การนําเสนอเค้าโครงการวจิ ยั (Proposal)1. บทนํา บทนาํ (introduction) ประกอบดว้ ย รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี 1.1 ความนํา เป็นส่วนท่ีกล่าวถึงสภาพทว่ั ไป เพ่ือใหร้ ู้ถึงความเป็นมาหรือภูมิหลงั ของปัญหาท่ีศึกษา หรือหลกั การและเหตุผลของการวจิ ยั 1.2 ความสําคญั ของปัญหา เป็นส่วนที่แสดงถึงประเดน็ ความเป็นมา และความสาํ คญั ของปัญหาท่ีจะศกึ ษา ผวู้ จิ ยั ควรกาํ หนดประเดน็ ปัญหาท่ีตอ้ งการศึกษาใหช้ ดั เจน อธิบายปัญหาหรือขอ้สงสยั ท่ีตอ้ งการแสวงหาคาํ ตอบ เพ่ือจะช่วยใหว้ างแผนวจิ ยั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 1.3 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั เป็นส่วนที่แสดงถึงเหตุผล (ตอบคาํ ถาม ทาํ ไม) ท่ีตอ้ งการศึกษา วตั ถุประสงคต์ อ้ งชดั เจน และความสมั พนั ธ์ขอบเขตของปัญหาที่จะศึกษา ในการกาํ หนดวตั ถุประสงค์ ควรเรียงลาํ ดบั วตั ถุประสงคแ์ ต่ละขอ้ ตามความสาํ คญั 1.4 สมมตฐิ านของการวจิ ัย คือ ขอ้ ความที่ระบุความสัมพนั ธ์หรือความแตกต่างระหวา่ งตวัแปรที่ผวู้ จิ ยั จะทาํ การทดสอบ เป็นส่วนที่คาดหมายคาํ ตอบหรือผลของการวจิ ยั ท่ีผวู้ จิ ยั คาดคะเนไว้ล่วงหนา้ ก่อนลงมือทาํ วจิ ยั สมมติฐานดงั กล่าวจะมีหรือไม่มีกไ็ ดข้ ้ึนอยกู่ บั วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1.5 ขอบเขตของการวจิ ยั เป็นการกาํ หนดกรอบของการวจิ ยั ใหช้ ดั เจน เช่น สถานที่และเวลา 1.6 นิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการนิยามศพั ทเ์ ชิงปฏิบตั ิการ หรือการระบุคุณสมบตั ิของตวั แปรและรายการที่จะนาํ มาใชใ้ นการสร้างมาตรวดั ตวั แปร หากคาํ ศพั ทห์ รือตวั แปรใด ๆ ท่ีนาํ มาใชใ้ นการวจิ ยั มีความหมายคลุมเครือ หรือสามารถตีความไดห้ ลายอยา่ ง ผวู้ จิ ยั ควรใหค้ าํ จาํ กดั ความไว้ เพ่อืสื่อใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจตรงกนั กบั ผวู้ จิ ยั 1.7 ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ เป็นส่ิงที่ผวู้ จิ ยั คาดวา่ ผลของการวจิ ยั จะเป็นประโยชนก์ บัผใู้ ด ในดา้ นใด (ประโยชนเ์ ชิงวชิ าการ, ประโยชนเ์ ชิงนโยบายและเชิงปฏิบตั ิ)
2. วรรณกรรมทีเ่ กยี่ วข้อง วรรณกรรมที่เกี่ยวขอ้ ง (review of related literature) เป็นการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งโดยประมวลหลกั การ แนวคิด ทฤษฎีและขอ้ มลู ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เร่ืองท่ีศึกษาในเชิงวเิ คราะห์สังเคราะห์และบูรณาการ จะไดเ้ ป็นกรอบแนวคิดในการวจิ ยั วรรณกรรมที่เกี่ยวขอ้ งแยกเป็นงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งภาษาไทยและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งภาษาองั กฤษ3. วธิ ีดาํ เนินการวจิ ยั วธิ ีการดาํ เนินวจิ ยั (methodology) เป็นการกาํ หนดรูปแบบของการวจิ ยั วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ประเภทของเคร่ืองมือในการรวบรวมขอ้ มลู และวธิ ีการวเิ คราะหข์ อ้ มูล วธิ ีดาํ เนินการวจิ ยัควรมีรายละเอียดดงั น้ี 3.1 รูปแบบการวจิ ัย เป็นการระบุวธิ ีการวจิ ยั ท่ีนาํ มาใช้ เช่น การวจิ ยั เอกสาร การวจิ ยั เชิงสาํ รวจ 3.2 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เป็นการบอกวธิ ีการและข้นั ตอนในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเช่น การกาํ หนดกลุ่มตวั อยา่ งของการวจิ ยั วธิ ีการสุ่มตวั อยา่ ง ขนาด หรือจาํ นวนของกลุ่มตวั อยา่ ง 3.3 เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นการระบุเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูลเช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ หากเป็นเครื่องมือท่ีผวู้ จิ ยั สร้างข้ึนเอง ไม่ไดน้ าํ มาจากที่อื่น ตอ้ งระบุวธิ ีการและข้นั ตอนในการสร้างเคร่ืองมือน้นั ๆ 3.4 วธิ ีการวเิ คราะห์ข้อมูล เป็นส่วนที่กล่าวถึงวธิ ีท่ีจะนาํ มาใชใ้ นการจาํ แนก แจงนบั หรือแจกแจงขอ้ มูลที่เกบ็ รวบรวมมาได้ ซ่ึงจะนาํ มาวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์ เพื่อตอบประเดน็ ปัญหาของการวจิ ยั หรือวตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั หรือทดสอบสมมติฐานใหค้ รบทุกขอ้ ถา้ เป็นการวิจยั เชิงปริมาณ จะมีวธิ ีทางสถิติเขา้ มาเก่ียวขอ้ ง แต่ถา้ เป็นการวจิ ยั เชิงคุณภาพ จะเป็นการวเิ คราะห์สงั เคราะหข์ อ้ มลู และรายงานผลการวจิ ยั เชิงบรรยาย4. บรรณานุกรม การบนั ทึกทางบรรณานุกรม (bibliography) เป็นการแสดงแหล่งที่มาของขอ้ มลู หรือขอ้ ความท่ีผวู้ จิ ยั นาํ มาใชอ้ า้ งอิง ทาํ ใหผ้ อู้ ่านสามารถติดตามและตรวจสอบแหล่งท่ีมาได้ เป็นการ
ยนื ยนั ความน่าเช่ือถือ และใหเ้ กียรติแก่องคก์ รหรือบุคคล ผเู้ ป็นเจา้ ของขอ้ มลู หรือหลกั การ แนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ เอกสารอา้ งอิงตอ้ งไดม้ าจากแหล่งคน้ ควา้ หลายแห่ง เช่น วารสาร หนงั สือ วทิ ยานิพนธ์เอกสารทางวชิ าการ หรือเอกสารจากสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์
Search
Read the Text Version
- 1 - 3
Pages: