หลกั สูตรรายวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสงั คม วิชาประวัตเิ ขาสมอแคลง รหสั วชิ า สค 23001 จำนวน 1 หน่วยกติ ( 40 ช่ัวโมง) ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวงั ทอง สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั พษิ ณโุ ลก สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารหมายเลข 4/2565
ค คำนำ กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ประกาศให้ใชห้ ลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตั้งแต่วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 นั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังทอง จึงได้จัดทำหลักสูตรสถานศึกษาตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับ จุดหมาย โครงสร้างหลักสูตร การจัด หลักสูตร สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 5 สาระ การจัดการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การเทียบโอน การวัดและประเมินผล การจบหลักสูตร เอกสารหลักฐานการศึกษา สำหรับใช้เป็นแนวทางใน การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดให้สอดคล้องกับบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และความต้องการ ของผู้เรียน ชุมชน สังคม ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังทอง ซึ่งสามารถ ออกแบบไดต้ ามสถานการณ์ และจดั กิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรู้ทกี่ ำหนดไว้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังทอง ขอขอบคุณในความ ร่วมมืออย่างดียิ่ง จากผู้บริหาร คณะครูและบุคลากร กศน.อำเภอวังทอง และคณะกรรมการสถานศึกษาทุก ท่าน ในการจัดทำแนวทางการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาใหเ้ สร็จสนิ้ อย่างสมบูรณ์มาในโอกาสน้ี กศน.อำเภอวงั ทอง วนั ที่...17...เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565
สำรบัญ ง ประกาศการใชห้ ลกั สูตร หน้ำ ก คานา ค สารบญั ง บทนาความสาคญั และความจาเป็นที่ กศน.อาเภอวงั ทอง จ คำแนะนำกำรใช้หนังสือ โครงสร้ำงรำยวชิ ำ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน 2 บทท่ี 1 ควำมรู้พื้นฐำนทำงประวตั ศิ ำสตร์ 3 6 เรื่องที่ 1 ความหมายและความสาคญั ของประวตั ิศาสตร์ 7 เรื่องที่ 2 ประวตั ิความเป็นมาของเขาสมอแคลง 9 เร่ืองท่ี 3 อาณาเขตและสถานท่ีต้งั เขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง 10 เรื่องที่ 4 ประวตั ิความเป็นมาของรอยพระพุทธบาทเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง 12 บทท่ี 2 สถำนท่ีสำคัญทำงประวตั ศิ ำสตร์ 15 เรื่องที่ 1 ประวตั ิความสาคญั และสถานท่ีต้งั ของวดั ราชคีรีหิรัญยาราม 16 เร่ืองท่ี 2 ประวตั ิความสาคญั และสถานท่ีต้งั ของพระธาตุเจดียศ์ รีบวรชินรัตน์ 18 เรื่องที่ 3 ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของรอยพระพุทธบาทจาลอง 20 เรื่องที่ 4 ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของศาลพอ่ ป่ ูขนุ เณร 22 เรื่องท่ี 5 ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของเจา้ แมก่ วนอิมหยกขาว 25 เรื่องท่ี 6 ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของโรงเจไซท่ีฮุกต้ึง 29 เรื่องท่ี 7 ประวตั ิความสาคญั และสถานท่ีต้งั ของบ่อชา้ งลว้ ง 31 เรื่องท่ี 8 ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของบ่อทอง 32 เร่ืองท่ี 9 ประวตั ิความสาคญั และสถานท่ีต้งั ของหินชา้ งโขลง 34
สำรบญั (ต่อ) 36 บทที่ 3 กำรอนุรักษ์ประเพณีและพธิ ีทำงศำสนำ 37 38 เร่ืองท่ี 1 ประวตั ิความเป็นมาของการจดั งานสมโภชประจาปี เขาสมอแคลง 39 เร่ืองที่ 2 พธิ ีทางศาสนา 41 42 -กราบขอพรรอยพระบาท 42 -บชู าเจา้ แมก่ วนอิม 44 เรื่องที่ 3 พธิ ีบวงสรวงพอ่ ป่ ูขนุ เณร 46 3.1 การจดั เตรียมเคร่ืองสักการะท่ีใชใ้ นพธิ ีบวงสรวง 61 3.2 การจดั พธิ ีบวงสรวง 62 ภาคผนวก คณะผจู้ ดั ทา บรรณานุกรม
จ บทนำ ความเปน็ มาของหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จงึ ไดม้ ีแนวคิดในการปรับ หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานพุทธศักราช 2551 สำหรบั กล่มุ เป้าหมาย กศน. ขึ้น โดยได้เริม่ ศึกษาและกำหนดกรอบหลกั สตู รมาตั้งแต่ปงี บประมาณ 2549 ในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้คำนึงถึงหลักการศึกษาผู้ใหญ่ ที่ว่า เรียนแล้วต้องนำไปใช้ในชีวิตได้ ทันที มิใช่เรียนแล้วนำไปใช้ในอนาคต ซึ่งบางเนื้อหาวิชาก็ล้าสมัยแล้ว ผู้ใหญ่จะต้องรู้เหตุผลว่าทำไมต้อง เรียน ต้องมสี ่วนร่วมในการวางแผนการเรยี นท่ีตรงกับความต้องการและความสนใจของตนเอง โดยเรียนจาก การปฏิบัตจิ ริงและการเรียนรู้ทีส่ อดคล้องกับประสบการณ์เดมิ นอกจากนี้ในการพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ ดำเนินการให้สอดคล้องกับมาตรา 5,22,23,24 และ 28 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 3) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2553 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 และได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงใน มิตติ ่างๆ การเมอื ง การปกครอง สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนความก้าวหนา้ ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ ที่สำคัญคือบริบทของกลุ่มเป้าหมาย กศน. ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ความรู้และความสามารถที่มีมา ก่อนจึงเปน็ ความแตกต่างและหลากหลาย ดังนั้นหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 จึง พัฒนาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการ ประกอบอาชพี การศกึ ษาต่อ และสามารถดำรงชีวติ อยู่ในครอบครวั ชุมชน สังคม บนหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงได้อย่างมีความสุข ทั้งนี้ สถานศึกษาที่จะนำหลักสูตรนี้ไปใช้ต้องนำสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ กำหนด ไปพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน/สังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาน้ันๆ เมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงเห็นสมควรพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 เป็นหลกั สูตรทม่ี ีความเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพปัญหา และ ความตอ้ งการของบุคคลที่อย่นู อกระบบโรงเรียน ซง่ึ เป็นผู้มีความรแู้ ละประสบการณ์จากการทำงาน และการ ประกอบอาชีพ โดยการกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล ให้ ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมายให้มีคณุ ธรรมควบคู่ไปกบั การพฒั นาการเรยี นรู้ สรา้ งภมู ิคมุ้ กัน สามารถจดั การกับ องค์ความรู้ทั้งภูมิปัญญาท้องถ่ิน และเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งคำนึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ที่อยู่ นอกระบบ และสอดคล้องกับสภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้าของ เทคโนโลยีและการสื่อสาร
1 คำแนะนำในกำรใช้หนังสือเรียน หนงั สือเรียน สาระการพฒั นาสังคม รายวิชา ประวตั ิเขาสมอแคลง สค 23001 เป็นหนงั สือเรียนท่ีจดั ทาข้ึนสาหรับผเู้ รียนท่ีเป็นนกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียน สาระพฒั นาสังคม รายวิชา ประวตั ิเขาสมอแคลง ผเู้ รียนควรปฏิบตั ิดงั น้ี 1. ศึกษาโครงสร้างรายวิชาให้เขา้ ใจในหัวขอ้ สาคญั ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั และขอบข่ายเน้ือหาวิชา 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแต่ละบทอยา่ งละเอียด และใหท้ ากิจกรรมตามท่ี กาหนด แลว้ ตรวจสอบกบั แนวการตอบกิจกรรมที่กาหนด ถา้ ผเู้ รียนตอบผดิ พลาด ควรกลบั ไป ศึกษาและทาความเขา้ ใจในเน้ือหาน้นั ใหม่ใหเ้ ขา้ ใจก่อนท่ีจะศึกษาเร่ืองตอ่ ไป 3. ปฏิบตั ิกิจกรรมทา้ ยเรื่องของแต่ละเร่ือง เพ่ือเป็ นการสรุปความรู้ ความเขา้ ใจ ของเน้ือหาในเรื่องน้นั ๆ อีกคร้ัง และการปฏิบตั ิกิจกรรมของแต่ละเน้ือหา แต่ละเรื่อง ผูเ้ รียน สามารถนาไปตรวจสอบกบั ครูและเพื่อน ๆ ท่ีเรียนในรายวิชาเดียวกนั และรายละเอียดเดียวกนั ได้ 4. หนงั สือเรียนเลม่ น้ีมี 3 บท บทที่ 1 ความรู้พ้นื ฐานทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 2 สถานที่สาคญั ทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3 การอนุรักษป์ ระเพณีและพิธีทางศาสนา
2 โครงสร้ำงรำยวชิ ำ เขำสมอแคลง (สค 23001) ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น สำระสำคญั 1. ความรู้พ้ืนฐานทางประวตั ิศาสตร์ เป็ นเรื่องสาคญั ที่ควรรับรู้ และศึกษาเป็ น อย่างมาก เพราะจะทาให้รู้ถึงความเป็ นมาของประวตั ิศาสตร์ท่ีเกิดข้ึนในอดีต และสามารถนา ความรู้ที่ไดม้ าคิดวิเคราะหห์ าขอ้ เทจ็ จริง เพอื่ เผยแพร่ต่อไป 2. ประวตั ิความเป็นมาของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง เป็นหลกั ฐานพงศาวดาร และเป็นตานานเลา่ ต่อกนั มาในสมยั พุทธกาล ทาใหท้ ราบวา่ พระพุทธเจา้ ไดเ้ สด็จบิณฑบาตมาถึง วดั เขาสมอแคลง และยงั ไดห้ ยดุ ฉนั อาหารท่ีใตต้ น้ สมอ เขาสมอแคลงแห่งน้ีดว้ ย 3. การจดั งานประจาปี ของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง เป็นงานสมโภชรอยพระ พุทธบาทเขาสมอแคลง จะจดั เป็นประจาทุกปี เพ่อื เป็นการระลึกถึงบคุ คลสาคญั 4. การอนุรักษแ์ ละการส่งเสริมการจดั งานสมโภชประจาปี เขาสมอแคลง ถือว่า เป็นวฒั นธรรมประเพณีทางศาสนาท่ีมีคุณค่า เป็นมรดกทางปัญญาของคนไทย แสดงถึงความ เคารพและคงไวซ้ ่ึงประเพณีสาคญั ของไทยสืบไป 5. พิธีบวงสรวงพ่อป่ ูขุนเณร จะจัดพิธีบวงสรวงทุกปี เพื่อตระหนักถึง ความสาคญั ของพอ่ ป่ ขู นุ เณร ซ่ึงถือวา่ เป็นสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ และเป็นที่นบั ถือศรัทธาของคนทว่ั ไป ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวงั เมื่อผเู้ รียนศึกษาวชิ า สค 23001 แลว้ ผเู้ รียนสามารถ 1. มีความรู้ความเขา้ ใจ และตระหนักถึงความสาคญั ที่เกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 2. อธิบายประวตั ิความเป็นมาของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทองได้ 3. มีทกั ษะในการจดั พธิ ีบวงสรวงพอ่ ป่ ูขนุ เณรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. สามารถจดั เตรียมเครื่องสักการะสาหรับบวงสรวงพ่อป่ ูขนุ เณรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ขอบข่ำยเนื้อหำ บทที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานทางประวตั ิศาสตร์ บทที่ 2 สถานท่ีสาคญั ทางประวตั ิศาสตร์ บทท่ี 3 การอนุรักษป์ ระเพณีและพิธีทางศาสนา
3 แบบทดสอบก่อนเรียน คำส่ัง ใหท้ าเคร่ืองหมาย X กากบาทลงในขอ้ ที่ถกู ท่สี ุด 1. ประวตั ิเขาสมอแคลงมาจากหลกั ฐานใด ก. จากพงศาวดารจีน ข. จากพงศาวดาร ค. จากสมยั อยธุ ยา ง. จากสมยั สุโขทยั 2. วดั ราชคีรีหิรัญยารามไดร้ ับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการใหม้ ีสภาพเป็นวดั ได้ เมื่อใด ก. วนั ท่ี 22 กมุ ภาพนั ธ์ 2530 ข. วนั ท่ี 24 กุมภาพนั ธ์ 2530 ค. วนั ที่ 26 กมุ ภาพนั ธ์ 2530 ง. วนั ท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2530 3. พระพทุ ธเจา้ ไดเ้ สดจ็ บิณฑบาตไปหยดุ ฉนั ขา้ วที่ใตต้ น้ ไมใ้ ด ก. ตน้ สมอ ข. ตน้ สตอ ค. ตน้ สะเดา ง. ตน้ สะแก 4. เขาสมอแคลง เดิมเรียกวา่ อยา่ งไร ก. เขาพนมรุ้ง ข. เขาป่ าสกั ค. เขาสวนกวาง ง. เขาพนมสอ 5. พระแม่กวนอิมหยกขาวท่ีใหญท่ ี่สุดในโลกถูกนามาจากเมืองใด ก. เมืองหงั โจว ข. เมืองกวางตงุ้ ค. เมืองเสฉวน ง. เมืองไทเป
4 6. วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง สงั กดั คณะสงฆใ์ ด ก. ธรรมกาย ข. สังขจาย ค. มหานิกาย ง. มหายทุ ธ 7. “ วดั ตลาดชุม” เป็นช่ือเดิมของวดั ใด ก. วดั พระพทุ ธบาท ข. วดั วงั ทองวราราม ค. วดั ราชบรู ณะ ง. วดั บางสะพาน 8. งานประจาปี ของวดั เขาสมอแคลง กาหนดข้ึนในวนั ใด ก. วนั ข้ึน 10 ค่า เดือน 3 ของทุก ๆ ปี ข. วนั ข้ึน 12 ค่า เดือน 3 ของทุก ๆ ปี ค. วนั ข้ึน 13 ค่า เดือน 3 ของทุก ๆ ปี ง. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 3 ของทกุ ๆ ปี 9. วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลงไดร้ ับพระราชทานวิสุงคามสีมา เม่ือใด ก. วนั ท่ี 3 สิงหาคม 2506 ข. วนั ที่ 4 สิงหาคม 2506 ค. วนั ท่ี 5 สิงหาคม 2506 ง. วนั ที่ 6 สิงหาคม 2506 10. วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลงมีเขตวิสุงคาม กวา้ ง ยาว เท่าไร ก. กวา้ ง 15 เมตร ยาว 50 เมตร ข. กวา้ ง 20 เมตร ยาว 50 เมตร ค. กวา้ ง 25 เมตร ยาว 50 เมตร ง. กวา้ ง 35 เมตร ยาว 50 เมตร
5 11. พอ่ ป่ ูขนุ เณร ตามประวตั ิศาสตร์เมืองพษิ ณุโลกไดก้ ลา่ วถึงชนกล่มุ ใด ก. ชนกลุม่ ชาวลา้ นชา้ ง ข. ชนกลมุ่ ชาวลา้ นนา ค. ชนกล่มุ ชาวลา้ นฟ้า ง. ชนกลุ่มชาวลา้ นฝาง 12. พระราชโอรสของเจา้ ฟ้างุม้ ข้ึนทรงพระราชสมบตั ิระหวา่ งปี พ.ศ. ใด ก. ระหวา่ ง พ.ศ. 1915-1955 ข. ระหวา่ ง พ.ศ. 1915-1956 ค. ระหวา่ ง พ.ศ. 1916-1956 ง. ระหวา่ ง พ.ศ. 1916-1955 13. ทา้ วเณรพาชาวเวียงจนั ทน์หลายพนั คนมาพร้อมกบั สัตวช์ นิดใดบา้ ง ก. ชา้ งและลา ข. ชา้ งและมา้ ค. ชา้ งและแพะ ง. ชา้ งและแกะ 14. ลกั ษณะของกอ้ นหินที่คน้ พบในบริเวณป่ าแห่งน้ี มีลกั ษณะแบบใด ก. คลา้ ยชา้ งหมอบกบั ตน้ ไม้ ข. คลา้ ยชา้ งหมอบกบั ดิน ค. คลา้ ยชา้ งหมอบกบั หิน ง. คลา้ ยชา้ งหมอบกบั หญา้ 15. ผทู้ ่ีนงั่ เห็นอวิชา คือใคร ก. พระธุดงค์ ข. พระสงฆ์ ค. พระนเรศวร ง. พระนารายณ์ %%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%%
6 บทท่ี 1 ควำมรู้พืน้ ฐำนทำงประวตั ศิ ำสตร์ สำระสำคญั 1. รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ 2. บอกความหมายและความสาคญั ของประวตั ิศาสตร์ 3. บอกสถานท่ีต้งั ของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง 4. อธิบายประวตั ิความเป็นมาของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง ผลกำรเรียนรู้ 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ประวตั ิศาสตร์เป็นอยา่ งดี 2. สามารถบอกความหมายและความสาคญั ของประวตั ิศาสตร์ได้ 3. บอกอาณาเขตและสถานที่ต้งั ของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 4. อธิบายประวตั ิความเป็นมาของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทองได้ ขอบข่ำยเนื้อหำ 1. ความหมายและความสาคญั ของประวตั ิศาสตร์ 2. ประวตั ิความเป็นมาของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง 3. อาณาเขตและสถานท่ีต้งั ของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง 4. ประวตั ิความเป็นมาของรอยพระพทุ ธบาทเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง
7 เร่ืองท่ี 1 ควำมหมำยและควำมสำคญั ของประวตั ิศำสตร์ ควำมหมำยของประวัตศิ ำสตร์ คาวา่ ประวตั ิศาสตร์ หรือ History มาจากภาษา บาลี Historia ซ่ึงแปลวา่ การไต่สวน สืบคน้ เรื่องราวท่ีเกิดข้ึนในอดีต ควำมสำคัญของประวัติสำสตร์ คือ เป็นการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ ถึงที่มาที่ ไปของกลมุ่ ชน ก่อใหเ้ กิดความรักและความสามคั คี สานึกรู้และเกิดความภาคภมู ใจในกล่มุ ของ ตน ควำมสำคัญของประวัติศำสตร์ คือ สามารถนาความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาไปใช้ ในการสืบคน้ เร่ืองราวต่าง ๆ ที่สนใจได้ ประวัติศำสตร์ หมายถึง เหตุการณ์ท้งั หมดท่ีเกิดข้ึนในอดีต และส่ิงท่ีมนุษยไ์ ด้ กระทาหรือสร้างแนวความคิดไวท้ ้งั หมด รวมถึงเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดจากเจตจานงของมนุษย์ ประวัติศำสตร์ คือ การศึกษาเหตุการณ์ที่จบส้ินไปแล้ว ซ่ึงเป็ นเหตุการณ์ท่ี เกิดข้ึนในอดีต ประวัติศำสตร์ คือ การศึกษาประวตั ิความเป็ นมาของสิ่งใดส่ิงหน่ึงจากการท่ีได้ บนั ทึกเกบ็ ไว้ หรือประสบการณ์จากผอู้ าวโุ ส ประวัติศำสตร์ คือ การศึกษาเร่ืองราวต่าง ๆ ในอดีตด้วยการศึกษาคน้ คว้า ร่องรอยการบนั ทึกหลกั ฐานที่เคยเกิดข้ึนมาแลว้ จำกกำรสรุปโดยรวม ควำมหมำยของประวัติศำสตร์ คือ ประวตั ิศาสตร์เป็ นวิชาที่ว่าดว้ ยพฤติกรรม หรือเร่ืองราวของมนุษยท์ ี่เกิดข้ึนในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายสาคญั ของ การเรียนรู้ประวตั ิศาสตร์ คือ การเขา้ ใจสงั คมในอดีตที่ใกลเ้ คียงกบั ความเป็นจริงมากท่ีสุด เพ่อื นามาเสริมสร้างความเขา้ ใจในสังคมปัจจุบนั ควำมสำคญั ของประวัตศิ ำสตร์ 1. ประวตั ิศาสตร์ช่วยให้มนุษยร์ ู้จักตวั เอง กล่าวคือ ทาให้รู้บางส่ิงบางอย่าง เกี่ยวกบั ขอบเขตของตน ในขณะเดียวกนั กร็ ู้ขอบเขตของคนอ่ืน 2. ประวตั ิศาสตร์ช่วยให้เกิดความเขา้ ใจในมรดก วฒั นธรรมของมนุษยช์ าติ มี ความรู้ ความคิดอ่านกวา้ งขวางทนั เหตุการณ์ ทนั สมยั ทนั คน และสามารถเขา้ ใจถึงคุณคา่ ของ สิ่งตา่ ง ๆ ในสมยั ของตนได้
8 3. ประวัติศาสตร์ช่วยเสริ มสร้างให้เกิดความระมัดระวัง ความคิดริ เร่ิ ม สร้างสรรค์ ฝึกฝนความอดทน ความสุขมุ รอบครอบ ความสามารถในการวินิจฉยั และมีความ ละเอียดเพียงพอท่ีจะเขา้ ใจปัญหาที่สลบั ซบั ซอ้ น 4. ประวตั ิศาสตร์เป็นเหตุการณ์ในอดีตท่ีมนุษยส์ ามารถนามาเป็ นบทเรียน และ ประยุกต์ใช้ในกระบวนการแก้ปัญหา และวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ให้เป็ นไปตามหลกั จริยธรรม คุณธรรม ท้งั น้ีเพื่อความสนั ติสุข และพฒั นาการของสังคมมนุษยเ์ อง
9 เรื่องท่ี 2 ประวตั คิ วำมเป็ นมำของเขำสมอแคลงอำเภอวังทอง ประวตั ิความเป็ นมาของเขาสมอแคลงจากหลกั ฐานพงศาวดารและตานานเล่าว่า แหล่งโบราณคดีเขาสมอแคลงเป็ นชุมชนโบราณต้ังแต่สมัยพุทธกาล ส่วนหลักฐานทาง โบราณคดีพบว่าเป็ นชุมชนเก่าแก่ร่วมสมยั ทวาราวดีลพบุรี สุโขทยั และอยุธยา บนภูเขามีวดั โบราณต้งั เรียงรายในป่ า ส่วนใหญ่เป็ นซากวดั ร้าง คงเหลือแต่วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง หรือวดั ราชคีรีหิรัญยาราม เป็นวดั ร้างมาจนถึงปี พ.ศ.2483 จึงมีพระสงฆม์ าจาพรรษาอยู่ และ ไดร้ ับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการไดอ้ อกหนังสือรับรองสภาพความเป็ นวดั ให้ไว้ ณ วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2530 เป็นวดั ที่สมบูรณ์ตามพระราชบญั ญตั ิการปกครองคณะสงฆ์ ร. ศ.121 ความเป็นมาของวดั ไดค้ น้ พบหนงั สือสาคญั ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 5 ไดท้ รงพระราชนิพนธ์ พระราชปรารภเร่ือง พระพุทธบาทและมีขอ้ ความสาคญั กลา่ วถึงวดั ราชคีรีหิรัญยารามวา่ “พระพุทธเจา้ ไดเ้ สด็จบิณฑบาตไปถึงที่นน่ั แลว้ หยดุ ฉนั ขา้ วท่ีใตต้ น้ สมอ เขาสมอ แคลงซ่ึงเดิมเรียกวา่ พนมสอ ควรจะเป็นท่ีต้งั พระพุทธศาสนา จึงมีรับสั่งใหจ้ ่านกร้องและจ่าการ บุญ คุมกาลงั ไพร่พล และเสบียงอาหารมาตรวจดูภูมิสถานแถบน้นั เมื่อจ่าท้งั สองไดม้ าถึงที่ท่ี กล่าวว่า พระพุทธเจา้ ไดบ้ ิณฑบาตเห็นเป็ นชยั ภูมิดีเหมาะแก่การท่ีจะสร้างเมืองใหม่ จึงไดม้ ีใบ บอกข้ึนไปกราบทูลพระศรีธรรมไตรปิ ฎก เจา้ กรุงเชียงแสนและเจา้ กรุงศรีสัชนาลยั พระเจา้ พสุจราช พระบิดาของพระนางปทุมาวดี เอกอคั รมเหสีของพระเจา้ ศรีธรรมไตรปิ ฎก ท้งั สอง พระองคไ์ ดร้ ่วมกนั สร้างเมืองข้ึนมาใหม่เม่ือปี พ.ศ. 1496 ตรงกบั เชา้ วนั ศุกร์ข้ึน 1 ค่า เดือน 3 ร.ศ.315 และให้ชื่อเร่ิมแรกเมืองน้นั วา่ เมืองพิษณุโลกโอฆบุรี นบั ไดว้ า่ เป็นชะตาดวงเมืองของ พษิ ณุโลกต้งั แต่น้นั มาจนปัจจุบนั ” ดงั น้ัน เขาสมอแคลงน้ีจะเป็ นที่ประดิษฐานพระอวโลกิเตศวร พระบรมมหา โพธิสัตวพ์ ระแม่กวนอิมหยกขาวท่ีใหญ่ที่สุดในโลก ความสูง 3 เมตร 5 เซนติเมตร น้าหนกั 3 ตนั นามาจากเมืองหงั โจว วดั ประจาบา้ นเกิดพระอรหนั ตจ์ ้ีกง สาธารณรัฐประชาชนจีน พระ ครูใบฎีกาวีรศกั ด์ิเป็ นผอู้ ญั เชิญมาจากเมืองหงั โจวมายงั ประเทศไทยเม่ือวนั ท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2535 เจ้าแม่กวนอิมหยกขาวไดแ้ สดงปาฏิหาริยอ์ านุภาพเป็ นท่ีประจกั ษ์แก่ชาวพิษณุโลกมา จนถึงทกุ วนั น้ี
10 เรื่องท่ี 3 อำณำเขตและท่ตี ้ังของเขำสมอแคลงอำเภอวงั ทอง สถำนท่ตี ้ัง วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง ต้งั อยบู่ า้ นเลขที่ 91 หมู่ 11 บา้ นเขาสมอแคลง อาเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณุโลก สงั กดั คณะสงฆม์ หานิกาย อำณำเขตท่ีดินทตี่ ้ัง ทิศเหนือ ยาว 12 เสน้ จดท่ีเอกชน ทิศใต้ ยาว 4 เส้นจดทางหลวงแผน่ ดิน ทิศตะวนั ออก ยาว 27 เส้นจดที่เอกชน ทิศตะวนั ตก ยาว 28 เสน้ จดวดั ราชคีรีหิรัญยาราม
11 กจิ กรรม เร่ือง วดั พระพุทธบำทเขำสมอแคลง คำส่ัง จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. จงบอกท่ีต้งั ของวดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. พระธาตขุ องใครที่ถูกบรรจุไวท้ ี่องคเ์ จดียย์ อดดว้ นเขาสมอแคลง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................
12 เร่ืองท่ี 4 ประวตั ิควำมเป็ นมำของพระพทุ ธบำทเขำสมอแคลงอำเภอวงั ทอง เดิมชื่อ วดั พระพุทธบาทตอ่ มาเรียกวา่ วดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลง ปัจจุบนั เรียกว่า วดั เขาสมอแคลง คาว่า พระพุทธบาทหายไป วดั เขาสมอแคลงหรือวดั พระพุทธบาท หรือวดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลง ต้งั อยหู่ ่างจากตวั เมืองพิษณุโลก(เขตเทศบาลหรือศาลากลาง จงั หวดั พิษณุโลก) ไปทางทิศตะวนั ออกประมาณ 14 กิโลเมตร มีเส้นทางคมนาคมถนนสาย พิษณุโลก-หล่มสักผา่ นวดั ลกั ษณะวดั เขาสมอแคลงเป็นภูเขาลูกเดียวโดด ๆ วางต้งั ตามยาวตาม แนวเหนือ วดั เขาสมอแคลง หรือ วดั พระพุทธบาท หรือ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง ต้งั อยบู่ ริเวณเชิงเขาสมอแคลงทางดา้ นทิศตะวนั ออก ตามตานานและพงศาวดารเหนือกล่าวว่า เม่ือคร้ังพุทธกาล สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ไดเ้ สด็จไปบิณฑบาตที่บา้ นพราหมณ์ และได้ เสด็จไปฉนั จงั หัน(อาหารเชา้ ) ใตต้ น้ สมอ ณ บริเวณเขาสมอแคลง พระอุบาลีเถระและพระศิริ มานนทเ์ ถระ พระอรหนั ตข์ องสมเด็จสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ไดน้ ิพพานท่ีเขาสมอแคลง และไดบ้ รรจุ พระธาตุของพระอรหนั ตท์ ้งั สองพระองคไ์ วใ้ นองคเ์ จดียย์ อดดว้ นบนยอดเขาสมอแคลงท่ีปรากฏ ใหเ้ ห็นอยใู่ นปัจจุบนั ผสู้ ร้างเจดียย์ อดดว้ นบนยอดเขาสมอแคลง คือ พระยาจิตรไวย สร้างเพื่อ บรรจุพระธาตุของพระอุบาลีเถระและพระศิริมานนทเ์ ถระ ในเอกสารพงศาวดารเหนือกล่าวว่า เม่ือคร้ังพระมหาธรรมราชาลิไท สร้างพระ พุทธชินราชในวนั น้ัน พระองค์ไดน้ ิมนต์พระศิริมานนทเ์ ถระจากสานักสงฆ์เขาสมอแคลงไป ช่วยงานดว้ ยตามหลกั ฐานท่ีกล่าวมาน้ีแสดงว่า วดั เขาสมอแคลง หรือ วดั พระพุทธบาท หรือ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง น่าจะมีมานานแลว้ ต้งั แต่สมยั พุทธกาล สมยั ก่อนกรุงสุโขทยั และสมยั สุโขทยั ซ่ึงในอดีตชาวบา้ นเขาสมอแคลงและชาวบา้ นตลาดชุมไดเ้ ล่าตอ่ กนั มาวา่ เดิม วดั ที่ต้งั อยูบ่ นพ้ืนที่เขาสมอแคลงมีมากถึง 7 วดั แต่ปัจจุบนั เหลือเพียง 4 วดั คือ วดั ตระพงั นาค วดั สระสองพนี่ อ้ ง วดั พระพทุ ธบาท และวดั ร้างบนยอดเขาสมอแคลง วดั เขาสมอแคลง หรือ วดั พระพุทธบาท หรือ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง เป็นวดั เดียวกนั บริเวณท่ีต้งั วดั เป็นที่เดียวกนั มีรอยพระพทุ ธบาทติดอยทู่ ่ีผนงั ถ้าบนเขาสมอ
13 แคลง เรียกว่า รอยพระพุทธบาทตะแคง ห่างจากพ้ืนล่างประมาณ 300 เมตร รอยพระพุทธ บาทตะแคงมีขนาดกวา้ ง 72 เซนติเมตร ยาว 165 เซนติเมตร จากหลกั ฐานภาพถ่ายทางอากาศของกรมแผนที่ทหาร ไดร้ ะบุตาแหน่งวดั และ ชื่อไวใ้ นแผนท่ีดงั กล่าว ชื่อวา่ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง วดั เขาสมอแคลง หรือ วดั พระพุทธบาท หรือ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง เม่ือปี พ.ศ. 2487 หลวงพ่อพระครูประพนั ธ์ศิลคุณ เจา้ อาวาสวดั ตลาดชุม(วดั วงั ทองวราราม ปัจจุบนั ) และดารงตาแหน่งเจา้ คณะอาเภอวงั ทอง หรือ อาเภอนครป่ าหมากในสมยั น้นั ไดเ้ ขา้ ไปทาการบูรณปฏิสังขรณ์ มีเสนาสนะถาวรมนั่ คง ไดร้ ่วมกบั ชาวบา้ นตลาดชุม สร้างบนั ได ข้ึนไปบนรอยพระพุทธบาทเพื่อให้สะดวกในการข้ึนไปปิ ดทอง รอยพระพุทธบาทและได้ ร่วมกนั สร้างเสร็จในปี เดียวกนั รวมบนั ไดสูง 216 ข้นั เม่ือสร้างบนั ไดเสร็จ หลวงพ่อพระครู ประพนั ธ์ศีลคุณ ไดจ้ ดั งานสมโภชใหป้ ระชาชนไดข้ ้ึนไปปิ ดทองรอยพระพุทธบาท นบั ต้งั แต่ น้ันเป็ นตน้ มา วดั เขาสมอแคลง หรือ วดั พระพุทธบาท หรือ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง ไดจ้ ดั งานปิ ดทองรอยพระพทุ ธบาทประจาปี โดยมีกาหนดข้ึน 15 ค่า เดือน 3 ของทกุ ๆ ปี เป็น วนั เริ่มงานไปจนถึงวนั แรม 4 ค่า เดือน 3 รวม 5 วนั 5 คืน วดั เขาสมอแคลง หรือ วดั พระพุทธบาท หรือ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง มีที่ดินท้งั หมด 150 ไร่ และไดอ้ อกโฉนดแลว้ มีเน้ือท่ี 63 ไร่ 3 งาน 83 ตารางวา โฉนดเลขท่ี 638 คงยงั เหลือเน้ือที่ที่ยงั อยรู่ ะหวา่ งดาเนินการขอออกเอกสารกรรมสิทธ์ิประมาณ 83 ไร่ วดั เขาสมอแคลง หรือ วดั พระพุทธบาท หรือ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง ไดร้ ับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวนั ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2506 มีเขตวิสุงคามสีมา กวา้ ง 25 เมตร ยาว 50 เมตร
14 กจิ กรรม เรื่อง วดั พระพทุ ธบำทเขำสมอแคลง 1. ใหผ้ เู้ รียนศึกษาคน้ ควา้ วดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลงในเอกสารพงศาวดารเหนือไดก้ ลา่ วไว้ วา่ อยา่ งไรบา้ ง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. วดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลงไดท้ าการบูรณปฏิสังขรณ์ข้ึนเม่ือใด โดยผใู้ ด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 3. การจดั งานสมโภชวดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลง มีกาหนดการจดั งานข้ึนเมื่อไรของในแต่ ละปี .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... *************************************
15 บทท่ี 2 สถำนท่สี ำคญั ทำงประวตั ศิ ำสตร์ สำระสำคัญ 1. รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกบั สถานที่สาคญั ทางประวตั ิศาสตร์ 2. บอกถึงความสาคญั ของสถานท่ีท่ีสาคญั ทางประวตั ิศาสตร์ 3. บอกชื่อ ประวัติความเป็ นมา และสถานที่ต้ังของสถานท่ีที่สาคัญทาง ประวตั ิศาสตร์ ผลกำรเรียนรู้ท่คี ำดหวงั 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั สถานที่ที่สาคญั ทางประวตั ิศาสตร์ของเขาสมอ แคลงอาเภอวงั ทองไดอ้ ยา่ งชดั เจน 2. สามารถบอกถึงความสาคญั ของสถานท่ีที่สาคญั ทางประวัติศาสตร์ของเขา สมอแคลงอาเภอวงั ทองได้ 3. สามารถบอกชื่อ ประวตั ิความเป็ นมา และสถานที่ต้งั ของสถานท่ีท่ีสาคญั ทาง ประวตั ิศาสตร์ของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทองไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ขอบข่ำยเนื้อหำ 1. ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของวดั ราชคีรีหิรัญยาราม 2. ประวตั ิความสาคญั และสถานท่ีต้งั ของพระธาตุเจดียศ์ รีบวรชินรัตน์ 3. ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของรอยพระพุทธบาทจาลอง 4. ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของศาลพ่อป่ ูขนุ เณร 5. ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของเจา้ แมก่ วนอิมหยกขาว 6. ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของโรงเจไซทีฮุกต้ึง 7. ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของบอ่ ชา้ งลว้ ง 8. ประวตั ิความสาคญั และสถานท่ีต้งั ของบอ่ ทอง 9. ประวตั ิความสาคญั และสถานที่ต้งั ของหินชา้ งโขลง
16 เร่ืองที่ 1 วดั รำชครี ีหิรัญยำรำม สถำนท่ีต้ัง วดั ราชคีรีหิรัญยาราม เป็นวดั เก่าแก่ต้งั ตระหงา่ นอยบู่ นไหล่เขาสมอแคลง อาเภอ วงั ทอง จงั หวดั พิษณุโลก ติดถนนสายพิษณุโลก – หล่มสัก ห่างจากตวั เมืองพิษณุโลก 10 กิโลเมตร มีเน้ือท่ี 230 ไร่ 3 งาน 80 ตารางวา ประวตั ิควำมเป็ นมำ ใ น อ ดี ต มี เ พี ย ง ท า ง ข้ึ น บัน ไ ด ไ ห ล่ เ ข า แ ต่ ใ น ปั จ จุ บัน วัด น้ ี ไ ด้รั บ ก า ร พัฒ น า เจริญรุ่งเรือง มีถนนลาดยางตดั ข้ึนถึงบริเวณวดั ได้ ตามประวตั ิไม่ปรากฏวา่ ผใู้ ดสร้างคาดวา่ เป็ น อีก 7 วดั ที่ถูกทิ้งให้รกร้างบนเขาสมอแคลง จนถึงปี พ.ศ. 2483 ไดม้ ีการบูรณะข้ึนมาใหม่ ได้ รับรองความเป็นวดั เม่ือปี พ.ศ. 2530 สภาพอนั รกร้างของวดั ทาให้บรรดาศาสนสถานตลอดจน โบราณวตั ถุไม่ว่าจะเป็ นเจดีย์ พระพุทธรูปถูกโจรใจบาปขโมยเจาะหาของมีค่าจนพรุนจนเกิด การพงั ทลายลง จึงไดม้ ีการบูรณปฏิสังขรณ์ข้ึนมาใหม่ และการก่อสร้างที่สาคญั เพื่อนาไปสู่การ ดึงดูดใหค้ นทว่ั ไปเดินทางข้ึนมาสักการะและมาเท่ียวคือ การสร้างพระอวโลกิเตศวร พระบรม หาโพธิสัตว์ พระแม่กวนอิมหยกขาวท่ีใหญ่ที่สุดในโลก ขนาดความสูง 3.5 เมตร น้าหนัก 3,000 กิโลกรัม สร้างจากหินหยกขาวกอ้ นเดียวแกะสลกั จากวดั สานกั นางชี ต้งั อยบู่ นเทือกเขา ทะเลสาบเวสใกลก้ บั วดั หยนิ ซ่ือเมืองหงั โจ ประเทศจีน ซ่ึงเม่ือท่านกา้ วยา่ งสู่เขตของวดั สิ่งแรก ที่ท่านจะได้ยินคือ คาสวดบูชาองค์พระแม่กวนอิม ที่มีความไพเราะเยือกเย็นและสงบจน สามารถสะกดจิตแห่งความเร้าร้อนให้บรรเทาลงได้ เมื่อเขา้ มาสู่ใจกลางวดั ก็จะพบกบั องค์พระ แมก่ วนอิมเทพเจา้ แห่งความกรุณาท่ีประดิษฐานสงบน่ิงอยบู่ นฐานบวั คว่า บวั หงาย ประทบั เด่น ดง่ั จะช้ีนาใหพ้ ทุ ธศาสนิกชนผใู้ ฝ่ หาทางหลุดพน้ ไดป้ ฏิบตั ิธรรมตามรอยของพระองค์
17 กจิ กรรม เรื่อง วดั รำชครี ีหริ ัญยำรำม 1. อธิบายถึงความสาคญั ของวดั ราชคีรีหิรัญยาราม มาพอสงั เขป .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2. เจา้ แมก่ วนอิมหยกขาวถกู อญั เชิญมาอยปู่ ระเทศไทยต้งั แต่เม่ือไร และประดิษฐานอยทู่ ี่ใด .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... *************************************
18 เรื่องท่ี 2 พระมหำธำตเุ จดีย์ศรีบวรชินรัตน์ พิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและพระอรหันตธาตุเร่ิมข้ึนในวนั มาฆบูชา วนั พุธท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2548 นาศรัทธาสร้างพระมหาธาตุเจดีย์ศรีบวรชินรัตน์และบรรจุพระบรม สารีริกธาตุ โดย นาวาเอกจุลินทร์ เหลือนาค พร้อมดว้ ยบรรดาศิษยานุศิษยจ์ ากโรงเรียนเตรียม ทหาร และพุทธศาสนิกชน สาธุชนทุกสัมมาชีพ ทุกสารทิศ ให้เป็ นอนุสรณ์สถานแด่พระครู บวรชินรัตน์(หลวงพ่อมว้ น สุดเกตุ) อดีตเจา้ อาวาสวดั นางพญาพิษณุโลก ผดู้ าริให้แนวศรัทธา สร้างไวซ้ ่ึงขณะน้ีรูปหล่อโลหะเหมือนของท่าน ประดิษฐาน ณ ศาลาศรีบวรชินรัตน์ เขาสมอ แคลง อาเภอวงั ทอง จงั หวดั พษิ ณุโลกเช่นกนั
19 กจิ กรรม พระมหำธำตเุ จดีย์ศรีบวรชินรัตน์ คำส่ัง จงเขียน ✓หนา้ ขอ้ ความท่ีถูกตอ้ งและเขียน หนา้ ขอ้ ความที่ไมถ่ กู ตอ้ ง ............. 1. พธิ ีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและพระอรหนั ตธ์ าตเุ ริ่มข้ึนในวนั มาฆบูชา ............. 2. บรรจุพระบรมสารีริกธาตโุ ดย นาวาเอกจุรินทร์ เหลือนาค ............. 3. ในการสร้างพระมหาเจดียศ์ รีบวรชินรัตนเ์ พอื่ เป็นอนุสรณ์สถานแด่ พระสงฆ์ ............. 4. หลวงพ่อมว้ น สุดเกตุ คืออดีตเจา้ อาวาสวดั นางพญาพิษณุโลก ............. 5. รูปหลอ่ โลหะเหมือนของท่านประดิษฐาน ณ ศาลาศรีบวรชินรัตน์ *************************************
20 เรื่องที่ 3 รอยพระพุทธบำทจำลอง ประวตั คิ วำมเป็ นมำ รอยพระพุทธบาทจาลอง ต้งั อยขู่ า้ งกอ้ นหินพระพุทธฉายทางทิศตะวนั ออกของ เชิงเขาสมอแคลง สูงจากพ้ืนราบประมาณ 150 เมตร อยใู่ นเขตบารุงรักษาของวดั พระพทุ ธบาท เขาสมอแคลง พระพทุ ธบาทจาลองน้ีแกะสลกั ดว้ ยหินทรายแผน่ หนาประมาณ 5 นิ้ว กวา้ ง 55 เซนติเมตร ยาว 150 เซนติเมตร ตามประวตั ิการก่อสร้างวดั ศาลาคู่พระพุทธบาทเขาสมอแคลง ในปัจจุบนั ควำมสำคญั ไดม้ ีการจดั งานสมโภชเฉลิมฉลองรอยพระพุทธบาทในวนั เพ็ญ เดือน 3 ของ ทุกปี ต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั ถือวา่ เป็นงานประจาปี เพอื่ ใหป้ ระชาชนทวั่ ไปไดม้ าปิ ดทอง และ กราบไหวข้ อพรเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวติ เพราะรอยพระพทุ ธบาทเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทองน้ี นบั ว่าเป็นรอยพระพุทธบาทคู่บา้ นของชาวบา้ นเขาสมอแคลงมาเกือบร้อยปี มีคนเคารพนบั ถือ ศรัทธากนั มาก
21 กจิ กรรม เรื่อง รอยพระพุทธบำทจำลอง คำสั่ง จงเขียน ✓หนา้ ขอ้ ความที่ถกู ตอ้ งและเขียน หนา้ ขอ้ ความที่ไม่ถูกตอ้ ง 1.............รอยพระพทุ ธบาทจาลองต้งั อยขู่ า้ งกอ้ นหินพระพุทธฉายทางทิศตะวนั ออก 2..............รอยพระพทุ ธบาทจาลองอยสู่ ูงจากพ้ืนฐานประมาณ 130 เมตร 3..............พระพุทธบาทจาลองแกะสลกั ดว้ ยหินละเอียด 4..............พระพุทธบาทจาลอง มีความประมาณ 65 เซนติเมตร 5.............งานสมโภชรอยพระพุทธบาทจะมีในวนั เพญ็ เดือน 3 ของทกุ ปี 6.............รอยพระพุทธบาทจาลองต้งั อยเู่ ชิงเขาสมอแคลง 7……….ในการกราบไหวข้ อพรเพ่อื เป็นสิริมงคลแก่ชีวติ 8……….พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลงอยคู่ ู่ชาวบา้ นมานานประมาณ 200 ปี ******************************************************
22 เรื่องที่ 4 พ่อป่ ขู ุนเณร ประวตั ิศาสตร์เมืองพิษณุโลก กล่าวถึงชาวลา้ นชา้ งว่าไดอ้ พยพเขา้ มาอยู่ท่ีเมือง พิษณุโลกคร้ังใหญ่ ในสมยั กรุงศรีอยธุ ยาตอนตน้ มีสาระสาคญั ว่า เม่ือปี พ.ศ.1917 ถึงปี พ.ศ. 1981 แควน้ ลา้ นชา้ งราชวงศข์ ุนลอมีพระราชโอรสของขนุ บรมปกครองอยนู่ ้นั ไดเ้ กิดยคุ เข็นข้ึน ภายในราชวงศข์ องกษตั ริยล์ าว ช่วงชิงอานาจกนั ในสมยั พระเจา้ สามเสนไทย(เจา้ อุ่นเรือน) พระ ราชโอรสของเจา้ ฟ้างุม้ ข้ึนครองราชสมบตั ิ พ.ศ.1916-1956 มีพระมเหสีคือ พระนางยอดฟ้า พระราชธิดาของพระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 (อู่ทอง) แห่งกรุงศรีอยุธยาทรงมีพระราช โอรสและสิ้นพระชนมใ์ นปี พ.ศ.1956 พระเจา้ ลา้ นชา้ ง พระราชโอรสองค์โตเสวยราชสมบตั ิแทนในปี พ.ศ.1959-1971 ทรงมีพระราช โอรส 2 พระองค์คือ เจา้ ฟ้าพรหมทตั พระราชโอรสองค์ใหญ่ และท้าวยุคล พระธิดาไม่ ปรากฏนาม คร้ันเม่ือพระเจา้ พรหมทตั ข้ึนครองราชย์ พระนางแกว้ พิมพา ซ่ึงเป็ นพระราชธิดา องค์ใหญ่มีอิทธิพลมาก ในขณะน้ันคิดคบกบั พระยาคาเกิดซ่ึงเป็ นชู้ จบั กุมพระเจา้ พรหมทตั ประหารชีวิตผูเ้ ป็ นพระราชบิดาที่ผาเดียว ใกลแ้ ม่น้าคานต่อมาก็มีกษตั ริยข์ ้ึนครองราชยอ์ ีก 4 พระองค์ ต่างกถ็ ูกพระนางแกว้ พิมพากบั ชูร้ ักส่ังประหารสิ้นในที่สุดพระนางแกว้ พมิ พาก็ยกชูร้ ัก ของตนข้ึนครองราชยไ์ ด้ 3 ปี และก็ถูกพระนางแก้วพิมพาปลงพระชนม์อีกในปี พ.ศ.1981 ราษฎรทนไม่ไหวจึงจบั กุมพระนางแกว้ พิมพาไปสาเร็จโทษ แต่พระนางแกว้ พิมพารอดพน้ จาก การถูกตามล่าของราษฎรได้ และตามแกแ้ คน้ ราชวงศบ์ างพระองค์ พระราชวงศพ์ ระองคน์ ้นั จึง หลบหนีลงมาทางทิศตะวนั ออกเฉียงใตพ้ ร้อมกบั นายบา้ นชาวเวียงจนั ท์ 3 พ่ีนอ้ ง คือ ทา้ วพาน ทา้ วยวง และทา้ วเณร พาชาวเวียงจนั ทห์ ลายพนั คนพร้อมกบั ชา้ ง 30 เชือก มา้ 300 ตวั มาตาม ลาน้าโขงเขา้ มาในเขตประเทศไทยทางลาน้าเหืองถึงเขตด่าน(จงั หวดั เลย) แบ่งชาวบา้ นไวท้ ี่บา้ น หนา้ ด่าน 250 ครอบครัวแลว้ เดินทางต่อมาถึงเชิงเขาขยาง(กระยาง) เขตอาเภอนครไทยจึงไดพ้ กั พลชว่ั คราว แลว้ ส่งคนมาหาทาเลต้งั ถ่ินฐานทามาหากิน เมื่อลงมาถึงที่ราบลุ่มเชิงเขาสมอแคลง ไดพ้ ิจารณาเห็นเป็ นสถานที่เหมาะสมเพราะดินน้าดี มีท้งั ป่ าเขา ห้วย หนอง คลอง บึง และท่ี ราบ อาหารสมบูรณ์ หลงั จากน้ันขบวนอพยพนาโดย ท่านทา้ ว 3 พี่น้อง ทา้ วพาน ทา้ วยวง และทา้ วเณร มาต้งั มนั่ อยู่บริเวณเขาสมอแคลง สร้างบา้ นเรือนที่พกั อาศยั แปลงป่ าให้เป็ นนา กลายเป็นตาบลใหญ่ ๆ ต่อมาไดม้ ีผคู้ นเพ่ิมมากข้ึน(จนมีคาเปรียบว่า “ไก่บินไม่ตกจากหลงั คา”)
23 ทา้ วเณร(พ่อป่ ูขุนเณร) ปกครองดูแลครอบครัวที่เหลืออยทู่ ี่เขาสมอแคลงนน่ั เอง จนสิ้นอายขุ ยั จากอดีดจนถึงปัจจุบนั เป็นเวลา 570 กวา่ ปี ร่องรอยในอดีตยงั เหลือใหเ้ ราเห็นอยจู่ นทุกวนั น้ี
24 กจิ กรรม เรื่อง พ่อป่ ขู ุนเณร 1. พ่อป่ ูขนุ เณร มีประวตั ิความเป็นมาอยา่ งไร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... **********************************************
25 เรื่องท่ี 5 ประวตั ิและตำนำนเจ้ำแม่กวนอมิ หยกขำว เจ้ำแม่กวนอมิ เป็นโพธิสัตวข์ องพระพทุ ธศาสนา ฝ่ายมหายาน เป็ นองคเ์ ดียวกนั กบั พระอวโลกิเตศวร โพธิสัตวใ์ นภาษาสันสกฤต ซ่ึงมีตน้ กาเนิดจาก พระสูตรมหายานใน อินเดีย และไดผ้ สมผสานกบั ความเช่ือพ้ืนถิ่นด้งั เดิมของจีน คือตานานเรื่อง พระธิดาเม่ียวซ่าน ก่อใหเ้ กิดเป็นพระโพธิสตั วก์ วนอิมในภาคสตรีข้ึน พระโพธิสัตวก์ วนอิมในตานานฝ่ายจีน พระโพธิสตั วก์ วนอิม (ประสูติ 19 เดือนยจี่ ีน) ชาติสุดทา้ ยเป็น ราชธิดานาม เม่ีย วซ่าน เดิมเป็นเทพธิดา มาจุติยงั โลกมนุษย์ เพื่อมาปลดเปล้ืองทุกขภ์ ยั แก่มวลมนุษย์ เป็ นราช ธิดาองค์สุดทา้ ยของกษตั ริยเ์ มี่ยวจวง ซ่ึงมีราชธิดา 3 องค์ คือ เมี่ยวอิม, เมี่ยวซ่าน ,เม่ียวหยวน คร้ังเยาวว์ ยั เป็ นพุทธมามกะรู้แจง้ ในหลกั ธรรมลึกซ้ึง ต้งั พระทยั แน่วแน่จะบาเพ็ญภาวนาออก บวช วนั ที่ 19 เดือน 9 พระเจา้ เม่ียวจวงไม่เห็นดว้ ย จะบงั คบั ใหเ้ ลือกราชบุตรเขย เพ่ือจะได้ สืบทอดราชบลั ลงั กต์ ่อไป แต่องคห์ ญิงเม่ียวซ่านไม่สนพระทยั ในเร่ืองลาภ ยศ สรรเสริญ อนั จอมปลอม แมจ้ ะถกู พระบิดาดุด่าอยา่ งไร แตอ่ งคห์ ญิงก็ไมเ่ คยโกรธ ต่อมาองค์หญิงเม่ียวซ่านได้ถูกจับให้ไปทางานในสวนดอกไม้ เช่น หาบน้า ปลูกตน้ ไม้ ท้งั น้ีพระบิดาทรมานเพ่ือให้องคห์ ญิงเปล่ียนใจ แต่กลบั มีเหล่ารุกขเทวดามาช่วย ทางานแทนใหท้ ้งั หมด พระบิดาเห็นวา่ ไม่ไดผ้ ล เลยส่ังใหห้ วั หนา้ แมช่ ีนาองคห์ ญิงเม่ียวซ่านไป ที่วดั นกยงู ขาว และให้เอางานของแม่ชีท้งั วดั มาให้องค์หญิงทาคนเดียว แต่องคห์ ญิงมีใจเด็ด เดี่ยวไม่เกี่ยงงานตา่ ง ๆ กม็ ีเหล่ารุกขเทวดามาช่วยทางานอีก พระเจา้ เม่ียวจวงเขา้ พระทยั วา่ แมช่ ี ไม่กลา้ ใหอ้ งคห์ ญิงทางานหนกั จึงโกรธส่ังใหท้ หารเผาวดั นกยงู ขาวพอ้ มกบั แมช่ ีวอดเป็นจุนไป มีแต่องคห์ ญิงเมี่ยวซ่านเทา่ น้นั ที่ปลอดภยั พระเจา้ เม่ียวจวงทราบก็ทรงใหน้ าองคห์ ญิงเมี่ยวซ่านไปประหารชีวิต เทพารักษ์ ที่คอยรักษาองค์หญิงก็เนรมิตทองทิพยเ์ ป็ นเกราะหุ้มตวั คมดาบจึงไม่อาจระคายพระวรกาย ดาบหกั ถึง 3 คร้ัง 3 ครา พระบิดาทรงกริ้วคิดว่าทหารไม่กลา้ ทาเลยสั่งให้ประหารชีวิตทหาร แทน แลว้ รับสัง่ ใหน้ าองคห์ ญิงไปแขวนคอ ทวา่ ผา้ แพรท่ีแขวนคอก็ขาดสะบ้นั ลงอีก ทนั ใดน้นั ก็ปรากฏเสือเทวดาตวั หน่ึง ไดน้ าเจา้ หญิงไปที่เขาเชียงชิน ตอ่ มาเทพไท่ไป่ ไดแ้ ปลงร่างเป็ นชาย
26 ชรามาโปรดเจ้าหญิงช้ีแนะเคล็ดวิธีการบาเพ็ญเพียรเครื่องดบั ทุกข์ จนสามารถบรรลุมรรค ผลสาเร็จธรรม ในวนั ที่ 19 เดือน 6 พระบิดาคิดวา่ เสือคาบองคห์ ญิงไปกินแลว้ ต่อมาไม่นานบาปกรรมที่พระองคก์ ่อไวส้ ่งผล เกิดป่ วยดว้ ยโรคร้ายแรง ไม่มียา รักษาใหห้ ายได้ องคห์ ญิงเม่ียวซ่านไดท้ รงทราบดว้ ยญาณวิถีวา่ บิดากาลงั ประสบเคราะห์กรรม อย่างหนกั ดว้ ยความกตญั ญูกตเวทีเป็ นเลิศ มิไดถ้ ือโทษ โกรธการกระทาของพระบิดาแมแ้ ต่ น้อย ทรงไดส้ ละดวงตา และแขนสองขา้ ง เพื่อรักษาพระบิดาจนหายจากโรคร้าย ว่ากนั ว่า ภายหลงั จากสาเร็จพระอรหันต์ องค์หญิงก็ไดด้ วงตากบั แขนคืน เคยแสดงปาฏิหาริยเ์ ป็ นปาง กวนอิมพนั มือ องค์หญิงเม่ียวซ่านน้ันตอนแรกเป็ นชาวพุทธ ตอนหลงั เทพไท่ไป่ ไดม้ าโปรด ช้ีแนะหนทางดบั ทุกข์ เหตุน้ีพระโพธิสัตวก์ วนอิม จึงเป็ นเทพท้งั ฝ่ ายพุทธและฝ่ ายเต๋าในเวลา เดียวกนั เจา้ แม่กวนอิม เป็ นโพธิสัตวท์ ่ีมีคนนบั ถือมาก พระโพธิสัตวก์ วนอิมแสดงออก ถึงความอ่อนโยน และแสดงถึงความเมตตากรุณา จะช่วยให้คนพน้ ทุกข์ พระญาณบารมีของ พระโพธิสตั วก์ วนอิมจะช่วยคุม้ ครองปกปักรักษา และใหป้ ระสบความสาเร็จในทกุ ประการ อีก ท้งั ปลอดภยั จากอุบตั ิภยั ท้งั หลายท้งั ปวง สมหวงั ในส่ิงที่ตนพึงปรารถนา พระโพธิสัตวก์ วนอิม ผเู้ ป่ี ยมดว้ ยเมตตา จึงประทบั อยใู่ นใจของผศู้ รัทธาจนถึงปัจจุบนั และตลอดไป
27 เม่ือประมาณตน้ ปี พ.ศ. 2535 ไดม้ ีการอญั เชิญพระโพธิสัตวก์ วนอิมหยกขาวที่มี ความสูง 3 เมตร หนกั 3 ตนั แกะสลกั จากหินทะเลสาบหยกขาวจากเมืองหางโจว ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน นับได้ว่าเป็ นหินทะเลหยกขาวองค์เดียวท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลกมา ประดิษฐานที่วดั ราชคีรีหิรัญยาราม เมื่อวนั ท่ี 15 ตลุ าคม 2535 เพอื่ เป็นศิริมงคลและเป็นเครื่อง ยดึ เหน่ียวจิตใจของปวงประชาชนทวั่ ไป
28 กจิ กรรม เจ้ำแม่กวนอมิ คำส่ัง จงเลือกคาตอบที่ถกู ที่สุดเพยี งขอ้ เดียวเทา่ น้นั 1. พระโพธิสัตวก์ วนอิมประสูติตรงกบั ขอ้ ใด ก. 19 เดือนยจ่ี ีน ข. 19 เดือนยี่ ค. 19 เดือนอา้ ยจีน ง. 19 เดือนอา้ ย 2. พระโพธิสัตวก์ วนอิม มีพระนามเดิมวา่ อะไร ก. เม่ียวจวง ข. เมี่ยวอิม ค. เม่ียวซ่าน ง. เมี่ยวหยวน 3. องคห์ ญิงเม่ียวซ่านไดเ้ สียสละอะไรเพ่อื ช่วยพระบิดา ก. ดวงตา ข. แขนสองขา้ ง ค. นิ้วนาง ง. ขอ้ ก และ ขอ้ ข ถูก 4. องคห์ ญิงเมี่ยวซ่านถูกแม่ชีนาไปไวท้ ี่ใด ก. วดั นกหยกขาว ข. วดั นกยงู ขาว ค. วดั นกกระยางขาว ง. วดั นกขาว 5. พระโพธิสตั วก์ วนอิม จะมีลกั ษณะเด่นในดา้ นใด ก. ความรักเมตตากรุณา ข. ความโหดร้าย ค. ความโง่เขลา ง. ความล่มุ หลง
29 เรื่องท่ี 6 ประวตั ิโรงเจไซทฮี ุกตงึ้ เม่ือ 60 ปี ที่ผา่ นมาไดม้ ีกลุ่มชาวจีนจากโพนทะเลไดอ้ พยพถิ่นฐานจากประเทศ จีน เพ่ือเขา้ มาคา้ ขายในประเทศไทยกนั เป็ นจานวนมาก จึงเป็ นจุดกาเนิดของศาลเจา้ ต่าง ๆ มากมายในประเทศไทย และน่ีก็เป็ นอีกแห่งหน่ึงที่มีการรวมกนั ของชาวจีน และร่วมกนั ก่อต้งั สถานท่ีปฏิบตั ิธรรมหรือท่ีเราเรียกว่าโรงเจ โดยใช้ช่ือว่า โรงเจไซทีฮุกต้ึง ซ่ึงชาวจีนกลุ่มผู้ ก่อต้งั น้ีหลงั จากที่ไดเ้ ขา้ มาอาศยั อยใู่ นประเทศไทยแลว้ ไดช้ ่วยกนั ออกสารวจหาพ้ืนที่ท่ีเหมาะสม แก่การสร้างโรงเจโดยเห็นวา่ ตอ้ งเป็นพ้ืนที่ที่สงบร่มเยน็ และมีฮวงจุย้ ท่ีดีเยย่ี ม หลงั จากน้นั จึงออกสารวจมายงั เขาสมอแคลงซ่ึงเป็นภูเขาต้งั อยหู่ ่างจากตวั จงั หวดั พิษณุโลกเพียง 17 กิโลเมตร และอยใู่ นเขตอาเภอวงั ทอง ซ่ึงทางชาวจีนผูก้ ่อต้งั ชุดน้ีก็ได้ลง ความเห็นวา่ พ้นื ที่ตรงน้ีเหมาะสมท่ีสุด หลงั จากน้นั ทุกคนก็ไดเ้ สียสละบริจาคทรัพยส์ ินกนั คนละ เล็กละน้อยเพื่อรวบรวมเงินที่ไดม้ าก่อสร้างเป็ นโรงเจเล็ก ๆ เพ่ือไวใ้ ชส้ าหรับประกอบพิธีทาง ศาสนาของชาวจีนอาทิ เช่น พิธีกินเจ สวดมนต์ ไหวเ้ จา้ และไดอ้ ญั เชิญเจา้ พ่อเห้งเจีย(ไต๋เสี่ย ฮุกโจว้ ) ซ่ึงทางชาวจีนมีความเชื่อว่าองค์เจา้ พ่อเห้งเจียเป็ นเทพที่อยู่บนสวรรค์และมีอิทธิฤทธ์ิ หากใครไดก้ ราบไหวห้ รือจุดประทดั ขอพร ก็จะไดร้ ับพรจนสมั ฤทธ์ิผลทกุ รายไปจนเป็นที่เคารพ นบั ถือของชาวจีนในช่วงวนั สาคญั ประกอบไปถึงเทศกาลกินเจ ทางโรงเจก็ไดเ้ ปิ ดเป็นโรงทาน จานวน 9 วนั และไดม้ ีสาธุชนเดินทางข้ึนมาถือศีลกินเจกนั เป็ นจานวนมาก เนื่องจากสภาพตวั อาคารไดช้ ารุดทรุดโทรมลงไปมากตามกาลเวลาจึงไดเ้ ร่ิมทาการปรับปรุงใหม่แต่ยงั คงสภาพ โครงสร้างเดิมๆไวพ้ ร้อมกบั สร้างจุดท่ีพกั ชมวิวท่ีบริเวณหน้าผา โดยเฉพาะในเวลากลางคืน สามารถมองทศั นียภ์ าพของตวั อาเภอวงั ทองท่ีมีแสงไฟส่องสวา่ งงดงามมาก มีการปรับปรุงพ้ืน โดยนาหินแกรนิตมาปูใหม่ท้งั หมด อนั มีลวดลายของหินที่สวยงดงามเป็ นที่ประทบั ใจของ นกั ท่องเท่ียวที่ไดข้ ้ึนไปชมความงามมาแลว้ จึงขอเชิญชวนสาธุชนท้งั หลายใหข้ ้ึนไปสัมผสั กบั ธรรมชาติและไหวพ้ ระขอพรจากองคเ์ จา้ พอ่ เหง้ เจียอนั ศกั ด์ิสิทธ์ิและองคใ์ หญ่ที่สุดในภาคเหนือ
30 กจิ กรรม โรงเจไซทีฮุกตึง้ คำส่ัง จงเขียน ✓หนา้ ขอ้ ความที่ถูกตอ้ งและเขียน หนา้ ขอ้ ความท่ีไม่ถูกตอ้ ง ............. 1. เม่ือประมาณ 50 ปี ท่ีผา่ นมาไดม้ ีชาวจีนกลุม่ หน่ึงเดินทางมาจากโพน้ ทะเล เขา้ มาในประเทศไทย ............. 2. สถานที่ปฏิบตั ิธรรมหรือท่ีเราเรียกกนั วา่ โรงเจ ............. 3. ในเทศกาลกินเจทางโรงเจไดเ้ ปิ ดเป็นโรงทาน จานวน 9 วนั ............. 4. เจา้ พอ่ เหง้ เจีย มีชื่อเรียกอีกอยา่ งวา่ ไต๋เสี่ยฮุกโจว้ ............. 5. โรงเจเป็นสถานที่ใชป้ ระกอบพิธีทางศาสนาของชาวจีน ............. 6. องคเ์ จา้ พ่อเหง้ เจียเป็นเทพท่ีอยใู่ ตบ้ าดาล ............. 7. เจา้ พ่อเหง้ เจียที่เขาสมอแคลง ถือวา่ เป็นองคท์ ่ีใหญ่ที่สุดในโลก ............. 8. ในการกราบไหวข้ อพรเจา้ พอ่ เหง้ เจียจะตอ้ งมีการจุดประทดั ขอพรดว้ ย *************************************
31 เร่ืองท่ี 7 บ่อช้ำงล้วง ประวัติควำมเป็ นมำ เป็ นแหล่งน้าท่ีพิเศษกวา่ แหล่งอ่ืน มีผกู้ ล่าววา่ ในสมยั ก่อนประมาณ 50 ปี เศษ บ่อน้ีถูกขุดดว้ ยช้าง อยู่ตรงบริเวณมุมทางแยกเขา้ วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลงดา้ นซ้ายมือ เป็ นบ่อหินท่ีไม่ใช่หินเรียง แต่เป็ นการขุดซอกแซกไปตามซอกหินจนถึงน้า เหตุที่ใชช้ ้างขุด เนื่องจาก พ่อคา้ ขนของจากนครไทยมาขายดว้ ยชา้ ง ชา้ งหิวน้าแต่ไม่มีน้ากิน พ่อคา้ จึงไดบ้ อก กลา่ วสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิวา่ หากขดุ พบน้าจะถวายชา้ งหน่ึงเชือก จึงใหช้ า้ งใชง้ วงขดุ ก็พบน้า ชา้ งเชือกท่ี ขดุ ก็หมดแรงลม้ ลงสิ้นใจ ณ ที่น้ี ตอ่ มากเ็ ป็นจุดพกั ชา้ ง ใหช้ า้ งดูดน้าข้ึนมาอาบและกิน
32 เร่ืองที่ 8 บ่อทอง ประวตั ิควำมเป็ นมำ บ่อทอง ตามประวตั ิศาสตร์ความเป็นมาไดจ้ ารึกไว้ บอ่ ทองต้งั อยพู่ ้ืนที่ราบตีนเขา สมอแคลงทางทิศใต้ ปัจจุบนั อยขู่ า้ งถนนเขา้ ค่ายบรมไตรโลกนาถ และบรรจบกบั ถนนซอยบ่อ ทอง บ่อแห่งน้ีต้งั อยรู่ ิมทางน้าไหล น้ามีสีแดงเร่ือ ๆ คลา้ ยสีทอง จึงเรียกวา่ “ บ่อทอง ” เคยมี ครอบครัวหน่ึงมาอาศยั ทาไร่ทาสวนอยบู่ ริเวณบ่อแห่งน้ี และไดท้ านาในช่องน้าไหลแห่งน้ี และ ไดอ้ าศยั บ่อแห่งน้ีเพ่ืออุปโภคบริโภคพร้อมกบั ชาวบา้ นในซอยบ่อทองแห่งน้ี มีบางคนเล่าว่า ครอบครัวท่ีอาศยั ในพ้ืนท่ีติดกบั บ่อทองแห่งน้ีเป็ นครอบครัวท่ีมีวิชาอาคมในทางสักยนั ต์ ไดใ้ ช้ น้าในบอ่ น้ีประกอบพธิ ี เช่น ทาน้ามนต์ ถือเป็นน้าศกั ด์ิสิทธ์ิแห่งหน่ึง คร้ังตอ่ มาครอบครัวน้ีได้ เสียชีวิตไปหมด และมีครอบครัวอื่นมาอาศยั ก็ไม่สามารถอยไู่ ด้ เพราะพ้ืนท่ีแห่งน้ีแรงมาก ทา ใหอ้ ยไู่ ม่สุขสบาย ส่วนทางน้าไหลน้นั เดิมเป็ นที่ราบ ต่อมาราว พ.ศ.2500 ทางการไดก้ ่อสร้าง ถนนสายพษิ ณุโลก – หลม่ สัก ไดม้ าขดุ เอาดินบริเวณน้ีไปก่อสร้างทาง ทาใหพ้ ้นื ท่ีในบริเวณน้ีดู เป็นหลุมเป็นบอ่ ผดิ จากสภาพเดิม ควำมสำคญั เป็ นแหล่งน้าที่ถูกขุดข้ึนริมเชิงเขาดา้ นทิศตะวนั ตก ภายในบ่อเรียงดว้ ยหิน มีน้า ตลอดปี เป็ นบ่อเก่าแก่ของคนโบราณ ไดข้ ุดทาไวต้ ้งั แต่สมยั ที่มีผูค้ นมาอาศยั อยเู่ ขาสมอแคลง แห่งน้ี เป็นบอ่ ท่ีไดใ้ ชเ้ ป็นน้าอาบ น้าใชข้ องชาวบา้ นในซอยบ่อทองน้ี
33 กจิ กรรม บ่อทอง คำสั่ง จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. บอ่ ทองต้งั อยทู่ ี่ใด ตอบ............................................................................................................................ 2. น้าที่ไหลออกมามีลกั ษณะอยา่ งไร ตอบ............................................................................................................................ 3. เริ่มมีการก่อสร้างถนนสายพษิ ณุโลก – หล่มสกั ผา่ นในปี พ.ศ. ใด ตอบ............................................................................................................................ 4. ภายในบ่อทองจะเรียงดว้ ยวตั ถปุ ระเภทใด ตอบ............................................................................................................................ 5. คนท่ีอาศยั อยมู่ ีวิชาอาคมไดใ้ ชน้ ้าในบ่อทองน้ีไปทาอะไร ตอบ............................................................................................................................ ******************************************
34 เรื่องท่ี 9 หนิ ช้ำงโขลง ประวตั คิ วำมเป็ นมำ สมัยก่อนคร้ังที่เขาสมอแคลงแห่งน้ียงั มีความเป็ นป่ าทึบ มีสัตว์ป่ าอาศัยอยู่ มากมาย ตอ่ มามีคนเขา้ มาต้งั เป็นถ่ินฐานที่อยอู่ าศยั ผคู้ นทาไร่ทาสวนเป็นแหล่งอาหาร พอเขา้ ฤดู แลง้ อาหารป่ าขาดแคลน สัตวป์ ่ าต่างเดือนร้อนรวมท้งั ชา้ งท่ีเป็ นสัตวใ์ หญ่ที่อาศยั อยทู่ ี่แห่งน้ีดว้ ย เม่ือโขลงชา้ งผ่านไปบริเวณไร่สวนของชาวบา้ นดว้ ยความหิวจึงเขา้ ไปกินพืชผลของชาวบา้ น ชาวบา้ นจึงเอาปื นไล่ยิงดว้ ยความโกรธ โขลงชา้ งจึงหนีเพราะกลวั ตาย สมยั ก่อนเร่ืองไสยศาสตร์ และวิชาอาคมมืดยงั มีอยปู่ รอทกเ็ ป็นช่ือของไสยศาสตร์ประเภทหน่ึง วธิ ีใชค้ ือ อมไวท้ ่ีปากและ ท่องคาถาในเวลากลางคืนจะหายตวั ได้ และบงั เอิญไม่ทราบว่าใครเอาปรอทมาไวใ้ ตก้ ้อนหิน ใหญ่ ซ่ึงพอดีกบั โขลงชา้ งท่ีหนีมาหลบตรงกอ้ นหินน้ีชาวบา้ นไล่ตามมาแต่หาชา้ งไม่เจอจึงพา กนั กลบั แลว้ เหตุการณ์เช่นน้ีก็เกิดข้ึนอีกจนทาใหช้ าวบา้ นเดือดร้อนต่อมามีพระธุดงคอ์ งคห์ น่ึง ผา่ นมาแถวกอ้ นหินกอ้ นน้นั และนงั่ สมาธิเห็นอวิชา จึงนาอวชิ าออกมาจากใตก้ อ้ นหินต้งั แต่น้นั มาก็ไมม่ ีใครเห็นโขลงชา้ งอีกเลย จากคาบอกเล่าของคนรุ่นเก่าบริเวณป่ าแห่งน้ีจะพบกอ้ นหินที่มีลกั ษณะคลา้ ยชา้ ง หมอบกบั ดิน จะเห็นคลา้ ยช่วงหวั และกน้ ของชา้ งอยเู่ ป็ นแนว ๆ ข้ึนไปบนเขา แต่ปัจจุบนั มีหิน ที่ลกั ษณะดงั กล่าวเพียงกอ้ นเดียวเท่าน้นั
35 กจิ กรรม หินช้ำงโขลง คำส่ัง ใหท้ าเคร่ืองหมาย X กากบาทลงในขอ้ ท่ีถกู ท่ีสุด 1. ปรอท เป็นช่ือของอะไร ก. ช่ือของไสยศาสตร์ประเภทหน่ึง ข. ชื่อของวิชาชนิดหน่ึง ค. ช่ือของชา้ งชนิดหน่ึง ง. ชื่อของสัตวช์ นิดหน่ึง 2. โขลงชา้ งท่ีวง่ิ หนีตายไปหลบอยทู่ ่ีไหน ก. หลบที่ป่ า ข. หลบท่ีริมน้า ค. หลบท่ีกอ้ นหิน ง. หลบที่สวน 3. ผทู้ ่ีนงั่ สมาธิเห็นอวชิ าคือใคร ก. พระสงฆ์ ข. พระฤาษี ค. พระพาย ง. พระธุดงค์ 4. ชาวบา้ นใชอ้ าวธุ อะไรในการขบั ไล่ชา้ ง ก. มีด ข. ปื น ค. ขวาน ง. หนงั สติก 5. พบกอ้ นหินในป่ ามีลกั ษณะอยา่ งไร ก. คลา้ ยมา้ หมอบกบั ดิน ข. คลา้ ยโคหมอบกบั ดิน ค. คลา้ ยชา้ งหมอบกบั ดิน ง. คลา้ ยมา้ ลายหมอบกบั ดิน
36 บทที่ 3 กำรอนุรักษ์ประเพณีและพธิ ีทำงศำสนำ สำระสำคัญ 1. รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกบั ประเพณีพิธีทางศาสนา และการจดั งานสมโภชประจาปี ของเขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง 2. บอกความสาคญั ของการอนุรักษ์ประเพณี และพิธีทางศาสนาในการจดั พิธี บวงสรวงพอ่ ป่ ขู นุ เณร 3. มีทกั ษะในเรื่องของการจดั เตรียมเคร่ืองสกั การะท่ีใชใ้ นพิธีบวงสรวงพอ่ ป่ ขู นุ เณร ผลกำรเรียนรู้ท่คี ำดหวงั 1. มีความรู้ความเขา้ ใจถึงความสาคญั ในการจัดงานสมโภชประจาปี เขาสมอ แคลงอาเภอวงั ทอง 2. สามารถจัดเตรียมเครื่องสักการะที่ใช้ในพิธีบวงสรวงพ่อป่ ูขุนเณรไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ ง 3. บอกความสาคญั ของการจดั พิธีบวงสรวงพอ่ ป่ ูขนุ เณรไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ขอบข่ำยเนื้อหำ 1. ประวตั ิความเป็ นมาของการจดั งานสมโภชประจาปี เขาสมอแคลงอาเภอวงั ทอง 2. พิธีทางศาสนา 2.1. การกราบรอยพระพุทธบาท 2.2 การกราบขอพรเจา้ แม่กวนอิมหยกขาว 3. พธิ ีบวงสรวงพ่อป่ ูขนุ เณร 3.1 การจดั เตรียมเคร่ืองสักการะที่ใชใ้ นพิธีบวงสรวง 3.2 การจดั พิธีบวงสรวง
37 เร่ืองท่ี 1 ประวตั คิ วำมเป็ นมำของกำรจัดงำนสมโภชประจำปี เขำสมอแคลงอำเภอวงั ทอง เม่ือประมาณปี พ.ศ. 2487 หลวงพ่อพระครูประพนั ธ์ศีลคุณ เจา้ อาวาสวดั ตลาด ชุมไดร้ ่วมกบั ชาวบา้ นตลาดชุมสร้างบนั ไดข้ึนไปบนรอยพระพุทธบาท เพ่ือให้สะดวกในการ ข้ึนไปปิ ดทองรอยพระพุทธบาทไดส้ ร้างแลว้ เสร็จในปี เดียวกนั รวมบนั ไดสูง 216 ข้นั เม่ือ สร้างบนั ไดเสร็จ หลวงพ่อพระครูประพนั ธศ์ ีลคุณ จึงไดจ้ ดั งานสมโภชเพื่อให้ประชาชนไดข้ ้ึน ไปปิ ดทองรอยพระพุทธบาทนบั ต้งั แต่น้นั เป็ นตน้ มาวดั เขาสมอแคลงหรือพระพุทธบาทเขาสมอ แคลงอาเภอวงั ทอง จึงไดจ้ ดั งานปิ ดทองรอยพระพุทธบาทเขาสมอแคลงเป็นประจาทุกปี โดย กาหนดให้เป็นวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 3 ของทุกปี เป็ นวนั เร่ิมงาน จะจดั งานสมโภชเป็ นเวลา 5 วนั 5 คืน ท้งั น้ีเพือ่ ระลึกถึงพระครูประพนั ธศ์ ีลคุณ และถือเป็นการอนุรักษป์ ระเพณีทางศาสนา เพอ่ื ใหค้ นรุ่นหลงั ไดศ้ ึกษาและปฏิบตั ิสืบไป
38 เรื่องที่ 2 พธิ ีทำงศำสนำ พิธี คือ แบบอย่าง แบบแผน หรือรูปแบบต่าง ๆ ที่พึงปฏิบตั ิในทางศาสนา โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาเรียกว่า ศาสนพิธี ความจริงเรื่องศาสนพิธีเป็ นเร่ืองที่มีดว้ ยกนั ทุก ศาสนา และเป็นเรื่องที่เกิดข้ึนทีหลงั ศาสนา หมายความวา่ มีศาสนาเกิดข้ึนก่อนแลว้ จึงมีพิธี ต่าง ๆ เกิดตามมาภายหลงั แมศ้ าสนพิธีในพระพทุ ธศาสนาก็เช่นกนั เกิดข้ึนภายหลงั ท้งั สิ้น เหตุ เกิดศาสนพิธีในพระพุทธศาสนาน้ี ก็เน่ืองจากมีหลกั การของพระพุทธศาสนา ซ่ึงพระพุทธเจา้ ทรงวางไว้ แต่ในปี ท่ีตรัสรู้เพื่อสาวกจะไดถ้ ือเป็ นหลกั ในการออกไปประกาศพระศาสนาอนั เรียกว่า โอวำทปำติโมกข์ ในโอวาทน้ันมีหลกั การสาคญั ที่ทรงวางไวเ้ ป็ นหลกั ทวั่ ๆ ไป 3 ประการ คือ 1. สอนไมใ่ หท้ าความชวั่ ท้งั ปวง 2. สอนใหอ้ บรมกศุ ลใหพ้ ร้อม 3. สอนใหท้ าจิตใจของตนใหผ้ อ่ งแผว้ โดยหลกั การท้งั 3 น้ีเป็นอนั วา่ พุทธบริษทั ตอ้ งเลิก ละความประพฤติชว่ั ทกุ อยา่ ง จนเต็มความสามารถ และพยายามสร้างกุศลสาหรับตนให้พร้อมเท่าท่ีจะสร้างไดเ้ ป็ นการ พยายามทาดี เรียกวา่ ทำบุญ และการทาบุญน้ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงวตั ถุ คือ ท่ีต้งั อนั เป็ นทาง ปฏิบตั ิไวย้ อ่ ๆ 3 ประการ เรียกวา่ บุญกริ ิยำวตั ถุ คือ 1. ทาน การบริจาคสิ่งของของตนใหเ้ ป็นประโยชน์แก่ผอู้ ่ืน 2. ศีล การรักษากาย วาจา ใจ ใหส้ งบเรียบร้อย ไม่ล่วงพุทธบญั ญตั ิ 3. ภาวนา การอบรมจิตใจใหผ้ อ่ งใสทางกศุ ล
39 กรำบขอพรรอยพระพทุ ธบำท วัดพระพุทธบำทเขำสมอแคลง เป็นวดั หน่ึงในสังกดั คณะสงฆม์ หานิกาย ซ่ึงเป็นวดั เก่าแก่สมยั กรุงศรี อยุธยาตอนตน้ หรือสมยั กรุงสุโขทยั ตอนปลาย อยู่ห่างจากเมืองพิษณุโลกไปทางทิศตะวนั ออกประมาณ 14 กิโลเมตร ต้งั อยูบ่ นเขาลูกเดียวโดด ๆ มีลกั ษณะรูปยาวรี วางตวั ตามแนวเหนือ – ใต้ และดา้ นทิศใตอ้ ยู่ติด กบั ทางหลวงสายพิษณุโลก – หล่มสัก ในบริเวณวดั มีรอยพระพุทธบาทจาลอง และบนเขาที่อยู่ทางดา้ น ตะวนั ตกของวดั มีรอยพระพุทธบาทตะแคงอยู่กบั หนา้ ผา หรือประมาณตน้ ปี พ.ศ. 2535 ไดม้ ีการอญั เชิญ พระโพธิสัตวก์ วนอิม ซ่ึงแกะจากหินทะเลสาบหยกขาวจากเมืองหางโจว ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน มาประดิษฐาน ณ วดั แห่งน้ี ในช่วงของเพญ็ เดือน 3 คือ วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 3 ของทุกปี ทางวดั จะจดั งานสมโภช ข้นึ เป็นเวลา 5 วนั 5 คืน เพือ่ ใหพ้ ุทธศาสนิกชนไดร้ ่วมนมสั การทาบุญกราบไหว้ ขอพรรอยพระพุทธบาท จาลอง เพื่อเป็ นศิริมงคลกบั ชีวิต โดยทางวดั เขาสมอแคลงไดถ้ ือว่าเป็ นประเพณี จดั สืบทอดกันมาเป็ น ประจาทุกปี เพือ่ เป็นการนอ้ มราลึกถึงองคพ์ ระสัมมาสมั พุทธเจา้ และธารงรักษาพระพทุ ธศาสนาใหด้ ารงอยู่ สืบไป การจดั งานนมสั การพระพุทธบาทของวดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลงยงั เป็ นการส่งเสริมวฒั นธรรม ประเพณีของศาสนาใหค้ งอยสู่ ืบไป
40 กจิ กรรม กรำบขอพระรอยพระพทุ ธบำท คำส่ัง เลือกคาตอบท่ีถูกที่สุดเพียงขอ้ เดียวเท่าน้นั 1. วดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลงสงั กดั คณะสงฆใ์ ด ก. มหายาน ข. มหานิกาย ค. ธรรมกาย ง. มหายานกาย 2. วดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลงอยหู่ ่างจากเมืองพษิ ณุโลกไปประมาณเท่าไร ก. 14 ก.ม. ข. 15 ก.ม. ค. 16 ก.ม. ง. 17 ก.ม. 3. ในปี พ.ศ.ใด ท่ีไดม้ ีการอนั เชิญพระโพธิสตั วก์ วนอิมมาประดิษฐาน ก. ปี พ.ศ. 2532 ข. ปี พ.ศ. 2533 ค. ปี พ.ศ. 2534 ง. ปี พ.ศ. 2535 4. งานสมโภชประจาปี วดั พระพทุ ธบาทเขาสมอแคลง จะจดั ข้ึนเม่ือใด ก. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 2 ข. วนั ข้ึน 13 ค่า เดือน 3 ค. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 3 ง. วนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 4 5. วดั พระพุทธบาทเขาสมอแคลงต้งั อยทู่ างทิศใด ก. ทิศตะวนั ออก ข. ทิศตะวนั ตก ค. ทิศเหนือ ง. ทิศใต้ ๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕๕
41 กำรบูชำเจ้ำแม่กวนอมิ คร้ังแรกใหไ้ หวด้ ว้ ยดอกบวั สีชมพูหรือสีขาว 9 ดอก ธูป 9 ดอก เทียน 2 เลม่ ผลไม้ มี สม้ สาล่ี อยา่ งละ 4 ผล (เพม่ิ ผลไมอ้ ะไรอีกกไ็ ด)้ หา้ ม มะม่วง พุทรา ขนม ขนมเป๊ี ยะ น้าชา 4 ถว้ ย เวลาสวดมนตใ์ หถ้ วายประคา 1 เสน้ หมำยเหตุ ถา้ คิดจะต้งั ทา่ นแลว้ ใหค้ ุณเลิกทานเน้ือววั ของถวายเจา้ แม่กวนอิมใหม้ ีแต่ขนมกบั ผลไมเ้ ทา่ น้นั
Search