ก คำนำ การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและ ส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้ กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ใน 5 ภูมิภาค หลักโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกำหนดภารกิจที่จะยกระดับการจัด การศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับ ศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทยให้ได้รักการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคณุ ภาพทัว่ ถึง และเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้ม่ันคง และมี งานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดบั สากล ซึ่งเป็นการ จัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ในรูปแบบใหม่ทส่ี รา้ งความมัน่ คงให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว จึงได้นำนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ ความจำเป็นดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมาย และประชาชนมี รายได้ และมีอาชพี เสรมิ ว่าที่เรอื ตรีอิทธา พรเฉลิมพงศ์ ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน
สารบัญ ข เรื่อง หน้า คำนำ ก บทที่ 1 บทนำ 1 บทที่ 2 วธิ ีดำเนนิ งาน 2 บทท่ี 3 ผลการดำเนนิ งาน 4 ภาคผนวก 10
1 บทที่ 1 บทนำ การจัดการศึกษาอาชีพในปัจจุบันมีความสำคัญมาก เพราะจะเป็นการพัฒนาประชากรของ ประเทศให้มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและ ส่งเสริมความเข้มแข็งให้แก่เศรษฐกิจชุมชน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดยุทธศาสตร์ 2555 ภายใต้กรอบเวลา 2 ปี ที่จะพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ ให้สามารถแข่งขันได้ ใน 5 ภูมิภาคหลักโลก “รู้เขา รู้เรา เท่าทัน เพื่อแข่งขันได้ในเวทีโลก” ตลอดจนกำหนดภารกิจ ที่จะยกระดับการจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชน ได้มีอาชีพที่สามารถ สร้างรายได้ที่มั่นคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับ ศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนาคนไทย ให้ได้รักการศึกษา เพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทำอย่างมีคุณภาพทั่วถึง และเท่าเทียมกัน ประชาชน มีรายได้มั่นคง และมีงานทำอย่างยั่งยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งในระดับภูมิภาคอาเซียนและ ระดับสากล ซึ่งเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความมั่นคงให้แก่ประชาชนและ ประเทศชาติ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว จึงได้นำนโยบาย ยุทธศาสตร์ และความจำเป็นดังกล่าวสู่การปฏิบัติ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมาย และประชาชน มรี ายได้ และมีอาชีพเสรมิ
2 บทที่ 2 วิธีการดำเนนิ งาน 1. ชอื่ โครงการ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง รูปแบบช้นั เรยี นวชิ าชพี หลักสูตร 40 ชม 2. ประเภทของกจิ กรรม วิชาการทำไม้กวาดดอกหญา้ 3. สถานทด่ี ำเนนิ โครงการ ณ ศาลากลางหม่บู า้ น บ้านแสมด หมู่ 9 ตำบลหนองตาคง อำเภอโป่งน้ำร้อน จงั หวดั จนั ทบรุ ี 4. วัตถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการทำไม้กวาดดอกหญา้ 2. เพื่อให้ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมนำความรไู้ ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อครวั เรือน และพฒั นาตนเอง 5. เปา้ หมาย เชิงปริมาณ ประชาชนผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม เป้าหมาย 15 คน ผลมีผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม 15 คน เชิงคุณภาพ ประชาชนผู้สนใจ มีความรู้ด้านการทำไม้กวาดดอกหญ้า สามารถนำไปปรับ ประยกุ ตใ์ ช้ได้ 6. งบประมาณ ค่าวสั ดุ จำนวน 3,000 บาท 7. ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน ระหว่างวันท่ี 29 เดือน มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 ถึง วนั ท่ี 7 กรกฎาคม 2564 ตั้งแต่เวลา 09.00 น.ถึง 15.00 น. จัดการเรียนการวันละ 5 ชั่วโมง จำนวน 40 ชั่วโมง หยุดการเรียน การสอน วันที่ 5 กรกฎาคม 2564 โดยมี นางสาวอารี ดอยทรายทอง เปน็ วทิ ยากรสอน 8. วิธดี ำเนินการ 8.1 สำรวจความตอ้ งการดา้ นอาชีพของประชาชนตามแนวชายแดน 8.2 สำรวจแหลง่ เรียนรู้ ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ 8.3 รวบรวมขอ้ มูลนำข้อมูลวิเคราะห์ 8.4 วางแผนการดำเนินงาน 8.5 จดั ทำ/เขยี นโครงการเพื่อเสนออนุมัต/ิ ขออนุญาตเปดิ การฝกึ อบรม 8.6 ดำเนินงานตามโครงการ ได้แก่ จัดทำประชาคมหมู่บ้าน สำรวจความต้องการด้านอาชีพ วิเคราะห์ สรุปผล ดำเนินการตามความต้องการของชุมชน รวบรวมผู้เรียน เปิดการสอนวิชาการทำไม้
3 กวาดดอกหญ้า ระหว่าง วันที่ 25 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563 ถึง วันที่ 4 มีนาคม พ.ศ.2563 เว้นวนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2563 8.7 ขั้นตอนในการจัดกระบวนการเรียนรู้ มีทั้งภาคทฤษฎี จำนวน 4 ชั่วโมง และภาคปฏิบัติ 36 ช่วั โมง 8.8 รายงานผลการดำเนนิ งานเสนอผู้บงั คับบญั ชาทราบ
4 บทที่ 3 ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพการทำ ไม้กวาดดอกหญ้า ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว ประจำปีงบประมาณ 2564 ผลการดำเนินงานเป็นดงั นี้ ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม การจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ การทำไม้กวาดดอกหญ้า ระหว่าง วันที่ 29 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2564 ถึง วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 ตั้งแต่เวลา 09.00 น.ถึง 15.00 น. จัดการเรียนการ วันละ 5 ชั่วโมง จำนวน 40 ชั่วโมง หยุดการเรียนการสอน วันที่ 5 กรกฎาคม 2564 มีผู้เรียน จำนวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100% ดังนี้ กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ การทำไม้กวาดดอกหญ้า เพื่อให้ผู้เรียนมี ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติจริง เกิดทักษะในการทำงานที่ดีของอาชีพที่ฝึก ผู้เรียนเข้าใจขั้นตอนและ เทคนิคของการทำงาน ได้ประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อประกอบอาชีพและมองเห็นช่องทางในการ ประกอบอาชีพในอนาคต เป็นแนวทางนำเข้าสู่การพัฒนาอาชีพและสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ กลุ่มเป้าหมายมีการดำรงชีวิตและพึ่งพาตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ 1. เครอื่ งมือที่ใช้ในการประเมนิ เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลสำหรับการประเมินตามโครงการเป็นแบบประเมินที่จัดทำขึ้นเองซึ่ง เป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ ส่วนสุดท้ายเป็นคำถามปลายเปิดเพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงความ คิดเหน็ 2. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การประเมินกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพการทำไม้กวาดดอกหญ้า ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนสระแก้ว ได้ดำเนินการโดยจัดทำแบบประเมินผล การศึกษาการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินการตามกิจกรรมการจัดการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพการทำไม้กวาดดอกหญ้า เป็นแบบเลือกตอบ ชนิด 5 ตัวเลือก โดยเก็บข้อมูลจาก ผู้เข้ารว่ มโครงการ จำนวน 15 คน โดยจำแนกกลุ่มผู้เขา้ ร่วมโครงการ
5 แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับความคิดเห็น (Rating Scale) โดยมีเกณฑ์กำหนดความ คิดเห็นดงั น้ี 4..51 – 5.00 หมายถึง ผรู้ บั บริการมีความพงึ พอใจในระดับดีมาก 3.51 – 4.50 หมายถงึ ผรู้ บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในระดับดี 2.51 – 3.50 หมายถึง ผรู้ ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในระดับพอใช้ 1.51 – 2.50 หมายถึง ผูร้ บั บริการมคี วามพงึ พอใจในระดับตอ้ งปรับปรุง 1.00 - 1.50 หมายถึง ผูร้ ับบริการมีความพงึ พอใจในระดบั ตอ้ งปรับปรงุ เรง่ ด่วน ผลการจัดกิจกรรมมีผู้ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 15 คน (ชาย - คน) (หญิง 15 คน) วทิ ยากรได้ให้ความรใู้ นเร่ืองความรู้ทว่ั ไป วสั ดุเกีย่ วกับการทำไม้กวาดดอกหญ้า การจัดการ และการตลาด หลงั จากได้รับความรู้ในเรื่องต่างๆ และการฝึกปฏิบตั ิแล้วผู้เข้าการฝึกอบรมมีความรู้ ทักษะในเร่ืองการทำไม้ กวาดดอกหญา้ สามารถนำไปปรบั ประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ผ้เู ข้าอบรมมีความรู้ และมที ักษะการทำไมก้ วาดดอกหญา้ สรปุ การประเมินความพึงพอใจของผเู้ รยี นต่อการเรยี นรู้ วชิ าการทำไมก้ วาดดอกหญา้ ตอนท่ี 1 ข้อมลู พ้นื ฐานของผู้ประเมนิ ความพึงพอใจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเพศหญิง จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้ตอบคำถามอายุ ระหว่าง 50-59 ปี ขึ้นไป 9 คน คิดเป็นร้อยละ 60 มากที่สุด รองลงมาคืออายุระหว่าง 40-49 ปี จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20 รองลงมาคืออายุ 60 ปี ขน้ึ ไป จำนวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 13 และอายุ ระหว่าง 30-39 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 7 ระดับการศึกษาที่มากที่สุดคือ ม.ต้น จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 87 และ ม.ปลาย จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 13 อาชีพที่มากที่สุดคือทำสวน จำนวน 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 80 รองลงมาคือ รบั จา้ ง จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ตามลำดบั
6 ตอนท่ี 2 ความคดิ เห็นด้านกระบวนการจัดกิจกรมและความพงึ พอใจของผเู้ รยี น/ผู้รับบรกิ าร จำนวนผ้ตู อบแบบสอบถาม แยกตามระดับความพึงพอใจ ค่าเฉล่ีย ที่ รายการ 5 4 3 2 1 ������̅ แปลผล มาก มาก ปาน น้อย น้อย สุด กลาง สดุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนื้อหา 1. เน้ือหาตรงตามความต้องการ 9 6 0 0 0 4.60 ดีมาก 12 3 0 0 0 4.80 ดีมาก 2. เนอ้ื หาเพียงพอต่อความต้องการ 11 4 0 0 0 4.73 ดมี าก 3. เน้อื หาปัจจบุ ันทนั สมัย 13 2 0 0 0 4.87 ดมี าก 4. เนือ้ หามีประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ในการพฒั นา คณุ ภาพชวี ิต ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 5. การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 10 5 0 0 0 4.67 ดีมาก 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 12 3 0 0 0 4.80 ดมี าก 7. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 12 3 0 0 0 4.80 ดีมาก 8. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลุม่ เปา้ หมาย 13 2 0 0 0 4.87 ดมี าก 9. วิธกี ารวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 12 3 0 0 0 4.80 ดีมาก ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร
7 จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ท่ี รายการ แยกตามระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉลี่ย 5 4 3 2 1 ������̅ แปลผล 10. วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรอื่ งการถ่ายทอด 11. วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 12. วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนร่วมและซักถาม สุด กลาง สดุ ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความ 10 5 0 0 0 4.67 ดีมาก สะดวก 13. สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อำนวยความสะดวก 13 2 0 0 0 4.87 ดมี าก การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการ 14. เรยี นรู้ 11 4 0 0 0 4.73 ดีมาก 15. การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหา 10 5 0 0 0 4.67 ดมี าก รวม ร้อยละ 12 3 0 0 0 4.80 ดีมาก 12 3 0 0 0 4.80 ดมี าก 172 53 0 0 0 4.76 ดีมาก 76 24 0 0 0
8 จากตารางพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อกระบวนการจดั กิจกรรมรูปแบบชัน้ เรยี น วิชาชีพ วิชาการทำไม้กวาดดอกหญ้า จำนวน 40 ชม. ในภาพรวม อยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.76 ผเู้ รียนมคี วามพงึ พอใจในระดบั ดีมาก โดยมีคา่ เฉล่ยี เรียงลำดับจากมากทสี่ ุดในแตล่ ะข้อดังน้ี 1. เนอ้ื หาตรงตามความตอ้ งการอยู่ระดบั ดีมาก มคี ่าเทา่ กบั 4.60 2. เนอ้ื หาเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการอยู่ระดับดีมากมี ค่าเทา่ กับ 4.80 3. เน้ือหาปจั จบุ นั ทนั สมัยอย่รู ะดับดีมาก มคี า่ เทา่ กับ 4.73 4. เนอ้ื หามปี ระโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ อยรู่ ะดบั ดมี าก มีค่าเท่ากบั 4.87 5. การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นอบรมอยรู่ ะดบั ดีมาก มีค่าเท่ากับ 4.67 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์อยรู่ ะดับดมี าก มีค่าเทา่ กบั 4.80 7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลาอยูร่ ะดบั ดมี าก มคี ่าเทา่ กบั 4.80 8. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมายอยรู่ ะดับดีมาก มคี า่ เทา่ กบั 4.87 9. วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์อยู่ระดบั ดมี าก มคี ่าเทา่ กับ 4.80 10. วทิ ยากรมีความร้คู วามสามารถในเร่ืองทถ่ี า่ ยทอดอยรู่ ะดับดีมาก มคี า่ เท่ากับ 4.67 11. วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสมอยู่ระดบั ดมี าก มคี า่ เทา่ กับ 4.87 12. วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและซักถามอย่รู ะดบั ดมี าก มีค่าเท่ากับ 4.73 13. สถานท่วี สั ดุ อุปกรณ์และสงิ่ อำนวยความสะดวกอย่รู ะดับดีมาก มีค่าเท่ากบั 4.67 14. การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ให้เกิดการเรยี นรู้อยู่ระดบั ดีมาก มีคา่ เท่ากบั 4.80 15. การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ัญหาอยู่ระดับดมี าก มคี า่ เท่ากบั 4.80
9 ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ตวั ชว้ี ัด ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม ร้อยละ 80 สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใชไ้ ด้ สรปุ ผลการดำเนินงาน ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ท้งั 15 คน หลังจากได้รบั ความร้จู ากวิทยากรแลว้ ผ้เู รียนมีความรู้เร่ืองการทำ ไม้กวาดดอกหญ้า อีกทงั้ ผเู้ รียนสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้รับไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ได้ ปัญหา/อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข แผนการดำเนนิ การต่อไป ตดิ ตามกล่มุ
ภาคผนวก
การศึกษาตอ่ เนอื่ ง รปู แบบชั้นเรียนวิชาชพี วิชาการทำไม้กวาดดอกหญ้า หลักสูตร 40 ชม ณ ศาลากลางหม่บู ้าน บา้ นแสมด หมู่ 9 ตำบลหนองตาคง อำเภอโปง่ นำ้ รอ้ น จงั หวดั จันทบุรี ระหว่างวันที่ 29 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 ถึง วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 หยุดการเรียนการสอน วันท่ี 5 กรกฎาคม 2564 มีผู้เรียนจำนวน 15 คน วทิ ยากรบรรยายการทำไม้กวาดดอกหญ้า
การศึกษาต่อเนื่อง รปู แบบชั้นเรยี นวิชาชพี วิชาการทำไม้กวาดดอกหญา้ หลักสตู ร 40 ชม ณ ศาลากลางหมู่บ้าน บ้านแสมด หมู่ 9 ตำบลหนองตาคง อำเภอโป่งน้ำร้อน จงั หวดั จนั ทบรุ ี ระหวา่ งวันที่ 29 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564 ถงึ วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 หยุดการเรียนการสอน วนั ที่ 5 กรกฎาคม 2564 มผี ูเ้ รยี นจำนวน 15 คน ผเู้ รียนฝึกปฏิบตั ิการทำไม้กวาดดอกหญ้า
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: