĆúĒúąÖćøúÜēìþǰđߊî ÿč×õćó ÙคüวรïบับĔใหĀÙคผท้šìุมčöิดำĞćตêชไĕนîอดéบđเ้ š Ăอ Üง ÙĞćßöǰÖćøĕéšøĆïÖćø÷ĂöøĆï ÖćøêĞćĀîǰĉ øĆÜđÖ÷Ċ ÝǰĄúĄ มöแีĊĒรøงÜจÝูงĎÜใĔจÝภõาćย÷ใĔนîǰไĕดé้แšĒกÖ่ ŠǰมïีคčÙวúาĉÖมúเชĆÖ่ือþอèำąนõาจć÷ในĔîตêนĆü ïčÙÙú ม(ีค่าµn นิย·¥ม¤ทศั «´ นคติด·้า¤นn» ส°ุขภµาพมĄีลกั Âษ¦ณะ¼มÄงุ่ อÄน าiค´¤ต§ฯมแี ·ÍรĄงúจĄงู ใ)จใฝ่สัมฤทธ์ิ ฯลฯ ª¤» öĊÿč×õćóÝĉêðÖêĉ öĊìÖĆ þąĔîÖćøÙüïÙčöêîđĂÜ แผนภมู ิ แสดงปัจจัยทีก่ ำหนดพฤตกิ รรมสุขภาพระดบั บคุ คล 46 การสĒรñ้าîงเõสĎöรĉ ิมĒสÿขุ éภÜาðพŦÝชÝ่อĆ÷ìงปĊęÖĞćาĀกî éóùêĉÖøøöÿč×õćóøąéĆïïčÙÙú ÝćÖĒñîõĎöðĉ ÝŦ Ý÷Ć ìÖęĊ ćĞ ĀîéóùêÖĉ øøöÿ×č õćóøąéïĆ ïÙč ÙúÝąđĀîĘ ĕéüš ćŠ îĂÖÝćÖÖćøöÙĊ üćöøšĎ öĊ ìÖĆ þąǰĒúąöÿĊ Üęĉ ĒüéúĂš öìđęĊ ĂĂĚČ ĂćĞ îü÷ĔĀðš äïĉ êĆ óĉ ùêÖĉ øøöĄǰĒúüš êüĆ ÖćĞ ĀîéóùêÖĉ øøöÿ×č õćóøąéïĆ ïÙč ÙúìęĊ
ความรับผิดชอบและแรงจูงใจภายใน เป็นพลังทางความคิดจิตใจท่ีพัฒนาข้ึนในตัวเด็กพร้อมๆ ไปกับการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็ก ในเด็กเล็กลักษณะเหล่าน้ียังไม่มีผลต่อพฤติกรรมสุขภาพ ของเด็ก เพราะเด็กยังไม่สามารถปฏิบัติพฤติกรรมนั้นๆ ได้ด้วยตัวเอง พฤติกรรมสุขภาพของเด็กจึง ขึ้นอยู่กับส่ิงที่ผู้เลี้ยงดูและกำหนดจัดให้ แต่เด็กจะค่อยๆ เรียนรู้จากสิ่งท่ีผู้ใหญ่ปฏิบัติ และจากการฝึกฝน ในขณะเดียวกันคุณลักษณะทางความคิดจิตใจก็จะเร่ิมก่อร่างสร้างข้ึนในตัวเด็ก และจะค่อยๆ เพิ่มพูนขึ้น ตามการเรียนรู้ จนเป็นแรงผลักดันให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ เม่ือเด็กเติบโต และสามารถควบคุมตนให้ปฏิบัติ พฤติกรรมน้ันๆ ได้ด้วยตนเอง จึงส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพที่ได้ปลูกสร้างในเด็กเกิดความยั่งยืน คุณลักษณะทางความคิดจิตใจที่สนับสนุนให้บุคคลมีพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาด้านต่างๆ ซึ่งรวมถึง พฤติกรรมสุขภาพด้วยนั้น ในวิชาจิตวิทยาสังคมมีการวิเคราะห์แยกแยะได้หลายลักษณะ ซ่ึงศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดอื น พันธุมนาวนิ ไดร้ วบรวมไวใ้ นทฤษฎตี ้นในจรยิ ธรรม เพื่อให้ผู้ศึกษาเข้าใจการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม ให้การพัฒนาเด็กในมิติอื่นๆ และให้การ อบรมเล้ียงดูเด็ก โดยคำนึงถึงการพัฒนาลักษณะทางความคิดจิตใจเหล่านี้ด้วย ในท่ีนี้จะแนะนำให้ผู้ศึกษารู้จัก จิตลักษณะ 2 ด้าน ท่ีมีผลงานวิจัยยืนยันว่าช่วยส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพ จิตลักษณะ 2 ด้านน ี้ คือ ค่านิยมทัศนคติต่อพฤติกรรมสุขภาพ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ซึ่งพัฒนาขึ้นในตัวเด็กจากการอบรม เลยี้ งดูเด็กดว้ ยวิธีการที่เหมาะสม บนพ้ืนฐานของการให้ความรัก การสนบั สนุน และฝกึ ระเบียบวนิ ัยใหเ้ ด็ก ด้วยการใชเ้ หตผุ ลมากกว่าอารมณ์ คา่ นิยมดา้ นสขุ ภาพ และทศั นคติตอ่ พฤตกิ รรมสขุ ภาพ คา่ นิยมดา้ นสุขภาพ คอื การเห็นคุณค่า และให้ความสำคัญต่อสุขภาพ ส่วนทัศนคติเป็นความรู้สึกท่ีตอบสนองไปในทางชอบหรือไม่ชอบ เป็นความคิดเห็น ตอ่ เรอ่ื งนน้ั ๆ โดยมอี ารมณเ์ ป็นสว่ นประกอบ และแสดงความพร้อมทีจ่ ะกระทำพฤติกรรมนน้ั ๆ การสร้างและพัฒนาค่านิยมและทัศนคติด้านสุขภาพเริ่มต้ังแต่ช่วงวัยเด็กเล็ก พฤติกรรมท่ีเด็ก ทำแล้วมคี วามสุขจะเป็นพฤติกรรมทเี่ ด็กอยากปฏิบัติ ดังน้ันในการฝึกใหเ้ ดก็ แปรงฟัน พ่อแม่ และผ้ดู ูแลเด็ก ควรเข้าใจระดับความสามารถของเดก็ ที่จะแปรงฟันได้ ไมค่ วรดุ ว่า หรือลงโทษหากเดก็ แปรงฟนั เลอะเทอะ ควรช่วยหรือป้องกันด้วยการใช้ผ้ากันเป้ือน และใช้แก้วน้ำที่มีขนาดเล็กเหมาะสมกับเด็ก รวมทั้งเสริมแรง ทางบวกด้วยการแสดงความพึงพอใจ การยอมรับ และช่ืนชมเมื่อเด็กยอมรับการแปรงฟัน พยายาม แปรงฟัน หรือพยายามกินผักผลไม้ วิธีการต่างๆ เหล่านี้เป็นจุดเร่ิมต้นท่ีจะพัฒนาค่านิยมและทัศนคติ ดา้ นสุขภาพใหก้ บั เดก็ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ คือความต้องการความสำเร็จ ซ่ึงเป็นลักษณะที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ ในการเรียน และการทำงาน แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ เพราะช่วยส่งเสริม การเรียนรู้ และการฝึกปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพในเด็ก เนื่องจากการแปรงฟันเป็นสิ่งท่ีเด็กต้องใช ้ ความพยายามในการฝึกปฏบิ ัติ จึงจะสามารถทำได้ดแี ละสม่ำเสมอ ซง่ึ จากการศกึ ษาวจิ ัยพบวา่ เด็กทม่ี ีแรง จงู ใจใฝส่ มั ฤทธิ์สงู สามารถแปรงฟนั ไดส้ ะอาดกวา่ เด็กท่ีมีแรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์ต่ำ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์พัฒนาข้ึนจากการอบรมเลี้ยงดู แม่ท่ีอบรมเลี้ยงดูลูกแบบให้พึ่งตนเองเร็ว ตัง้ แต่วัยก่อนเขา้ เรยี นเช่น การฝึกเด็กให้อาบนำ้ เอง แปรงฟนั เอง ตกั อาหารเอง แตง่ ตัวเอง ต้ังแตอ่ ายุ 2-4 ปี จะได้ผลดีท่ีสุดในการสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิให้กับเด็กเล็ก ดังน้ันพ่อแม่ถึงควรให้เวลาในการฝึกพฤติกรรมลูก ให้การสนับสนุน ชมเชย และอดทนหากเด็กทำเลอะไม่สะอาดเรียบร้อย นอกจากน้ีตัวแบบจากนิทานก็ พัฒนาลักษณะใฝ่สัมฤทธิ์ให้กับเด็กได้ด้วยเช่นกัน ดังนั้นในการเลือกนิทานให้เด็กจึงควรมีนิทานท่ีช่วย พัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้วย ลักษณะเนื้อหานิทานที่ช่วยพัฒนาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิคือ ตัวเอกจะต้องมี ประตูสสู่ ขุ ภาพที่ดีในทุกชว่ งวัยของชีวิต 47
ความต้องการทำส่ิงที่ถูกต้องดีงามอย่างใดอย่างหน่ึง แต่มีอุปสรรคที่ขัดขวาง จึงพยายามแก้ไขด้วยวิธีท ี่ ถูกต้องเหมาะสม ไม่ใช้เวทมนต์ กลโกง แต่ใช้ความสามารถที่คนทั่วไปมี และจบเร่ืองแบบประสบ ความสำเร็จอย่างนา่ ช่นื ชม ร ะบบบริการสขุ ภาพช่องปากสำหรับเดก็ ปฐมวัย ได้ดำเนินการแบบบูรณาการร่วมไปกับกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กอย่างเป็นองค์รวม ทั้งในสถานบริการ ในชุมชน และในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยมีการประสานการดำเนินงานร่วมกันในทีม สุขภาพซง่ึ ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล เจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสขุ และทนั ตบคุ คลากร เ พอื่ ดำเนินการดงั นี ้ ในสถานบริการ มีการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย ในคลินิกสุขภาพเด็กดี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาเด็กที่มีความผิดปกติในช่องปาก และเด็กท่ีมีความเส่ียงต่อการเกิดฟันผุสูง ติดตาม สนับสนุนให้พ่อแม่ผู้ปกครองตระหนักถึงความสำคัญของสุขภาพช่องปาก มีความรู้และสามารถ ดูแลสุขภาพชอ่ งปากลกู ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กจิ กรรมดำเนินงานประกอบดว้ ย 1. การตรวจช่องปากเด็กในช่วงแรกเกิดถึง 6 เดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติในช่องปาก ท่สี ่งผลตอ่ สุขภาพเด็กไดแ้ ก่ ปญั หาปากแหว่ ง เพดานโหว่ ลนิ้ ตดิ การมฟี นั ขึน้ ตัง้ แตแ่ รกเกดิ ตรวจดกู ารข้ึน ของฟันและความสะอาดในปาก หากพบคราบขาวของนมท่ลี นิ้ เพดานปากและกระพงุ้ แกม้ ควรแนะนำให้ ใช้ผ้าสะอาดเช็ดออก ถา้ พบความผดิ ปกติอน่ื ๆ ควรสง่ ต่อเพ่อื การรักษา 2. ฝึกผ้ปู กครองแปรงฟนั ให้ลูกต้ังแตฟ่ ันซ่ีแรกขน้ึ มาในชอ่ งปากเมอื่ ายุประมาณ 6 เดอื น และ ติดตามตรวจช่องปากทุก 6 เดือน หรือทุกคร้ังท่ีเด็กมารับบริการวัคซีน เพ่ือค้นหาเด็กที่มีความเสี่ยงต่อ ฟันผุสูง ได้แก่ เด็กที่ตรวจพบฟันหน้าบนมีคราบจุลินทรีย์ มีรอยโรคขาวขุ่นบนผิวเคลือบฟัน หรือมีฟันผ ุ เด็กที่มีโรคประจำตัวหรือมีความบกพร่องท่ีต้องการดูแลเป็นพิเศษ ซ่ึงจะจัดอยู่ในกลุ่มเด็กท่ีมีความเส่ียงต่อ การเกิดฟันผุสูงด้วยเช่นกัน ควรสนับสนุน แนะนำผู้ปกครองให้ดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ฝึกผู้ปกครอง แปรงฟันให้เด็ก และสง่ ตอ่ ทนั ตบุคลากรเพอื่ ทาฟลอู อไรด์ป้องกันฟันผหุ รือเพ่อื การรกั ษาในรายท่จี ำเปน็ 3. แนะนำพ่อแม่ผเู้ ลย้ี งดู จดั อาหารและโภชนาการทีเ่ หมาะกบั เด็ก และฝกึ เด็กให้เลิกขวดนม ในวัยท่เี หมาะสม และไมต่ ิดรสหวาน ในชุมชน มีการบูรณาการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากเข้าไปกับกิจกรรมท่ีมีการดำเนิน การอยู่แล้ว เช่นการเยี่ยมบ้าน การพัฒนาและสนับสนุนอสม. ให้ร่วมค้นหาเด็กที่มีความเส่ียงต่อการเกิด ฟนั ผุสงู ใหค้ ำแนะนำผูป้ กครองในการดแู ลสุขภาพช่องปากเดก็ ฝกึ ผปู้ กครองแปรงฟันให้เด็ก และนำเสนอ ปัญหาฟันผุแกผ่ ู้มีส่วนเก่ยี วขอ้ งในชมุ ชนเพื่อร่วมกนั แกไ้ ข ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาล ควรพัฒนาและสนับสนุนครูพ่ีเล้ียงในศูนย์พัฒนา เด็กเลก็ /โรงเรยี นอนุบาล ให้ดแู ลสุขภาพของเดก็ โดยจดั ให้เด็กแปรงฟันหลงั อาหารกลางวัน จดั อาหารวา่ งท่ี มีคุณค่าทางโภชนาการให้เด็ก ตรวจฟันเด็กพร้อมท้ังให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองในการดูแลเด็ก และการ จัดการเรียนรู้เพื่อสร้างทัศนคติท่ีดีต่อการดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก ทีมสุขภาพควรสนับสนุนและร่วมมือ กับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจัดกิจกรรมฝึกพ่อแม่ให้แปรงฟันลูกที่บ้านด้วย เพราะเด็กเล็กยังไม่สามารถแปรงฟัน ตนเองไดส้ ะอาดเพยี งพอ 48 การสร้างเสริมสุขภาพชอ่ งปาก
การสร้างเสริมสุขภาพชอ่ งปากเด็กวัยเรยี นและเยาวชน ปยิ ะดา ประเสริฐสม, ผสุ ดี จนั ทร์บาง ป ัญห าสขุ ภาพช่องปากเด็กวยั เรยี นและเยาวชน เด็กวัยเรียนและเยาวชนเป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีส่วนใหญ่อยู่ในระบบโรงเรียน เด็กวัยเรียนโดย ท่ัวไปหมายถึงเด็กท่ีศึกษาในระดับประถมศึกษา ส่วนเยาวชนหมายถึงเด็กที่ศึกษาในระดับมัธยมศึกษา เด็กประถมศึกษาถือเป็นกลุ่มเป้าหมายสำคัญของงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก เพราะเป็นช่วงวัยที่เร่ิม มีการเปลี่ยนแปลงชุดฟันในช่องปากจากฟันน้ำนมเป็นฟันถาวร ฟันที่เริ่มข้ึนมาในช่องปาก โดยเฉพาะ อย่างย่ิงฟันกรามถาวรซี่แรกท่ีขึ้นเม่ือเด็กอายุประมาณ 6 ขวบ จะมีความเส่ียงต่อการเกิดโรคฟันผุสูงมาก เพราะการสะสมแร่ธาตุท่ีผิวฟันยังไม่สมบูรณ์ และเด็กยังไม่สามารถแปรงฟันได้อย่างมีคุณภาพ ในขณะท่ี ผูใ้ หญไ่ มร่ ู้ เนื่องจากตำแหน่งของฟันซี่นี้ข้ึนอยดู่ ้านในต่อจากฟันนำ้ นม จึงเขา้ ใจผดิ ว่ายงั คงเปน็ ฟันน้ำนมอย ู่ ฟันกรามซ่ีในสุด ซ้าย-ขวา คือฟันกรามน้ำนมซ ่ี # 75, # 85 ท่ีผุ และได้รับการรักษาโดยการอุดฟัน ส่วนฟันกรามถาวรซ่ีแรกหรือฟันกราม 6 ขวบ จะข้ึน ถัดจากฟนั นำ้ นม # 75, # 85 (มองไม่เหน็ ในภาพ) โรคฟนั ผแุ ละสภาวะเหงอื กอักเสบเปน็ ปัญหาสขุ ภาพสำคัญของเด็กกลุ่มวยั นี้ จากผลการสำรวจ สภาวะสขุ ภาพชอ่ งปากปี 2550 โดยสำนักทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามัย พบเดก็ ประถมศึกษามากกว่าคร่งึ (56.87%) เปน็ โรคฟันผุ และเร่ิมมีสภาวะเหงือกอกั เสบ (58.94%) โรคฟันผเุ ป็นสาเหตุทำใหเ้ ด็กขาดเรียนปี ละประมาณ 5,150,000 คน โดยจำนวนวันที่ขาดเรียนสูงถึง 1,300,000 วัน ปัญหาโรคฟันผุของเด็กวัยน ้ี ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของร่างกาย และความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กอย่างมาก นอกจากนั้นเด็ก ช่วงวัยนี้ยังอาจเกิดปัญหาอุบัติเหตุต่อฟัน และเน้ือเย่ือในช่องปากได้บ่อย เน่ืองจากเด็กเล่นกีฬาและ ออกกำลงั กายกลางแจง้ มากขึน้ แต่ขาดความระมัดระวงั สำหรับเด็กโตหรือเด็กระดับมัธยมศึกษา พบมีปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบมากกว่าช่วงวัย ประถมศึกษา (ฟันผุ 66.33% เหงือกอักเสบ 60.90%) รวมทั้งมีพฤติกรรมเสี่ยง เช่น ดื่มน้ำอัดลม และ กินขนมถุงกรุบกรอบมากกว่าเด็กประถมศึกษา แต่มีการแปรงฟัน และได้รับบริการตรวจรักษาสุขภาพ ช่องปากน้อยกวา่ เด็กประถมศกึ ษา การสูญเสียฟันถาวรต้ังแต่วัยเด็กจะส่งผลต่อระบบบดเคี้ยวตลอดชีวิต และถ้าไม่ดูแลสุขภาพ ช่องปากให้ดี ปัญหาสุขภาพช่องปากจะสะสมและมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเมื่อย่างเข้าสู่วัยทำงาน และ วัยสูงอายุ การจัดระบบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากท่ีเหมาะสมกับเด็กกลุ่มวัยน้ี จะเป็นการวางรากฐาน สำหรับการมสี ขุ ภาพชอ่ งปากทีด่ ใี นช่วงวยั ต่อๆ ไป ประตูสสู่ ุขภาพทีด่ ีในทุกช่วงวัยของชีวิต 49
การสร้างเสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั โรคในช่องปากเดก็ วยั เรียนและเยาวชน ในช่วงวัยนี้สิ่งสำคัญท่ีต้องดำเนินการคือ การจัดกระบวนการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ เพื่อ เสริมสร้างและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพ่ือให้เกิดเป็นความเคยชินและเป็นลักษณะนิสัยที่ติดตัวไป ตลอดชีวิต เด็กวัยเรียนและเยาวชนเป็นช่วงวัยที่มีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม อย่างมาก ด้านร่างกายจะมีระบบกล้ามเน้ือท่ีพัฒนาจนเกือบสมบูรณ์ มีฟันถาวรซึ่งเป็นฟันธรรมชาต ิ ชุดสุดท้ายข้ึนมาในช่องปาก ด้านสติปัญญา อารมณ์และสังคม เด็กจะเรียนรู้การปรับตัวในสังคม รู้จักใช้ เหตุผลและทำตามกติกาของสังคมได้ ในขณะเดียวกันเพ่ือนจะมีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตมากขึ้น เด็กมักทำตามกระแสสังคมและแรงโฆษณาซึ่งจะมีอิทธิพลท้ังทางบวกและทางลบ ที่สำคัญคือช่วงวัยนี้ เป็นช่วงวัยของการพัฒนาวินัย บุคลิกภาพ และพฤติกรรม เป็นช่วงวัยท่ีเหมาะสมแก่การฝึกทักษะ และ ปลูกสร้างลักษณะนิสัยท่ีดีให้เกิดขึ้น เป็นช่วงเวลาทองของการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งต้องม ี การพัฒนาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยเน้นคุณภาพ สำหรับสุขนิสัยท่ีดีในการดูแลสุขภาพช่องปาก ได้แก่การรู้จักดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างเป็นกิจวัตรด้วยการแปรงฟัน และการบริโภคอาหาร ทเี่ หมาะสม ซง่ึ เดก็ ประถมศึกษาจะได้ฝึกทักษะต่างๆ ดงั นี้ 1. การแปรงฟนั โดยฝึกวิธแี ปรงฟนั แบบ ขยับ-ปัด (Modified Bass Technique) ซ่งึ เป็น วิธีท่ีแนะนำสำหรับเด็กท่ีมีอายุมากกว่า 6 ปี และผู้ใหญ่ ในการฝึกเด็กนักเรียนให้แปรงฟัน ส่ิงที่ต้องให้ ความสำคัญ คอื การแปรงฟนั อย่างมคี ณุ ภาพ ซงึ่ หมายถึง แปรงไดส้ ะอาด (คราบจลุ ินทรีย์เหลอื น้อยทีส่ ดุ ) แปรงได้ท่ัวถึง (แปรงฟันทุกซ่ี ทุกด้าน เน้นขอบเหงือก คอฟัน) แปรงนาน 2 นาที เพื่อให้ฟลูออไรด์ มีผลในการป้องกันฟันผุ และแปรงสม่ำเสมอ (แปรงฟันทุกวันอย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง) เม่ือแปรงฟัน หลังอาหารมื้อเย็นหรือก่อนนอนแล้วต้องไม่รับประทานอะไรอีก ควรเลือกใช้แปรงสีฟันที่มีขนแปรงนุ่มหรือ นุ่มพิเศษเพื่อไม่ทำอันตรายต่อเหงือกและฟัน (แปรงแล้วไม่ทำให้ล้ินหรือเหงือกเป็นแผล และไม่ทำให้ ฟนั สึก) วิธีแปรงฟันด้านในและด้านนอก ให้วางขนแปรงเอียง 45 องศาตรงรอยต่อระหว่าง ขอบเหงือกและฟัน ขยับแปรงไปมาส้ันๆ ในแนวนอน แล้วปัดขนแปรงไปทางปลายฟัน ให้แปรงท้ังฟันบน และฟนั ล่าง ทงั้ ดา้ นซ้ายและขวา ดังภาพ การแปรงฟนั ดา้ นนอก (ด้านทางรมิ ฝปี าก และด้านทางแก้ม) ภาพแสดงการแปรงฟันดา้ นใน (ด้านทางเพดาน ด้านทางล้นิ ) 50 การสร้างเสริมสุขภาพชอ่ งปาก
วธิ แี ปรงด้านบดเคีย้ ว ใหว้ างแปรงต้ังฉากกับด้านบดเค้ยี วและถแู ปรงไป-มา และแปรงล้ินด้วย ข้อควรระวังในการแปรงฟันแบบขยับปัด คือต้องใช้แปรงขนนุ่ม และวางแปรงให้ขนแปรงเอียง ทำมุมกับตัวฟัน เพื่อให้ขนแปรงสามารถแทรกไป ทำความสะอาดบริเวณรอ่ งเหงอื กได้ การวางขนแปรง ต้ังฉากกับซ่ีฟัน และถูไปมา นานๆ เข้าจะทำให้ คอฟันสึกและเหงือกร่นได้ (มักพบได้ตอนเป็นผู้ใหญ่) รวมทง้ั หากขนแปรงแข็ง ก็จะทำให้คอฟนั สกึ มากขึน้ คอฟันสกึ จากการแปรงฟันผิดวิธหี รอื ใช้ขนแปรงแขง็ ภาพโดย ทพญ.วิชุดา โอทกานนท ์ ในการฝึกเด็กนักเรียนให้แปรงฟัน ควรมีการ ตรวจสอบคุณภาพการแปรงฟันของเด็กโดยใช้สีย้อมฟัน เพื่อให้เด็กรู้ว่าแปรงฟันได้สะอาดมากน้อยเพียงใด สีย้อม จะทำให้เห็นคราบจุลินทรีย์ จึงรู้ว่าควรมีการแปรงฟันเพิ่ม เตมิ บรเิ วณไหนบา้ ง สีย้อมฟันทำจากสีผสมอาหารขององค์การ เภสัชกรรม ใช้สีชมพู 1 ซอง (1 กรัม) ใส่ในน้ำสะอาด 25 มลิ ลลิ ติ ร บรรจุสีท่ีผสมแลว้ ในขวดทบึ แสง เกบ็ ไว้ใชย้ อ้ ม สีฟันได้หลายครั้ง และสามารถใช้สีย้อมฟันได้ท้ังช่วงก่อน คราบจลุ นิ ทรยี ์ท่ีติดส ี หรอื หลงั การฝึกแปรงฟนั (ปัจจบุ ันมโี รงเรียนบางแหง่ พฒั นา สยี อ้ มฟันจากดอกอญั ชันซ่งึ รายงานว่าใช้ไดผ้ ลดีเชน่ เดยี วกนั ) นอกจากฝึกให้เด็กแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียนแล้ว ควรกำชับและมีระบบ ติดตามใหเ้ ด็กแปรงฟนั ที่บ้านหลังอาหารเย็น หรือก่อนนอนด้วย ประตสู ูส่ ขุ ภาพที่ดีในทกุ ชว่ งวยั ของชีวิต 51
2. การตรวจฟันด้วยตนเอง ฝึกให้เด็กตรวจฟันตนเองเพื่อให้ทราบว่าแปรงฟันสะอาดดี หรือยัง มีฟันผุ หรือเหงือกอักเสบที่ใด มีสิ่งผิดปรกติอะไรในช่องปาก เม่ือตรวจพบปัญหาจะได้รีบแก้ไข ได้ทันเวลา วธิ ีตรวจฟันตนเองทำดงั นี้ 2.1 ตรวจฟันด้านนอก ตรวจฟันหน้าให้ย้ิมกับกระจกในท่ายิงฟัน ขยับริมฝีปากขึ้นให้ เห็นตัวฟันและขอบเหงือก (ภาพ 1) สำหรับฟันหลังใช้นิ้วร้ังมุมปากข้ึน-ลงให้เห็นตัวฟัน และขอบเหงือก ของฟนั กรามซี่ในสุด ตรวจทัง้ ฟันบนและฟันลา่ ง ท้ังดา้ นซ้ายและขวา (ภาพ 2-3) 1 2 3 2.2 ตรวจฟนั ด้านใน ฟันบนเงยหน้าอ้าปาก เอยี งหนา้ ไปทางซา้ ยและขวา (ภาพ 4, 5) 4 5 ฟนั ลา่ งก้มหน้าอ้าปาก เอียงหนา้ ไปทางซา้ ยและขวา (ภาพ 6, 7) 6 7 52 การสร้างเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก
3. การบริโภคอาหารและการควบคุมการบริโภคอาหาร โดยฝึกและสร้างความเคยชิน ให้เด็กมีพฤตกิ รรมการบริโภคทเ่ี หมาะสม ดังน้ี 3.1 บรโิ ภคอาหารหลัก 3 ม้ือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาหารมื้อเชา้ ซี่งมคี วามสำคัญ อาหารวา่ ง รับประทานไม่เกินวันละ 2 มื้อ อาหารหลักจัดให้เด็กได้รับสารอาหารท่ีครบถ้วนและเหมาะสม เน้นเรื่อง ความสะอาดของอาหารและภาชนะบรรจุ รวมทง้ั จดั ผกั และผลไม้ใหเ้ ด็กไดร้ บั ประทานเปน็ ประจำดว้ ย 3.2 ไมร่ บั ประทานจุบจิบ ของหวานควรกนิ ในมื้ออาหาร หลกี เล่ยี งการกนิ ขนมกรุบกรอบ เพราะทำให้เกิดฟันผุได้มาก และมักมีปรมิ าณโซเดยี มสงู ทำให้เกดิ ปญั หาตอ่ สุขภาพร่างกาย ชนดิ อาหารวา่ ง ควรเป็นผลไม้หรืออาหารจำพวกโปรตีนและธัญพืช เช่น แซนวิชไส้ไก่ ซาลาเปา ถ่ัวเขียวต้มน้ำตาลฯลฯ ส่วนเคร่ืองด่ืมควรดื่มน้ำสะอาดเป็นหลัก อาจเสริมด้วยนมสด (รสจืด) หรือน้ำหวานที่มีปริมาณน้ำตาล ไมเ่ กนิ 5% 3.3 ฝึกนิสัยรักความสะอาด ควรล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหาร และ ทำความสะอาดช่องปากหลงั การรบั ประทานอาหารหรอื ของวา่ ง โดยการแปรงฟันหรอื บว้ นปาก ในการจัดอาหารกลางวันและอาหารว่างให้กับเด็กนักเรียน บุคลากรสาธารณสุขควร แนะนำหรืออบรมครูให้สามารถดูแลจัดอาหารได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และมีปริมาณเพียงพอกับ ช ่วงวัยของเด็กดว้ ย กิจกรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพชอ่ งปากในโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพ ปัจจบุ ัน มกี ารดำเนินกิจกรรมทันตสุขภาพในโรงเรียนสง่ เสรมิ สขุ ภาพ 5 เร่ือง คอื 1. การจดั ให้นกั เรยี นแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวนั ด้วยยาสีฟนั ผสมฟลอู อไรด์ทกุ วนั เพ่อื ฝกึ ให้ นักเรยี นแปรงฟันอย่างถูกตอ้ ง และเคยชนิ กบั การแปรงฟนั หลงั รบั ประทานอาหาร กจิ กรรมนค้ี วรจูงใจใหค้ รู และบุคลากรในโรงเรียนรว่ มปฏิบตั ิดว้ ย เพ่อื เปน็ แบบอย่างทด่ี แี กเ่ ดก็ 2. การจัดการส่ิงแวดล้อมท่ีเอื้อต่อทันตสุขภาพ ได้แก่ การงดการจำหน่ายอาหารท่ีมีผลเสียต่อ สุขภาพ เช่น น้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ลูกอม ลูกกวาด โรงเรียนควรจัดน้ำสะอาดให้นักเรียนด่ืมอย่าง เพียงพอ มีการจัดระเบียบร้านค้าในโรงเรยี น และกำหนดพ้นื ท่โี รงเรียนเป็นเขตปลอดน้ำอัดลม 3. การบูรณาการความรู้และกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพช่องปากในหลักสูตรการเรียนรู้ของ เด็กนักเรียน ซ่ึงสำนักทันตสาธารณสุขกรมอนามัยได้ประสานกับสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทำ องคค์ วามรู้ดา้ นทันตสุขภาพบูรณาการในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และจัดเป็นกจิ กรรมภายใตช้ มรมตา่ งๆ 4. การจัดระบบบริการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียนโดยทันตบุคลากรร่วมกับ เจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ ใหบ้ รกิ ารตรวจ เฝา้ ระวัง และดำเนินการใหเ้ ดก็ ไดร้ บั บริการทเี่ หมาะสม 5. การจัดการด้านข้อมูลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน โดยจัดเก็บและจัดทำรายงาน ข้อมูลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนเพอ่ื ใช้ในการวางแผนและประเมนิ ผล ที่ผ่านมากิจกรรมข้างต้นเน้นการดำเนินการเฉพาะในช่วงช้ันประถมศึกษา ยังขาดการดำเนินงาน ต่อเน่ืองในส่วนเยาวชนหรือนักเรียนมัธยมศึกษา ทำให้ในเด็กมัธยมศึกษาหรือกลุ่มเยาวชนมีโรคฟันผุและ มีโรคเหงือกอักเสบเพิ่มข้ึน ซึ่งจะรุนแรงมากข้ึนจนเป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพช่องปากในวัยทำงานและ วัยสูงอายุได้ ดังนั้นเยาวชนจึงเป็นอีกกลุ่มเป้าหมาย ที่ควรมีการบูรณาการเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากเขา้ ไปในกิจกรรมต่างๆ ของกลุ่มวัยน้ี โดยใช้รปู แบบท่ีเน้นการมสี ่วนรว่ มในการคดิ และดำเนินการ โดยเยาวชนเองให้มากขนึ้ ประตสู สู่ ขุ ภาพทีด่ ีในทกุ ชว่ งวัยของชีวิต 53
การสร้างเสริมสขุ ภาพชอ่ งปากประชากรวยั ทำงาน เมธินี คปุ พิทยานนั ท ์ ส ุขภา พช่องปากของประชากรวัยทำงาน วัยทำงาน ทางประชากรศาสตร์หมายถึงผู้ท่ีมีอายุต้ังแต่ 15 - 59 ปี ซ่ึงเป็นช่วงวัยที่กว้าง คาบเก่ยี วระหวา่ งวัยรุน่ (เยาวชน) ถงึ วัยผู้ใหญต่ อนตน้ (อายุ 20 - 40 ป)ี และวัยกลางคน (อายุ 40 – 60 ป)ี ปัญหาสุขภาพช่องปากของคนในกลุ่มวัยนี้ นอกจากเป็นโรคฟันผุท่ีเกิดสะสมมาต้ังแต่วัยเด็กแล้ว ยังพบ ปัญหาโรคปริทันต์ซ่ึงมีความชุกและความรุนแรงเพ่ิมมากข้ึน ซึ่งถ้าปล่อยไว้ไม่แก้ไข เมื่อเข้าสู่วัยกลางคน แ ละวยั สงู อายุกจ็ ะมีปญั หาสขุ ภาพชอ่ งปากรุนแรงมากขึ้น จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2549 - 2550 พบ ประชากรไทยช่วงอายุ 35 - 44 ปี เป็นโรคฟันผุร้อยละ 89.57 เป็นโรคเหงือกอักเสบร้อยละ 47.3 และ เป็นโรคปริทันต์ท่ีมีร่องลึก >4 ม.ม. ร้อยละ 37.60 ส่วนกลุ่มประชากรสูงอายุ (60 - 74 ปี) พบเป็น โรคปรทิ นั ตท์ ีม่ รี ่องลกึ >4 ม.ม. รอ้ ยละ 84.20 ความสำคญั ของปัญหาสขุ ภาพชอ่ งปากในชว่ งวยั ทำงานหรือ วัยผู้ใหญ่ นอกจากมีการสูญเสียฟันจนทำให้เกิดปัญหาการบดเคี้ยว ซ่ึงส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ และสุขภาพร่างกายแล้ว ท่ีสำคัญโรคในช่องปากยังอาจเป็นสาเหตุร่วม ทำให้โรคทางระบบท่ีเป็นอันตราย หลายๆ โรคมีความรุนแรงเพมิ่ มากข้ึน ช่วงวัยทำงานตอนต้นความสัมพันธ์ของปัญหาสุขภาพช่องปากกับโรคทางระบบอาจเห็นได้ ไม่ชัดเจน แต่เม่ือเข้าสู่วัยกลางคนอวัยวะภายในร่างกายท่ีเสื่อมเกือบทุกระบบเร่ิมแสดงอาการ ทำให้พบ ปัญหาโรคทางระบบต่างๆ เช่นโรคเบาหวาน โรคหวั ใจ โรคความดันโลหิตสงู โรคไต และโรคทางสมอง ฯลฯ ในขณะเดียวกันในช่องปากก็พบปัญหาโรคปริทันต์มีความชุกและความรุนแรงเพ่ิมมากข้ึนด้วย การศึกษา วิจัยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาพบความสัมพันธ์ระหว่างโรคปริทันต์กับโรคทางระบบต่างๆ โดยเป็นความ สัมพันธ์ในทิศทางท่ีเพ่ิมความเส่ียงและทำให้ท้ังโรคปริทันต์และโรคทางระบบมีความรุนแรงเพิ่มขึ้น นอกจากนี้บุคคลในกลุ่มวัยทำงานยังมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคในช่องปากและโรคทางระบบท่ีสำคัญ คือ พฤติกรรมการสูบบุหรีแ่ ละดมื่ แอลกอฮอล์ ดังน้นั ในบทนจี้ ะไดศ้ ึกษาองค์ความรู้เรื่องผลของการสูบบุหรีแ่ ละ ดื่มแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพช่องปาก และเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างโรคปริทันต์กับโรคทางระบบ รวมทั้ง เรือ่ งแนวทางการสง่ เสริมสุขภาพชอ่ งปากสำหรับประชากรกลมุ่ วัยน ี้ ผลของการสูบบหุ ร่ี และดม่ื เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอลต์ อ่ สุขภาพช่องปาก การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยบ่อนทำลายสุขภาพร่างกายหลายระบบ ในส่วนท่ีเกี่ยวกับสุขภาพ ช่องปาก การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค และภาวะความผิดปกติในช่องปากหลายอย่าง ท้ังต่อ ตัวฟัน อวัยวะปริทันต์ เนื้อเยื่ออ่อนในช่องปาก และต่อมน้ำลาย รวมทั้งยังเป็นปัจจัยเส่ียงของโรคมะเร็ง ชอ่ งปาก ซึง่ ความเสยี่ งนีจ้ ะเพม่ิ มากข้นึ ในผู้สบู บุหรแี่ ละด่ืมแอลกอฮอล์ 54 การสร้างเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก
ผลของการสูบบหุ รี่ต่อตัวฟนั และต่อมน้ำลาย โดยสารเคมีทเ่ี กดิ จากการเผาไหมข้ องบหุ ร่ีจะไป จับและสะสมบนคราบจุลินทรีย์ ทำให้เกิดคราบดำที่ติดแน่นบนตัวฟัน แลดูสกปรกและทำให้มีกลิ่นปาก ผลของการสูบบุหร่ี ยังทำให้การขับน้ำลายลดลง น้ำลายข้นและมีค่าความเป็นกรดเพิ่มขึ้น ส่งผลให้กลไก การชะล้างทำความสะอาดช่องปากลดลง มีเศษอาหารตกค้างมากขึ้น ในขณะท่ีความสามารถในการเป็น บัฟเฟอรข์ องนำ้ ลายลดลง จึงมีโอกาสเปน็ โรคฟนั ผุมากข้ึน ฟนั ดำจากควันบุหร่ีจบั บนคราบจุลินทรีย์ เหงอื กอักเสบและปรทิ นั ตอ์ ักเสบ และหินน้ำลาย ในผู้ปว่ ยท่สี ูบบุหร่ี ภาพโดย ทพญ.วิชดุ า โอทกานนท์ ผลของการสูบบุหรี่ต่ออวัยวะปริทันต์ และเนื้อเยื่ออ่อนในช่องปาก พบผู้สูบบุหร่ีเป็น โรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์อักเสบรุนแรงกว่าผู้ไม่สูบบุหร่ี รวมท้ังเป็นโรคเหงือกอักเสบแบบเน้ือตาย เฉยี บพลันมากกวา่ ปกติ โดยเขา้ ใจว่าเป็นผลมาจาก 1. นิโคตนิ (nicotin) ในควันบหุ รีท่ ำให้เสน้ เลอื ดหดตวั ปรมิ าณเลือดท่ีมาเลยี้ งอวยั วะปรทิ ันต์ น้อยลง ส่งผลให้ความต้านทานของเนื้อเยื่อดังกล่าวลดลง และการตอบสนองของร่างกายต่อการหายของ โรคน้อยลง การติดเช้ือเกิดได้เร็วข้ึน รุนแรงมากข้ึน และเม่ือรักษา เช่น ถอนฟัน หรือ เกลารากฟัน แผลภายหลังการรกั ษากจ็ ะหายช้า 2. บุหรี่ทำให้เม็ดเลือดขาวบางประเภทซ่ึงมีหน้าที่ต่อต้านเชื้อโรคลดจำนวนลง ทำให้อัตรา การทำลายเช้อื บางชนิดของร่างกายลดลง จงึ พบปรมิ าณเชอื้ โรคทเ่ี ปน็ สาเหตุของโรคปรทิ ันต์ สะสมมากขึน้ 3. คราบจุลินทรีย์ท่ีจับกับควันบุหรี่จะยึดแน่นกับผิวฟัน ขจัดออกยาก รวมทั้งน้ำลายท่ีข้น ทำให้เกิดการตกตะกอนของสารประกอบในน้ำลาย เกิดหินน้ำลายมากขึ้น จึงเป็นปัจจัยเสริมที่ทำให้ โรคปริทันตร์ ุนแรงมากขนึ้ นอกจากน้ีการสูบบุหร่ียังทำให้ความสามารถในการรับรสและกลิ่นเลวลง ผู้ที่สูบบุหร่ีจะเป็น แผลในปากง่าย แต่แผลหายยาก ทั้งนี้เนื่องจากมีการระคายเคือง อันเป็นผลมาจากความร้อนและสารเคมี ในควันบุหรี่ เช่นน้ำมันดนิ (tar) ซง่ึ สามารถถกู ดูดซึมผา่ นเย่อื บชุ อ่ งปากได้ ผลของการสูบบุหร่ีต่อการเกิดโรคมะเร็งช่องปาก พบผู้สูบบุหร่ีเป็นโรคมะเร็งในช่องปากมาก กว่าผู้ไม่สูบบุหรี่ โดยมีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่เป็นระยะเวลานาน ความร้อนและสารเคมีในควันบุหรี่ ทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเน้ือเย่ือช่องปากต่อเนื่องและเร้ือรัง จนนำมาสู่การเป็นมะเร็งในช่องปาก นอกจากน้ี การใชย้ าเส้น ยาฉนุ ท่ที ำจากใบยาสบู จุกไว้ในปากหรอื เคยี้ วเป็นประจำ กน็ ำไปสู่การเป็นมะเรง็ ใน ช่องปากได ้ ประตูสสู่ ขุ ภาพทีด่ ีในทกุ ช่วงวัยของชีวิต 55
อาการทตี่ รวจพบในผูป้ ่วยทีเ่ ปน็ โรคมะเรง็ ชอ่ งปาก ได้แก่ - มแี ผลในช่องปาก ใบหน้า และคอ ทหี่ ายชา้ เกินกวา่ 5 สัปดาห์ - มตี ่มุ หรอื กอ้ นบวมในช่องปาก เชน่ ที่รมิ ฝปี าก เหงอื ก กระพงุ้ แกม้ ลน้ิ - มปี ้นื สขี าว หรือแดงเข้มในช่องปาก - ชา รู้สึกหนา หรอื เจ็บในบริเวณใดบรเิ วณหน่งึ ของชอ่ งปาก ขากรรไกร และใบหน้า รอยโรคมะเร็งชอ่ งปาก มะเร็งช่องปากในผู้หญิงมีสถิติสูงเป็นลำดับ 2 รองจากมะเร็งปากมดลูก ส่วนในผู้ชายพบเป็น ลำดับท่ี 4 โดยผู้ท่ีสูบบุหร่ีแต่ไม่มีประวัติการดื่มแอลกอฮอล์ จะมีโอกาสเป็นมะเร็งช่องปากมากกว่า คนทั่วไป 2 - 4 เทา่ แตถ่ า้ มีประวตั สิ ูบบหุ รร่ี ่วมกบั ดม่ื แอลกอฮอล์ จะมโี อกาสเป็นมะเรง็ ในช่องปากเพิม่ ขน้ึ 6 - 15 เทา่ ผลเสียของการสบู บุหรแ่ี ละด่ืมแอลกอฮอลต์ ่อสุขภาพชอ่ งปาก เปน็ สว่ นหนงึ่ ของผลกระทบจาก การสูบบุหร่ีและดื่มแอลกอฮอล์ ซ่ึงมีผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมของร่างกายมากมาย การเลิกสูบบุหรี่ และเลิกดื่มสุรา นอกจากทำให้ร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดีขึ้นแล้ว ยังจะช่วยเสริมบุคลิกภาพให้ดูดี นักสร้างเสริมสุขภาพจึงมีภารกิจสำคัญในการรณรงค์ให้ประชาชนลด ละ เลิกบุหรี่และสุรา ซ่ึงในเบื้องต้น จะต้องทำให้ประชาชนมีความรู้เรื่องผลกระทบต่างๆ เหล่าน้ี ในส่วนที่เก่ียวกับสุขภาพช่องปาก เม่ือสนับสนุนให้ประชาชนลด ละ เลิกบุหร่ีและสุราแล้ว ควรแนะนำให้เข้ารับการรักษาโรคปริทันต์ ขูดหนิ น้ำลาย ขดั ฟนั ให้สะอาด และรกั ษาอนามัยช่องปาก ค วามสัมพันธ์ระหวา่ งสขุ ภาพช่องปากกับโรคทางระบบ ช่องปากเป็นบริเวณที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสำหรับการอาศัยอยู่ของแบคทีเรีย มีการ ค้นพบแบคทีเรียในช่องปากมากกว่า 400 ชนิด ในช่วงวัยเด็กปัญหาโรคติดเชื้อในช่องปากที่สำคัญคือ โรคฟันผุ พบเด็กที่มีฟันผุมากจะเป็นโรคภูมิแพ้ได้ง่าย มีปัญหาเจ็บคอและมีการอักเสบของทางเดินหายใจบ่อย ส่วนในผู้ใหญ่ โรคติดเชื้อในช่องปากท่ีเป็นเสมือนแหล่งเพาะ และแพร่กระจายเช้ือโรคจากช่องปากเข้าสู่ ร่างกายมีท้ังที่มาจากโรคฟันผุ และโรคปริทันต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคปริทันต์ซ่ึงทำให้เหงือกเป็นแผล บริเวณกว้าง เชื้อจุลินทรีย์ท่ีทำให้เกิดโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์อักเสบจึงสามารถแพร่กระจายเข้าสู ่ กระแสโลหิต และก่อให้เกิดการติดเช้ือในอวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้หลายแห่ง (Bacteremia-induce systemic infection) เช่น ที่สมอง ปอด หัวใจ ไต และทีอ่ ืน่ ๆ จงึ อาจเป็นอันตรายที่ร้ายแรงได้ โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในผู้ท่ีสุขภาพอ่อนแอ หรือมีปัญหาทางสุขภาพบางประการ เช่น ผู้ท่ีใส่ล้ินหัวใจเทียม ผู้ท่ีใส่ข้อต่อ กระดูกเทียม ผู้ที่ต้องใส่สายสวน หรือใส่ท่อค้างไว้ในกรณีท่ีต้องล้างไต และในคนท่ีมีภูมิต้านทานต่ำ เช่น คนเป็นโรคเอดส์ คนท่ีปลูกถ่ายอวัยวะ คนท่ีให้เคมีบำบัด และคนท่ีเป็นเบาหวาน เป็นต้น ในช่วงทศวรรษ ท่ีผ่านมามีการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรคปริทันต์กับโรคทางระบบมากข้ึน ซ่ึงจะได้ประมวลให้ศึกษา พอเปน็ สังเขปดังน้ ี 56 การสร้างเสริมสุขภาพชอ่ งปาก
โรคปริทันต์ กับ โรคเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นโรคเร้ือรังที่เกิดจากร่างกายขาดอินซูลิน (type 1 diabetis) หรอื มีภาวะด้ือต่ออนิ ซูลิน (type 2 diabetis) ทำใหม้ ีระดับน้ำตาลในเลอื ดสงู เลอื ดข้น ชีวเคมีในร่างกายเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรง เช่น ไตล้มเหลว ตาบอด รวมทัง้ ทำใหเ้ กดิ การอดุ ตนั ของหลอดเลอื ดในอวัยวะต่างๆ ด้านสุขภาพช่องปาก ผ้ปู ว่ ยเบาหวานมีความชกุ ของโรคปริทนั ตส์ งู กวา่ คนทีไ่ มเ่ ปน็ โรคเบาหวาน ในช่องปากมีการไหลของน้ำลายลดลง ต่อมน้ำลายโต มีอาการปากแห้ง แสบร้อนในช่องปาก แผลใน ช่องปากหายช้า และติดเช้ือราได้ง่าย สำหรับโรคฟันผุการศึกษาบางรายพบฟันผุเพิ่มข้ึน แต่บางรายให้ ผลตรงกันข้าม โดยอธิบายว่าผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลในเลือดไม่ได้จะมีระดับกลูโคสในน้ำลาย มากขึ้น รวมทั้งมีการหล่ังน้ำลายลดลงจึงทำให้เกิดฟันผุได้ง่าย แต่ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้จะมีฟันผุ ลดลง เพราะลดการรบั ประทานอาหารจำพวกแปง้ และนำ้ ตาล โรคเบาหวานมีความสัมพันธ์กับโรคปริทันต์อย่างชัดเจน ผู้ป่วยโรคเบาหวานท่ีควบคุมระดับ น้ำตาลในเลือดไม่ได้จะมีเหงือกอักเสบมากผิดปกติท้ังๆ ที่มีคราบจุลินทรีย์เพียงเล็กน้อย ความสัมพันธ์ ระหว่างโรคปริทันต์ กับโรคเบาหวานเป็นแบบสองทาง (bidirectional) การศึกษาของ Dr.W.Aubrey Soskolne พบคนที่เป็นโรคเบาหวานจะมีความเส่ียงท่ีจะเป็นโรคปริทันต์มากกว่าคนท่ีไม่เป็นโรคเบาหวาน ประมาณสองเท่า (17.3% : 9%) และคนที่เปน็ โรคปริทนั ต์มคี วามเส่ียงทีจ่ ะเปน็ โรคเบาหวานมากกว่าคนท่ี ไม่เป็นโรคปริทันต์ประมาณสองเท่า (12.5% : 6.3%) นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับ น้ำตาลในเลือดได้ไม่ดี จะเกิดโรคปริทันต์รุนแรงกว่าผู้ป่วยเบาหวานท่ีควบคุมน้ำตาลได้ดี และการให้การ รกั ษาโรคปริทนั ตใ์ นผู้ป่วยเบาหวาน จะช่วยใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถควบคมุ ระดับน้ำตาลในเลือดไดด้ ียง่ิ ข้นึ ความสัมพันธ์ของโรคปริทันต์กับโรคเบาหวานมีคำอธิบายและสมมุติฐานหลากหลาย ท้ังใน ส่วนของอิทธิพลของโรคเบาหวานท่ีมีต่อโรคปริทันต์ และอิทธิพลของโรคปริทันต์ที่มีต่อโรคเบาหวาน เช่น ภาวะโรคเบาหวานทำให้มีน้ำตาล และไขมันในเลือดสูง เลือดข้น ระบบเผาผลาญในร่างกายเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ระบบหมุนเวียนเลือดที่ไปเล้ียงอวัยวะต่างๆ รวมทั้งอวัยวะปริทันต์บกพร่อง เน้ือเย่ือปริทันต์ ออ่ นแอ ติดเชื้อง่ายและแผลหายชา้ และภาวะเบาหวานยงั ลดความสามารถของระบบภมู คิ ุม้ กนั ของร่างกาย ในการต่อต้านเชื้อโรค มีการทดลองในหนู พบหนูที่เป็นเบาหวานมีเอนไซม์คอลลาจีเนส และโปรติเอสใน เหงือกเพ่ิมขึ้น (increased collagenase and protease activity) ทำให้มีการทำลายเน้ือเย่ือ และ ขัดขวางการหายของแผล ส่วนอิทธิพลของโรคปริทันต์ต่อโรคเบาหวาน เชื่อว่าเป็นผลมาจากเช้ือจุลินทรีย์ และสารพิษกระตุ้นให้เกิดการอักเสบ ทำให้มีสารส่ืออักเสบในซีร่ัม (serum pro-inflammatory cytokines) เพ่มิ ข้นึ เชน่ สาร interleukin-1 beta ซึง่ สัมพันธก์ บั การก่อให้เกดิ โรคเบาหวานชนิดท่ี 1 และ สาร tumor necrosis factor-alpha (TNF-∝) ซึ่งสัมพันธ์กับการด้ืออินซูลินในเบาหวานชนิดที่ 2 บางสมมุติฐานตั้งข้อสังเกตว่า ความสัมพันธ์นี้เกิดจากความผิดปกติของยีนหลายตัว (Polygenic disorder) ท่ีมาประจวบกัน ทำให้การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง จึงทนต่อความเครียดและส่ิงกระตุ้นต่างๆ ได้น้อย การดูแลสุขภาพช่องปากผู้ป่วยโรคเบาหวาน จะเห็นได้ว่าการจะดูแลรักษาผู้ป่วย โรคเบาหวานจะได้ผลดี จำเป็นต้องมีความร่วมมือของทีมสุขภาพ พยาบาลและบุคลากรท่ีดูแลผู้ป่วย เบาหวานควรสังเกตสภาวะในช่องปากผู้ป่วยเบาหวาน และควรสนับสนุน กระตุ้นเตือนผู้ป่วยให้ใส่ใจดูแล อนามัยชอ่ งปากเป็นพิเศษ หากเห็นเหงอื กมีสีแดงกวา่ ปกติ มเี ลือดออก ลมหายใจมกี ล่ิน อนามยั ในช่องปาก ไม่ดี ควรแนะนำและส่งต่อผู้ป่วยพร้อมประวัติการรักษา เข้ารับการบำบัดรักษากับทันตบุคลากร ในขณะ เดียวกนั หากทันตบคุ ลากรพบผู้ปว่ ยปรทิ นั ต์รุนแรง ควรแนะนำให้ไปตรวจคดั กรองโรคเบาหวานดว้ ย ประตสู ูส่ ขุ ภาพทีด่ ีในทุกชว่ งวัยของชีวิต 57
โรคปริทันต์ กับ โรคผนังหลอดเลือดแดงหนาตัว โรคผนังหลอดเลือดแดงหนาตัว (atherosclerosis) เป็นความผิดปกติที่ผนังชั้นในของหลอดเลือดแดงท่ีมีการหนาตัวข้ึน ทำให้ช่องของ หลอดเลือดแดงตีบแคบลง เส้นเลือดขาดความยืดหยุ่น มีความต้านทานการไหลเวียนของเลือดมากขึ้น ส่งผลให้ความดันโลหิตสูง และอาจเกิดภาวะหลอดเลือดตีบตัน หรือแตกได้ ซึ่งถ้าเกิดกับอวัยวะท่ีมีความ สำคัญ อาจรุนแรงถึงเสียชีวิต เช่น โรคหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดเล้ียงหัวใจอุดตัน (coronary heart disease) โรคหลอดเลือดสมองอดุ ตนั หรือแตก (stroke or cerebrovascular disease) และภาวะไตวาย ภาพจาก home-remedies-for-you.com ภาพจาก manumissio.wikispaces.com กลไกหรือกระบวนการที่ทำให้ผนังหลอดเลือดหนาตัวเป็นผลมาจาก มีการอักเสบเร้ือรังที่ผนัง เส้นเลือด โดยสาเหตุที่ทำให้เกิดการอักเสบอาจมาจากส่ิงรบกวนได้หลายอย่างเช่น จากสารพิษ เช้ือโรค คลืน่ รงั สี และส่ิงแปลกปลอมต่างๆ รวมท้งั จากการกระตนุ้ ระบบภมู คิ ุ้มกัน (Immune reactions due to hypersensitivity) ข้อสรุปท่ีเข้าใจในปัจจุบันเช่ือว่า ความสัมพันธ์ระหว่างโรคปริทันต์กับภาวะหลอดเลือดแดง หนาตัว เป็นผลมาจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรคปริทันต์แพร่กระจายไปที่ผนังหลอดเลือด กระตุ้นเม็ด เลือดขาวมาจับกิน และกลไกร่างกายตอบสนองด้วยการสร้างสารสื่ออักเสบชนิดต่างๆ (activation of pro-inflammatory mediators) ทำใหร้ ะดับของสาร pro-inflammatory cytokines เพิ่มขึ้น เกดิ การ อักเสบของหลอดเลือด ภาวะอักเสบที่เกิดเร้ือรังจะกระตุ้นให้ผนังหลอดเลือดบริเวณน้ันหนาตัวข้ึน การศึกษาทางคลินิกและห้องปฏิบัติการพบจุลินทรีย์ท่ีเป็นสาเหตุของโรคปริทันต์ (P. gingivalis และ A. Actinomycetemcomitans) ในรอยโรคหลอดเลือดแดงหนาตัว (atherosclerotic plaque) การศึกษาทางระบาดวิทยาพบคนท่ีเป็นโรคปริทันต์อักเสบจะมีความเส่ียงท่ีจะเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลอื ดสมองมากกวา่ คนที่ไม่เป็นโรคปริทนั ต์ 58 การสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก
นอกจากน้ียังอาจเป็นผลทางอ้อมจากการท่ีโรคปริทันต์กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ระดับ ของสารส่ืออักเสบในเลือดเพิ่มขึ้น จึงอาจทำให้เกิดการอักเสบของผนังหลอดเลือดได้ มีรายงานพบคนไข้ที่ เป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction) มีระดับของสารส่ืออักเสบ hs-CRP (highly sensitive C-Reactive Protein) สูง ซ่ึงสารตัวน้ีพบได้ในคนที่เป็นโรคปริทันต์ด้วย ในขณะเดียวกัน พบว่าการรักษาโรคปริทันต์ทำให้ระดับ hs-CRP ลดลง จึงคาดว่าอาจมีผลดีต่อการลดการอักเสบท่ ี ผนังหลอดเลือดด้วย อย่างไรก็ตามส่ิงนี้ยังไม่ได้รับการยืนยัน และยังต้องมีการศึกษาวิจัยเพ่ิมเติมอีกมาก นอกจากน้ยี งั มีการศกึ ษาจำนวนหนึ่งพบวา่ โรคปริทันต์มคี วามสัมพันธ์กบั การเป็นโรคอัลไซเมอร์ หรือภาวะ สมองเส่อื ม รวมถงึ มคี วามสัมพนั ธก์ บั การเกิดการอักเสบของขอ้ ต่างๆ (Arthritis) Periodontal Infection (Bacteria or byproducts: LPS) Direct Effect : action on Indirect Effect blood vessel wall Host Response: Inducing liver to PMN, Monocytes, produce: Macrophages Produce Inflammatory Mediators: Acute phase proteins (e.g. CRP), IL-1, IL-6 PEG2,TNF α fibrinogen, lipid abnormalities, coagulation factor Vascular Lesion ภาพแสดงแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างโรคปริทันต์ และภาวะความผิดปกติของเส้นเลอื ด จากไสลด์ของ C.H. Lai. D.M.D. Ph.D. จะเห็นได้ว่าสุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากร กลุ่มวัยทำงานอย่างมาก ย่ิงวิทยาการด้านการแพทย์ก้าวหน้า ก็จะย่ิงพบความสัมพันธ์เช่ือมโยงของระบบ สุขภาพอยา่ งเปน็ องคร์ วมมากขึน้ ดงั น้นั แพทย์ พยาบาล เจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุข และทันตบคุ ลากรจงึ ควรให้ ความสำคัญกับการทำงานร่วมกัน โดยจัดระบบการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากให้บุคคลกลุ่มวัยน้ี เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในกล่มุ เสยี่ งเชน่ กลมุ่ ผู้สบู บุหรี่ ด่มื แอลกอฮอล์ และกลุ่มท่ีเป็นโรคทางระบบ การใหค้ วามใสใ่ จตอ่ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพชอ่ งปากไปพร้อมๆ กบั การสร้างเสริมสขุ ภาพด้านต่างๆ และการ ดูแลรักษาผู้ป่วย จะทำให้ผลสัมฤทธ์ิของการดูแลรักษาสุขภาพประชาชนประสบความสำเร็จมากย่ิงข้ึน เป็นการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตของประชากรกลุ่มวัยทำงาน และเป็นการวางรากฐานคุณภาพชีวิตท่ีดีเมื่อ ย่างเข้าสกู่ ารเป็นผสู้ งู วัยต่อไป ประตสู ู่สขุ ภาพทีด่ ีในทุกชว่ งวัยของชีวิต 59
แนวทางการดำเนินงานสรา้ งเสริมสุขภาพช่องปากประชากรกลุ่มวยั ทำงาน เนื่องจากปัญหาสุขภาพช่องปากของประชากรกลุ่มวัยทำงานส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการ ทำให้ใน ช่วงเวลาท่ีผ่านมาประชากรกลุ่มนี้ถูกละเลย ไม่ถือเป็นกลุ่มเป้าหมายของการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ช่องปาก แต่ปัจจบุ นั วทิ ยาการดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทยก์ ้าวหนา้ มากขึ้น ประเทศกำลงั ก้าวส่สู งั คมผสู้ งู วัย และมีประชากรสูงอายุซึ่งมีปัญหาจากการเป็นโรคเรื้อรังทางระบบเพิ่มข้ึนจำนวนมาก จึงทำให้เห็น ความสำคัญท่ีจะต้องดูแลสุขภาพช่องปากของประชากรกลุ่มวัยทำงานให้มากขึ้น เพราะการให้ความสำคัญ กับการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของประชากรกลุ่มวัยทำงาน จะทำให้ประชากรกลุ่มน้ีก้าวเข้าสู่การเป็น ผ สู้ งู วัยทีม่ ีสุขภาพและคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี การดำเนนิ งานสร้างเสรมิ สุขภาพช่องปากในประชากรวัยทำงานมหี ลักการดำเนินงานดงั น้ ี 1. ในกลุ่มประชากรท่ัวไป ควรรณรงค์ สนับสนุน และส่งเสริมให้มีทักษะและมีศักยภาพใน การดูแลสุขภาพช่องปากตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ทั้งด้านพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสมและ ดา้ นพฤตกิ รรมการแปรงฟนั อยา่ งมีคุณภาพ (ในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพให้กับเจ้าหน้าท่ี และบคุ ลากรใน หน่วยงานต่างๆ ควรเพิ่มเติมเร่ืองการฝึกแปรงฟันอย่างมีคุณภาพเข้าในตารางการฝึกอบรมด้วย และ ถา้ สามารถย้อมคราบจลุ ินทรยี ไ์ ด้ ก็จะทำใหผ้ เู้ ข้าร่วมกิจกรรมมคี วามเข้าใจและฝึกปฏบิ ตั ไิ ด้ดขี ึ้น) 2. ในกลุม่ ประชากรท่ีมพี ฤตกิ รรมเส่ยี ง เช่นกล่มุ ผูส้ บู บุหร่ี ด่มื สรุ า ควรชว่ ยเหลือ สนับสนุน ใหล้ ด ละ เลกิ พฤติกรรมเสยี่ งดังกลา่ ว และพฒั นาศักยภาพใหด้ แู ลสุขภาพชอ่ งปากตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ในประชากรท่ีมีโรคทางระบบ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ควรมีการ ประสานส่งต่อ และจัดให้มีระบบบริการตรวจ และดูแลรักษาสุขภาพช่องปาก ควบคู่ไปกับการรักษาโรค ทางระบบด้วย 60 การสร้างเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก
การสร้างเสรมิ สขุ ภา พชอ่ งปากผ้สู งู อายุ สปุ ราณี ดาโลดม, นนทลี วีรชยั , วรางคนา เวชวธิ ี วัยสูงอายุเป็นช่วงวัยที่ต่อจากวัยทำงาน โดยท่ัวไปหมายถึงผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีข้ึนไป ในช่วงวัยน้ีโครงสร้างและอวัยวะในร่างกายเปล่ียนแปลงไปในทางเส่ือมถอย ทางด้านสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดตัวชี้วัดผู้สูงอายุสุขภาพดีไว้ 5 ประการ คือ 1) มีสุขภาพดี ท้ังร่างกาย จิตใจ และสังคม 2) มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้อย่างเหมาะสม 3) มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ 4) มีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 5) สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามอัตภาพ และแบ่ง ผสู้ งู อายุเป็น 3 กลุ่มเพ่ือการดแู ลอย่างเหมาะสม ได้แก่ กลุ่มทต่ี ดิ สงั คม กลุ่มท่ตี ิดบ้าน และกลมุ่ ทต่ี ดิ เตยี ง ปญั หาสขุ ภาพช่องปากของผ้สู งู อาย ุ จากวัยเด็กถึงวัยทำงาน มีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะในช่องปากเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง เมอื่ เข้าสู่วัยสูงอายุจะพบสภาพและปัญหาสุขภาพชอ่ งปาก ดังน้ี 1. ปัญหาที่ตัวฟัน ปกติฟันของผู้สูงอายุจะยาวข้ึนเล็กน้อย จากการร่นของเหงือก มีสีเข้มขึ้น โพรงประสาทฟันมีขนาดเล็กลง ตีบแคบ หรืออุดตัน ความผิดปกติและรอยโรคของตัวฟันที่ พบบ่อย ได้แก่ ฟันผุ ซึ่งมักเกิดบริเวณคอฟัน ซอกฟัน และรากฟัน ฟันสึก-กร่อน พบมากที่ด้าน บดเค้ียวของฟันกราม ปลายฟันหน้า และคอฟันใกล้ขอบเหงือก โดยเห็นรอยสึกลึกเข้าไปในเนื้อฟัน และ อาจมีอาการเสียวร่วมด้วย ฟันสึกบริเวณคอฟันส่วนใหญ่เกิดจากการแปรงฟันผิดวิธี ใช้แปรงขนแข็ง หรือ ใชย้ าสฟี ันชนดิ ผงทม่ี ผี งขดั หยาบ ฟันที่ผุและฟันสกึ ควรไดร้ ับการบูรณะ ถา้ ปลอ่ ยท้งิ ไวร้ อยผุหรอื สึกจะขยาย ลึกลงไปถึงโพรงประสาทฟนั ทำให้อกั เสบ เจ็บปวดได้ ฟันสกึ กร่อนบริเวณดา้ นบดเคี้ยวและปลายฟนั หนา้ ฟนั สกึ /ผุ บรเิ วณคอฟัน/รากฟัน ประตูสสู่ ขุ ภาพทีด่ ีในทุกชว่ งวยั ของชีวิต 61
2. ปัญหาของเหงือกและเนื้อเยื่อปริทันต์ เหงือกปกติในผู้สูงอายุจะมีสีชมพูซีด ค่อนข้างคล้ำ เนื้อแน่น อาจมีเหงือกร่นบ้างจากการแปรงฟันที่ผิดวิธี หรือเป็นผลจากรอยโรคในอดีต ความผดิ ปกติของเหงือกและเน้ือเยอ่ื ปรทิ นั ตท์ พี่ บบ่อย ได้แก่ เหงอื กอักเสบ และปริทันตอ์ ักเสบ โดยเหงอื ก จะบวม สีแดงช้ำ เลือดออกง่าย เม่ือเอ็นยึดปริทันต์และกระดูกเบ้าฟันถูกทำลาย จะพบความผิดปกติน้ี ได้จากการโยกของฟนั ซ่ึงอาจมีหรอื ไม่มอี าการปวดร่วมด้วยก็ได้ และถา้ มปี ัจจยั เส่ยี ง เช่น การสบู บหุ ร่ี และ ภาวะโรคเบาหวานท่ีไม่ไดค้ วบคมุ ก็จะทำให้อาการของโรครุนแรงขึน้ เหงอื กอกั เสบรุนแรง บวม สแี ดงชำ้ เนื้อเย่อื ปรทิ ันตถ์ กู ทำลาย ทำให้เหงอื กรน่ ฟันโยก 3. ปัญหาของเย่ือบุช่องปาก ได้แก่ เยื่อบุบริเวณกระพุ้งแก้ม เพดานปาก ริมฝีปาก และใต้ลิ้น ซึ่งผู้สูงอายุอาจเกิดปัญหาระคายเคือง แสบร้อน หรือเกิดแผลในช่องปากง่ายกว่าปกติ เพราะภูมิต้านทานลดลงและเย่ือบุช่องปากบาง มีปัญหาต่อมรับรสบนลิ้นฝ่อทำให้การรับรสเปล่ียนไป ความผิดปกติและรอยโรคของเย่ือบุช่องปากและล้ินมีทั้งแบบเฉียบพลัน เจ็บปวดมาก หรือแบบเร้ือรังที่ เกดิ ขึน้ ชา้ ๆ และคงอยู่เปน็ เดอื นๆ โดยไม่เจ็บมากนัก เชน่ 3.1 รอยโรคที่เกิดจากการติดเชื้อรา จะเห็นเป็นแผ่นสีขาวหรือตุ่มขาวล้อมรอบด้วย เน้ือเยื่อสีแดงจัด ขูดออกได้ มักพบบริเวณเพดาน กระพุ้งแก้ม ลิ้น เหงือก สัมพันธ์กับผู้สูงอายุท่ีสูบบุหร่ี หรือมีโรคทางระบบ เช่น เบาหวาน หรือได้รับยาปฏิชีวนะ หรือใช้ยาสเตียรอยด์เป็นเวลานาน หรือ พบร่วมกับการอักเสบใต้ฐานฟันเทียมชนิดถอดได้ ที่ไม่ถอดทำความสะอาดสม่ำเสมอ หรือกรณีใส่ฟันเทียม ท่ีมียางดูดกลางเพดาน เปน็ ต้น รอยโรคสขี าวครมี ตอ่ มนำ้ ลายท่เี พดานปากอักเสบ รอยโรคแผน่ สขี าวครมี บรเิ วณ พบในผูส้ ูบบหุ รี่ และด่ืมสุรา จากการสบู บุหร ่ี สันเหงือกใต้ฐานฟันปลอม 62 การสร้างเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก
3.2 รอยโรคที่ไม่ได้เกิดจากการติดเช้ือรา ท่ีพบบ่อยได้แก่ ไลเคนพลานัส เห็นเป็น ลายเส้นสีขาวคล้ายลายลูกไม้ ขูดไม่ออก พบบริเวณกระพุ้งแก้ม เหงือก รอยต่อระหว่างกระพุ้งแก้มกับ เหงือก เพดานปาก ริมฝีปาก ผู้ป่วยมักมีอาการปวดแสบปวดร้อน ซึ่งอาจเกิดขึ้นเอง หรือเกิดเม่ือ รบั ประทานอาหารรสจัด หรืออาหารรอ้ น มกั พบในผูป้ ่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสงู และโรคตับอกั เสบ 3.3 รอยโรคที่อาจเปลี่ยนเป็นมะเร็ง เช่น ก้อนบวมนิ่มหรือแข็ง แผ่นคราบสีแดง สีขาว รอยแผลเรื้อรงั เป็นมานานกว่า 2 สปั ดาห์ หรอื มอี าการปวด ชาเปน็ เวลานาน หรือมเี ลอื ดไหลซึมจากบรเิ วณใด บริเวณหน่งึ ลักษณะผดิ ปกติดงั กลา่ วจำเป็นตอ้ งพบแพทย์โดยด่วน เพอ่ื รับการรกั ษาท่ีถูกตอ้ ง รอยโรคมะเร็ง กอ้ นบวมน่ิม รอยโรคมะเรง็ รอยแผลนนู ไลเคนพลานสั บริเวณกระพ้งุ แกม้ บริเวณเพดานปาก ดา้ นข้างของลิ้น 4. น้ำลายและต่อมน้ำลาย ปกติคนเราจะผลิตน้ำลายจากทุกๆ ต่อม รวมกันได้วันละ 0.5-1.5 ลิตร ในผสู้ งู อายกุ ารทำงานของต่อมนำ้ ลายลดลง เนื่องจากขนาดของตอ่ มน้ำลายเลก็ ลงหรอื ฝ่อลีบ น้ำลายจึงถูกขับออกมาน้อย ความข้น ความใส และองค์ประกอบในน้ำลายเปล่ียนแปลง ความสามารถใน การต่อต้านเชื้อโรคลดลง มีอาการปากแห้ง ระคายเคือง กลืนลำบาก แสบร้อนในปาก ปากเป็นแผลง่าย เกิดเชื้อราได้ง่าย หรือเกิดฟันผุหรือรากฟันผุง่าย นอกจากนี้ยังพบอาการปากแห้งในผู้ท่ีได้รับการฉาย รังสีรักษาบริเวณใบหน้า ลำคอ และผู้ท่ีใช้ยารักษาโรคทางระบบ ผู้สูงอายุจึงควรจิบน้ำบ่อยๆ หรือ ใชน้ ้ำลายเทยี มเพอ่ื ให้ช่องปากมคี วามชมุ่ ชืน้ ลดการระคายเคอื ง ปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ ความผิดปกตใิ นช่องปากผสู้ ูงอายุ มีหลายประการท่ีสำคัญ ได้แก่ สภาวะอนามัยช่องปาก อาหาร การเป็นโรคทางระบบ ก ารรกั ษาและการใชย้ า รวมท้ังภาวะทโุ ภชนาการ และพฤติกรรมเส่ียง 1. ปัจจัยจากสภาวะอนามัยช่องปาก ผู้สูงอายุที่มีอนามัยช่องปากไม่ดีจะเกิดความ ผิดปกติในช่องปากได้ง่าย เน่ืองจากมีการสะสมของคราบจุลินทรีย์ (plaque) ทั้งท่ีอยู่เหนือขอบเหงือก ในร่องเหงือก และที่ผิวฟัน ทำให้เกิดโรคฟันผุที่ตัวฟัน รากฟัน และทำให้เกิดโรคปริทันต์ ซึ่งพบบ่อยและ เปน็ สาเหตหุ ลกั ของการสูญเสยี ฟนั ในผ้สู งู อายุ นอกจากน้ีผู้สูงอายุมักมีสภาพในช่องปากที่เอื้อต่อการเกาะติดของคราบจุลินทรีย์ เช่น มีฟนั ลม้ เอยี ง ฟนั ยนื่ มรี อ่ งลึกบรเิ วณขอบเหงือก เหงอื กร่น รากฟนั มีผิวขรขุ ระไม่เรยี บ หรือมีฟนั ผุบริเวณ คอฟัน รากฟันมีหินน้ำลายเกาะ และใส่ฟันเทียม หรือมีโรคประจำตัวบางอย่าง เช่น โรคทางสายตา ขอ้ อักเสบรูมาตอยด์ Parkinson’s disease ตลอดจนปัญหาภาวะจิตใจซมึ เศร้า สมองเสื่อม ต่างๆ เหลา่ น้ี ล้วนเป็นสาเหตุทีท่ ำให้ผสู้ งู อายุขาดความใส่ใจ และความสามารถในการทำความสะอาดช่องปากลดลง ประตสู ู่สุขภาพทีด่ ีในทุกชว่ งวัยของชีวิต 63
2. ปัจจัยจากอาหาร การรับประทานอาหารหวานระหว่างมื้อบ่อยๆ ส่งผลต่อการเกิดโรค ฟนั ผเุ พ่มิ ข้ึน ประกอบกบั ผสู้ งู อายุมีนำ้ ลายนอ้ ยจงึ ทำใหเ้ กดิ ฟันผไุ ด้ง่าย 3. ปจั จัยจากโรคทางระบบ การรักษา และการใช้ยา ทีม่ ีผลกระทบตอ่ การเปล่ียนแปลง ในช่องปากโดยตรง มีดงั นี ้ 3.1 โรคทางระบบ ไดแ้ ก่ 3.1.1 โรคเบาหวาน เป็นโรคเร้ือรังท่ีพบได้บ่อย มีผลกระทบต่อสุขภาพช่องปาก ชัดเจน ผปู้ ว่ ยเบาหวานท่ีไม่ไดค้ วบคมุ ระดับนำ้ ตาลจะพบภาวะแทรกซอ้ น เชน่ ปากแห้ง ปวดแสบปวดร้อน ในช่องปาก ต่อมน้ำลายโต ฟนั ผุง่าย เกิดโรคปรทิ นั ต์งา่ ยและรุนแรง การเกิดโรคปรทิ ันต์ในผูป้ ่วยเบาหวาน ทำให้ประสิทธิผลของยารักษาโรคเบาหวานลดลง ติดเช้ือง่าย โดยเฉพาะการติดเชื้อรา ย่ิงถ้าผู้ป่วยสูบบุหรี่ และอนามยั ชอ่ งปากไมด่ ี จะทำใหต้ ิดเชอ้ื ราง่าย และรนุ แรง เมอื่ เกิดแผลในปากจะหายชา้ 3.1.2 วัณโรคปอดในผู้สูงอายุ อาจพบเป็นแผลที่มีลักษณะเฉพาะของวัณโรคใน ชอ่ งปากได้ โดยแผลมีลกั ษณะสีแดง ไมเ่ จบ็ แผลจะคงอยูน่ าน ไม่หาย 3.1.3 โรคไต ภาวะไตวายเร้ือรังทำให้มีของเสียสะสมในร่างกายเกิดภาวะยูรีเมีย ซ่ึงอาจพบอาการแสดงทางชอ่ งปากได้ เช่น มเี ลือดออกในชนั้ ใตเ้ ย่อื บชุ อ่ งปาก และบรเิ วณดา้ นขา้ งของลิ้น 3.2 การรกั ษาและการใช้ยา ได้แก่ 3.2.1 การบำบัดทางรังสี และการใช้เคมีรักษาเพ่ือต้านเซลมะเร็ง ทำให้ ต่อมน้ำลายมีการเปล่ียนแปลง น้ำลายไหลน้อย ปากและล้ินแห้งเป็นฝ้า ฟันผุง่าย ควรแนะนำให้อมน้ำ บ่อยๆ เพ่ือให้ช่องปากช่มุ ชน้ื และแนะนำผู้ป่วยให้รกั ษาทางทันตกรรมให้เรียบร้อยก่อนไปฉายรังสีรกั ษา 3.2.2 การใช้ยารักษาโรคทางระบบทีเ่ รอ้ื รงั บางชนิด ไดแ้ ก่ ยารกั ษาโรคภมู ิแพเ้ ชน่ Chlorpheniramine (CPM) Atarax และยากลุ่มลดความเครียด เชน่ Amitriptyline ถา้ ใชน้ านๆ จะทำให้ ปริมาณของน้ำลายลดลง ความสามารถในการต้านเชื้อจุลินทรีย์ลดลง น้ำลายมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้น เกดิ ภาวะปากแห้ง เนือ้ เยอ่ื ในช่องปากระคายเคอื ง อักเสบ และเกดิ ฟันผงุ า่ ย ยารักษาโรคความดนั โลหิตสูง เช่น Methyldopa ยารักษาโรคเบาหวาน เช่น Chlorpropamide ยารักษาโรคข้ออักเสบ เช่น Phenylbutazone และ Indomethacin ยารักษาโรคตับ เช่น Penicillamine อาจกระตุ้นให้เกิดรอย โรคไลเคนพลานัส ยารักษาโรคหอบหืดที่พ่นในช่องปากกลุ่มสเตียรอยด์ ถ้าใช้เป็นประจำจะทำให้ติดเช้ือรา ในชอ่ งปากง่ายขน้ึ 4. ภาวะทุโภชนาการ อาจเป็นผลกระทบจากภาวะจิตใจซึมเศร้า หรือไม่มีฟันบดเคี้ยว อาหาร หรือการดูดซึมอาหารบกพร่อง การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในผู้สูงอายุหญิงอาจทำให้มีอาการ ปากแห้ง เน้ือเยื่อในช่องปากปวดแสบปวดร้อน การรับรสชาติไม่ดี สาเหตุเหล่านี้ทำให้ร่างกายได้รับ สารอาหารไม่เพียงพอ ท่ีพบบ่อย ได้แก่ การขาดวิตามิน บี 1, 2, 5, 6 ทำให้ลิ้นเลี่ยนเป็นมัน มีสีแดงจัด เน้ือเย่ือในปากเป็นแผลง่าย มีแผลท่ีมุมปากท่ีเรียกปากนกกระจอก การขาดธาตุเหล็ก วิตามิน บรี1ับ2 รแสลไดะ ้ กรดโฟลิกเป็นเวลานานหลายปีทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง เน้ือเย่ือในช่องปากติดเช้ือง่าย ลิ้นเลี่ยน ไม่ดี ปากแห้ง รวมถึงเป็นสาเหตุของการเกิดแผลปากนกกระจอกด้วย นอกจากนี้แผลปากนกกระจอกอาจ เป็นผลจากการสึกของฟัน หรือมีการสูญเสียฟันกราม ทำให้ระยะห่างระหว่างขากรรไกรบนและล่างส้ันลง มุมปากย่นเป็นร่อง ทำใหม้ ีนำ้ ลายเปยี กชนื้ ตลอดเวลา จึงเกิดการระคายเคอื ง และงา่ ยต่อการตดิ เชื้อ 64 การสร้างเสริมสุขภาพชอ่ งปาก
แผลปากนกกระจอก สนิ้ เลีย่ นจากการขาดธาตุเหลก็ ในผสู้ งู อายหุ ญงิ 5. ปัจจยั จากพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ได้แก่ 5.1 การสูบบหุ ร่ี การเคย้ี วยาเส้น ยานตั ถ์ุ สารประกอบในบุหรี่ โดยเฉพาะนิโคตนิ และ น้ำมันดิบ (Tars) ที่เกิดจากการเผาไหม้ เมื่อผ่านปอดไปตามกระแสเลือดจะกระตุ้นต่อมหมวกไตให้หล่ัง ฮอร์โมน epinephrine ทำให้หลอดเลือดรัดตัว เพิ่มการยึดติดของเกล็ดเลือดทำให้หลอดเลือดตีบ ความดันโลหิตสูง เส่ียงต่อหลอดเลือดอุดตัน ความร้อนและสารประกอบต่างๆ ท่ีเหลือตกค้างจากการ เผาไหม้ในช่องปากทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเน้ือเยื่อ เกิดรอยโรคเป็นป้ืนสีขาว สีแดงที่อาจนำไปสู่การ เป็นมะเรง็ การสูบบุหรม่ี ผี ลทำให้โรคปริทนั ต์รุนแรงข้นึ และลดประสทิ ธิผลของการรกั ษาทางทันตกรรมดว้ ย รอยโรคสขี าวจากเช้อื ราในผู้สบู บุหรี่ โรคปริทันตใ์ นผู้สบู บุหรี่ อาจพบฟนั โยก โดยไมม่ อี าการของเหงอื กอักเสบ 5.2 การด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการใช้น้ำยาบ้วนปากที่ผสมแอลกอฮอล์ มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคมะเร็งในช่องปาก (Oral Squamous Cell Carcinoma) โดยผู้ที่ด่ืม เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์มากกว่า 4 แก้วต่อวันร่วมกบั การสูบบหุ รี่ 2 ซองหรือมากกวา่ จะมคี วามเสี่ยงตอ่ การ เกดิ โรคมะเรง็ บรเิ วณช่องปากและลำคอ มากกวา่ ปกติ 35 เทา่ ส่วนการใชน้ ้ำยาบ้วนปากทีผ่ สมแอลกอฮอล์ มากกวา่ ร้อยละ 25 เปน็ เวลานาน อาจเป็นปัจจยั หน่งึ ที่ทำให้เส่ียงต่อการเกิดมะเร็งในช่องปากได้ 5.3 การเคี้ยวหมาก ทำให้เกิดการระคายเคืองอย่างเรื้อรังต่อเนื้อเย่ือช่องปาก อาจเป็น สาเหตทุ ำให้เกิดการเปล่ยี นแปลงเป็นมะเรง็ ประตสู สู่ ุขภาพที่ดีในทกุ ช่วงวัยของชีวิต 65
5.4 การใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ที่ไม่พอดี เช่น ฟันเทียมท่ีใส่มาเป็นเวลานานจนหลวม ขยับไปมาได้ ฟันเทียมที่แตกหักชำรุด ฟันเทียมที่ใส่ได้ไม่พอดี จะระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อช่องปากเป็นแผล เรื้อรังซ่ึงอาจเปลี่ยนเป็นมะเร็งได้ ส่วนฟันเทียมที่มีเศษอาหาร คราบจุลินทรีย์ และหินปูนเกาะติด ไม่ได้ทำความสะอาด จะเป็นท่ีสะสมของเชื้อโรค ทำให้มีกลิ่นเหม็น และเป็นสาเหตุของการติดเช้ือ โดยเฉพาะเชือ้ รา และเกดิ รอยโรคอื่นๆ บนเนอื้ เยื่ออ่อน การดแู ลสุขภาพผสู้ ูงอาย ุ จุดมุ่งหมายของการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคือ เพื่อคงความมีสุขภาพดี ให้ผู้สูงอายุสามารถ ครองชวี ิตอยา่ งอิสระ ไม่เป็นภาระลูกหลานหรือพึง่ พาบรกิ ารของรฐั มากนัก ควรจดั บรกิ ารใหส้ ามารถค้นพบ โรคทั้งทางร่างกายและจิตใจตั้งแต่ในระยะแรก และรักษาอย่างถูกต้องทันเวลา พร้อมทั้งฟ้ืนฟูสภาพ อย่างเหมาะสม ควรเน้นการคงศักยภาพของผู้สูงอายุในการพ่ึงพาตนเอง สร้างความรู้สึกว่าผู้สูงอายุยังมี ความสำคญั และสามารถดแู ลตนเอง แม้จะมีโรคเรือ้ รังกส็ ามารถอยอู่ ยา่ งมคี ณุ ภาพชวี ิตทดี่ ไี ด้ เพอื่ ให้ระยะ สุดทา้ ยของชวี ิตได้อยูอ่ ยา่ งสมศักดศ์ิ รี หลักการทัว่ ไปในการดูแลตนเองเพอ่ื คงสุขภาพที่ดี ผสู้ ูงอายคุ วรปฏบิ ตั ิดงั น้ี 1. มกี จิ กรรมออกกำลงั กาย พกั ผ่อนหยอ่ นใจ และนันทนาการตามความเหมาะสม 2. รู้จักดูแลป้องกันตนเองเบ้ืองต้น ในเร่ืองอาหารและการดูแลสุขภาพช่องปาก หลีกเล่ียง พฤติกรรมเสี่ยง เชน่ การสูบบหุ ร่ี การด่ืมสรุ า 3. มีการตรวจหาสิ่งผดิ ปกติ และรบี ใหก้ ารบำบดั รกั ษาแตเ่ นนิ่ ๆ โดย สังเกตดว้ ยตนเอง และ ตรวจสุขภาพร่างกายประจำปี เพ่ือตรวจหาโรคเส่ียง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน มะเร็ง ไทรอยด ์ สมองเสือ่ ม หรือตรวจรอยโรคในระยะเร่มิ แรก เพ่ือใหก้ ารบำบดั รกั ษา เชน่ รอยโรคในชอ่ งปาก 4. มีสังคม และมีการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต เช่น เข้าร่วมกิจกรรม อาสาสมัครสำหรับครอบครัว ผู้ดูแล และชุมชน ควรช่วยดแู ลสนบั สนุนผ้สู ูงอายใุ หท้ ำกจิ กรรมต่างๆ ดงั น้ ี 1. สนับสนุนให้ผสู้ ูงอายพุ ึ่งพาตนเองมากทสี่ ดุ 2. ใหอ้ สิ ระ ยอมรบั การตดั สนิ ใจของผสู้ ูงอายุในสิ่งตา่ งๆ ท่ีเกย่ี วข้องกบั ตนเอง 3. ปรบั ปรุงส่ิงแวดล้อมในบ้าน ในชมุ ชน เพื่อเพ่ิมความปลอดภยั แกผ่ สู้ ูงอายุ 4. สนับสนุน ชว่ ยเหลอื ผู้สงู อายใุ นการเดินทางเขา้ ร่วมกจิ กรรม การดูแลสขุ ภาพช่องปากของผสู้ งู อาย ุ ปัญหาสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุมีผลโดยตรงต่อระบบบดเคี้ยวและการย่อยอาหาร ทำให้ ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ และสุขภาพร่างกาย การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 2550 พบว่า ผู้สูงอายุสูญเสียฟันท้ังปากร้อยละ 4 หรือประมาณ 250,000 ราย รวมท้ังมีปัญหารากฟันผุ และ โรคปรทิ นั ต์ การดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุมีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้ผู้สูงอายุสามารถบดเค้ียวอาหารได้ ลดการสูญเสยี ฟัน และลดความเสย่ี งต่อความผดิ ปกตติ า่ งๆ ท่อี าจเกดิ ขึ้น การประเมนิ ความเสย่ี งต่อการเกิด โรคฟันผุในผู้สูงอายุพิจารณาจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เช่น ภาวะน้ำลายข้น น้ำลายแห้ง พฤติกรรมการกิน อาหาร สภาพช่องปากและความสามารถในการทำความสะอาดชอ่ งปาก รวมทัง้ การมีปฏิสมั พนั ธท์ างสังคม เช่น พูดคยุ ร้เู ร่อื ง หรือหลงลมื ความจำเส่อื ม โดยแบง่ ผู้สูงอายุเปน็ 3 กล่มุ ดงั นี้ 66 การสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก
กลุ่มเส่ียงต่ำ หมายถึงกลุ่มที่ไม่มีฟันผุเป็นรู และสามารถดูแลตนเองได้ดี กลุ่มนี้แนะนำให้ แปรงฟันตามปกติ วนั ละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลอู อไรด์ และตรวจสุขภาพชอ่ งปากปลี ะครงั้ กลุ่มเสี่ยงปานกลาง หมายถึงกลุ่มที่มีปัจจัยเส่ียงบางอย่างแต่ไม่มีฟันผุเป็นรู กลุ่มน้ีแนะนำให้ แปรงฟันวันละ 2 ครั้งด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ อมน้ำยาบ้วนปากผสมฟลูออไรด์ชนิดท่ีไม่เป็นกรด เช่น โซเดียมฟลอู อไรด์ วันละ 1 ครั้งๆ ละ 1 นาที ตรวจฟนั ทุก 6 เดือน กลมุ่ เสย่ี งสูง หมายถึงกลมุ่ ที่มีรอยโรคฟนั ผุ หรอื โรคปรทิ นั ต์ และมีปจั จัยเส่ียงตา่ งๆ แนะนำให้ พบทนั ตบคุ ลากรเพือ่ รับการรกั ษา และดูแลตนเองโดยแปรงฟนั วันละ 2 คร้งั ด้วยยาสีฟันผสมฟลอู อไรด์ ในทุกกลุ่มควรแนะนำเร่ืองการบริโภคอาหาร โดยให้หลีกเล่ียงอาหารหวานจัด เค็มจัด รวมทั้ง เลิกสูบบุหรี่ และเลิกกินหมาก การใช้น้ำยาบ้วนปากควรใช้น้ำยาบ้วนปากท่ีไม่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ แต่มีฟลูออไรด์ ผู้สูงอายุปกติไม่ควรใช้น้ำยาบ้วนปากที่ผสมยาฆ่าเช้ือ น้ำยาบ้วนปากที่มีความเข้มข้น ของฟลูออไรด์ต่ำ หาซ้ือได้ท่ัวไปตามร้านค้า สามารถใช้ได้ทุกวัน แต่ถ้ามีความเข้มข้นของฟลูออไรด์สูงใช้ได้ ส ปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง และตอ้ งอยภู่ ายใต้การดแู ลของทันตบุคลากร การแนะนำวิธีแปรงฟันในผู้สูงอายุ เหมือนกับกลุ่มวัยอื่นๆ แต่ถ้าใช้ไหมขัดฟันลำบาก อาจเปล่ียนมาใช้ไม้จ้ิมฟัน หรือแปรงซอกฟัน หรือใช้ผ้าก๊อสเช็ด เปล่ียนแปรงสีฟันเม่ือแปรงเส่ือมสภาพ แต่ถ้าผู้สูงอายุเจ็บป่วย เช่น เป็นไข้หวัดใหญ่ หลังจากหายแล้วควรเปล่ียนแปรงสีฟันใหม่ ผู้สูงอายุท่ี กล้ามเนื้อมือมีปัญหาไม่สามารถควบคุมการใช้มือได้ดี อาจใช้แปรงสีฟันไฟฟ้า หรือปรับปรุงด้ามแปรงสีฟัน ใหใ้ หญ่ขึน้ เพื่อจบั ไดถ้ นดั และมสี ายรดั ยดึ แปรงกับมอื นอกจากน้ีควรขจัดคราบอาหารและคราบจุลนิ ทรียท์ ี่ ตกค้างอยู่บริเวณเย่ือบุช่องปาก กระพุ้งแก้ม เพดานปาก แปรงด้านบนของล้ินโดยวางแปรงสีฟันลงบน ผวิ ล้นิ กวาดจากโคนล้นิ ออกมาด้านปลายลน้ิ ทำซ้ำ 4-5 คร้งั สว่ นเย่อื บุชอ่ งปาก กระพงุ้ แกม้ เพดานปาก อาจใชแ้ ปรงสีฟันขนน่มุ หรอื ใชน้ ้วิ มอื กวาดเบาๆ การประยกุ ตร์ ปู แบบของดา้ มแปรงใหจ้ บั ถนดั มือ ผ้สู งู อายทุ ใ่ี ส่ฟนั เทยี มชนิดถอดได้ ควรถอดฟันเทยี มลา้ งทำความสะอาดหลงั รับประทานอาหาร ทุกครั้ง ไม่ควรใส่ฟันเทียมในเวลานอน ควรถอดแช่น้ำไว้ในภาชนะที่มีฝาปิด และทำความสะอาดฟันเทียม โดยใช้แปรงสีฟันแตะน้ำยาล้างจานหรือสบู่ แปรงฟันเทียมเบาๆ แล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด ระหว่าง แปรงฟันเทียมควรมีภาชนะใส่น้ำรองรับเพื่อกันฟันเทียมตกแตก กรณีฟันเทียมมีคราบอาจใช้ยาเม็ดท่ีใช้ ทำความสะอาดฟันเทียมใส่ในน้ำแช่ฟันเทียมจะช่วยขจัดคราบที่ติดฟันเทียมออกได้ การเปล่ียนแปลงสภาพ ช่องปากอาจทำให้ฟันเทียมท่ีใส่ไปนานๆ หลวมไม่พอดี เกิดการระคายเคืองต่อเหงือกและเน้ือเย่ือใน ชอ่ งปาก จึงควรแกไ้ ข หากทง้ิ ไวอ้ าจเปน็ สาเหตหุ น่ึงทีท่ ำใหเ้ กดิ แผลมะเรง็ ในปากได้ ประตสู สู่ ขุ ภาพทีด่ ีในทุกชว่ งวยั ของชีวิต 67
ฟันเทยี มชนิดถอดได้แบบตา่ งๆ ใชแ้ ปรงสีฟนั ขนอ่อน กบั สบู่ ถอดแชน่ ้ำก่อนนอนทกุ คร้ัง หรือนำ้ ยาล้างจานแปรงฟันเทียม (หา้ มแชใ่ นนำ้ เดอื ด น้ำร้อน เพราะจะทำใหบ้ ิดเบย้ี ว) ในกรณีท่ีใส่ฟันเทียมชนิดติดแน่นซ่ึงจะสวมทับลงไปบนซี่ฟัน หรือใช้ฟันข้างเคียงช่องว่างเป็น หลกั ยดึ ควรแปรงฟันตามปกติ และใชไ้ หมขัดฟนั สอดเข้าทำความสะอาดใตฐ้ านของฟันเทยี มตดิ แนน่ ด้วย สำหรับผู้สูงอายุทีช่ ่วยเหลือตนเองไม่ได้ การเขา้ ช่วยควรยึดหลักการให้ผูป้ ่วยช่วยเหลือตนเองได้ อย่างมศี ักดศิ์ รีใหม้ ากทส่ี ุด เชน่ ถ้าผู้สงู อายุจบั แปรงเองได้ก็ใหจ้ ับแปรงเอง และช่วยตรวจดวู ่าสะอาดหรือไม่ ถ้าจับแปรงเองไม่ได้ ต้องถามความต้องการการช่วยเหลือก่อนที่จะไปช่วย เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุรู้สึก ไร้ค่า ทำให้ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อีกต่อไป พยายามให้ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองแบบง่ายๆ ถ้าทำ ไม่ได้จริงๆ ค่อยทำให้ ในผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ผู้ดูแลควรยืดหยุ่น อาจจะไม่ต้องแปรงฟันเช้าและ เ ยน็ เสมอไป ให้แปรงฟันเวลาใดกไ็ ด้ทเ่ี หน็ ว่าเหมาะสม การแปรงฟันใหผ้ สู้ ูงอายทุ ชี่ ว่ ยเหลอื ตนเองไมไ่ ด้ - อปุ กรณท์ ่ใี ช้ ได้แก่ แปรงสฟี ัน 1-2 ดา้ ม ผา้ ขนหนู ชามรองรูปไต และถงุ มือ - ตำแหนง่ ทเี่ หมาะสมสำหรบั การแปรงฟนั ให้ผสู้ งู อายุ ให้ผสู้ ูงอายนุ อนตะแคงพรอ้ มมีอ่างหรอื ชามรูปไตรองข้างแก้ม ถ้าวางไม่ได้ให้ใช้ผ้าขนหนูรอซับน้ำท่ีตำแหน่งน้ัน ผู้ช่วยเหลือหรือผู้ดูแลอาจจะอยู่ ทางดา้ นหลงั หรอื อยู่ด้านขา้ ง หรอื ใหผ้ ปู้ ่วยหนุนตัก - วธิ กี าร 1. ใช้แปรงสฟี นั 2 อัน อันหนงึ่ ใช้สำหรับแปรงฟนั อีกอันหน่งึ ใชด้ า้ มแปรงช่วยรั้งชอ่ งปาก โดยอาจปรับรูปร่างทำให้ด้ามแปรงงอเป็นมุมเหมือนกระจกส่องปาก นอกจากนี้ อาจใช้ไม้กดล้ิน พันผ้าก๊อซหนาๆ ให้ผู้สูงอายุกัด เพื่อให้มีช่องว่างในช่องปาก ท่สี ามารถเขา้ ไปทำความสะอาดฟนั ได้ 2. ในห้องดแู ลผู้ปว่ ยฉุกเฉนิ (ICU) หรือหอผปู้ ่วย นิยมใช้ฟองน้ำที่เรียกว่า oral swab เพื่อเอาเศษอาหารก้อนใหญ่ ออก ตามด้วยการแปรงฟัน หรือใช้ผ้าก๊อซถูซ้ำ เพราะผู้ท่ีดูแล ตัวเองไม่ได้ มกั มเี ศษอาหารตดิ ขา้ งกระพงุ้ แก้ม ถ้าเอา Oral Swab มาชุบน้ำยาบ้วนปาก จะช่วยให้รู้สึกสดช่ืนข้ึน แต่ไม่มีผลต่อ ใช้ Oral Swab หรอื ผา้ กอ๊ ซ การทำความสะอาด ห้ามใช้แบบที่ชุบ lemon glycerin ในผู้สูงอายุ น ำเศษอ าหาร กอ้ นใ หญอ่ อกกอ่ น เพราะจะทำให้เน้ือเยื่อแห้ง อาจใช้แปรงสีฟันไฟฟ้าหากผู้ดูแล รู้สึกถนัดและสะดวก มีรายงานว่าหัวแปรงแบบกลมๆ หมุน มปี ระสทิ ธิภาพดีทสี่ ดุ 68 การสร้างเสริมสขุ ภาพชอ่ งปาก
3) ลำดับข้ันตอนการแปรงฟัน ควรทำเป็นระบบ โดยเร่ิมจากแปรงด้านนอก ให้ผู้สูงอายุ กัดฟันเบาๆ โดยไม่เกรง็ ริมฝีปาก แล้วแปรงฟันด้านนอกใหค้ รบทกุ ซี่ จากนั้น แปรงด้านใน ซ่งึ มกั จะมปี ญั หา ผ้สู งู อายุไม่อา้ ปาก ใหเ้ อานิ้วมือลูบแก้มท้งั สองขา้ ง และลูบริมฝีปาก เพอ่ื ให้กลา้ มเนื้อรอบๆ ปากผอ่ นคลาย ค่อยๆบอกให้ผู้สงู อายอุ ้าปาก แลว้ สอดแปรงเขา้ ไปแปรงด้านในของฟนั และดา้ นบดเคย้ี ว 4) คอยซับน้ำลายและเศษอาหารตลอดเวลา กรณีอยู่ในหอผู้ป่วยใช้ suction ถ้าเป็นท่ีบ้าน ให้ใชผ้ า้ ซับ สำหรบั ผสู้ งู อายทุ ม่ี ีปัญหาอน่ื ๆ เชน่ กลืนลำบาก (dysphagia) ต้องมี suction ทบ่ี ้าน เพราะ ระหวา่ งแปรงฟนั ตอ้ งใชน้ ้ำจาก Syringe ฉดี นำ้ ทีละนอ้ ย จงึ ต้องดูดนำ้ ตลอดเวลา เพอื่ ไมใ่ หผ้ ู้สงู อายสุ ำลัก ขอ้ ควรระวัง - ควรใช้แปรงขนนุม่ หวั เลก็ จับใหถ้ นดั ทง้ั 2 ด้าม และใส่ถุงมือเสมอ - ถ้ามฟี นั เทียมถอดได้ใหถ้ อดมาแปรงขา้ งนอก - เวลาแปรงฟันให้ผู้ป่วยชูมือขึ้น ผู้ดูแลกอดจากด้านหลัง หรือให้ผู้สูงอายุนอนตะแคง ใช้เทคนคิ ลบู หนา้ ลูบริมฝีปากใหอ้ ้าปาก - ที่สำคัญต้องสอื่ สารกับญาติหรอื ผดู้ ูแลให้ดี ใหค้ ่อยๆ ทำอยา่ ใจร้อน การแนะนำด้านอาหาร อาหารของผู้สูงอายุ นอกจากคำนึงถึงคุณค่าของอาหารให้ครบถ้วน พอเพียงกับความต้องการของร่างกายแต่ละวันแล้ว ยังต้องคำนึงถึงชนิด ลักษณะ ความแข็ง น่ิม และ ความถ่ี ในการบริโภคอาหารด้วย เน่ืองจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาโรคในช่องปาก คุณภาพการบดเค้ียว และความสามารถในการทำความสะอาดช่องปากลดลง การรบั ประทานอาหารควรปฏบิ ตั ดิ งั นี ้ - รับประทานอาหารเป็นม้ือ ไม่กินจุบจิบ เพื่อลดการตกค้างของเศษอาหาร อาหารว่างควร เลือกอาหารประเภทธัญพืชและผลไม้ โดยเฉพาะผลไม้ท่ีมีลักษณะเป็นเส้นใย รสไม่หวาน จัด เชน่ ฝรั่ง พุทรา ชมพู่ มันแกว - ลด หลีกเล่ียงการรับประทานอาหารรสหวานจัด เช่น ขนมท่ีทำจากแป้ง และน้ำตาลที่น่ิม หรือเหนียวติดฟนั - หลีกเลี่ยงการด่ืม ชา กาแฟ และน้ำอัดลม เพราะคาเฟอีนกระตุ้นการทำงานของหัวใจ น้ำอัดลมมีน้ำตาลและความเป็นกรดสูง ควรเปลี่ยนเป็นนมสด หรือน้ำผลไม้ ผู้ใส่ฟันเทียม ควรระมดั ระวงั เป็นพิเศษในการรับประทาน ควรหลกี เลย่ี งอาหารเหนยี วและแข็ง การแนะนำกรณีปากแห้ง ให้จิบน้ำบ่อยๆ หรือเค้ียวหมากฝร่ัง หรือหาอาหารชนิดท่ีเห็นแล้ว ทำให้น้ำลายไหล เช่น สะเดาน้ำปลาหวาน มะขามป้อม แต่ต้องระวังอย่าให้หวานมาก เค็มมาก ปัจจุบัน ประเทศไทยเริ่มทดลองผลิตยาลดปากแห้งจากว่านหางจระเข้ ถ้าริมฝีปากแห้ง ใช้ลิปมันทาได้ ยกเว้น ผู้ที่ภูมคิ ้มุ กนั ต่ำไม่ควรใช้ การเสรมิ สร้างความแข็งแรงให้กล้ามเนอื้ ของชอ่ งปาก ในผู้สูงอายุการทำงานของกล้ามเน้ือบริเวณรอบปากช้าลง ทำให้เค้ียวอาหารไม่ถนัด มีอาหาร ตกค้างในช่องปาก กระพุ้งแก้ม การบริหารใบหน้าและลิ้นจะช่วยกระตุ้นเส้นประสาท กล้ามเนื้อใบหน้า ทำใหก้ ารเคลอ่ื นไหวทเ่ี คยเคล่อื นไหวช้าลงสามารถเคลอ่ื นไหวได้ดขี ้นึ คล่องขน้ึ ประตสู สู่ ขุ ภาพทีด่ ีในทุกช่วงวัยของชีวิต 69
การบริหารใบหน้า ช่วยปลุกเส้นประสาท กระตุ้นกล้ามเนื้อใบหน้า เช่น แก้ม ปาก และล้ิน ให้เคล่ือนไหวได้ดีข้ึน โดยแนะนำให้ทำหลังล้างหน้าตอนเช้า มี 3 ขั้นตอน แต่ละข้ันตอนใช้เวลาประมาณ 10 วินาที แล้วผ่อนคลาย และให้ปฏิบตั ิซำ้ อีก 3 รอบ ขั้นตอนมีดงั น ้ี ข้ันที่ 1 สดู ลมหายใจเขา้ ให้เต็มปอด ข้นั ที่ 2 อ้าปากกวา้ ง ขัน้ ท่ี 3 ปิดปากใหส้ นทิ เหยียดริมฝีปากไปด้านข้างเป็นแนวกว้าง และลมื ตาใหก้ ว้าง ปอ่ งแก้ม ขยับปากซ้าย-ขวา ขยบั ให้แกม้ สูง หลับตาให้สนิท การบริหารลิน้ ช่วยใหก้ ารเคล่อื นไหวของลิ้นดีข้ึน ทำใหส้ ามารถคลุกเคลา้ อาหารดขี ึ้น ปอ้ งกัน ไม่ให้อาหารตกสู่หลอดลม ช่วยให้ออกเสียงพูดได้ชัดเจนขึ้น และช่วยกระตุ้นการหลั่งน้ำลาย แนะนำให ้ ทำก่อนรับประทานอาหาร มี 5 ขน้ั ตอน แตล่ ะขั้นตอนปฏบิ ัติ 5 ครงั้ ดังน้ี 1. แลบลนิ้ เขา้ และออก 2. แลบลิน้ แลว้ ขยบั ลิ้นข้นึ ลง เคลื่อนหมุนล้ิน ไปทางซ้าย ขวา เลียรอบๆ ริมฝีปาก 3. ดันริมฝีปากบนด้วยลน้ิ 4. ดันริมฝีปากล่างด้วยลิ้น 5. ดันแกม้ ซา้ ย ขวาด้วยลิ้น หมนุ ลนิ้ ไปรอบๆ ทัง้ ซา้ ยและขวา 70 การสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก
การกระตุ้นการทำงานของตอ่ มนำ้ ลาย ช่วยใหต้ อ่ มนำ้ ลายผลิตนำ้ ลายมากขนึ้ ตอ่ มน้ำลาย มี 3 ตำแหน่ง แนะนำให ้ กระตุ้นท้งั 3 ตำแหน่ง โดยทำกอ่ น รับประทานอาหาร วิธีการปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอน 1-3 (ตามรูปดา้ นล่าง) แล้วทำซ้ำอีก 2-3 ครัง้ ขน้ั ที่ 1 กระตนุ้ ตอ่ มใตห้ ู ขน้ั ที่ 2 กระตุ้นต่อมใตค้ าง ขั้นท่ี 3 การกระตุ้นต่อมใตล้ ้ิน วางน้ิวกอ้ ยถึงนว้ิ ช้ไี วท้ ่แี กม้ วางนวิ้ โปง้ ตรงส่วนท่นี ่มุ ใต ้ ใช้นวิ้ โป้งของทง้ั 2 มอื กดลงช้าๆ หน้าต่งิ หู แลว้ ขยบั น้วิ หมนุ กระดูกคางกดต้ังแต่ใต้หู ที่ใตค้ างบริเวณใต้ล้ิน 10 ครัง้ เป็นวงวนจากข้างหลังไป จนถึงใตค้ าง ประมาณ 5 ตำแหนง่ ขา้ งหนา้ 10 คร้งั ตำแหน่งละ 5 ครง้ั ตามลำดับ การบริหารหน้าในกรณีท่ีผู้สูงอายุไม่สามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ผู้ดูแลควรช่วยบริหารให้ ด ังนี ้ 1. ใหผ้ ู้สูงอายุหลบั ตา 2. ใชน้ ิ้วมือจับกลา้ มเนื้อ 3. ดึงแกม้ โดยดึงทั้งฝงั่ ซา้ ย วางน้ิวมอื ทั้ง 2 ข้างท่เี ปลอื กตา รอบรมิ ฝีปากบนและล่าง ขวา 10 วินาที แล้วปล่อยมอื จากน้ันเคล่ือนนิ้วมอื ไปรอบๆ บบี 10 วินาทแี ล้วปลอ่ ย จากนนั้ ดงึ แก้มขึน้ เล็กนอ้ ย อยา่ งนุ่มนวล ขยับไปซ้าย ขวา 10 วินาที แลว้ ปลอ่ ยมือ ประตสู สู่ ุขภาพทีด่ ีในทุกช่วงวัยของชีวิต 71
การบริหารกล้ามเนื้อล้ิน ในกรณีที่ผู้สูงอายุไม่สามารถปฏิบัติ ได้ด้วยตนเอง ผู้ดูแลจะเป็นผู้ปฏิบัติให้ โดยทำก่อนรับประทานอาหาร วิธีการคือ ใช้ผ้าก๊อซดึงล้ินแล้วขยับไปข้างหน้า ทางซ้ายและขวา ใช้เวลา ประมาณ 10 วินาที ทำซ้ำ 3 คร้ัง จะช่วยให้การเคล่ือนไหวของล้ิน และ การหลั่งนำ้ ลายดีข้ึน บทบาทของทีมสขุ ภาพในการสรา้ งเสริมสุขภาพชอ่ งปากผู้สงู อายุ ผ้สู งู อายุสว่ นใหญม่ ีโรคเรือ้ รงั จำเปน็ ตอ้ งได้รบั การรกั ษาฟ้ืนฟสู ภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม และ ต่อเนื่อง รวมท้ังควรได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคควบคู่ไปด้วย เพื่อป้องกันปัญหาการเกิด โรคใหม่ การเกิดโรคแทรกซ้อนท่ีจะนำไปสู่ภาวะทุพพลภาพและการพึ่งพา ตลอดจนเพ่ือส่งเสริมคุณภาพ ชีวิตผู้สงู อายใุ หย้ ืนยาว มีความสุข ไมม่ คี วามพกิ าร และเปน็ การสรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั สงั คม แนวโน้มการดูแลผู้สูงอายุในอนาคตจะเปล่ียนเป็นการดูแลเชิงรุก เพ่ือให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการ ด้านสุขภาพโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (Community-based care) มีการบริการในชุมชน เช่น การบริการ พยาบาลระดับตน้ การดูแลที่บา้ น และการดูแลโดยชุมชน หรือการสนบั สนุนใหเ้ กิดกิจกรรมผ่านระบบเครอื ข่ายในชุมชน โดยมีเป้าหมายสำคัญคือการเพ่ิมศักยภาพการดูแลตนเองของผู้สูงอายุ ให้สามารถพ่ึงพา ตนเองได้ ลดความพกิ าร สง่ เสริมคุณภาพชวี ิตใหย้ ืนยาว และมีความสขุ บุคลากรสาธารณสุข เป็นบุคคลสำคัญท่ีทำงานด้านการให้บริการเพื่อการส่งเสริม ป้องกัน รักษา และฟื้นฟูสุขภาพให้กับผู้สูงอายุ โดยการสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุอย่างเป็นองค์รวม จึงควร ใส่ใจตอ่ การสร้างเสริมสขุ ภาพช่องปากด้วย ซ่ึงสามารถทำไดโ้ ดย 1. สนับสนุนให้ผู้สงู อายมุ กี ิจกรรมดา้ นสุขภาพชอ่ งปาก 2. แนะนำการสง่ เสริมสขุ ภาพช่องปากใหก้ ับผู้สูงอายุ 3. ส่งเสรมิ สนับสนุนชมรมผสู้ งู อายุ และบคุ ลากรที่เกีย่ วขอ้ ง 4. ใหช้ ุมชนมสี ว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรมสง่ เสริมสขุ ภาพชอ่ งปากใหก้ บั ผู้สูงอายุ 72 การสร้างเสริมสขุ ภาพช่องปาก
สร้างเสริมสุขภาพ ชอ่ งปากคนพิการ นธิ ิมา เสรมิ สุธอี นุวฒั น์, เมธนิ ี คปุ พทิ ยานันท์ คนพิการเป็นกลุ่มเป้าหมายท่ีควรเข้าถึงระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพต่างๆ ได้อย่างทัดเทียม กับประชากรไทยกลุ่มอื่นๆ เพื่อนำไปสู่การมีสุขภาวะที่ดี ดำรงชีวิตด้วยตนเองได้อย่างมีอิสระ มีศักดิ์ศรี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมไทย ในส่วนที่เกี่ยวกับสุขภาพช่องปาก คนพิการมักเป็นโรคใน ช่องปากมากกว่าและรุนแรงกว่าคนท่ัวไป เน่ืองจากคนพิการมีปัญหาอุปสรรค และข้อจำกัดหลายประการ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง รวมถึงโอกาสในการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากมีน้อย และ การให้บริการรักษาทางทันตกรรมมีความยากลำบากกว่าปกติ ดังนั้นการช่วยเหลือแนะนำให้ผู้พิการ สามารถดูแลรักษาอนามัยช่องปากตนเองได้ จึงเป็นเร่ืองพ้ืนฐานท่ีสำคัญที่สุดในการสร้างเสริมสุขภาพ ผพู้ ิการ ซ่ึงทมี สรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ ทั้งทันตบคุ ลากร พยาบาล และเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ ควรมคี วามสามารถ ในการทำหน้าทนี่ ไี้ ด้ ประเภทของความพกิ าร และวิธกี ารสื่อสาร 1. คนพิการทางสายตา เราสามารถสื่อสารด้วยการพูด นอกจากนั้นคนพิการกลุ่มนี้ ยงั สามารถรับร้จู ากประสาทสมั ผสั อืน่ เช่น การใชม้ อื สัมผสั การดม หรือการรับรสทางล้ิน 2. คนพิการทางการได้ยินหรือการส่ือความหมาย ผู้พิการกลุ่มนี้แต่ละคนมีระดับ ความบกพร่องทางการได้ยิน และวิธีการสื่อสารต่างกัน บางคนสอ่ื สารโดยการสะกดคำดว้ ยน้ิวมือ ต้องใช้นว้ิ มือทำ เป็นสัญลักษณ์แทนพยัญชนะแต่ละตัวซ่ึงค่อนข้างยาก หรือใช้การขยับมือเป็นท่าทางภาษามือเพื่อสื่อสาร เช่น ถ้าบอกว่า “ไมป่ วดฟนั ” ก็ยกมือขน้ึ สา่ ยมอื ไปมาหมายถงึ ไม่ การใช้นว้ิ สกี ันหมายถึงปวดฟัน ดังนนั้ เพอ่ื ความสะดวก ในการสื่อสาร อาจต้องถามภาษามือจากผู้ดูแล หรือ ให้ผู้ดูแลชว่ ยส่อื สาร ผู้พิการทางการได้ยินบางคนสามารถอ่าน ริมฝปี ากได้ จงึ สอ่ื สารได้งา่ ยขน้ึ ผพู้ ดู ต้องหันหนา้ เขา้ หาและสบตาคนพิการโดยมรี ะยะห่างประมาณ 2-3 ฟตุ ให้ผู้พิการมองเห็นปากได้ชัดเจน พูดแบบปกติภายใต้แสงสว่างพอเพียง คนพิการก็จะอ่านริมฝีปากได้ง่าย ไม่ต้องตะโกนและไม่ต้องเน้นคำมากเกินไป เพราะการเน้นคำทำให้ริมฝีปากเราเปลี่ยนรูปไปจากการ ออกเสียงตามปกติ ถ้าเป็นเด็กเล็กต้องให้ผู้ดูแลช่วยสื่อสาร และใช้ภาษากายช่วยสื่อสารเพ่ิมเติม เช่น การยิ้มแสดงความเป็นมิตร และการโอบกอดเด็ก เป็นต้น ถ้าเป็นคนพิการที่สามารถอ่านออกเขียนได้ ก็ต้องเตรียมกระดาษดนิ สอสำหรับใชใ้ นการสอื่ สารกบั คนพกิ ารใหพ้ รอ้ ม ประตสู สู่ ขุ ภาพทีด่ ีในทุกชว่ งวัยของชีวิต 73
3. คนพิการทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว คือกลุ่มคนพิการท่ีมีความผิดปกติหรือ ความบกพรอ่ งของรา่ งกายทเ่ี ห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจน เชน่ คนทีไ่ ม่สามารถเคล่ือนไหวหรือมปี ญั หาการเคลื่อนไหว ของ มือ แขน ขา หรอื ลำตัว อันเนอ่ื งมาจากแขนขาด ขาขาด อมั พฤกษ์ อัมพาต หรือออ่ นแรง โรคขอ้ หรอื อาการปวดเร้ือรัง รวมถึงการเป็นโรคเรื้อรังบางอย่างที่ทำให้ไม่สามารถประกอบกิจวัตรหลักในชีวิตประจำวัน เย่ียงคนปกตไิ ด้ คนพกิ ารกล่มุ นส้ี ่วนใหญ่ไม่มปี ญั หาในการสื่อสาร เพราะได้ยนิ เสียง และมองเห็นไดด้ ว้ ยตา เหมือนคนปกติ คนพิการทางร่างกายบางกลุ่มสามารถปรับตัวเอง หรือปรับเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิต ประจำวัน ทำให้สามารถช่วยเหลือตนเองตามสมรรถนะท่ีมีอยู่ เช่นอาจใช้ข้อศอกหรือนิ้วท่ีเหลือในการ หนีบปากกาเขียนหนังสือ จับแปรงสีฟันแปรงฟันได้ หรือบางคนสามารถปรับตัวใช้นิ้วเท้าหนีบแปรงสีฟัน เ วลาแปรงฟนั โดยไม่ตอ้ งอาศยั ผดู้ ูแลชว่ ยเหลือเลยก็ได้ 4. คนพิการทางด้านสติปัญญาหรือการเรียนรู้ คือมีความบกพร่องทางสติปัญญาหรือ สมองจนไม่สามารถเรียนรู้ด้วยวิธีการศึกษาแบบปกติได้ เช่น ผู้มีภาวะปัญญาอ่อน ซึ่งจะมีปัญหาทางการ เรียนรู้ พฤติกรรม รวมถงึ การปรบั ตัวเข้ากบั ส่งิ แวดลอ้ มในสังคม การสือ่ สารกับคนกลุม่ น้ีต้องประเมินระดับ ความรุนแรงของภาวะปัญญาอ่อนโดยซักประวัติจากผู้ดูแล เกี่ยวกับความสามารถในการเรียนรู้ การส่ือสาร และการช่วยเหลือตนเองของคนพิการ ปรับวิธีการสื่อสารให้เหมาะสมกับคนพิการ แต่ละราย ควรสร้างความคุ้นเคย พูดช้าๆ ซ้ำๆ ใช้คำง่ายๆ ถ้าคนพิการสามารถทำตามคำแนะนำได้ ควรชมเชยให้กำลังใจ และต้องต้ังใจฟังสิ่งท่ีคนพิการต้องการส่ือสารกับเรา เพราะเขาต้องใช้ความพยายาม อย่างมากในการพูดออกมา ถ้าเป็นคนพิการกลุ่มอาการ down syndrome ส่วนใหญ่มีระดับสติปัญญา ไมต่ ่ำเกนิ ไป ไม่ค่อยกา้ วรา้ ว อารมณ์ดี ยิ้มงา่ ย สามารถใหค้ วามร่วมมือในระยะเวลาสน้ั ๆ ได้ ซึง่ เราสามารถ ใ ช้จิตวทิ ยาในการจัดการพฤตกิ รรมไดโ้ ดยไม่ยากจนเกนิ ไป 5. คนพิการทางด้านจิตใจหรือพฤติกรรม คือคนท่ีมีความผิดปกติหรือความบกพร่องทาง จติ ใจ หรือสมองในสว่ นของการรับรู้ อารมณ์ ความคดิ จนไม่สามารถควบคมุ พฤตกิ รรมท่จี ำเปน็ ในการดแู ล ตนเองหรืออยู่ร่วมกับผู้อ่ืน ซึ่งเราต้องทำความเข้าใจผู้ป่วยเป็นรายๆ ไปอย่างอดทน และให้ความเห็นอก เ ห็นใจผปู้ ่วย 6. กลุ่มบุคคลออทิสติก (autistic) กลุ่มนี้ไม่ได้มีความผิดปกติด้านพฤติกรรมเพียง อย่างเดียว ยังพบความผิดปกติด้านพัฒนาการทางสังคม การใช้ภาษา และการส่ือความหมาย กลุ่มที่มี ความผิดปกติทางการส่ือความหมาย เชน่ พูดได้ชา้ ไมพ่ ูดเมอ่ื ถึงวัยทค่ี วรจะพูด โตต้ อบยาวๆไม่ได้ พูดซำ้ ๆ หรือพูดแบบนกแก้ว และเล่นสมมุติไม่ได้ กลุ่มที่มีความผิดปกติด้านพฤติกรรมและความสนใจ เช่น มพี ฤติกรรมซ้ำๆ ทำอยู่ส่ิงเดียว ทำตามข้นั ตอนเป็นแบบแผน ต้องการคงสภาพเดิมไมย่ อมให้เปลยี่ นกิจวตั ร หรืออาจมีพฤติกรรมต่อต้านการเปลี่ยนแปลง กลุ่มเด็กออทิสติก จะหมกมุ่นในวัตถุ สนใจบางส่วนของ ของเล่น เช่นล้อรถ บางทีชอบเคล่ือนไหวแปลกๆ เช่น หมุนตัว โยกตัว เขย่งปลายเท้า เคลื่อนไหวซ้ำๆ อาจเปน็ การเล่นกบั ตวั เองโดยท่ีไมส่ นใจคนอืน่ เห็นคนอ่ืนเหมือนเห็นส่งิ ของ บางคนอาจมคี วามผดิ ปกตใิ น การรับประทาน เช่น เด็กบางคนอาจจะกินของดิบ กินดิน หรือว่าดึงผมมากิน แต่ว่าพฤติกรรมเหล่าน้ ี ก็ไม่ได้เกิดขน้ึ ในเด็กออทสิ ติกทุกราย 74 การสร้างเสริมสขุ ภาพช่องปาก
จากปัญหาด้านพฤติกรรมของเด็กออทิสติกจึงมีการสร้างส่ือ การสอนเด็กออทิสติกข้ึนมา เรียกว่า Visual pedagogy ซ่ึงเป็นส่ือ การสอนแบบใชร้ ูปภาพ สอนลำดบั ขัน้ ตอนว่าเด็กต้องทำอะไรบา้ งในชวี ิต ประจำวัน ต้ังแต่ต่ืนนอนจนถึงเข้านอน ดังนั้นรูปภาพก็จะแสดงรูปตั้งแต่ ต่ืนนอน แปรงฟัน อาบน้ำ กินข้าว ไปโรงเรียนเป็นลำดับ จนถึงรูป เข้านอน เด็กที่ผ่านการฝึกซ้อมก็จะสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันตาม รปู ภาพได้ การฝกึ ทักษะการแปรงฟันใหผ้ พู้ ิการ การช่วยเหลือ แนะนำ สอนวิธีแปรงฟันให้ผู้พิการ ควรรู้ ประวตั ทิ วั่ ไปและประวัตทิ างการแพทย์ เชน่ มโี รคประจำตวั หรอื ไม่ พฤตกิ รรมเปน็ อย่างไร มีประวัตทิ ำรา้ ย ตัวเองหรือทำร้ายคนอื่นหรือไม่ มีอารมณ์แปรปรวนหรือไม่ รวมถึงเทคนิคที่ผู้ปกครองใช้ในการจัดการ พฤตกิ รรม เพราะจะทำให้มีข้อมลู มาประเมนิ ความร่วมมือ และความสามารถของผู้พิการ เพอ่ื นำมาปรับใช้ ในการฝึก อย่างไรก็ตามการสอนและฝึกผู้พิการให้แปรงฟันได้จะต้องใช้ความอดทน และมีความพยายาม มากกว่าปกติ ผู้ฝึกสอนควรใจเย็น และฝึกสอนให้ด้วยความรัก ความเมตตา ควรแนะนำให้คนพิการและ ผู้ดูแลมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากร่วมกัน และต้องมีการปรับเปล่ียนวิธีการดูแลสุขภาพช่องปาก ใ ห้เหมาะสมกบั สภาวะของคนพิการแต่ละราย การฝึกทักษะการแปรงฟัน หรือฝึกวิธีการทำความสะอาดช่องปากท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับ สภาวะของคนพิการ ควรปรบั วธิ ีการ จัดตำแหน่ง และทา่ ทางในการแปรงฟนั ตามสภาพ อาจจำเป็นต้องใช้ อปุ กรณช์ ว่ ยทำความสะอาดเพิ่มเตมิ เช่น แปรงสีฟนั ไฟฟ้า แปรงซอกฟัน ไหมขัดฟัน เป็นตน้ นอกจากนนั้ ควรดัดแปลงลักษณะของแปรงสีฟันให้เหมาะสมกับความผิดปกติของ คนพิการแต่ละคน โดยเฉพาะคนที่บกพร่องด้านทักษะการใช้มือ เพื่อให้ คนพกิ ารสามารถแปรงฟนั ไดด้ ้วยตนเองตามสมรรถนะท่มี อี ยู่ เชน่ ถ้าคนพิการน้ิวมือไม่มีกำลัง การใช้แปรงสีฟันด้ามเล็กท่ ี ไม่พอดีกับการกำและการจบั ของน้วิ มือจะทำให้แปรงสีฟันหลุดจากมือ ได้ง่าย ดังน้ันจึงควรปรับเพิ่มขนาดด้ามแปรงให้มีขนาดใหญ่ข้ึน เพ่ือ ช่วยให้คนพิการที่มือแข็งเกร็งหรือนิ้วมือไม่มีกำลังสามารถจับยึดแปรง ไดถ้ นัดข้ึน จะทำใหส้ ามารถควบคมุ บังคบั มอื ให้เคลอื่ นแปรงสฟี นั ไดด้ กี วา่ การปรับแต่งด้ามแปรงให้มีขนาดใหญ่ขึ้น สามารถทำได้ หลายวิธี เช่น ใช้วสั ดพุ มิ พ์ปากซิลิโคนชนดิ putty ทห่ี มดอายุ เอามา ป้ันแล้วจับเป็นรอยนิ้วมือ หุ้มด้ามให้ใหญ่ขึ้น หรืออาจจะประยุกต์โดย การเพ่ิมขนาดด้ามใหใ้ หญ่ข้นึ ดว้ ยวัสดุตา่ งๆ หุ้มด้ามแปรงดว้ ยวสั ดุเหลอื ใช้ เชน่ ฟองน้ำ ลกู ปงิ ปอง ทอ่ น้ำประปาแบบ พลาสติก กระบอกไม้ไผ่ หลอดยาท่ีใช้แล้ว หลอดด้าย ด้ามมือรถจักรยานยนต์ เป็นต้น ท่ีสำคัญควรเลือก ให้ขนาดพอดีกับการงอของน้ิวมือ เพื่อให้น้ิวมือสัมผัสกับด้ามแปรงได้ทุกน้ิว ถ้าใหญ่เกินไปคนพิการก็จะจับ ไม่ถนัดเหมือนกนั ประตสู ู่สุขภาพที่ดีในทุกชว่ งวัยของชีวิต 75
คนพิการ มอื / แขนอ่อนกำลงั ใชส้ ายรัดอุ้งมือ อาจจะประยกุ ต์โดยการใชก้ า้ นรม่ ท่เี สียแล้วมาพนั เทปกาว หรอื ดัดด้ามแปรงสฟี ันให้โค้งงอ เพอื่ ให้คนพิการยึดจับแปรงสีฟันได้ถนัดมือมากขึ้น หรือจะใช้สายรัดอุ้งมือเป็นตัวรัดด้ามแปรงเข้ากับมือ เพ่ือช่วยให้คนพิการจับแปรงสีฟันได้แน่นข้ึน แต่ถ้าไม่สามารถทำได้ เราก็อาจจะใช้หนังยาง หรือแผ่นยาง ขนาดใหญ่ช่วยรดั ยดึ ดา้ มแปรงใหต้ ิดแน่นกบั มอื แทน นอกจากน้ันอาจเลอื กใชแ้ ปรงสีฟนั ไฟฟา้ ซง่ึ จะชว่ ยให้ คนพกิ ารแปรงฟนั ได้สะดวกมากขึ้น แตม่ รี าคาค่อนข้างสูง กรณีคนพิการท่ีการงอพับข้อศอกหรือไหล่ผิดปกติ คนพิการกลุ่มนี้แขนจะงอพับเข้ามาทำให้แปรงฟันได้ลำบาก ดังนั้นจึงควร เพ่ิมความยาวของด้ามแปรง โดยใช้ไม้ไผ่ ตะเกียบ หรือด้ามพลาสติกพันกับ ด้ามแปรงสฟี ันให้แปรงสีฟันมีดา้ มยาวข้นึ การทำให้แปรงสีฟนั มีด้ามยาวมาก ขึ้นเหมือนการเพ่ิมวงแขนให้กว้างข้ึน ทำให้คนพิการสามารถนำแปรงสีฟัน สำหรับค นกพารกิ เาพร่ิมทค่กี าวรางมอยพาับวขข้ออศงดอา้กมหแรปอื ไรหงล ่ผิดปกติ เขา้ ปาก และแปรงฟันให้ตวั เองได ้ คนพิการที่ใช้เท้าแปรงฟัน ขนาดของด้ามแปรงก็ยังคงมี ความสำคัญอยู่ โดยต้องมีขนาดพอเหมาะท่ีน้ิวหัวแม่เท้าและนิ้วถัดไปจะ หนีบจับได้ และด้ามแปรงควรจะโค้งงอเล็กน้อย เพ่ือช่วยให้ทำความ สะอาดฟันซใี่ นสดุ ไดส้ ะอาดข้นึ นอกจากนี้ยังมีผู้พิการจำนวนหนึ่งที่ไม่สามารถแปรงฟันได้ด้วย ตนเอง จำเปน็ อย่างยงิ่ ท่ผี ู้ดแู ลตอ้ งชว่ ยแปรงฟนั ให้ การเตรยี มอปุ กรณ์และ สดำหดั ดรบั้ามค แนปพรกิ งาใรห ท้โค่ีใช้งเ้งทอา้ เลแปก็ นรง้อฟยนั วิธีแปรงฟันใช้วิธีเดียวกับการแปรงฟันให้ผู้สูงอายุท่ีแปรงฟันเองไม่ได้ (รายละเอียดอยู่ในบทการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ) และควรเลือก ใช้ยาสีฟนั ผสมฟลูออไรด์ เพื่อใหม้ ีผลดีตอ่ การป้องกันฟันผ ุ สถานที่แปรงฟัน ใช้หลักการ 3 ส คือ สะดวก, สบาย, สว่าง หมายความวา่ ถา้ ผู้ดแู ลแปรงฟันให้ ผู้ดูแลต้องสามารถแปรงฟันได้อย่างสะดวก คนพิการอยู่ในท่าทางท่ีสบาย ท่ีสำคัญคือควรสว่างเพียงพอท่ ี จะเห็นฟันชัดเจน และแปรงฟันได้สะอาดจนถึงซ่ึในสุด ถ้าคนพิการสามารถแปรงฟันได้ด้วยตนเอง แนะนำ ให้แปรงฟันหน้ากระจก เพ่ือให้คนพิการได้เห็นว่าแปรงฟันสะอาดท่ัวถึงหรือไม่ แต่ถ้ามีผู้ดูแลช่วยแปรงฟันให้ สามารถแปรงฟนั ที่ไหนกไ็ ด ้ 76 การสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก
การปรบั พฤติกรรมเพอ่ื ลดความเสี่ยงตอ่ การเกิดโรคในช่องปาก ควรให้คำแนะนำแก่คนพิการและผู้ดูแลในเรื่องพฤติกรรมท่ีเส่ียงต่อการเกิดโรคในช่องปาก โดยแนะนำเรื่องโภชนาการ การรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ และ ไมร่ ับประทานจุบจบิ ที่สำคัญตอ้ งให้คำแนะนำท่ีเหมาะสมเป็นรายบคุ คล เช่นผู้ปว่ ยพิการทางสมองทจ่ี ำเปน็ ต้องรับประทานอาหารอ่อนน่ิม ต้องเน้นการทำความสะอาดช่องปากให้มากขึ้นเพ่ือลดความเสี่ยงในการเกิดฟันผุ นอกจากนั้นต้องแนะนำให้ลดพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากอ่ืนๆ เช่น ควบคุมโรคเบาหวาน ควบคมุ พฤติกรรมการสูบบุหร่ี แนะนำใหผ้ ู้ดูแลป้องกนั คนพกิ ารไม่ให้เกิดอุบัติเหตหุ กลม้ เนอ่ื งจากคนพิการ บางกลุ่มอาจมคี วามบกพรอ่ งในการเคล่ือนไหว ทำให้เสย่ี งต่อการเกดิ อบุ ัตเิ หตุหกลม้ ฟันหักไดง้ ่าย ควรแนะนำให้ไปรับบริการทันตกรรมป้องกันจากทันตบุคลากร ซ่ึงทันตบุคลากรอาจใช้ ฟลูออไรด์เสริมเพ่ือช่วยเพ่ิมความแข็งแรงของผิวฟันให้ทนทานต่อการเกิดโรคฟันผุ โดยพิจารณาเลือกใช้ ฟลอู อไรด์เสริมให้เหมาะสมกับสภาวะของคนพกิ ารแต่ละราย และต้องคำนึงถึงปริมาณฟลอู อไรดใ์ นนำ้ ด่มื ท่ี คนพิการได้รับในแต่ละวันด้วย นอกจากนี้ทันตบุคลากรอาจพิจารณาให้การเคลือบหลุมร่องฟันบน ด้านบดเค้ียวซ่ึงมีประโยชน์มากในการป้องกันฟันผุ โดยเฉพาะคนพิการที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ดังนั้น ควรแนะนำให้เคลือบหลุมรอ่ งฟนั กรณีทม่ี ีหลุมร่องฟันลกึ ก ารตรวจสุขภาพช่องปาก คนพิการถูกจัดอยู่ในกลุ่มท่ีมีความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุสูง ดังนั้นควรได้รับการตรวจสุขภาพ ช่องปากเป็นประจำทุก 3-6 เดือน โดยพยาบาลและเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขสามารถช่วยตรวจ และแนะนำ ส่งต่อให้คนพิการเข้ารับการตรวจจากทันตบุคลากร เด็กพิการควรพบทันตบุคลากรต้ังแต่ฟันซี่แรกขึ้นเพื่อ รับคำแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง การตรวจสุขภาพช่องปากเป็นประจำจะช่วย กระตุ้นให้คนพิการและผู้ดูแลใส่ใจต่อสุขภาพช่องปาก ช่วยให้ตรวจพบโรคและรักษาได้ต้ังแต่ระยะแรก เป็นการป้องกันและควบคมุ โรคฟนั ผทุ ี่ไดผ้ ล และทำให้คนพกิ ารมคี ุณภาพชีวิตทด่ี ขี ้นึ ประตสู ู่สขุ ภาพทีด่ ีในทุกชว่ งวยั ของชีวิต 77
เอกสารอา้ งองิ 1. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย : เอกสารเน้ือหาวิชาอนามัยชุมชน เรื่อง ทันตสาธารณสุข สำหรบั นกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั การพยาบาล, พิมพ์ครงั้ ที่ 1, 2541 2 . กองทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามยั : เรอื่ งน่ารู้ สุขภาพช่องปากผูส้ งู วัย 2548 3. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย : รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปาก ระดับประเทศ คร้งั ที่ 6 ประเทศไทย พ.ศ. 2549 – 2550, โรงพิมพ์องคก์ ารสงเคราะห์ทหารผ่านศกึ , กรงุ เทพ, 2550 4. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย : แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กปฐมวัย, พมิ พ์ครั้งท่ี 1, สำนักงานกจิ การโรงพมิ พอ์ งค์การทหารผา่ นศึก} กรงุ เทพ, 2550 5. กองทันตสาธารณสุข กรมอนามยั : ค่มู อื ดูแลสุขภาพชอ่ งปากแมแ่ ละเด็ก, พมิ พค์ ร้ังท่ี 1, สำนกั งานกิจการโรงพมิ พ์องคก์ ารทหารผา่ นศึก, กรุงเทพ, 2551 6. กองทันตสาธารณสขุ กรมอนามยั : การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพช่องปากผ้สู ูงอายุ เลม่ ท่ี 1 สขุ ภาพช่องปาก มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและโรคทางระบบ, เอกสารการประชุมสัมมนา เรื่อง สุขภาพช่องปากที่ สัมพันธ์กับสุขภาพและโรคทางระบบ วันท่ี 24-25 กุมภาพันธ์ 2552 ณ โรงแรมเอบีน่า เฮ้าส์, กรงุ เทพมหานคร, 2552 7. กองทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั : การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพช่องปากผสู้ ูงอายุ เล่มท่ี 2 Detection and prevention for oral health in the elderly, เอกสารการประชมุ สมั มนา เรอ่ื ง Detection and prevention for oral health in the elderly วันที่ 5-6 มนี าคม 2552 ณ โรงแรมรามาการ์เดนส์ กรงุ เทพมหานคร, 2552 8. เพ็ญทิพย์ จิตต์จำนงค์, วิกุล วิสาลเสสถ์, มัลลิกา ตัณฑุลเวศม์, นนทินี ต้ังเจริญดี, สุวิภา อนันต์ธนสวัสด์ิ, จิตรา เสงี่ยมเฉย : คู่มือการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลอนามัยช่องปาก, พิมพ์ครั้งที่ 1 โรงพิมพอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก กรุงเทพฯ, 2547 9. มูลนิธหิ มอชาวบ้าน บุหรท่ี ำรา้ ยปากคุณ สบื คน้ จาก http://www.doctor.or.th/node/4475 เมื่อ 26/8/2554 10. เมธินี คุปพิทยานันท์ : ประสิทธิผลของการฝึกอบรมทางจิตพฤติกรรมศาสตร์เพ่ือปลูกฝังและพัฒนา พฤติกรรมทันตสุขภาพเด็กนักเรียนประถมศึกษา รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทการวจิ ยั และพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง่ ชาติ (วช.) ; 2546 11. วรรณพร ภูษิตโภยไคย ปิยะ เลิศฐิติตระกูล: เอกสารโครงการ “แปรงฟันถูกวิธี ชีวีมีสุข” ร่วมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยู่หัว ทรงพระเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา สมเดจ็ พระเจ้าพนี่ างเธอ เจา้ ฟ้ากลั ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร์ ทรงเจรญิ พระชนมายุ 84 พรรษา 12. วรรณวิมล อนวัชพนั ธ์ุ : ทนั ตนติ ิวทิ ยาศาสตร์ (Forensic dentistry) สบื ค้นจาก http://portal.in.th/files/5/3/1/2011/02/02/Book10_14.pdf เมอ่ื 10 พฤษภาคม 2554 78 การสร้างเสริมสุขภาพชอ่ งปาก
13. วิบูลย์ วีรอาชากุล และคณะ : สภาวะสุขภาพช่องปาก และความจำเป็นท่ีจะต้องได้รับการรักษา ทางทันตกรรมของเด็กพิการในโรงเรียนฟ้ืนฟูเด็กพิการ จังหวัดขอนแก่น ประเทศไทย, ศรนี ครินทร์เวชสาร 2548 ; 20 (1) 14. สุณี ผลดีเย่ียม : ผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากนักเรียนบกพร่องทางการมองเห็น นักเรียน บกพร่องทางการได้ยินในโรงเรียนสอนนักเรียนท่ีบกพร่องทางการมองเห็นและโรงเรียนสอนนักเรียนที่ บกพร่องทางการไดย้ ิน, พมิ พค์ ร้งั ที1่ , 2536 15. สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย : การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ เล่มท่ี 3 การดูแล สุขภาพช่องปาก, เอกสารการประชุมสัมมนา เร่ืองการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปาก ในกลมุ่ ผสู้ งู อายุ วนั ท่ี 2–3 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมรชิ มอนด์ จงั หวดั นนทบุร,ี 2554 16. ADA/ PDR Guide to Dental Therapeutics. Fourth edition.2006 Montvale, NJ. Thomson PDR. ISBN: 1-56363-604-2 17. Amar S, Han X. The impact of periodontal infection on systemic diseases. International Medical Journal of Experimental and Clinical Research Abstract Retrieved 8 Oct 2012 from http://ukpmc.ac.uk/abstract/MED/14646984 18. American Dental Association. ADA Seal of Acceptance Program & Products, Product Overview. Retrieved 26 Feb 2011 from http://www.ada.org/productoverview.aspx. 19. Audrey Choo, David M Delac, Louise Brearley Messer. Oral hygiene measures and promotion: Review and considerations. Australian Dental Journal 2001;46:(3):166-173. 20. Chern-Hsiung Lai. Systemic Diseases Induced by Oral Pathogens and Periodontal Diseases. Retrieved 16 Aus 2011 from http://cfd.kmu.edu.tw/results/951025/ Systemic%20Diseases%20Induced%20by%20Anaerobic%20Oral%20Pathogens%20 and%20Periodontal%20Diseases_e-Edition.pdf 21. Grant-Theule DA. Periodontal disease, diabetes, and immune response: a view of current concepts. The Journal of the Western Society of Periodontology/Periodontal Abstracts Retrieved 15 Aus 2011 from http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/9477864 22. Lacopino AM. Periodontitis and diabetes interrelationships: role of inflammation Abstracts Retrieved 15 Aus 2011 from http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/ 11887455 23. Mariano Sanz, Francesco D’Aiuto, John Deanfield and Francisco Fernandez-Avilés. European workshop in periodontal health and cardiovascular disease—scientific evidence on the association between periodontal and cardiovascular diseases: a review of the literature. European Heart Journal Supplements (2010) 12 (Supplement B), B3–B12 doi:10.1093/eurheartj/suq003 Retrieved 16 Aus 2011 from http://eurheartjsupp.oxfordjournals.org/content/12/suppl_B/B3.full.pdf+html ประตสู ู่สุขภาพทีด่ ีในทกุ ช่วงวยั ของชีวิต 79
24. Offenbacher S, Katz V, Fertik g, Collins J,Boyd D, Maynor G, Mckaig R, Beck J. Periodontal infection as a possible risk factor for preterm low birth weight. J Perlodontal, 1996 Oct; 67 (10Suppl) : 11 03-13 25. Roy C. Page. The Pathobiology of Periodontal Diseases May Affect Systemic Diseases: Inversion of a Paradigm. Journal of Periodontology Online. Abstract download 08 Oct 2012 from http://www.joponline.org/doi/abs/10.1902/annals.1998.3.1.108 26. Sheiham A. Dental caries affects body weight, growth and quality of life in pre-school children. Britlsh Dental Journal Volume 201 NO. 10 NOV 25 2006 27. Sheiham A. Oral health, general health and quality of life . Bull World Health Organ vol.83 no.9 Genebra Sept. 2005 28. WA Soskolne The Relationship Between Periodontal Diseases and Diabetes: An Overview. Journal of Periodontology Online – Annals of Periodontology-6(1):91 Abstract Retrieved 15 Aus 2011 from http://www.joponline.org/doi/abs/10.1902/ annals.2001.6.1.91?journalCode=annals 80 การสร้างเสริมสขุ ภาพช่องปาก
Search