Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมบูรณ์ภู่ฟ้า

สมบูรณ์ภู่ฟ้า

Published by Wawa Sasiwimol, 2020-09-29 15:40:46

Description: สมบูรณ์ภู่ฟ้า

Keywords: สมบูรณ์ภู่ฟ้าbambam

Search

Read the Text Version

พนิ จิ วัดพนญั เชิงา นงานเขียนสุนทรภู จากเร่ือง นิรศวดั เจาา

คําํา ๑ หนังสืออิเล็กท รอนิกส เร่ือง พินิจวัดพนัญ เชิงผานงานเขียนสุนท รภูจากเรื่องนิราศ วัดเจาฟา รายวิชาวรรณคดีสุนทรภู (๑๕๔๓๔๑๓) การวิเคราะหวรรณคดีของสุนทรภูน้ีเปนสวนหน่ึงของรายวิชาวรรณคดีสุนทรภู มีจุดมุงหมายใหนักศึกษาฝกทักษะในการวิเคราะหวรรณคดีไทยในการจัดทําส่ือหนังสืออิเล็กทรอนิกสออนไลนไดถูกตอง ตามรูปแบบการศึกษาในปจ จบุ นั ท่ีเนนสอ่ื การสอนแบบสรางสรรค และทนั สมยั ครบถว นดว ยเนอื้ หาสาระ ท้งั น้ี คณะผูจดั ทาํ ขอขอบพระคุณอาจารยป รชั ญา ใจภกั ดี อาจารยผูสอนประจําวิชา ท่ีไดใหคําปรึกษาและช้ีแนะ แนวทางในการวิเคราะหวรรณคดี ตลอดจนเจาของเอกสารและตําราทุกทาน ท่ีผูจัดทําไดนํามาศึกษาคนควาขอมูล หวงั เปนอยา งยง่ิ วาการวเิ คราะหว รรณคดีไทยในครัง้ นี้จะเกิดประโยชนต อการศึกษาวรรณคดีในครัง้ ตอ ๆ ไป คณะผูจ ดั ทํา ๑๔ กันยายน ๒๕๖๓

๒ สารบัญ เร่อื ง หน้า เร่อื ง หน้า คาํ นํา ๑ สาระชวนรู้ ตาํ นานพระนางสร้อยดอกหมาก ๑๑-๑๕ สารบัญ ๒ เหตุแหงนิราศวดั เจา ฟา ๓ ปนุ เถากง ๑๗ นิราศวดั เจา ฟา ๔-๕ ๗ สาระชวนรู ดอกไมถวายพระ ๑๙ ประวตั ิวัดพนนั เชงิ ๘ ประวัติหลวงพอ โต ๙ สาระชวนรู ทศิ ทงั้ ๘ ทิศ และความเชอ่ื เร่อื งทศิ ๒๑ สาระชวนรู ความเชือ่ เกีย่ วกบั หลวงพอ โต ๑๐ สาระชวนรู เหตุแหง “พแนงเชงิ ” ลวนพระลกั ษณะแหง องคพ ระพทุ ธไตรรัตนนายก ๒๔ สาระชวนรู ไตรภูมิ อา งองิ ๒๖ ๒๗ ผูจดั ทํา ๒๘



๓ เหตแุ หงนิรศวัดเจา า นิราศวัดเจาฟาเปนนิราศเชิงผจญภัย สันนิษฐานกันวาสุนทรภูแตงข้ึนในนามของเณรหนูพัด ในราว พ.ศ. ๒๓๗๕ เน้ือหากลาวรําพันถึงความนอยเนื้อตํ่าใจในวาสนาของตนและกลาวถึงผูหญิง เปนการเดินทางทางเรือจากวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ไปวัดเจาฟา จังหวัดพระนครอยุธยา โ ด ย ข้ึ น บ ก ที่ วั ด ใ ห ญ จั ง ห วั ด พ ร ะ น ค ร ศ รี อ ยุ ธ ย า แ ล ะ เ ดิ น ท า ง ท า ง บ ก ไ ป วั ด เ จ า ฟ า เพื่อไปหายาอายุวัฒนะตามลายแทงท่ีไดรับมาจากทางเมืองเหนือ ตลอดเสนทางของการเดินทาง สนุ ทรภผู า นสถานทส่ี าํ คัญๆ ของกรงุ เทพมหานคร นนทบรุ ี และพระนครศรอี ยุธยา วดั เจา ฟา ในบทกลอนมชี ือ่ เต็มวา วัดเจาฟา อากาศนาถนรินทร ไมส ามารถตรวจสอบได วา เปน วดั ใดในจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาในปจ จบุ นั เสนการเดนิ ทางตามบทนิราศเมื่อไปถึงอยธุ ยา สนุ ทรภูและคณะไดแวะนมัสการหลวงพอโตวัดพนญั เชงิ แลว เลยไปวดั ใหญชยั มงคล เพ่ือคนหาพระปรอท กอ นจะออกเดนิ เทา ไปยงั วัดเจา ฟา อากาศนาถนรินทร

๔ นริ ศวัดเจา  า นิราศวัดเจาฟา เปนนิราศคํากลอนที่มีรูจัก กันดี เรื่อ งห น่ึง เนื้ อ เร่ื อ งก ลา ววา เ ณ รห นูพั ด (บุตรคนโตของสุนทรภู) เปนผูแตง แตเช่ือกันวาที่จริง แตงโดยสุนทรภูน่ันเอง เนื่องจากขณะนั้นสุนทรภูอยูใน สมณเพศ จึงตองระมัดระวังตัวมาก การแตงในนาม ของเณรหนูพัดทําใหสามารถออกกระบวนกลอน และแสดงความคิดเห็นไดร สชาติมากกวา ประเภท : กลอนนิราศ คําประพันธ : กลอนสุภาพ ภาพถาย หนงั สอื นริ าศวดั เจา ฟา (ฉบบั ตรวจสอบชาํ ระ พ.ศ. ๒๕๕๘) ที่มา: หอพระสมดุ วชิรญาณ, ออนไลน.

นริ ศวัดเจา า ๕ ๏ บทกลอนที่สนุ ทรภเู ดนิ ทางถึงวัดพนญั เชิงและบริเวณโดยรอบทเี่ ก่ียวของ ไดสามรอบชอบธรรมทา นนํานอง เขา ในหองเห็นพระเจาเทา สงิ ขร จํานวน ๒๐ คาํ กลอน ตา งจุดธูปเทยี นถวายกระจายจร ทา นบดิ รไดประกาศวา ชาตนิ ี้ ทัง้ รูปชวั่ ตวั ดําแลวตา่ํ ศักด์ิ ถวายรกั เสยี กับพระชินสีห มาถึงวดั พนงั เชิงเทง่ิ ถนัด วา เปนวดั เจาฟาพระกลาโหม แมนเมอื่ ไรใครเขารกั มาภกั ดี จะอารีรกั ตอบเพราะขอบคณุ ผนงั กอ ยอ มมุ เหมอื นซุมโคม ลอยโพยมเยย่ี มฟา สรุ าลัย ท้ังหนูกล่นั น้ันวาจะหาสาว ทีเ่ ล็บยาวโงงโงง เหมือนกง กระสนุ มีศาลาทา น้ําดฉู ่าํ ช่นื รมระร่ืนรุกขานาอาศัย ท้ังเนื้อหอมกลอ มเกล้ยี งเพียงพิกลุ กอดใหอ นุ ออนกว็ าไมนา ฟง บิดาพรา่ํ รา่ํ เลาใหเขาใจ วา พระใหญอยา งเยีย่ งทเ่ี ส่ยี งทาย ฉนั กบั นอ งมองแลดแู ตพระ สาธุสะสงู กวาฝาผนัง ถาบานเมอื งเคืองเร่อื งเขญ็ จะเปนเหตุ ก็อาเพศพังหลุดทรดุ สลาย แตพ ระเพลาเทา ปอมท่ลี อมวัง สํารวมนัง่ ปลัง่ เปลง เพง พินิจ แมพ าราผาสุกสนุกสบาย พระพกั ตรพรายเพราพริ้มดูอิ่มองค ตวั ของหนดู จู ว๋ิ เทานิ้วหัตถ โตสนดั หนักนกั จงึ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ทั้งเจก ยา นบานนั้นก็นับถอื รอ งเรยี กชื่อวา พระเจา ปนุ เถากง กบั หนูตาบกราบกมบังคมคดิ รําพันพษิ ฐานในใจจินดา ดวยบนบานการไดด งั ใจจง ฉลององคพ ทุ ธคุณการุณงั ขอเดชะพระกศุ ลทีป่ รนนิบัติ ทห่ี นูพดั พศิ วาสพระศาสนา อนง่ึ วาถา แมนใครนาํ้ ใจบาป จะเขากราบเกรงจะทบั ตองกลบั หลงั มาคํารบพบพทุ ธปฏมิ า เปน มหามหศั จรรยในสันดาน ตรงหนาทาสาชลเปนวนวัง ดูพลัง่ พล่ังพลงุ เช่ียวนา เสยี วใจ ขอผลาอานสิ งสจงสาํ เรจ็ สรรเพชญพนหลงในสงสาร เขาจอดเรอื เหนือหนา ศาลาวดั โสมนสั นอ งไมเสื่อมที่เลื่อมใส แมน ยังไปไมถงึ ท่พี ระนฤี พาน ขอสําราญราคอี ยาบฑี า ขึ้นเดินเดียวเท่ยี วหาสุมาลยั จาํ เพาะไดด อกโศกท่โี คกนา จะพากเพยี รเรยี นวิสัยแลไตรเพท ใหว ิเศษแสนเอกท้ังเลขผา กับดอกรักหักเดด็ ไดเ จ็ดดอก พอใสจอกจดั แจงแบงบุปผา แมนรกั ใครใหค นน้ันกรรุณา ชนมายนื เทา เขาพระเมรุ ใหกลัน่ มัง่ ทงั้ บนุ นาคเพื่อนยากมา ทา นบดิ าดีใจกระไรเลย ขอรธู รรมคําแปลแกว ิมุติ เหมอื นพระพทุ ธโฆษามหาเถร วา โศกรกั มักรา ยตอ งพรายพลัด ถวายวดั เสียก็ถกู แลว ลูกเอย มีกาํ ลงั ดงั มาฆะสามเณร รจู ดั เจนแจงจบทงั้ ภพไตร แลว หมดองครองงามเหมอื นตามเคย ลีลาเลยเลียบตะพานขนึ้ ลานทราย อน่ึงเลา เจา นายทหี่ มายพ่ึง ใหท ราบซ่งึ สจุ รติ พสิ มยั โอรนิ รนิ กลนิ่ พกิ ลุ มาฉนุ ชน่ื ดอกแกวร่ืนเรณไู มรหู าย อยาหลงล้นิ หนิ ชาตขิ าดอาลัย น้ําพระทยั ทูลเกลาใหย าวยนื หอมจําปาหนาโบสถสาโรชราย ดอกกระจายแจม กลีบดังจีบเจียน ดูกุฏิวิหารสะอานสะอาด รกุ ขชาตพิ ุมไสวเหมือนไมเขียน (นริ าศวดั เจา ฟา ฉบับหอพระสมดุ วชิรญาณ, ออนไลน) ที่ภูมิพน้ื รน่ื ราบดวยปราบเตยี น ตางเดินเวียนทักษณิ พระชนิ วร

๖ “มาถงึ วัดพนงั เชิงเทง่ิ ถนดั วา เปนวัดเจา ฟาพระกลาโหม ผนังกอ ยอมุมเหมือนซมุ โคม ลอยโพยมเย่ยี มฟา สรุ าลยั มีศาลาทาน้าํ ดูฉํ่าช่นื รมระร่นื รกุ ขานา อาศัย บดิ าพรา่ํ รํ่าเลา ใหเ ขา ใจ วาพระใหญอ ยางเย่ยี งท่เี สย่ี งทาย ถาบานเมืองเคืองเรอ่ื งเข็ญจะเปน เหตุ กอ็ าเพศพังหลุดทรุดสลาย แมพาราผาสุกสนุกสบาย พระพกั ตรพ รายเพราพรมิ้ ดูอ่ิมองค” (นริ าศวัดเจาฟา ฉบับหอพระสมดุ วชิรญาณ, ออนไลน) ถอดคาํ ปรพนั ธไ ดว า เมื่อสุนทรภูมาถึงวัดพนัญเชิงซ่ึงกลาวกันวาเปนวัดเจาฟากลาโหม ผนังนั้นมีลักษณะกอเปนซุมโคม สุ น ท ร ภู ไ ด เ ป รี ย บ ซุ ม วั ด ว า มี ลั ก ษ ณ ะ สู ง เ ฉี ย ด ฟ า มี ศ า ล า ท า นํ้ า แ ล ะ ต น ไ ม ท่ี ดู ร ม รื่ น น า พั ก ผ อ น บิดา ขอ ง สุ นท รภูได เลา ใ หฟงถึ ง อิท ธิ ฤท ธ์ิข อ งหล วงพอ โ ตวา ถ า บา น เมือ ง มีลา ง รา ยจ ะ เกิด ภัยพิบั ติ องคห ลวงพอโตจะมนี ํา้ ตาไหลออกมาจากดวงตาแตถ าบา นเมืองสขุ สบายพระพกั ตรองคหลวงพอ โตจะมีลักษณะอ่มิ เอม

๗ ปรวัตวิ ตั วิ ดั พนญั เชิง ภาพถา ย ภูมิบาน ภูมเิ มอื ง ‘วัดพนญั เชงิ ’ ภูมิเมอื งอโยธยาศรรี ามเทพนคร “วัดพนัญเชงิ เปนวัดท่ีมปี ระวัตอิ นั ยาวนาน ที่มา: https://www.naewna.com/lady/493181 กอ สรางกอนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา ภาพถา ย ทา นาํ้ วดั พนญั เชงิ ในปจ จุบญั และไมป รากฏหลักฐานท่แี นชัดวา ใครเปนผูสรา ง ทม่ี า: http://www.thongthailand.com/index.php?lite=article&qid=42158175 ตามหนังสอื พงศาวดารเหนอื กลาววา พระเจาสายนาํ้ ผ้งึ เปน ผสู รา งและพระราชทานนามวา วัดเจา พระนางเชิง และพระราชพงศาวดารกรงุ เกา ฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนติ ิ์กลา วไววา ”ไดส ถาปนาพระพุทธรปู พทุ ธเจาพแนงเชิง เมอ่ื ป พ.ศ. ๑๘๖๗ ซึ่งกอ นพระเจาอทู องจะสถาปนากรงุ ศรีอยธุ ยาถึง ๒๖ ป

๘ หลวงพอ โต พระพทุ ธไตรรัตนนายก หรือ หลวงพอโต เดมิ ชื่อวา พระพทุ ธเจาพนัญเชงิ หลวงพอโต เปน พระพทุ ธรูปขนาดใหญแ ละใหญท ส่ี ดุ ในพระนครศรอี ยุธยา ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู วั แหงกรงุ รตั นโกสินทร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๗ ไดโปรดเกลา ใหบรู ณะใหมห มดทั้งองค และพระราชทานนามใหมว า พระพุทธไตรรตั นนายก หรือท่รี ูจักกนั ใน หมพู ทุ ธศาสนกิ ชนชาวไทยเชอื้ สายจนี วา หลวงพอ ซาํ ปอกง นอกจากนั้นยังมีหลวงพอประทานพรซ่ึงไดช อื่ วาหากใครมาสักการะ ขอพรจะไดสมปรารถนา

๙ ความเช่ือเก่ียวกับหลวงพอโต “ชาวไทยและชาวจีนในบริเวณนั้นจงึ มีความเชือ่ วา หากบานเมอื งรมเยน็ “ คร้ันเมื่อกรุงศรอี ยธุ ยาใกลจะแตก พระพกั ตรจ ะอ่ิมงาม ปรากฏในคาํ ใหก ารชาวกรุงเกา วา หากบานเมืองเดอื ดรอน ”พระปฏมิ ากรใหญทว่ี ดั พนัญเชงิ องคพระจะพังทรดุ ” มีน้าํ พระเนตรไหลเปน ท่ีอศั จรรย พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยทุ ธยา ฉบบั ความสมเด็จกรมพระปรมานชุ ิตชโิ นรส คราวกอนกรงุ ศรีอยุธยาจะลมสลาย พ.ศ. ๒๓๑๐ วา “…ดว ยอายุแผนดินกรงุ ศรอี ยุธยาถึงกาลขาด จงึ อาเพศใหเ ห็น ประหลาดเปนนมิ ิตพระประธานวดั เจาพระนางเชิง น้าํ พระเนตรไหล ลงมาจนถึงพระนาภี…”

สารชวนรู เหตแุ หง “พแนงเชิง” ๑๐ คําวา พแนงเชงิ มคี วามหมายวา น่งั ขดั สมาธิ ฉะนน้ั คําวา วัดพนัญเชิง / วดั พระแนงเชงิ หรือ / วัดพระเจาพแนงเชงิ จงึ หมายถงึ วดั แหงพระพทุ ธรูปน่งั ปางมารวิชยั คือ หลวงพอ โต หรือ พระพทุ ธไตรรัตนนายกนนั้ เอง หรืออาจสบื เน่ืองมาจากตํานานเรื่องพระนางสรอยดอกหมาก คือ เมื่อพระนางสรอยดอกหมากกลัน้ ใจตายน้นั พระนางคงน่ังขดั สมาธิ เพราะชาวจนี นยิ มนั่งขดั สมาธมิ ากวาน่ังพับเพียบ นอกจากหลวงพอโตหรือเจาพอซําปอกง แหงวัดพนัญเชิง จ.พระนครศรีอยุธยา ท่ีผูคนมาสักการะกันอยางหนาตาทุกวันแลว ใ ก ล กั น น้ั น ยั ง มี “ ศ า ล พ ร ะ น า ง ส ร อ ย ด อ ก ห ม า ก ” ห รื อ “ศาลเจาแมแอเนี้ย” อันเปนอนุสรณแหงความรักที่จบลงดวย โ ศ ก น า ฏ ก ร ร ม ใ น ยุ ค ก อ น ส ถ า ป น า ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ท่ีมีผูคนท่ีตองการขอพรแหงความรักมาสักการะไมนอยเชนกัน และยงั คงมตี าํ นานรกั ทีเ่ ลาตอ กันมาอยางชานานนั้นคือ ภาพถา ย ตกึ เจา แมสรอ ยดอกหมาก หรอื ศาลเจาแมแอเนยี้ ตาํ นานพระนางสรอ้ ยดอกหมาก ที่มา: https://www.posttoday.com/life/travel/559093

สารชวนรู ตําานพรางสรอยดอกหาก ๑๑ ตาํ นานเรอ่ื ง “พระนางสรอยดอกหมาก” เปนตํานานที่อยคู กู บั การสรา งวดั พนญั เชิง จากอดตี มาจนถงึ ปจ จบุ ัน เม่ือครั้งกอนท่ีพระเจาอูทองจะทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยา ส ย า ม ป ร ะ เ ท ศ ใ น ต อ น น้ั น ไ ร ซึ่ ง ก ษั ต ริ ย ป ก ค ร อ ง อ ยู ร ะ ย ะ ห น่ึ ง เหลาอํามาตย ขาราชบริพาร และสมณชีพรามณท้ังหลายจึงลง ความเห็นวา ตองทาํ พธิ ีเส่ียงเรือสุวรรณหงสเอกชยั เพื่อเสาะหาผูมีบุญ วาสนามาเปน พระเจาแผน ดนิ โดยใหเรอื แลนไปตามแมนํา้ คร้ันเมื่อเรือมาถึงยังตําบลแหงหน่ึงริมฝงแมน้ํา มีกลุมเด็ก ภาพถา ย ภมู ิบา น ภมู ิเมอื ง : ‘วดั พนญั เชิง’ ภูมิเมืองอโยธยาศรรี ามเทพนคร เลี้ยงโคเลนกันอยู เรือก็จอดสนิทนิ่งไมยอมเคล่ือนที่ แมวาเหลาฝพาย ที่มา: https://www.naewna.com/lady/493181 จะพยายามสกั แคไ หนกต็ าม เม่อื เหลา อํามาตยเห็นเชน นน้ั จึงเดินเขา ไปในกลุมเด็กเลีย้ งโคและพบกบั เด็กชายคนหนึ่งทา ทางฉลาด พูดจาฉะฉานหลักแหลม จงึ คิดวา เดก็ ผูน้คี งเปน ผมู บี ญุ ญาธกิ าร จึงรับตวั มาเปน พระเจาแผน ดนิ ปกครองประเทศ หลังไดข้นึ เปนกษัตริยส ยามประเทศแลว มีเหตุการณค รงั้ หน่งึ ท่ีสรางความนาอศั จรรยใ จและเปน ท่ีมาของพระนาม \"พระเจา สายน้ําผึง้ \"

ภาพถา ย พระเจา สายนา้ํ ผงึ้ ๑๒ ที่มา: https://www.naewna.com/lady/494611 เม่อื พระองคท รงโปรดใหยกขบวนพยุหยาตราไปทางชลมารคพรอมกับ เ ห ล า เ ส น า บ ดี เ มื่ อ เ รื อ ล อ ง ม า ถึ ง วั ด ป า ก ค ล อ ง ซ่ึ ง เ ป น เ ว ล า น้ํ า ขึ้ น จงึ ตรัสสั่งใหจอดเรือพระท่ีน่ังอยูหนาวัด และทรงทอดพระเนตรเห็นรังผึ้งใตชอฟา หนา โบสถ พระองคจ ึงดาํ รวิ า \"จะขอนมัสการพระพุทธปฏมิ ากร ดว ยเดชะบุญญาภสิ ังขารของเรา เพอ่ื จะไดค รองไพรฟาอาณาประชาราษฎร ขอใหน าํ้ ผ้ึงหยดลงมากลวั้ เอาเรอื ข้นึ ไปประทบั แทนกาํ แพงแกว น้ันเถดิ \" เมื่อตรัสจบน้ําผ้ึงก็หยดลงมากลั้วเอาเรือพระที่นั่งยกขึ้นไป ภาพถาย ภาพเขียนเจาแมส รอ ยดอกหมาก ถึงที่ทันที เปนที่ประจักษชัดแกสายตาของเสนาบดีนอยใหญ ทมี่ า: https://www.naewna.com/lady/494611 พระ เจากรุงไทยจึง เสด็ จขึ้นไปนมัสการพระพุท ธป ฏิมากร เสร็จแลว จงึ เสดจ็ ลงเรอื พระท่นี ่งั จากนั้นเรือพระทีน่ ง่ั ก็ถอยลงมาตามเดิมไดเ อง บรรดาภกิ ษุสงฆ และเหลา เสนาบดี จึงพากันถวายพระพรชยั และถวายพระนามพระเจา กรุงไทยวา \"พระเจาสายนํา้ ผึ้ง\"

๑๓ ครั้นถึงเวลาน้ําลง พระเจาสายนํ้าผ้ึง ก็รับส่ังใหเหลาเสนาบดีกลับไปรักษาพระนคร สวนพระองคจะเสด็จ โดยเรือเพยี งลําเดยี ว เพื่อเดินทางไปตามสถานที่ตาง ๆ และดวยกุศลที่สรางมาแตปางหลัง จึงทําใหการเดินทางเปนไปดวยความ เรียบรอยปลอดภัยจนกระทั่งถึงกรุงจีน เม่ือชาวจีนเห็นวาวาทรงเดินทางเพียงพระองคเดียวทามกลางทะเลใหญ แตยังสามารถรอดชีวิตมาไดน้ันเปนท่ีนาอัศจรรยย่ิงนักจึงนําความขึ้นทูลวาพระเจาแผนดินจีนวา พระเจาแผนดินไทยองคนี้ มบี ุญญาธกิ ารมาก ดานพระเจากรุงจีนเมื่อไดฟงดังน้ัน จึงอยากทดสอบวาพระเจาสายน้ําผึ้ง จะมบี ญุ ญาธกิ ารจริงหรอื ไม โดยรับสัง่ ใหเ สนาบดีไปทูลเชิญพระเจาสายน้ําผ้ึงประทับ ท่ีอาวนาค ซ่ึงเปนท่ีท่ีมีอันตรายมากและใหทหารไปสอดแนมดูวาเกิดเหตุการณ รายแรงข้นึ หรือไมแตผลปรากฎวานอกจากจะไมมีอะไรเกิดข้ึนแลว ยังมีเสียงดุริยางค ดนตรเี ปนท่คี รึกครื้น เมอื่ ความทราบถึง พระเจา กรงุ จนี พระองคจ ึงมีรับสง่ั ใหจ ดั ขบวนแหออกไปรับ พระเจาสายน้ําผงึ้ เขา มาภายในพระราชวัง พรอ มท้ังใหร าชาภิเษกกบั พระนางสรอ ยดอกหมาก ธิดาบุญธรรมของพระองค ข้นึ เปนพระมเหสีของพระเจาสายนํา้ ผ้งึ ดวย ภาพถา ย พระเจา สายนาํ้ ผงึ้ และพระนางสรอ ยดอกหมาก ที่มา: https://www.naewna.com/lady/494611

ระ หว า ง ก า ร เ ดิน ท า ง กลั บ เ มื อ ง สย า ม ๑๔ ในขณะท่ใี กลถงึ พระราชวงั พระเจาสายน้ําผ้ึง มีรับสั่งให พ ร ะ น า ง ส ร อ ย ด อ ก ห ม า ก ค อ ย พ ร ะ อ ง ค อ ยู ใ น เ รื อ ภาพถาย วัดพนญั เชงิ เนื่องจากพระองคตองการเสด็จเขาพระราชวังกอน ที่มา: https://mgronline.com/onlinesection/detail/9600000120387 เ พื่ อ จั ด เ ต รี ย ม ข บ ว น เ กี ย ร ติ ย ศ อ อ ก ม า ต อ น รั บ ท ว า เ ม่ื อ ข บ ว น เ กี ย ร ติ ย ศ ม า ถึ ง พ ร ะ เ จ า ส า ย นํ้ า ผึ้ ง ก ลั บ ไ ม ไ ด เ ส ด็ จ ม า ด ว ย พ ร ะ อ ง ค เ อ ง พระนางสรอยดอกหมากจึงไมยอมเสด็จขึ้นจากเรือ พรอ มกลาววา ภาพถา ย ภาพถายเกาวดั พนญั เชิง \"มาดวยพระองคก็โดยยาก เม่ือมาถึงพระราชวังแลว เปนไฉนพระองค ทีม่ า: https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=patisonii จึงไมมารับ ถาพระองคไมเสด็จมารับก็จะไมไป\" เม่ือเสนาบดีนําความไป &month=01-2014&date=18&group=75&gblog=1 กราบทูล พระเจาสายน้ําผ้ึง คิดวาพระนางหยอกเลน จึงกลาวเลน ๆ วา \"เม่ือมาถึงแลวจะอยทู น่ี ่นั กต็ ามใจเถิด\"

หลังพระนางสรอยดอกหมากทราบวาพระเจาสายนํ้าผึ้ง ๑๕ ตรัสเชนน้ัน ก็รูสึกนอยพระทัยย่ิงนัก ครั้นรุงเชาพระเจาสายน้ําผ้ึง ก็เสด็จมารับดวยพระองคเอง พระนางสรอยดอกหมากจึงตัดพอ ภาพถา ย ตึกเจาแมส รอ ยดอกหมาก ตอ วา พระองค พระเจาสายนา้ํ ผ้งึ จึงงตรัสสัพยอกอกี วา ทม่ี า: https://sites.google.com/a/longwittaya.ac.th/wad-phnay- cheing-wrwihar/khxmul-thawpi/tahnak-cea-mae-srxy-dxk- \"เอาละ เมอื่ ไมอ ยากข้นึ กจ็ งอยทู ่นี ี่เถิด\" hmak เม่ือไดฟง ดงั นั้น ดว ยความนอ ยพระทัย พระนางสรอ ยดอกหมากจงึ กล้นั พระทัยตายทันทที าํ ใหพระเจาสายนา้ํ ผงึ้ ทรงเสียพระทยั เปนอยา งมาก ภาพถา ย เจาแมสรอ ยดอกหมากประทับบนสาํ เภามงั กร ดวยเหตุน้ี พระเจาสายน้ําผ้ึง จึงโปรดเกลาฯ ใหอัญเชิญ ทีม่ า: https://www.thethaipress.com/2020/9056/ พระศพของพระนางสรอยดอกหมากขึ้นมาพระราชทานเพลิงพระศพ ทแี่ หลมบางกะจะ ทามกลางความอาลัยรักของประชาชนชาวจีนและ ชาวไทย และทรงใหสรางวัดขึ้นเพื่อเปนอนุสรณถึงพระนางสรอย ดอ กห มา ก โด ยต้ั งชื่ อ วั ดนี้ วา \"วั ดเ จา พ ร ะ น า ง เชิ ง \" ห รื อ \"วดั พนัญเชงิ \" (ในปจ จุบัน) แตนนั้ มา ตํานานเร่อื ง “พระนางสรอยดอกหมาก” จงึ เปน ตาํ นานทีอ่ ยคู กู ับการสรา งวัดพนญั เชงิ มาจนถึงปจจบุ ัน

๑๖ “ทั้งเจก ยานบา นน้ันกน็ บั ถอื รอ งเรียกชอื่ วาพระเจาปุนเถากง ดว ยบนบานการไดดงั ใจจง ฉลององคพ ุทธคณุ การุณัง อน่งึ วาถา แมนใครน้ําใจบาป จะเขา กราบเกรงจะทับตองกลบั หลัง ตรงหนาทา สาชลเปน วนวงั ดูพล่งั พลั่งพลงุ เช่ียวนา เสยี วใจ” (นิราศวัดเจา ฟา ฉบบั หอพระสมุดวชริ ญาณ, ออนไลน) ถอดคาํ ปรพันธไ ดว า มีชาวบานคนจีนนิยมสักการะและนับถือ ปุนเถากง เทพเจาตามความเช่ือของชาวจีน กลา ว วา ห า กใค รบ น บ า นก็ จะ ส มดังป รา ร ถนา แตห า กใ ครเป นคน ใจบ า ป แล วเขา กรา บ ทา น เมื่อขอพรกจ็ ะไมสมดงั ปรารถนา

ปุนเถากง ๑๗ ภาพถา ย เจาพอ ปนุ เถากง ในตกึ เจาแมส รอ ยดอกหมาก เนื่องจากชาวไทยและชาวจีนไดไ ปมาหาสูและตดิ ตอสมั พันธก ันมา ท่ีมา: https://www.touronthai.com/article/2094 ตั้งแตโบราณ ขณะเดยี วกนั พบวา มีกลมุ ชาวตางชาตทิ ่ีอพยพมาตั้งถนิ่ ฐานใน เมอื งไทย เปนชาวจีนมากท่สี ดุ และยังคงรกั ษาความเชอื่ และประเพณีของตน ไวถายทอดกันมาจนถงึ ปจจบุ ัน ซ่ึงความเช่อื เรอ่ื งการนับถือเทพเจาท่คี นไทย เช้ือสายจีนรจู กั คือ เทพเจา กวนอู พระโพธ์สิ ัตวก วนอิม เจาแมท บั ทมิ และ โปย เซยี น นอกจากนีย้ ังมีเทพเจาทีค่ นุ เคย และคนไทยเชื้อสายจนี ไหวบ อย ทส่ี ดุ ในเทศกาลสาํ คัญๆ คือ ปุนเถากง และตจ้ี เู อี๊ย เพอ่ื สบื ทอดความเช่ือและ ประเพณใี หอยูคูลูกหลานชาวไทยเช้อื สายจีน เมื่อ ชา วจีนออ กไปทํามา หา กิน ออ กมาสูโพนทะ เล ก็ไมสามารถเอ าปายสถิตวิญ ญาณ มา ดวยได เพราะรากฐานยังตองอยูท่ีเดิม หากนําปายสถิตวิญญาณมาถือวาคนๆ นั้นขาดจากเมืองจีน ดังนั้นคนจีนจึงไมมีผีบรรพบุรุษ คุมครอง ท้ังนี้ในเอเชียอาคเนยคําเรียกเจาแหงชุมชนจะตางกัน ดังนั้นคนจีนที่มากอนโดยเฉพาะรุนบุกเบิกมาตายในเมืองไทย บางคนมีคุณงามความดี มีความรูสูงเม่ือตายแลวคนในทองถ่ินก็ยกยองเซนไหวเปนเจาและเอาไปโยงกับโถวต่ีของจีน คนจีนที่อาศัยในไทย น้ันเรียกวา ปุนเถากง และสรางรูปปนปุนเถากงกับเทพเจาอีกมากมายไวในตึกเจาแมสรอยดอกหมาก เพือ่ ใหคนจีนในระแวกนน้ั ไดเคารพสักการะ

๑๘ “เขา จอดเรือเหนอื หนา ศาลาวัด โสมนัสนอ งไมเ ส่ือมทีเ่ ล่อื มใส ขึ้นเดินเดียวเท่ียวหาสุมาลยั จาํ เพาะไดดอกโศกทโี่ คกนา กับดอกรักหกั เดด็ ไดเจด็ ดอก พอใสจ อกจัดแจงแบง บปุ ผา ใหก ลนั่ มงั่ ทงั้ บนุ นาคเพอ่ื นยากมา ทา นบิดาดใี จกระไรเลย วาโศกรกั มกั รา ยตอ งพรายพลัด ถวายวัดเสยี ก็ถกู แลวลกู เอย แลวหมดองครองงามเหมือนตามเคย ลลี าเลยเลยี บตะพานข้ึนลานทราย” (นิราศวดั เจาฟา ฉบับหอพระสมดุ วชิรญาณ, ออนไลน) ถอดคาํ ปรพนั ธไดว า จากนนั้ สุนทรภูไดเ ขา จอดเรือทห่ี นาศาลาวัด มคี วามรสู ึกเล่ือมใสไมเส่ือมศรัทธาจึงไดเดินเก็บดอกไม ไดแก ดอกโศก ดอกรกั เจ็ดดอก และดอกบนุ นาค สุนทรภจู งึ เตรยี มดอกไมจัดใสจอกไว พอสนุ ทรภูไ ดเ หน็ จึงมี ความดีใจจึงไดบ อกกบั สนุ ทรภูวา ความทกุ ข ความโศก ความโชครายจะจางหายไป ส่ิงทจี่ ัดเตรยี มมาทง้ั หมดให นํามาถวายวดั ทิง้ ไวที่น่ีดีแลว

ดอกไมถ วายพร ๑๙ ก า ร ท่ี เ ร า นํ า ด อ ก ไ ม ไ ป บู ช า พ ร ะ น้ั น มี ค ว า ม เ ช่ื อ ว า ดอ ก ไม ท่ี เร า เลื อ กใ ช บูช า พ ร ะ นั้น จ ะ ต อ ง เ ป นด อ กไ ม ที่ส ด ให ม แ ล ะ ส ว ยง า ม จึงตอ งมีความพถิ พี ถิ นั ในการเลือกดอกท่งี ดงามเปนพิเศษเพื่อมาถวายหรือบูชาตอพระ โดย เชอื่ วาดอกไมถวายพระจะตองงาม ๆ เพ่ือท่ีจะชวยใหชีวิตเราสวยงามตามไปดวยด่ังดอกไม หากเราเลอื กดอกไมท เี่ หี่ยวเฉามา ชวี ิตกโ็ รยราตามดอกไมด วยเชนกนั ในพระพุทธศาสนา มคี ตเิ กี่ยวกับดอกไมปรากฏอยูใ นพระสูตรตาง ๆ โดยยกยองใหด อกไมน านาพรรณเปนของสงู ควร คาแกก ารนํามาบชู าสมเด็จพระสัมมาสมั พุทธเจา ดงั นน้ั ดอกไมจ ึงอยใู นฐานะวตั ถบุ ชู าทางพระพุทธศาสนา ตามคติความเชือ่ ของ คนไทยมาตั้งแตโบราณ แมกอนยคุ ที่พทุ ธศาสนาและศาสนาพราหมณฮ นิ ดูจะเขา มามีอทิ ธพิ ลในสงั คม วฒั นธรรมการใชดอกไม เปนเครื่องสักการะเซนสรวงวิญญาณหรือพลงั อาํ นาจเหนือธรรมชาติตา ง ๆ ก็ดํารงอยูม ากอ นแลว พนิ ิจจากคาํ ประพนั ธ์ ลกั ษณะกรวยดอก ดอกบนุ นาค ไมท้ ่ีปรากฏใน สุนทรภนู่ าํ ดอกโศกดอกรัก นิราศวดั เจา้ ฟา้ และดอกบนุ นาคมาถวายพระ และ บิดาของสุนทรภู่จึงกล่าวว่า ดีแลว้ ท่ีนาํ ดอกโศกดอกรักมาถวายพระ จะไดไ้ ม่ตอ้ งโศกเศร้าเพราะความ รักอีก และใหท้ ิ้งความโศกไวท้ ี่วดั ดอกรกั ดอกโศก แห่งน้ีเสีย

๒๐ “โอรินรินกลิ่นพกิ ุลมาฉุนชนื่ ดอกแกว รืน่ เรณไู มรหู าย ดอกกระจายแจม กลีบดงั จีบเจียน หอมจาํ ปาหนาโบสถสาโรชราย รุกขชาติพุม ไสวเหมือนไมเ ขียน ดูกฏุ วิ หิ ารสะอา นสะอาด ตา งเดนิ เวยี นทกั ษณิ พระชินวร ทีภ่ ูมพิ ื้นรืน่ ราบดว ยปราบเตียน เขาในหองเห็นพระเจาเทาสงิ ขร ไดสามรอบชอบธรรมทา นนํานอ ง ทานบดิ รไดป ระกาศวา ชาตินี”้ ตางจุดธูปเทียนถวายกระจายจร (นิราศวดั เจา ฟา ฉบบั หอพระสมุดวชริ ญาณ, ออนไลน) ถอดคาํ ปรพันธไ ดว า เม่ือสุนทรภูเดินทางถึงบริเวณหนาอุโบสถ ทานไดกล่ินของดอกพิกุล ดอกแกว ดอกจําปา และดอกบัวท่ีมีดอกกระจายแบงบาน ทานไดสังเกตเห็นกุฏิท่ีสะอาดตา และตนไมหรือหมูไมที่เปนพุมพล้ิวไสวเหมือน ภาพวาด สวนท่ีพ้ืนน้ันมีลักษณะเปนที่ราบเตียนท่ีสามารถเดินเวียนรอบโบสถได โดยเดินเวียนตามหลักทักษิณาวรรต เมือ่ เดินเวียนไดสามรอบก็เขา หอ งเหน็ หลวงพอ โต ซึ่งสุนทรภูไ ดเหน็ พระพทุ ธรูปแลว ไดเ ปรยี บวามขี นาดใหญเ ทาภเู ขา

ทศิ ท้งั ๘ ๒๑ ทศิ ทง้ั ๘ ทักษณิ าวรรต หมายถงึ การเวียนขวา, วนรอบไปทางขวา, หรือ เดินเลี้ยวขวาไปรอบ ๆ สิ่ง ๆ หนึ่ง กลาวคือ เปนการเดินวนไปขางหนาใน อดุ ร : ทิศเหนือ ขณะที่แขนขวาหรือรางกายทางดานขวาหันเขาหาจุดศูนยกลางหรือ อสี าน : ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ แกนกลาง จึงเทากับเปนการเวียนตามเข็มนาฬิกา อีกนัยหน่ึงคือ บูรพา : ทศิ ตะวันออก เปน การเดนิ เลย้ี วขวาไปตลอดเวลาอยางเข็มนาฬิกา อาคเนย : ทิศตะวันออกเฉียงใต ทกั ษณิ : ทิศใต หรดี : ทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต ประจิม : ทศิ ตะวันตก. พายัพ : ทิศตะวนั ตกเฉยี งเหนือ คํา \"ทักษิณาวรรต\" นี้ มักใชบอยในขนบธรรมเนียมประเพณีและ N คติความเชื่อของผูท่ีนับถือ ศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธวา การเดิน ทักษิณาวรรตหรือเวียนขวา ๓ รอบสิ่งของหรือบุคคลใดก็ตามแต ถือเปนบุญบารมี โบสถ และส่ิงมงคลชีวิตเปนอยางมาก การเวียนขวา ๓ รอบตามคติความเช่ือน้ัน ชาวอนิ เดียในสมัยโบราณเชื่อกันวา ถาหากเดินเวียนขวารอบส่ิงของครบทั้ง ๓ รอบ จะเทากับเดินเวียนรอบพระรัตนตรัยท้ัง ๓ คือพระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ แตถาหากเดินเวียนรอบบุคคล นอกจากผูเวียนจะไดรับบุญบารมีและส่ิงมงคลแก ชีวิตแลว ตัวผูถูกเวียนก็จะไดรวมรับบุญและความเปนสิริมงคลจากการเดินเวียน ขวาเชน กัน

๒๒ “ท้ังรูปช่ัวตัวดาํ แลวต่ําศักด์ิ ถวายรักเสียกบั พระชินสหี  แมนเมอื่ ไรใครเขารกั มาภักดี จะอารีรักตอบเพราะขอบคุณ ท้ังหนกู ลนั่ น้นั วา จะหาสาว ที่เล็บยาวโงง โงง เหมือนกง กระสุน ท้ังเนือ้ หอมกลอมเกล้ียงเพยี งพกิ ุล กอดใหอ ุน ออ นก็วาไมนา ฟง” (นิราศวดั เจา ฟา ฉบบั หอพระสมดุ วชริ ญาณ, ออนไลน) ถอดคําปรพันธไดว า พอของสุนทรภูไดบอกวา ตนน้ันชาตินี้รูปชั่วตัวดําหรือมีฐานะตํ่าศักดิ์ จงเลื่อมใส ศรัทธาในพระพุทธศาสนา แมนเม่ือใดใครเขามารักมาภักดี ตนน้ีน้ันจะรักตอบผูนั้นและ ขอบคุณ สุนทรภูไดพูดถึงการเลือกผูหญิงวาตองเลือกผูหญิงท่ีมีลักษณะเล็บท่ียาวเนื้อตัว หอมเหมือนดอกพิกุล

๒๓ “ฉนั กบั นอ งมองแลดแู ตพ ระ สาธสุ ะสงู กวาฝาผนงั แตพ ระเพลาเทา ปอมทีล่ อ มวัง สาํ รวมนง่ั ปลัง่ เปลง เพง พินจิ ตัวของหนูดูจวิ๋ เทานวิ้ หัตถ โตสนดั หนกั นกั จึงศักด์ิสิทธิ์ กบั หนตู าบกราบกมบังคมคดิ ราํ พนั พิษฐานในใจจินดา ขอเดชะพระกศุ ลท่ปี รนนบิ ตั ิ ท่หี นูพัดพศิ วาสพระศาสนา มาคํารบพบพุทธปฏิมา เปน มหามหศั จรรยในสันดาน ขอผลาอานสิ งสจงสําเร็จ สรรเพชญพน หลงในสงสาร แมนยังไปไมถงึ ทีพ่ ระนีฤพาน ขอสําราญราคอี ยา บฑี า” (นิราศวัดเจา ฟา ฉบับหอพระสมุดวชริ ญาณ, ออนไลน) ถอดคําปรพันธไ ดว า จากนั้นสุนทรภูก็ไดเขากราบสักการะหลวงพอโตแลวไดสังเกตเห็นศีรษะองคหลวงพอโตที่สูงกวาฝาผนัง ตักทานเทากับปอมท่ีลอมวัง ลักษณะทา นัง่ ดสู ํารวมและดูสงางาม เปรียบตัวของตนน้ันเล็กเทาน้ิวมือของหลวงพอโตดวยลักษณะที่ใหญโตจึงทําใหรูสึกวาศักสิทธ์ิมาก สุนทรภูกม กราบและอธิฐานใหส มหวังดงั ปรารถนาขอใหป ระสบความสําเรจ็ ขอใหพระพุทธเจาเห็นความดีในตน แมตนยังไมถึงจุดนิพพานก็ขอใหมีความสุขและ ขออยาใหค วามทกุ ขค วามเจ็บปวดเขามาเบียดเบยี น

๒๔ ลว นพรลกั ษณแหง องคพ รพุทธไตรรตั นายก พระพุทธไตรรตั นนายก เปน พระพุทธรูปปน ปางมารวชิ ยั ในทาํ เนียบพระพุทธรปู ๑. เสน พระศกมี ๔ ขนาดโต ๖,๘,๑๐,๑๒ นว้ิ ๙. พระอังสากวา ง ๘.๗๐ ม. รวม ๘๑๗ ปุม ๑๐. พระหนถุ งึ พระเพลา ๘.๐๐ ม. ๒. พระเศยี รวดั โยรอบ ๑๒.๖๐ ม. ๑๑. พระอรุ ถึงพระชานุ ๖.๖๐ ม. ๓. พระเมาลีจากพระศกสงู ๕.๑๐ ม. ๑๒. พระชานถุ งึ ปลายพระบาท ๑๒.๕๐ ม. ๔. พระเมาลีถึงพระองั สา ๙.๓๐ ม. ๑๓. พระเพลากวาง ๑๔.๒๐ ม. ๕. พระกรรณยาว ๓.๒๐ ม. ๑๔. พระรตั นบลั ลงั กถ งึ พระเมาลีสูง ๑๙.๒๐ ม. ๖. พระพักตรกวา ง ๖.๐๐ ม. ๑๕. พระวหิ ารเปนทส่ี ถิตย สงู ตั้งแตพ น้ื ถึงอก ๓๗ ม. ๗. พระโอษฐกวาง ๑.๔๐ ม. กวาง ๒๖ เมตร ๘. พระศกถึงพระหนุ ๓.๘๐ ม.

๒๕ “จะพากเพยี รเรยี นวสิ ัยแลไตรเพท ใหวเิ ศษแสนเอกทง้ั เลขผา แมน รักใครใหค นนั้นกรรณุ า ชนมายนื เทา เขาพระเมรุ ขอรูธ รรมคําแปลแกว มิ ตุ ิ เหมือนพระพทุ ธโฆษามหาเถร มกี าํ ลงั ดงั มาฆะสามเณร รจู ดั เจนแจงจบทง้ั ภพไตร อน่งึ เลา เจานายที่หมายพง่ึ ใหทราบซ่ึงสุจริตพสิ มัย อยาหลงล้ินหินชาตขิ าดอาลัย น้ําพระทยั ทลู เกลาใหย าวยืน” (นริ าศวัดเจาฟา ฉบบั หอพระสมดุ วชิรญาณ, ออนไลน) ถอดคําปรพนั ธไ ดว า สวนตนจะต้ังใจพากเพียรศึกษาคัมภีรไตรเพท ใหชํานานในศาสตรตาง ๆ แมถารักใครก็ขอใหคนน้ันรัก และกรุณาตน มีอายุยืนเทาเขาพระเมรุ ขอใหตนนั้นบรรลุและรูในพระธรรมใหเหมือนพระพุทธโฆษามหาเถร และมีกําลงั ดงั มาฆะสามเณร รรู อบรชู ัดใหแจมแจง ท้ัง ๓ ภพ ใหเจานายทห่ี วงั พง่ึ พาอาศัยใหพระองคทราบวาใครมี จิตใจสุจรติ ไมหลงเช่ือพวกที่ชอโกงชาติ และมีจิตใจเมตรตาอยางย่งั ยนื

ไตรภมู ิ ๒๖ ภาพถา ย ภาพแสดงภมู ิทง้ั ๓๑ ภมู ิ ไตรภูมิ หรือ ไตรโลก (หมายถึง สามโลก) ซึ่งเปนคติเก่ียวกับโลกสัณฐานตาม ที่มา: https://sites.google.com/site/amornratxacaryxe/home/ ความเชื่อในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ ไตรภูมิประกอบดวย กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ สตั วโลกทั้งหลายก็จะตอ งเวยี นวา ยตายเกดิ ในไตรภูมิน้จี นกวาจะสาํ เรจ็ เปนพระอรหนั ต กามภูมิ คือ โลกของผทู้ ่ียงั ติดอยใู่ นกามกิเลส แบง่ ออกเป็นดนิ แดน ๒ ฝ่ายและแบง่ โลกยอ่ ย ๆ ได้ ๑๑ แหง่ ไดแ้ ก่ ๑. สคุ ติภมู ิ หรอื ดนิ แดนฝ่ายดหี รอื ฝ่ายเจรญิ ประกอบดว้ ยโลกยอ่ ย ๆ รวม ๗ แหง่ ไดแ้ ก่ มนสุ สภมู หิ รอื โลกมนษุ ย์ ๑ แหง่ และสวรรคภ์ มู ิหรอื ฉกามาพจรภมู ิซง่ึ หมายถงึ สวรรค์ ๖ ชนั้ ไดแ้ ก่ จาตมุ หาราชิกา ดาวดงึ ส์ ยามา ดสุ ิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวตั ดี ๒. อบายภมู ิ หรอื ดินแดนฝ่ายไมด่ ีหรอื ฝ่ายเส่อื ม ประกอบดว้ ยโลกยอ่ ย ๆ ๔ แหง่ ไดแ้ ก่ นรกภมู ิ ดิรจั ฉานภมู ิ เปรตภมู ิและอสรุ กายภมู ิ รูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมทม่ี ีรูป มที งั้ สนิ้ ๑๖ ชนั้ ผมู้ าเกิดตอ้ งบาํ เพญ็ สมาธิจนไดญ้ าณสมาบตั ิ พรหมในชนั้ เหลา่ นีไ้ มม่ ีการเคลอ่ื นไหวใด ๆ ทงั้ สนิ้ พรหมทงั้ ๑๖ ชนั้ นีเ้ รยี กวา่ โสฬสพรหม พรหม ๕ ชนั้ สงู สดุ คอื พรหมตงั้ แตช่ นั้ ที่ ๑๒ - ๑๖ เป็นพรหมชนั้ พิเศษท่ีเรยี กวา่ พรหมชนั้ ปัญจสทุ ธาวาส เป็นทีเ่ กิด ของพระอนาคามคี อื ผทู้ ี่จะไมม่ าสกู่ ามภมู ิอกี ไดแ้ ก่ อวหิ าภมู ิ อตปั ปาภมู ิ สทุ สั สีภมู ิ และอกนิฏฐาภมู ิ อรูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมไมม่ รี ูป มแี ตจ่ ิตหรอื วิญญาณ มี ๔ ชนั้ ผทู้ ม่ี าเกิดในดนิ แดนทงั้ ๓ โลกนีม้ าเกิดตามผลของการทาํ กรรมหรอื ทาํ บญุ ในชาตกิ ่อนๆ อนั เป็นเหตใุ หต้ อ้ งเวยี นวา่ ยตายเกิดอยใู่ นสงั สารวฏั อยา่ งไมม่ ที ี่สนิ้ สดุ

๒๗ อางองิ สุนทรภู. (๒๕๕๘). นิราศวดั เจาฟา. กรงุ เทพฯ: กรมศิลปากร. ณัฏฐภทั ร จันทวชิ . (๒๕๕๓). วดั พนัญเชิงวรมหาวิหาร พระนครศรอี ยุธยา. กรงุ เทพฯ: อมรนิ ทรพริ้นต้ิง. (ออนไลน) เขาถึงไดจ าก : https://sites.google.com/site/thongtot/classroom-news. (วันท่คี น ขอ มูล : ๑๑ กนั ยายน ๒๕๖๓) (ออนไลน) เขาถึงไดจาก : http://www.royin.go.th/?knowledges. (วันทค่ี นขอ มูล : ๑๒ กันยายน ๒๕๖๓) (ออนไลน) เขาถงึ ไดจ าก : http://www.siammongkon.com. (วนั ทีค่ นขอมลู : ๑๒ กันยายน ๒๕๖๓) (ออนไลน) เขาถงึ ไดจาก : http://www.visitsk.org. (วันท่ีคนขอมลู : ๑๓ กันยายน ๒๕๖๓) (ออนไลน) เขาถงึ ไดจาก : https://sites.google.com. (วนั ที่คนขอ มลู : ๑๔ กันยายน ๒๕๖๓) (ออนไลน) เขาถึงไดจาก : https://ww2.ayutthaya.go.th. (วนั ทค่ี นขอ มลู : ๑๔ กันยายน ๒๕๖๓) (ออนไลน) เขาถึงไดจ าก : https://www.voicetv.co.th. (วันที่คนขอมูล : ๑๔ กันยายน ๒๕๖๓)

๒๘ ผูจดั ทํา ๑. างสาวเรณู หนั สมร รหัส ๐๐๑ ๒. างสาวพัชรินทร านพ รหัส ๐๐๒ ๓. ายกฤษณ ธรี กุาร รหสั ๐๑๓ สาาวชิ าภาษาไทย วทิ าลัยการึกหดั ครู มหาวิทาลัยรชภฏั พรนคร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook