43 1) การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2) ความเอื้อเฟอเผ่อื แผ 3) ความกตัญกู ดเวที 4) ความชื่อสัตย สจุ ริต 5) การเคารพผอู าวโุ ส 6) การนยิ มใชของไทย 7) การประหยัด กิจกรรมทา ยบทที่ 2 1. ประเพณไี ทยเปน เคร่อื งแสดงถงึ ความสาํ คญั และลกั ษณะของความเจรญิ ในดา นใด ก. การดาํ รงรักษาและอนุรกั ษของเดมิ ข. จติ ใจ สงั คม และความเปน อยบู รรพบุรษุ ค. วิถีชวี ิตความเปน อยูท้ังในอดีตและปจ จุบนั ง. การแสดงความกตัญูกตเวที และดํารงรกั ษาประเพณดี ั้งเดมิ 2. ประเพณีการเกิด จดั เปนประเพณีในขอ ใด ก. สงั คม ข. ประเพณชี มุ ชน ค. ครอบครวั ง. ประเพณเี ก่ียวกับเทศกาล 3. ขอ ใดเปน วฒั นธรรมไทยผสมผสานกบั วฒั นธรรมสากล ก. พระบรมมหาราชวัง ข. วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม ค. พระทีน่ ัง่ อนนั ตสมาคม ง. วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม 4. ใครที่แสดงออกถงึ การอนุรักษว ฒั นธรรมไทยระดบั ชาติ ก. นาํ้ ฝนราํ เซง้ิ ไดส วยกวา เพ่อื น ข. สมใจชอบรําอวยพร ค. มะลชิ อบแตง ผา ไหมของชาวอสี าน ง. สมชายพูดคาํ ควบกลํ้าในภาษาไทยชัดเจน
44 5. “สมใจไปศึกษาภาษาจนี และภาษาพมาเพ่มิ เติมเพอื่ เตรยี มเขา สอู าเซยี นและเธอพูด ภาษาไทยไดชดั เจน” ขอ ความดังกลาวแสดงถงึ การเลือกรับวัฒนธรรมสากลในขอใด ก. ดานองคความรแู ละหลกั การ ข. ดานการศึกษาและความรู ค. ดานแนวคิด ทฤษฎี ความรแู ละหลกั การ ง. ดานการประกอบอาชีพ และ ดา นความสัมพันธ 6. การซ้ือสนิ คา OTOP เปนการปลูกฝง คานยิ มในขอใด ก. ความนยิ มประหยัด ข. คา นยิ มทางวตั ถุ ค. คา นิยมใชของไทย ง. คานยิ มทางพ้นื ฐาน 7. คานิยมใดสมควรแกไขในสังคมไทย ก. การเคารพผูอาวโุ ส ข. การใหค วามสําคญั กบั เงนิ ค. การพ่งึ พาอาศัยรวมมอื กนั ง. การใหความสําคัญกบั ใบปรญิ ญาบัตร 8. คานยิ มในขอใดที่ควรปลกู ฝง ใหเยาวชน ก. ทาํ ใหเ กดิ ความรับผดิ ชอบชั่วดี ข. ทาํ ใหเกดิ ความซาบซ้งึ ค. ทําใหเกิดความรักความเขาใจ ง. ทาํ ใหชีวิตและรา งกายอยรู อด 9. วัดหลวงพระบางเปนวฒั นธรรมของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวดานใด ก. แตงกาย ข. อาหาร ค. ประเพณี ง. ภาษา 10. เครื่องมอื หาปลา เชน ลอบ ไซ แห จดั เปนวัฒนธรรมทางใด ก. ทางวัตถุ ข. ทางสุนทรยี ะ ค. ทางภาษาและวรรณคดี ง. ทางขนบธรรมเนียมประเพณี
45 บทท่ี 3 รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย สาระสําคัญ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีรัฐธรรมนูญซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศที่ประชาชนชาวไทยควรมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสรางและสาระสําคัญของ รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย ตลอดจนการศึกษาจดุ เดนของรฐั ธรรมนญู ในสว นที่ เกี่ยวกับ สิทธิ เสรีภาพและหนาท่ีของประชาชน เพ่ือการปฏิบัติตนไดอยางถูกตองตามท่ี รัฐธรรมนูญ กําหนด และหลักการสําคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม คานิยม ในการอยู รวมกนั อยางสนั ติ สามคั คี ปรองดอง ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั 1. อธบิ ายความเปนมา หลกั การและเจตนารมณของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั ร ไทยได 2. มีความรู ความเขา ใจ โครงสรางและบอกสาระสําคญั ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย 3. อธิบายจุดเดนของรฐั ธรรมนูญที่เกยี่ วกับสิทธิเสรภี าพหนา ทีข่ องประชาชนได 4. มคี วามรูความเขาใจในหลักการสําคญั ของประชาธิปไตย และมีคุณธรรม จริยธรรม คา นิยมการอยรู วมกนั อยางสนั ติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉันท ขอบขา ยเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 ความเปน มา หลกั การ และเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ เรื่องท่ี 2 โครงสรางและสาระสําคัญของรฐั ธรรมนูญ เร่อื งท่ี 3 การปฏริ ูปการเมือง และจุดเดน ของรฐั ธรรมนญู ท่ีเกยี่ วกบั สทิ ธิ เสรีภาพ และหนาทขี่ อประชาชน เรอื่ งท่ี 4 หลักการอยูรวมกันตามวิถที างประชาธปิ ไตยบนพน้ื ฐานของคุณธรรมจรยิ ธรรม
46 สอื่ การเรียนรู 1. คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต 2. รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 3. บทความตา ง ๆ 4. หนังสือพิมพ
50 เรอื่ งที่ 1 ความเปน มาหลักการเจตนารมณข องรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย 1.1 ความเปน มาของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย รฐั ธรรมนญู (Constitution) หมายถงึ กฎหมายสูงสดุ ในการจดั การปกครองรฐั ถา แปลตามคาํ จะหมายถงึ การปกครองรฐั อยา งถูกตองเปน ธรรม (รฐั + ธรรม + มนูญ) หลวงประดิษฐมนูธรรม (ดร.ปรีดี พนมยงค) ไดอธิบายวา “กฎหมายธรรมนูญการ ปกครองแผนดิน เปนกฎหมายท่ีบัญญัติถึงระเบียบแหงอํานาจสูงสุดในแผนดินท้ังหลาย และ วธิ กี ารดําเนินการท่วั ไปแหงอาํ นาจสูงสุดในประเทศ” ศาสตราจารยหยุด แสงอุทัย อธิบายความหมายวา “กฎหมายที่กําหนดระเบียบแหง อาํ นาจสูงสุดในรฐั และความสมั พันธร ะหวา งอาํ นาจเหลา น้ีตอ กันและกัน” ประเทศไทยเริม่ ใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เมื่อเกิดการ ปฏิวตั โิ ดยคณะราษฎร เพือ่ เปลยี่ นแปลงการปกครองประเทศจากระบอสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบประชาธิปไตย โดยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุขท่ีทรงอยูใต รัฐธรรมนูญ เม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน 2475 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 แหง ราชวงศจกั รี หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรง พระราชทานรัฐธรรมนญู ใหแกป วงชนชาวไทยตามทค่ี ณะราษฎรไดนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหทรง ลงพระปรมาภไิ ธย พระองศทรงมพี ระราชประสงคม าแตเดิมแลววาจะพระราชทานรัฐธรรมนูญ ใหเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแกประชาชนอยูแลว จึงเปนการสอดคลองกับ แผนการของคณะราษฎร ประกอบกับพระองศทรงเห็นแกความสงบ เรียบรอยของบานเมือง และความสุขของประชาชนเปนสําคัญยิ่งกวาการดํารงไวซึ่งพระราช อํานาจของพระองค รัฐธรรมนูญที่คณะราษฎรไดนําข้ึนทูลเกลาฯถวาย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามช่ัวคราว พ.ศ. 2475 และรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475
51 1.2 หลกั การและเจตนารมณของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย จากการศกึ ษาความเปนมาของรัฐธรรมนูญพบวา มีความสัมพันธกับการ เปล่ียนแปลง การปกครองมาต้ังแตป พ.ศ.2475 และไมว าจะเกิดการปฏิวัติรัฐประหารกคี่ ร้ังก็ตามกระแสการ เรียกรองใหมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและเรียกรองใหรัฐธรรมนูญมีความเปน ประชาธปิ ไตยกเ็ กดิ ขึ้นอยางตอเน่ืองและมวี ิวัฒนาการมาตามลาํ ดบั หากศกึ ษาถงึ มูลเหตุของการ เรยี กรอ งใหมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองและประกาศใชรฐั ธรรมนญู ในประเทศไทยน้ัน พบวา การประกาศใชรฐั ธรรมนูญมเี ปา หมายสาํ คัญอยา งนอ ย 2 ประการ คอื 1. เปนหลักประกันในเร่ืองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ซ่ึงผูปกครองจะละเมิด มไิ ด 2. เปนบทบญั ญัติทก่ี ลาวถึงขอบเขตอาํ นาจหนาทขี่ องผูปกครองและปอ งกนั มิให ผูป กครองใชอ าํ นาจตามอาํ เภอใจ ดังน้นั ในการประกาศใชร ฐั ธรรมนญู แตล ะฉบบั คณะผยู กรา งจึงไดเ ขียนหลักการ และ เจตนารมณในการจดั ทาํ ไวท กุ ครง้ั ซ่งึ หลกั การและเจตนารมณทีค่ ณะผยู กรางเขยี นไวน ั้น ชวยให คนรุน หลังไดมีความรูความเขาใจในเน้ือหาที่มาของรัฐธรรมนูญแตละฉบับวามีมาอยางไร รวมทั้งสภาพสงั คมในชวงเวลานนั้ ดวย ซ่งึ ในทนี่ ีจ้ ะขอยกตัวอยางหลักการและ เจตนารมณของ รัฐธรรมนูญฉบับแรกคือ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามช่ัวคราว พุทธศกั ราช 2475” และรัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 18 คือ รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธคกั ราช 2550 ดังน้ี 1. หลักการและเจตนารมณของ รัฐธรรมนูญฉบับแรก คือ “พระราชบัญญัติธรรมนูญ การปกครองแผน ดินสยามชัว่ คราว พุทธคกั ราช 2475\"” สรุปสาระสําคญั คอื 1) ประกาศวาอาํ นาจสงู สุดของประเทศเปนของราษฎร (มาตรา 1) ซึ่งแสดงถึง การเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชยม าเปน ระบอบประชาธิปไตย 2) พระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ ของประเทศ กิจการสําคัญของรัฐทําในนามของ พระมหากษัตรยิ 3) เปนการปกครองแบบสมัชชา โดยกําหนดใหคณะกรรมการราษฎร ซึ่งมี จํานวน 15 คน ทาํ หนาทีบ่ ริหารราชการแผน ดินดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของสภา ผูแ ทนราษฎร 4) เรม่ิ มีรฐั สภาข้นึ เปน ครัง้ แรก โดยกําหนดใหเ ปน สภาเดียว คอื สภาผูแทนราษฎรซึ่งมีอํานาจสูงสุด กลาวคือตรากฎหมายควบคุมดูแลราชการ กิจการของ
52 ประเทศมีอํานาจถอดถอนหรอื สามารถปลดกรรมการราษฎรและขา ราชการทกุ ระดบั ช้ันได โดยคณะกรรมการราษฎรไมมีอํานาจที่จะยุบสภาผูแทนราษฎรวินิจฉัยการกระทําของ พระมหากษตั รยิ 5) รฐั ธรรมนูญฉบับนี้ ไดกําหนดอายุของผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งและผูมีสิทธิ สมัครรับเลือกตั้งไว 20 ปบริบูรณเทากัน สวนวิธีการเลือกต้ังเปนการเลือกต้ังทางออมคือให ราษฎรเลือกผแู ทนตาํ บลแลว ผแู ทนตาํ บลก็เลอื กสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรอกี ทอดหนงึ่ 6) ศาลมีอํานาจพิจารณาพพิ ากษาคดตี ามกฎหมายแตไ มมีหลักประกนั ความ อิสระของผูพพิ ากษา 2. หลักการและเจตนารมณของ รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 18 คือ รัฐธรรมนูญแหงราช อาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 สรปุ สาระสาํ คัญไดด งั น้ี 1) คมุ ครอง สงเสรมิ ขยายสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชนอยางเต็มท่ี 2) ลดการผกู ขาดอาํ นาจรฐั และเพ่มิ อาํ นาจประชาชน 3) การเมอื งมคี วามโปรง ใส มีคุณธรรม และจริยธรรม 4) ทําใหองคกรตรวจสอบมีความอสิ ระ เขม แข็ง และทํางาน อยางมีประสิทธภิ าพ 1.3 เจตนารมณข องรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั ไทย พทุ ธศกั ราช 2550 รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 รางข้ึนบนสถานการณที่ตองการ ใหมีการปรับปรุงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ท่ีกอใหเกิดปญหากับ ระบบการเมืองหลายประการ โดยยังคงยึดถือโครงการสรางใหญของรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540 ที่วางไวเปนหลักซึ่งหากจะประมวลสภาพปญหาที่เกิดจากการใชบังคับรัฐธรรมนูญมี องคป ระกอบสําคญั สองสวนกลา วคือ สวนแรกเปนปญหาท่เี กิดจากขอบกพรองที่ตัวรัฐธรรมนูญ เองกับสวนที่สองคือปญหาทางขอเท็จจริงทางการเมืองท่ีเกิดปรากฎการณพรรคการเมืองท่ี สามารถคุมเสียงขางมากในรัฐสภาไดอยางเด็ดขาดจนทําใหดุลแหงอํานาจระหวางฝายนิติ บัญญตั ิและบรหิ ารในการควบคุมตรวจสอบการใชอํานาจของฝายบริหารสูญเสียไป มีลักษณะ ของเผด็จการรัฐสภา รวมถึงการแทรกแซงการใชอํานาจของศาลและองคกรอิสระตาม รัฐธรรมนูญท้ังหลาย ไมวาจะเปนศาลรัฐธรรมนูญ และคณะกรรมการการเลือกตั้ง เปนตน ประกอบกับบุคลิกภาพของผูนําและการใชอํานาจที่ไมชอบธรรมทําใหเจตนารมณของ รัฐธรรมนญู ฉบบั ประชาชนที่ดีในหลายเรื่องถูกบิดเบือนไปและฝายรัฐบาลก็แสวงหาประโยชน
53 และโอกาสขอ ไดเ ปรียบตาง ๆจากรัฐธรรมนูญมาเปนเครื่องมือ ดังน้ันการจะทําความเขาใจถึง เจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดอยางถูกตอง จึงมีความจําเปนท่ีตองยอนกลับไป พจิ ารณาสภาพปญหาท่ีเกิดขึ้นในอดีตจากการใชบังคับรัฐธรรมนูญ 2540 เสียกอน เพ่ือทําให ทราบความเปนมาและเปน ไปของการแกไขปรับปรุงในรัฐธรรมนญู 2550 1.3.1 ปญหาจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 อันนํามาซึ่ง การรางรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ีดีท่ีสุดฉบับหนึ่งของประเทศไทย แตการเปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ีดีท่ีสุด ไมไดหมายความวารฐั ธรรมนญู ฉบับนี้จะไมมขี อ บกพรองเลยดงั จะเห็นไดจากการวิพากษวิจารณ รัฐธรรมนญู ทีเ่ กิดขน้ึ ตลอดมาตง้ั แตป พ.ศ. 2540-2549 ตลอดถึงการแกไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ ในป พ.ศ. 2548 ซึง่ เปน เคร่ืองบงชี้ใหเห็นถึงความบกพรองของรัฐธรรมนูญโดยปญหาที่เกิดข้ึน จากรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 1.3.2 เจตนารมณทั่วไปที่เปนกรอบในการรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยสภารางรัฐธรรมนูญ การรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยสภารางรัฐธรรมนูญที่จัดต้ังขึ้นโดยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พ.ศ. 2549 1.3.3 เจตนารมณเฉพาะในดานตางๆ ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 การจัดทํา รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 มีจดุ มงุ หมายทีจ่ ะนําพาประเทศไปสูการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยท่ีสมบูรณ จัดใหมีการเลือกตั้งแกปญหาและขอบกพรองของ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ท่ีกอใหเกิดการผูกขาดอํานาจรัฐและการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม การเมอื งทข่ี าดความโปรงใส ขาดคุณธรรมและจริยธรรมระบบการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ ทลี่ มเหลว การใชส ทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน ไมไ ดร บั การคุมครองและสง เสรมิ อยา งเต็มที่
54 เร่อื งท่ี 2 โครงสรา งและสาระสําคญั ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย โครงสรา งและสาระสําคญั ของรัฐธรรมนูญทั้ง 18 ฉบับ มีวิวัฒนาการมาเปน ลําดบั จาก การศึกษาพบวา มโี ครงสรางและ สาระสาํ คัญทบ่ี ัญญัตไิ ว ดงั น้ี 2.1 ประมุขแหง รฐั สวนนี้จะระบุถึงองคพระมหากษัตริยและพระราชอํานาจ ของพระองคการแตงตั้ง ผสู ําเร็จราชการ และการสบื ราชสนั ตตวิ งศ 2.2 ระบอบการปกครอง สวนนี้จะระบุรูปแบบของรัฐและลักษณะการปกครองไวกลาวคือประเทศไทยเปนรัฐ เด่ยี ว และมกี ารปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษตั ริยท รงเปน ประมขุ 2.3 สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และหนาที่ สวนนี้รัฐธรรมนูญระบุไวโดยในสวนของสิทธิ เชนสิทธิในการศึกษาสิทธิในการ รักษาพยาบาล เปนตนในสวนของความเสมอภาค เชนการไมเสือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากเช้ือ ชาติ สีผิว รายได และสภาพรางกาย เปนตนในสวนของหนาท่ี เชนประชาชนมีหนาท่ีตองไป เลอื กตัง้ มีหนาท่ตี องเสยี ภาษีและมีหนา ทีต่ อ งรกั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนตน 2.4 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ สวนนี้จะระบุแนวนโยบายที่จะทําใหประเทศ มีความมั่นคงมีความเจริญมีสันติสุข และ ประชาชนมีมาตรฐานการ ครองชีพ และมีคุณภาพชีวิตทีดี เชน การรักษาธรรมชาติการสราง ความเขม แขง็ ของชมุ ชน กระจายรายไดทเี่ ปนธรรม เปนตน 2.5 อาํ นาจอธปิ ไตย สวนน้ีจะกาํ หนดสถาบนั ที่ใชอํานาจอธิปไตย ไดแก ฝายบริหารฝายนิติบัญญัติ และฝายตุลา การ รวมถึงความสัมพนั ธร ะหวา งสถาบัน ท้งั สามสถาบนั 2.6 การตรวจสอบการใชอ าํ นาจรัฐ สว นนีจ้ ะระบกุ ลไกท่ีใชสําหรับตรวจสอบการทํางานของรัฐเพื่อใหเกิดความโปรงใสและ ความบริสุทธิ์ยุติธรรม เชนศาล รัฐธรรมนูญ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหง ชาติคณะกรรมการการเลอื กตัง้ เปน ตน
55 เร่ืองที่ 3 การปฏิรูปการเมืองและจุดเดนของรัฐธรรมนูญที่เก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพหนาท่ี ของประชาชน สิทธแิ ละเสรีภาพ เปน รากฐานสาํ คัญในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย การท่ีจะ รูวาการปกครองของประเทศใดมีความเปนประชาธิปไตยไดมากนอยเพียงใด ตองดูที่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนในประเทศน้ันๆ เปนสําคัญ ถาประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก ความเปน ประชาธปิ ไตยของประเทศน้ันก็มีมากหากสิทธิเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัด หรือถูกรีดรอน โดยผูมีอาํ นาจในการปกครอง ประชาธปิ ไตยกจ็ ะมีไมไดดวยเหตุนก้ี ฎหมาย รฐั ธรรมนูญของไทย ทกุ ฉบบั จงึ ไดบญั ญตั ิ คมุ ครองสทิ ธิ เสรีภาพของประชาชนไวและมีการบัญญัติเพ่ิมและซัดเจน ข้ึนเรื่อยๆ จนถึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญท่ี ยงั คงมีผลบังคับใชในปจจุบัน ไดบัญญัติไวเร่ืองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไวอยางซัดเจน และเปน หมวดหมู ปรากฏอยูในหมวดที่ 3 ดังน้ี สว นที่ 1 บททั่วไป สวนที่ 2 ความเสมอภาค สวนที่ 3 สทิ ธแิ ละเสรภี าพสวนบคุ คล สว นที่ 4 สทิ ธิในกระบวนการยุตธิ รรม สวนที่ 5 สทิ ธใิ นทรัพยสิน สว นที่ 6 สิทธิและเสรภี าพในการประกอบอาชพี สวนที่ 7 เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ของบุคคลและสอ่ื มวลชน สวนที่ 8 สิทธิและเสรภี าพในการศกึ ษา สว นที่ 9 สทิ ธิในการไดรบั บริการสาธารณสขุ และสวัสดิการจากรฐั สว นที่ 10 สิทธใิ นขอ มลู ขา วสารและการรองเรียน สวนท่ี 11 เสรภี าพในการชุมนมุ และสมาคม สว นท่ี 12 สิทธิชุมชน สวนท่ี 13 สทิ ธพิ ิทกั ษร ัฐธรรมนูญ ผูเรียนสามารถศึกษารายละเอียดของสิทธิและเสรีภาพไดในเอกสารรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 หมวด 3
56 นอกจากจะบัญญัติสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไวแลวรัฐธรรมนูญก็ยังไดบัญญัติ หนาที่ของประชาชนไวเชนกัน ดังตัวอยางหนาที่ของประชาชนชาวไทย ในหมวด 4 ของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซ่ึงบัญญัตไิ ว ดงน้ี 1. บุคคลมีหนาที่พิทักษรักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ตามรฐั ธรรมนูญนี้ (มาตรา 70) 2. บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบัติตาม กฎหมาย (มาตรา 71) 3. บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกต้ัง บุคคลซ่ึงไปใชสิทธิหรือไมไปใชสิทธิโดยไมแจง เหตุอนั สมควรที่ทําใหไมอาจไปใชสิทธิได ยอมไดรับสิทธิหรือเสียสิทธิ ตามที่กฎหมายบัญญัติ การแจงเหตทุ ท่ี ําใหไมอาจไปเลอื กต้ังและการอาํ นวย ความสะดวก ในการไปเลือกต้ัง ใหเปนไป ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ (มาตรา 72) 4. บุคคลมีหนาท่ีรับราชการทหาร ชวยเหลือในการปองกันและบรรเทาภัยพิบัติ สาธารณะ เสียภาษีอากร ชวยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ ปกปอง และ สืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญาทองถิ่น และอนุรักษ ทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ท้ังน้ตี ามที่กฎหมายบญั ญัติ (มาตรา 73) 5. บุคคลผูเปนขาราชการ พนักงาน ลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจาหนาที่อ่ืนของรัฐ มีหนาท่ีดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย เพ่ือรักษา ประโยชนสวนรวมอํานวยความสะดวกและใหบริการแกประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของ การบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีในการปฏิบัติหนาท่ีและในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับ ประชาชน บคุ คลตามวรรคหน่งึ ตอ งวางตนเปนกลางทางการเมอื ง (มาตรา 74) เร่ืองที่ 4 หลกั การสําคญั ของประชาธปิ ไตย และคณุ ธรรม จริยธรรม คา นยิ ม ในการอยู รวมกนั อยางสนั ติ สามัคคี ปรองดอง 1. ความหมายและความสําคญั ของประชาธปิ ไตย ประชาธิปไตยเปนไดทัง้ รปู แบบการปกครอง และวิถีการดําเนนิ ชวี ติ ซง่ึ ยึดหลกั ของความเสมอภาค เสรีภาพและศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยถอื วาทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเทาเทียมกันและอํานาจอธิปไตย ตองมาจากปวงชน
57 ระบอบประชาธปิ ไตย หมายถึง ระบอบการปกครองทีอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบงแยกอํานาจ และหลักการที่วาดวย ความถกู ตองแหง กฎหมาย ผูป กครองประเทศที่มาจากการเลือกต้ังของประชาชน เปนเพียงตัว แทนท่ีไดรบั มอบอํานาจใหใชอ าํ นาจอธิปไตยแทนประชาชน 2. หลกั การสําคญั ของระบอบประชาธิปไตยที่สําคญั 2.1 หลกั อํานาจอธิปไตย เปน ของปวงชนประชาชนแสดงออกซงึ่ การเปน เจา ของโดยใช อํานาจที่มีตามกระบวนการเลือกต้ังอยางอิสระและท่ัวถึงในการใหไดมาซ่ึงตัวผูปกครองและ ผูแทนของตนรวมทั้งประชาชนมีอํานาจในการคัดคานและถอดถอนผูปกครองและผูแทนที่ ประชาชนเห็นวามิไดบริหารประเทศ ในทางที่เปนประโยชนตอสังคมสวนรวมเชนมีพฤติกรรม ร่ํารวยผดิ ปกติ อํานาจอธปิ ไตย หมายถึง อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังน้ัน ส่ิงอื่นใด จะมี อํานาจยิ่งกวา หรอื ขดั ตอ อาํ นาจอธิปไตยไมได อํานาจอธิปไตยยอมมีความแตกตางกันไป ในแตล ะ ระบอบการปกครอง เชน ในระบอบประชาธิปไตย อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน กลา วคือ ประชาชนคอื ผูมีอาํ นาจสงู สุดในการปกครองประเทศในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อาํ นาจอธิปไตย เปนของพระมหากษตั ริย คือกษตั ริยเปนผมู ีอาํ นาจสูงสดุ ในการปกครองประเทศ เปน ตน อน่งึ อาํ นาจอธิปไตยน้ีนับเปนองคประกอบสําคัญท่ีสุดของความเปนรัฐ เพราะการที่จะ เปนรัฐไดนั้น นอกจากจะตองประกอบดวยอาณาเขต ประชากรและรัฐบาลแลวยอมตองมี อํานาจอธิปไตยดวย กลาวคือ ประเทศน้ันตองเปนประเทศที่สามารถมีอํานาจสูงสุด (อํานาจ อธปิ ไตย) ในการปกครองตนเองจึงจะ สามารถเรียกวา “รฐั ” ได
58 ในระบอบประชาธิปไตยอาํ นาจอธปิ ไตยเปนอํานาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้ 1) อาํ นาจนติ ิบัญญัติ เปนอาํ นาจในการออกกฎหมายและควบคุม การทํางาน ของรัฐบาลเพื่อประโยชนของประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใช อํานาจนีโ้ ดยการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไปทําหนาทแ่ี ทนในรัฐสภา 2) อาํ นาจบริหาร เปนอาํ นาจการบริหารราชการแผนดินและการปกครอง ซึง่ มี คณะรัฐมนตรีหรอื รฐั บาลเปนผูใชอํานาจ และรับผิดชอบในการบริหารราชการแผนดินให เปนไปตาม นโยบายทแี่ ถลงตอรัฐสภา 3) อํานาจตุลาการ เปน อํานาจในการวินจิ ฉัยตัดสินคดคี วาม ตามกฎหมาย โดยมศี าลเปน ผูใชอ ํานาจ 2.2 หลักสิทธิเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทําหรืองดเวนการ กระทําอยางใดอยางหน่ึงตามท่ีบุคคลตองการ ตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้น ไมไปละเมิด ลดิ รอนสทิ ธิ เสรีภาพของบคุ คลอนื่ หรอื ละเมดิ ตอ ความสงบเรียบรอยของสงั คมและความม่ันคง ของประเทศชาติ 2.3 หลักความเสมอภาค การเปดโอกาสใหประชาชนทุกคนสามารถเขาถึงทรัพยากร และ คุณคาตางๆ ของสังคมท่ีมือยูจํากัดอยางเทาเทียมกัน โดยไม'ถูกกีดกันดวยสาเหตุแหง ความแตกตางทางชัน้ วรรณะทางสงั คม ชาติพันธุ วัฒนธรรม ความเปนอยู ฐานะทางเศรษฐกิจ หรือดวยสาเหตอุ ่นื
59 2.4 หลกั ปตริ ัฐและหลกั ปตธิ รรม เปน หลกั การของรัฐทมี่ ีการปกครองโดยกฎหมายหรือ หลักนติ ิธรรมการใชห ลกั กฎหมายเปน กฎเกณฑก ารอยูร วมกนั เพ่ือความสงบสขุ ของสงั คม การใหความคมุ ครองสทิ ธชิ น้ั พนื้ ฐานของประชาชนทั้งในเรื่องสิทธิเสรภี าพในทรพั ยสนิ การแสดงออก การดํารงชีพ ฯลฯ อยา งเสมอหนากนั ผปู กครองไมส ามารถใชอ าํ นาจใดๆ ลิดรอน เพิกถอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนไดและไมสามารถใชอภิสิทธิอยูเหนือกฎหมาย หรือ เหนอื กวาประชาชนคนอ่นื ๆ ได 2.5 หลกั การเสียงขา งมาก ควบคไู ปกบั การเคารพในสิทธิของเสยี งชางนอย การตัดสินใจใดๆ ที่สงผลกระทบตอประชาชนหมูมากไมวาจะเปนการเสือกตั้งผูแทนของ ประชาชนเชา สูระบบการเมือง การตัดสินใจของฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร หรือฝายตุลาการ ยอมตองถอื เอาเสยี งชา งมากทมี่ ตี อเรื่อง นั้นๆ เปนเกณฑในการตัดสินทางเลือก โดยถือวาเสียง ชา งมากเปนตัวแทนที่สะทอ นความตอ งการ และขอเรียกรองของประชาชนหมูมาก หลักการน้ี ตอ งควบคูไปกับการเคารพและคุมครองสิทธิเสียงขางนอยดวย ทั้งน้ี ก็เพื่อเปนหลักประกันวา ฝายเสยี งชางมากจะไมใ ชว ิธกี ารพวกมากลากไปตาม ผลประโยชน ความเห็นหรือกระแสความ นยิ มของพวกตนอยางสุดโตง แตตอ งดําเนินการเพื่อ ประโยชนความเห็นของประชาชนท้ังหมด เพื่อสรางสังคมที่ประชาชนเสียงชางนอย รวมท้ังชนกลุม นอยผูดอยโอกาสตางๆ สามารถอยู รวมกันไดอยา งสันตสิ ุขโดยไมมีการเอาเปรียบกันและสรา งความ ขดั แยง ในสังคม 2.6 หลักเหตุผล เปน หลกั การใชเ หตุผลท่ีถกู ตองในการตดั สินหรอื ยตุ ปิ ญ หาในสังคม ในการอยูรวมกันอยางสันติสามัคคีปรองดอง ผูคนตองรูจักยอมรับพิงความเห็นตาง และรับฟงเหตุผลของผูอื่นไมดื้อดึงในความคิดเห็นของตนเอง จนคนอ่ืนมองเราเปนคนมี มจิ ฉาทิฐิ 2.7 หลักประนีประนอม เปนการลดความขัดแยงโดยการผอนหนักผอนเบาใหกัน รว มมอื กัน เพ่อื เหน็ แกประโยชนข องสว นรวมเปน สาํ คัญ เปนทางสายกลางซ่ึงทงั้ สองฝายจะตอง ไดและเสียในบางอยางไมไดครบตามท่ีตนปรารถนา จัดเปนวิธีการที่ทําใหทุกฝายสามารถอยู รวมกนั ตอ ไปไดอยา งสนั ติวิธกี ารในการประนีประนอมอาจใชเทคนิคการเจรจาตอรอง การไกล เกล่ียโดยผูบังคับบัญชาหรอื บคุ คลทส่ี าม เปน ตนั 2.8 หลักการยอมรับความเห็นตาง หลักการน้ีเพ่ือเปนการอยูรวมกันดวยความสันติ สามัคคีปรองดอง ไมวาเสียงชางมากหรอื เสยี งขา งนอย ตองทาํ ใจยอมรับความเหน็ ตาง อนั เปนการหลอมรวมหลักความเสมอภาคหลกั เสรีภาพและหลักประนีประนอม โดยการเคารพ และคุม ครองสทิ ธิของผอู น่ื ดวย ท้ังน้ีก็เพื่อเปนหลักประกันวา ไมวาเปนฝายเสียงขางมากหรือ ฝายเสียงขางนอยเปนจะสามารถอยู รวมกันดวยความสันติสามัคคี ปรองดองทุกฝายตอง
60 ยอมรับความเห็นตาง รวมท้ังฝายเสียงขางมากเองก็จะไมใชวิธีการพวกมาก ลากไปตาม ผลประโยชนห รือความเห็น หรือกระแสความนิยมของพวกตน อยางสุดโตงแตตองดําเนินการ เพ่ือประโยชนข องประชาชนท้ังหมดหรือทุกฝายเพื่อสรางสังคมที่ประชาชนเสียงขางนอย หรือ ประชาชนทมี่ ีความเห็นตางจากฝายตน สามารถอยรู วมกนั ไดอยา งสันติ สามัคคีปรองดอง โดยไมมีการเอาเปรยี บกันและสรางความขดั แยงในสงั คมมากเกินไป กลาวโดยสรุป วิถีทางประชาธิปไตยอันมี หลักการที่สําคัญ เชน หลักการอํานาจ อธิปไตย หลักสิทธิเสรีภาพหลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐ และหลักนิติธรรม หลักการเสียง ขางมากหลักเหตุผล หลักประนีประนอม หลักการยอมรับความเห็นตาง ผูเรียนจะตองศึกษา เพ่อื ใหม ีความรู ความเขาใจ และนํามาประยกุ ตไขในชวี ิตประจําวันเพอื่ การอยรู วมกนั อยา งสันติ 3. คณุ ธรรม จริยธรรม และคา นยิ มในการเสริมสรางสันติ สามัคคีปรองดองในสงั คมไทย ความหมายการเสริมสรางความปรองดองในสังคมไทยการเสริมสรางความปรองดองใน ลงั คมไทย หมายถงึ “การเพมิ่ พนู ใหดีข้นึ หรือมน่ั คงยงิ่ ขน้ึ ดวย ความพรอ มเพรียงกนั หรอื การเพมิ่ พนู ใหด ขี น้ึ ดว ยการออมซอม ประนีประนอมยอมกันไมแกงแยงกัน ตกลงดวยความไกล เกล่ีย และตกลงกนั ดว ยความมไี มตรีจติ ของประชาชนคนไทย” คนไทยสวนใหญลวนมีความรักใคร และสามัคคีกันอยูแลวในทุกถิ่น ดวยความมีจารีต วฒั นธรรมประเพณี กับความมีศลี ธรรมในสายเลือดและจิตใจสืบทอดตอกันมา การขัดแยงทาง ความคิดในกลุมคน ยอ มเกิดมไี ดบางเปน เรอื่ งธรรมดา แตถาหากการขัดแยงทางความคิด ไดรับ การไกลเกลี่ย ไดรับความรู ไดรับขาวสาร หรือไดรับการอธิบายจนเกิดความรูความเขาใจท่ี ถูกตอง การขัดแยงทางความคิดเหลาน้ันก็จะหมดไปได ไมกอใหเกิดความแตกแยก ความรนุ แรงใดใด ท้ังทางวาจา และทางกาย เพราะคนไทยเปนชนชาติที่ รักความสงบ รักพวก พอง และรักแผน ดนิ ถิ่นเกดิ ดงั นั้นประชาชนควรมีความรูความเขาใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบระเบียบ วธิ กี ารทาํ งานหรือกลวธิ ขี องพรรคการเมือง และควรไดรับความรู มีความเขาใจ เก่ียวกับกลวิธี ในการทุจรติ คอรรปั ชน่ั ประพฤตมิ ิชอบ การรบั เงนิ สมนาคุณ หรือกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับพรรค การเมืองและนักการเมืองทุกรปู แบบ รวมถึงความรูเก่ียวกับกฎหมายท่ีสําคัญในชีวิตประจําวัน และอ่นื ๆ เพือ่ ใหประชาชนเกดิ การเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑกติกาหรือ ตามกฎหมาย ประชาชนทุกหมูเหลา ทุกสาขาอาชีพควรไดรับการพัฒนาทางดานจิตใจใหมี คุณธรรมทางศาสนา ใหเกิดมี ความรู มีความเขาใจในหลักการหรือหลักคําสอนทางศาสนา
61 อันจะเปนบรรทัดฐานหรือเปนแนวทางใน การประพฤติปฏิบัติตามหนาที่ แหงความเปน ประชาชนชาวไทย เพื่อใหเ กดิ ความมรี ะเบียบ มวี นิ ยั ทั้งความคิดจิตใจ ในทุกดาน อันจักทําให การขดั แยงทางความคิดในทุกชมุ ชน ทุกสงั คม ทกุ หนว ยงาน ทุกกลุมบุคคล ลดนอยลงหรือไมมี การขัดแยงทางความคิดท่ีรุนแรงเกิดข้ึน น่ันยอมแสดงใหเห็นวาคนไทยไดเสริมสรางความ สามัคคี คือ ไดเพ่ิมพูนใหดีขึ้นหรือม่ันคงย่ิงข้ึน ดวยความพรอมเพียงกัน ออมซอม ประนีประนอม ยอมกัน ไมแกงแยงกันตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี ตามหลักกฎหมาย ตามหลักศีลธรรม ในศาสนาซ่ึง “การเสริมสรางความสามัคคีของคนไทย” จะสําเร็จได ก็ดวย คนไทยรว มมอื รว มใจกัน ประพฤติปฏิบตั เิ พอ่ื ประเทศไทย และเพ่อื คนไทย 4. หลักการเสรมิ สรางความปรองดองในสังคมไทย หลักการสรา งความปรองดอง 1. การสานเสวนาเปนเงอ่ื นไขสาํ คัญสาํ หรับการนาํ ไปสงการสรางความ ปรองดอง 2. เนนหรือจัดการกบั อารมณและความรสู ึกของคน 3. ความปรองดองเกดิ ขึ้นไดเม่ือความตอ งการของมนุษยไดรบั การตอบสนอง 4. ศาสนาเปนเครื่องมือทีส่ าํ คัญมากในการแกไขความขัดแยง 5. การสรา งความปรองดองจาํ เปน มากทจี่ ะตอ งใชแนวทางทีห่ ลากหลาย 6. การสรา งความปรองดองเนนที่หัวใจ 7. คาํ นงึ ถึงวัฒนธรรมท่หี ลากหลายในกระบวนการสรา งความปรองดอง 8. การใหอภยั มคี วามแตกตา งกนั ออกไปในแตล ะสังคม 9. ความยตุ ิธรรมแบบใดท่เี หมาะสมสําหรับการสรา งความปรองดอง การเสริมสรางความปรองดอง จึงเปนกระบวนการท่ีชวยปองกันหรือลดปญหาความ ขัดแยง สรางสันติ ใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางสามัคคี บนพื้นฐานของหลักการทาง ประชาธปิ ไตย และ คณุ ธรรมในการอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุขคุณธรรมพ้ืนฐานในการ อยรู วมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดองตามหลักการทางประชาธิปไตย พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุต.โต) (2551 : 51, 57)ไดใหความหมายของคําวา “คุณธรรม” ไวอ ยา งขัดเจนวา หมายถงึ ธรรมท่เี ปนคุณงามความดี สภาพที่เกื้อกูลกัน สวนคําวา “จริยธรรม” หมายถึง หลักความประพฤติ หลักในการดําเนินชีวิต หรือความประพฤติอัน ประเสริฐ หรือการดาํ เนนิ ชวี ติ อันประเสริฐ
62 คุณธรรม จริยธรรม เปนเรื่องของระบบคิดท่ียอมรับความเปนจริงของชีวิต การสราง คุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเกิดขนึ้ ได ตองอาศัยการปลูกฝงระบบคิดดังกลาวใหเขาไปอยูในทุกชวง ชวี ติ ของมนุษย และตองไมเปนหนาที่ของหนวยงานใดหนวยงานหน่ึงอยางหากแตควรเปนทุก ภาคสว นของสังคมตอ งเขา มามสี ว นรว มในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหเกดิ มีข้นึ ใหได จะเหน็ ไดวาเรือ่ งของคุณธรรม จรยิ ธรรม เปนการพัฒนาความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ ไมเ พยี งเฉพาะเพือ่ การอยรู วมกันอยางสันติสามัคคีปรองดองเทาน้ัน ยังเปนพื้นฐานของการอยู รว มกันอยา ง สงบสุขไมแ ตกแยก การอยรู วมกนั ในฐานะสมาชิกในสังคมเดยี วกันจะนํามาซ่ึงการ อยรู ว มกันอยางสนั ตสิ ุขได คุณธรรมท่ีนําไปสูการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง ตามหลักการทาง ประชาธปิ ไตย มีดังน้ี 1. คารวธรรม คือ การเคารพซ่ึงกันและกนั 2. สามัคคธี รรม คือ การรวมมือชวยเหลือซึ่งกนั และกนั 3. ปญญาธรรม คือ การใชสตปิ ญญาในการดาํ เนินชีวติ 1. คารวธรรม คอื การเคารพซ่งึ กันและกนั มีพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก ดังนี้ 1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย ไดแก การแสดงความเคารพเทิดทูน สถาบนั พระมหากษัตรยิ ในทกุ โอกาส การรว มกิจกรรมตา งๆท่ีจัดเพอ่ื แสดงความจงรักภักดีตอ สถาบันพระมหากษัตริย ในโอกาสวนั สาํ คัญตา ง ๆ การไปรับเสดจ็ เมือ่ พระมหากษัตริย หรือพระ บรมวงศานุวงศเสด็จไปในถ่ินที่อยูหรือบริเวณใกลเคียงการปฏิบัติตอสัญลักษณท่ีแสดงถึง สถาบนั พระมหากษตั รยิ เชน ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ฯลฯ ดวย ความเคารพ เมื่อไดยินหรือเห็นบุคคลใดแสดงกิริยาวาจาหรือมีการกระทําอันไมสมควรตอ สถาบันพระมหากษัตรยิ ตอ งกลา วตักเตือนและหา มไมใหป ฏิบัตเิ ชนน้นั อีก 1.2 เคารพบุคคลที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะบิดามารดาซ่ึงเปนผูใหกําเนิด เคารพ ญาติ ผใู หญ เชน ปู ยา ตา ยาย และผูสูงอายุเคารพครูอาจารย และเพ่ือน ๆ ท้ังทางกายและ ทางวาจา 1.2.1 ทางกายไดแ กการทักทายการใหเ กยี รติผอู ่นื การแสดงความเคารพ แกบุคคลซึง่ อาวุโสกวา การใหการตอ นรบั แกบ คุ คล การแสดงความเออ้ื เพ่ือซงึ่ กันและกนั เปน ตน
63 1.2.2 ทางวาจา ไดแก การพูดใหเหมาะสมกับกาลเทศะ การใชคําพูด เหมาะสมตามฐานะของบคุ คล การพูดจาสภุ าพ ไมกาวราว สอเสียด การไมพูดในส่ิงที่จะทําให ผูอ่ืน เกิดความเดือดรอน ไมนําความลับของบุคคลอ่ืนไปเปดเผย ไมพูดนินทาหรือโกหก หลอกลวง เปนตน 1.3 เคารพสทิ ธิของผอู ่ืน ไดแก การไมลว งละเมดิ สทิ ธขิ องผูอื่น ทั้งทางกายหรือ วาจา การรูจักเคารพในสิทธิของคนที่มากอนหลัง การเคารพในความเปนเจาของ ส่ิงของ เครือ่ งใชการรจู กั ขออนญุ าต เมอ่ื ลวงล้ําเขา ไปในทอ่ี ยอู าศัยของบุคคลอนื่ การไมท าํ รายผู,อื่นโดย เจตนาการไมทําใหผอู น่ื เสอ่ื มเสยี ซ่ือเสยี ง เปนตน 1.4 เคารพในความคิดเห็นของผอู นื่ ไดแก การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น เมื่อมีผูพูดเสนอความคิดเห็น ควรฟงดวยความตั้งใจและใครครวญดวยวิจารญาณหากเห็นวา เปนการ เสนอแนวความคิดท่ีดี มีประโยชนมากกวาความคิดเห็นของตนเองก็ควรยอมรับและ ปฏบิ ัติตามไมควรยดึ ถือความคดิ เหน็ ของตนวา ถกู เสมอไป 1.5 เคารพในกฎระเบียบของสังคม ไดแก การยึดมั่นในกฎระเบียบของสังคม เชน วฒั นธรรม ประเพณี กฎเกณฑของสงั คม และกฎหมายของประเทศ 1.6 มีเสรีภาพและใชเสรีภาพในขอบเขตของกฎหมายและขนบธรรมเนียม ประเพณี 2. สามคั คธี รรม คือ การรว มมือชวยเหลือซ่ึงกนั และกัน มคี วามเอ้อื เฟอเผ่ือแผ ตอกัน เพื่อใหเ กดิ ประโยชนตอสว นรวม มพี ฤตกิ รรมท่แี สดงออกดงั นี้ 2.1 การรูจักประสานประโยชน คํานึงถึงประโยชนของชาตเิ ปน ที่ต้ัง ไดแ ก ทาํ งานรวมกันอยา งสนั ติวิธีรูจกั ประนีประนอม เสยี สละความสุขสวนตน หรอื หมคู ณะ 2.2 รวมมือกันในการทํางาน หรือทํากิจกรรมอยางหนึ่งอยางใดรวมกัน จะมี การวางแผนและทาํ งานรวมกนั ดําเนนิ งานตามข้ันตอนชวยเหลอื กนั อยางตั้งใจจรงิ จงั ไมห ลีกเล่ยี งหรอื เอาเปรยี บผูอ ่ืน 2.3 รับผิดชอบตอหนา ที่ ท่ไี ดรับมอบหมายจากสว นรวมและหนา ที่ตอสังคม 2.4 ความเปน น้ําหนงึ่ ใจเดียวกันของคนในกลุม ในหนว ยงานและสงั คม 3. ปญญาธรรม คอื การใชส ติปญญาในการดาํ เนนิ ชีวิต มพี ฤตกิ รรมท่ีแสดงออก ดงั น้ี 3.1 การไมถือตนเปนใหญ ไดแก การรูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนการรูจัก เปน ผูน ําและผตู ามทด่ี ี
64 3.2 เนนการใชปญญา ใชเหตุผลและความถูกตอง ในการตัดสินปญหาทั้งปวง ไมใ ช เสยี งขางมาก ในการตัดสินปญหาเสมอไป เพราะเสียงขางมากบอกเฉพาะความตองการ ความคดิ เหน็ ความพึงพอใจ แตไมอาจบอกความจริงความถกู ตองได 3.3 มีความกลาหาญทางจริยธรรม กลาท่จี ะยนื หยดั ในสง่ิ ที่ถูกตอง 3.4 แสวงหาความรู ขาวสารขอมูลอยางมีวิจารญาณ เพื่อเปนขอมูลในการ ตัดสินใจ การปฏบิ ตั ิตามคุณธรรมขางตน เม่ือไดป ระพฤติปฏบิ ตั ิ ความสามัคคยี อ มจะเกิดขน้ึ เม่ือเกิดความสามัคคีขึ้นแลว การงานทุกอยางแมจะยากสักเพียงใด ก็กลายเปนงาย ชีวิตมีแต ความราบร่นื แมจ ะเกดิ อุปสรรคกส็ ามารถขจัดใหหมดสิน้ ได ดังคํากลาวที่วา “สามัคคีคือพลัง” เพยี งแตทกุ คนดาํ รงชีวติ บนพนื้ ฐานแหงคุณธรรม ใหทุกคนมีความรัก และชวยเหลือซึ่งกันและ กนั มคี วามสามัคคีและเสียสละเพื่อสวนรวม การใชหลักธรรมในการสงเสริมความสามัคคีเปน แนวทางในระยะยาว และเปนการปองกันความแตกสามัคคี ขณะที่การสรางความสามัคคีใน ระยะสนั้ เปน การทาํ กจิ กรรมตางๆ รวมกนั โดยอาจเริ่มจากกิจกรรมบันเทิงท่ีสามารถดึงกลุมคน ใหเขารว มไดง าย เชน การเขาคา ยตา งๆ การทาํ กจิ กรรมพัฒนาลังคมและชุมชนรวมกัน การทํา กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีหลากหลาย จากนั้นคอยขยายสูกิจกรรมที่มีความยากขึ้น และ การสรา งวัฒนธรรมประเพณีในการทํากิจกรรม รวมกันเปนประจําจะชวยสรางวัฒนธรรมการ ทํางานกลมุ และการสัมพันธก ับสังคมซ่ึงชวยใหเกิดความรักความสามคั คไี ดม ากยงิ่ ข้ึน คานิยมพน้ื ฐานในการอยูร วมกนั อยา งสมานฉนั ท 12 ประการ ขอ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย ขอ 2. ซอ่ื สตั ย เสียสละ อดทน ขอ 3. กตัญูตอ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย ขอ 4. ใฝห าความรู หมั่นศกึ ษาเลาเรียนท้งั ทางตรงและทางออ ม ขอ 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม ขอ 6. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย หวงั ดตี อ ผอู ื่น เผอ่ื แผและแบงปน ขอ 7. เขาใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขท่ี ถกู ตอ ง ขอ 8. มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผูนอ ยรจู ักเคารพผูใหญ
65 ขอ 9. มีสติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจา อยหู ัว ขอ 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัส ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัว รจู กั อดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใชถาเหลือก็ แจกจาย จาํ หนา ย และขยายกิจการเม่อื มีความพรอมโดยมภี มู คิ ุม กนั ที่ดี ขอ 11. มีความเขม แขง็ ท้งั รา งกายและจติ ใจไมยอมแพตอ อํานาจฝา ยต่ําหรอื กิเลส มีความละอายเกรงกลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา ขอ 12. คาํ นึงถงึ ผลประโยชนข องสวนรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง คานิยมพื้นฐานดังกลาวขางตนมีความสําคัญอยางย่ิงท่ีคนไทยจะตองนํามาประพฤติปฏิบัติ ในชวี ติ ประจําวันอยูเสมอ และเพ่ือใหเกิดความเขาใจยิ่งข้ึนจะขอกลาวในรายละเอียดเพ่ิมเติม ดังน้ี 1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคุณลักษณะท่ีแสดงถึงรักความเปน ชาติ ไทย เปน พลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณคา ภูมิใจ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติ ตนตามหลักศาสนาที่ตนนบั ถอื และแสดงความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย 2. ซื่อสัตยเสียสละอดทน เปนคุณลักษณะท่ีแสดงถึงการยึดม่ันในความถูกตอง ประพฤติตรงตามความเปนจริงตอตนเองและผูอ่ืน ละความเห็นแกตัว รูจักแบงปนชวยเหลือ สังคมและบุคคลท่ี ควรใหรจู ักควบคุมตนเองเมื่อประสบกับความยากลําบากและส่ิงที่กอใหเกิด ความเสยี หาย 3. กตัญูตอพอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย เปนคุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการ รูจักบุญคุณ ปฏิบัติตามคําสั่งสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาชื่อเสียง และตอบแทน บญุ คุณของพอแม ผูปกครอง และครูบาอาจารย 4. ใฝหาความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนท้ังทางตรงและทางออม เปนคุณลักษณะที่ แสดงออกถึงความต้ังใจ เพียรพยายามในการศึกษาเลาเรียน แสวงหาความรู ท้ังทางตรงและ ทางออ ม 5. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม เปน การปฏิบัติสืบทอดอนุรักษวัฒนธรรม และประเพณีไทยอนั ดงี ามดวยความภาคภูมิใจเห็นคณุ คา ความสาํ คญั 6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อ ผูอืน่ เผือ่ แผและแบง ปน เปนความประพฤติที่ ควรละเวน และความประพฤติท่ีควรปฏบิ ตั ติ าม
66 7. เขาใจเรยี นรูการเปน ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุขท่ีถูกตอง คือ มีความรู ความเขาใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาท่ีของตนเอง เคารพสิทธิและ หนาท่ี ของผูอ่ืน ใชเสรีภาพดวยความรับผิดชอบภายใตขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบ ประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ 8. มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรจู กั การเคารพผูใหญ เปน คุณลักษณะท่ี แสดงออกถงึ การปฏิบตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคบั และกฎหมาย มคี วามเคารพ และ นอบนอ มตอ ผูใหญ 9. มีสติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจา อยหู ัวเปน การ ประพฤติปฏิบตั ิตนอยา งมีสตริ ตู วั รคู ิด รทู ํา อยา งรอบคอบถกู ตอง เหมาะสม และนอมนําพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห วั ฯ มาปฏบิ ตั ิในชวี ติ ประจําวัน 10. รูจกั ดํารงตนอยูโดยใชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดํารสั ของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็ แจกจา ย จาํ หนาย และขยายกิจการเม่ือมีความพรอม สามารถดําเนนิ ชีวติ อยางพอประมาณ มีเหตผุ ลมีภูมีคุมกันในตัวทดี่ ี มคี วามรู มคี ณุ ธรรม และปรับตวั เพือ่ อยูใ นสงั คมไดอยางมคี วามสขุ 11. มคี วามเขม แขง็ ทงั้ รา งกายและจติ ใจ ไมย อมแพตออาํ นาจฝา ยต่ําหรือกเิ ลส มคี วามละอายเกรงกลัวตอบาปตามหลักของศาสนา เปนการปฏิบัติตนใหมีรางกายสมบูรณ แข็งแรง ปราศจากโรคภัยและมีจิตใจท่ีเขมแข็ง ไมกระทําความช่ัวใดๆ ยึดม่ันในการทําความดี ตามหลกั ของศาสนา 12. คาํ นึงถึงผลประโยชนของสว นรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง ใหความรวมมือ ในกิจกรรมที่เปนประโยชนตอสวนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชน สว นตน เพื่อรักษาประโยชนของสวนรวม 5. สถานการณการเมอื งการปกครองในสงั คมไทย ในวันท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ไดยึดอํานาจการปกครองแผนดินและประกาศยกเลิก รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จากนน้ั หัวหนา คณะปฏิรปู การปกครองฯ ไดนําความกราบบังคมทูลถึงเหตุท่ีทําการยึด อํานาจและประกาศยกเลกิ รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ความจําเปนท่ีตองกําหนดกลไก การปกครองท่ีเหมาะสมกับสถานการณเพ่ือใชไปพลางกอน และการดําเนินการใหมีการจัดทํา
67 รางรฐั ธรรมนูญข้ึนใหมดว ยการมสี ว นรว มอยา งกวา งขวางจากประชาชนทุกข้ันตอน วนั ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 จงึ มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหใ ชร ฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช 2549 (เปนฉบับที่ 17) จนกวาไดประกาศใช รฐั ธรรมนูญทีจ่ ะไดจ ดั ทํารา งและนาํ ขน้ึ ทลู เกลา ทลู กระหมอมถวาย รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 กําหนดใหมีการ ดาํ เนินการจดั ทํารางรัฐธรรมนูญข้นึ ใหมเ พื่อใชเปน ฉบับถาวร ดว ยการใหประชาชนมีสวนรวมอยาง กวางขวางทกุ ข้นั ตอน โดยมีกระบวนการในการจดั ทํารา งรฐั ธรรมนญู สรุปไดดงั น้ี 1. ใหม ีสมชั ชาแหงชาติ 1) ประกอบดวยสมาชิกซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งจากผูมีสัญชาติ ไทยโดยกําเนิด อายไุ มต่ํากวา 18 ป จาํ นวนไมเ กิน 2,000 คน 2) ในการประชุมสมัชชาแหงชาติใหประธานและรองประธานสภานิติบัญญัติ แหง ชาติทําหนาทปี่ ระธานและรองประธานสมชั ชา 3) มีหนาท่ีคัดเลือกสมาชิกดวยกันเอง เพ่ือจัดทําบัญชีรายชื่อผูสมควรไดรับ โปรดเกลาฯ แตงตั้งเปนสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญจํานวน 200 คน จากนั้นสมัชชาแหงชาติ เปนอันส้ินสดุ ลง 2. ใหมสี ภารา งรฐั ธรรมนญู 1) ประกอบดว ยสมาชกิ 100 คน โดยคณะมนตรีความม่ันคงแหงชาติคัดเลือก บุคคลจากบญั ชีรายชอื่ สมัชชาแหงชาติคัดเลือก 200 คน ใหเหลือ 100 คน แลวนําความกราบ บังคมทลู เพอทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตง้ั เปนสมาชกิ สภารางรัฐธรรมนูญ 2) สภารา งรัฐธรรมนญู แตง ตั้งคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหน่ึง ประกอบดว ยผทู รงคุณวุฒิ ซ่งึ เปน หรือมไิ ดเปน สมาชกิ สภารางรัฐธรรมนูญจาํ นวน 35 คน โดยมาจากการคดั เลือกตามมติของสภารางรัฐธรรมนูญจํานวน 25 คน และตามคําแนะนําของ ประธานคณะมนตรีความม่ันคงแหง ชาติ 10 คน เพอื่ จดั ทํารา งรัฐธรรมนูญ 3. การพจิ ารณาและเสนอความคิดเห็นเก่ยี วกับรางรัฐธรรมนูญ เมอ่ื คณะกรรมาธกิ ารยกรางรัฐธรรมนญู จดั ทาํ รา งเสรจ็ แลวใหด ําเนินการดังน้ี 1) จัดทําคําชี้แจงวารางรัฐธรรมนูญนั้น มีความแตกตางจากรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ในเรื่องใด พรอมดวยเหตุผลในการแกไข ไปยังสมาชิก สภารา งรฐั ธรรมนญู องคก ร และบคุ คลดงั ตอไปน้ี เพ่อื พิจารณาและเสนอความคดิ เหน็
68 (1) คณะมนตรีความมัน่ คงแหงชาติ (2) สภานิติบัญญตั ิแหงชาติ (3) คณะรฐั มนตรี (4) ศาลฎีกา (5) ศาลปกครองสูงสุด (6) คณะกรรมการการเลือกตงั้ (7) คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ (8) ผูวา การตรวจเงินแผน ดนิ (9) ผูต รวจการแผน ดนิ ของรัฐสภา (10) คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง ชาติ (11) สภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (12) สถาบันอดุ มศึกษา 2) เผยแพรรางรัฐธรรมนูญและเอกสารคําชี้แจงใหประชาชนท่ัวไปทราบ ตลอดจนสง เสรมิ และจดั ใหมกี ารรบั ฟง ความคิดเห็นจากประชาชนมาประกอบดวย 4. การแกไ ขเพมิ่ เตมิ รา งรัฐธรรมนูญ เม่อื สมาชกิ สภารา งรัฐธรรมนญู ไดรบั รางรัฐธรรมนูญและเอกสารคําช้ีแจงแลว หากประสงคจะแปรญัตติแกไขเพิ่มเติมใหกระทําได เมื่อมีสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญลงช่ือ รับรองไมนอ ยกวา 1 ใน 10 ของจาํ นวนสมาชิกสภารางรฐั ธรรมนญู ทม่ี ีอยู เม่ือพนกําหนด 30 วัน นับแตวันสงเอกสารคําชี้แจง ใหคณะกรรมาธิการยกราง รัฐธรรมนูญพิจารณาความเห็นที่ไดรับมาและแปรญัตติ พรอมท้ังจัดทํารายงานการแกไข เพม่ิ เตมิ หรอื ไมแกไขเพิ่มเติม พรอมท้ังเหตุผลเผยแพรใหทราบเปนการทั่วไป แลวนําเสนอราง รฐั ธรรมนญู ตอสภารา งรัฐธรรมนูญ 5. การพจิ ารณาเพื่อใหความเห็นชอบหรือไมเหน็ ชอบรางรฐั ธรรมนญู สภารา งรัฐธรรมนูญพิจารณา เพื่อใหความเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญทั้งฉบับและเฉพาะ มาตราท่ีสมาชกิ ย่นื คาํ ขอแปรญัตติ หรือทค่ี ณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ เสนอโดยสมาชิก สภารางรัฐธรรมนูญจะแปรญัตติแกไขเพิ่มเติมมิได เวนแตกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ เห็นชอบหรือสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ จํานวนไมนอยกวา 3 ใน 5 เห็นชอบกับการแกไข เพม่ิ เตมิ นัน้ และใหส ภารางรฐั ธรรมนูญจัดทาํ รางและพิจารณาใหแลว เสร็จภายใน 180 วัน
69 นับแตวันเปดประชุมสภารางรัฐธรรมนูญครั้งแรกเม่ือจัดทํารางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จได ดาํ เนนิ การดงั นี้ 1) ใหเ ผยแพรใหประชาชนรับทราบและจัดใหมีการออกเสียงประชามติวาให ความเห็นชอบหรอื ไมเห็นชอบรา งรฐั ธรรมนูญทั้งฉบับ 2) ใหคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ ดําเนินการยกรางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญเฉพาะที่จําเปน เพ่ือประโยชนในการจัดใหมีการเลือกต้ังใหแลวเสร็จภายใน 45 วัน นับแตวันทไ่ี ดร บั รา งจากคณะกรรมาธิการยกรา งรฐั ธรรมนูญ 1. การออกเสยี งประชามติ การออกเสียงประชามติ โดยประชาชนผูมีสิทธิออกเสียงเลือกต้ัง ตองจัดทําไม เร็วกวา 15 วนั และไมชากวา 30 วนั นับแตว นั เผยแพรรา งรัฐธรรมนูญดังกลาว และตองกระทํา ภายในวันเดยี วกันท่ัวราชอาณาจักร 2. การประกาศใชรฐั ธรรมนญู ถา ประชาชนโดยเสยี งขางมากของผูมาออกเสียง เหน็ ชอบไมนํารางรัฐธรรมนูญฉบับ ใหมมาบังคับใช ใหประธานสภานิติบัญญัติแหงชาตินํารางรัฐธรรมนูญข้ึนทูลเกลาฯ ถวายเมื่อ ทรงลงประปรมาภิไธย ใหประกาศใชในราชกจิ จานุเบกษาและใชบ ังคับได เมื่อมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ และสภารางรัฐธรรมนูญไดจัดทําราง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเฉพาะท่ีจําเปน เพ่ือประโยชนในการจัดใหมีการเลือกต้ัง เสร็จแลว หรือเมื่อครบกําหนดระยะเวลา 45 วัน นับแตวันท่ีจัดทํารางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จ สดุ แตเ วลาใดจะมาถงึ กอนใหส ภารา งรฐั ธรรมนญู เปน อนั ส้ินสดุ ลง 6. การมีสว นรวมทางการเมอื งการปกครอง การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย แบง ออกไดเปน 2 ประเภท คือ 1. การมีสวนรวมทางการเมืองแบบเปน ทางการ การมีสว นรวมทางการเมืองแบบเปนทางการ เปนการปฏิบัติท่ีกฎหมายใหการ รับรองใหก ระทําได หรือตอ งกระทาํ วธิ ีการท่ีสําคัญและยอมรับปฏิบัติในระบอบประชาธิปไตย ไดแ ก
70 1.1 การเลือกตั้ง การเลือกต้ังเปนรูปแบบการมีสวนรวมทางการเมืองที่ชัดเจน ทสี่ ดุ ทงั้ ในระดับชาติและระดบั ทองถ่นิ ซง่ึ สามารถวดั ระดับและประเมินคา ของพฤติกรรมการมี สวนรวมทางการเมืองไดแนนอนชดั เจนมากกวา พฤตกิ รรมอนื่ ๆ 1.2 การแสดงความคิดเห็นทางการเมือง การแสดงความคิดเห็นท่ีเกี่ยวของกับ ผลประโยชนส าธารณะของประชาชน เชน การพดู การอภปิ ราย การเขียน การพิมพ ในระบอบ ประชาธปิ ไตย การมีสว นรว มโดยการใชส ิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นดวยวิธีการตาง ๆ มคี วามสําคัญมากเน่ืองจากเปนชองทางการสื่อสารทางการเมืองระหวางประชาชนกับรัฐบาล ซ่ึงรัฐบาลจะมโี อกาสไดรับรูปญหา ความคิดเห็น ขอเสนอแนะ วิจารณ ทวงติงการทํางานของ รัฐบาล จากประชาชนผูเปนเจาของประเทศ อันจะเปนประโยชนตอการปรับปรุงการทํางาน ของรัฐบาลใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ 1.3 การจัดตัง้ พรรคการเมอื งการเปนสมาชกิ พรรคการเมอื งของประชาชน เปนการมีสวนรวมทางการเมือง โดยการรวมกลุมของบุคคลท่ีมีความคิดเห็นทางการเมือง ตรงกัน และมีความมุงหมายท่ีจะเขาไปทําหนาที่บริหารประเทศใหเปนไปตามอุดมการณของ พรรค สําหรับประชาชนผูเปนสมาชิกพรรคการเมืองใดในชวงท่ีมีการเลือกต้ัง ยอมสามารถมี สวนรว มทางการเมืองดว ยการรณรงคหาเสียงชวยพรรคที่ตนสังกัดอยูได 1.4 การรวมตัวเปนกลุมผลประโยชน การท่ีคนมารวมกันดวยมีจุดมุงหมาย ตรงกัน และใชพลังของกลุมใหมีอิทธิพลตอกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อปกปอง คุมครองผลประโยชนของกลุมตน เปนสิ่งสําคัญและจําเปนสําหรับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตย เนือ่ งจากเปนชองทางใหปญ หาความตอ งการและผลประโยชนที่หลากหลายของ ประชาชน ไดมโี อกาสมารวมเปนกลมุ เปน กอน และสามารถเรยี กรองตอ รฐั บาลไดอ ยา งชดั เจน 2. การมีสว นรว มทางการเมอื งแบบไมเปนทางการ กฎหมายใหการรับรองใหมีสวนรวมทางการเมืองแบบไมเปนทางการได หรือตอง กระทาํ วิธกี ารท่สี าํ คัญและยอมรบั ปฏบิ ัติใชก นั ทัว่ ไปในระบอบประชาธปิ ไตย ไดแ ก 2.1 การเดินขบวนหรอื ชมุ นุมประทว ง การเดนิ ขบวน หรอื ชุมนุมประทวง อยา งสงบ และปราศจากอาวธุ เปน รูปแบบการมสี วนรวมทางการเมอื งอยางหน่งึ โดยประชาชน รวมตัวกันเพื่อแสดงความไมเห็นดวยกับนโยบายหรือการดําเนินการของรัฐบาล หรือเปนการ รวมตัวเพื่อเรียกรองตอรัฐบาลในการกําหนดนโยบาย หรือกระทําการอยางใดอยางหนึ่งตาม ความตอ งการของประชาชนและผชู มุ นุม เชน การเดินขบวนประทวงตอตาน การวางทอกาซที่ อําเภอจะนะ จังหวดั สงขลา เปนตน
71 2.2 การกอ ความวุนวายทางการเมือง เชน การปดถนน การงดใหความรวมมือ กับรัฐบาล เปนวิธีแสดงออกของประชาชนโดยไมเช่ือฟงอํานาจรัฐ หรือปฏิบัติการที่ละเมิด กฎหมายโดยอางความบกพรองของรัฐบาลเปนเหตุ วิธีน้ีอาจกอใหเกิดผลกระทบเปนความ เสียหายตอระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงทางการเมือง การมีสวนรวมรูปแบบนี้ใน ระยะเริ่มตนอาจยังไมผิด กฎหมาย และระบบการเมืองยินยอมใหกระทําใด เชน การนัดหยุด งาน แตหากรัฐบาลไมสามารถแกไขเหตกุ ารณได เหตกุ ารณอาจยืดเยื้อลุกลามเปนความวุนวาย ทางการเมือง เกดิ ความไมสงบข้ึนได อาจมกี ารใชความรุนแรงทํารายรางกายและทรพั ยสนิ ซ่งึ เปนการกระทําท่ีผดิ กฎหมาย 3. การมีสวนรวมของประชาชนตามรฐั ธรรมนูญ รัฐธรรมนูญฉบบปจจุบัน กําหนดไดร ัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของ ประชาชนในการกําหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมท้ังการจรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ เจตนารมณที่สําคัญของ รัฐธรรมนญู ฉบบั นตี้ อ งการใหประชาชนซ่ึงเปนเจาของอํานาจอธิปไตยไดมี โอกาสเขาไปมีสวน รว มโดยตรง ไดแ ก 3.1 การมีสวนรวมรับรู หมายถึง การใหประชาชนมีสวนรวมในการรับรูใน กระบวนการบริหารราชการแผนดิน เชน การรับทราบขอมูลขาวสารสาธารณะ ในความ ครอบครองขององคกรของรัฐทุกประเภทไดรวมรับรูในการทําหนาที่ของสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ดวยการเขาไปตรวจสอบบันทึกการลงคะแนนเสียงของสมาชิก รัฐสภา รวมรับรูในทรัพยของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองได เปนตน การเปดโอกาสให ประชาชนมีสาวนรวมตามรัฐธรรมนูญน้ันสงผลใหเกิดการตื่นตัวเปนอันมาก เชน การใชสิทธิ ของผปู กครองเดก็ ผูสมัครสอบเขาเรียนในโรงเรียนสาธิตแหงหน่ึงเพื่อขอดูคะแนนสอบของบุตร และผูเขา สอบท้งั หมด หรือการแสดงบญั ชีหนี้สนิ ทรัพยส ินของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและ ครอบครัว เปนตน 3.2 การมีสว นรวมคิดกับองคกรตาง ๆ หมายถึง การใหประชาชนมีสิทธิแสดง ความคิดเห็นของตนตามกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน เพ่ือใหไดขอมูลท่ี กวา งขวางรอบคอบขึ้นในโครงการสาธารณะ แตไมไดผูกมัดการตัดสินใจของรัฐบาลวาจะตอง เปนไปตามความคิดเห็นของประชาชน เชน กรณีสรางโรงไฟฟาที่บานหินกรูด จังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ การสรางเขื่อนแกงเสอื เตน จังหวัดแพร การวางทอกาซไทย-มาเลเซีย ที่อําเภอ
72 จะนะ จังหวัดสงขลา เปนตน สาํ หรบั การออกกฎหมาย ซึ่งมีหลายฉบับท่ีมีกระบวนการประชา พิจารณ เชน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พระราชบัญญัติปาชุมชน กฎหมายเก่ียวกับ การจัดสรรคล่ืนความถี่ที่ใชในการสงวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน และ วิทยุโทรคมนาคม เปนตน 3.3 การมีสวนรวมตัดสินใจกับรัฐและเจาหนาที่ของรัฐ หมายถึง การให ประชาชนท่ีรวมกันเปนชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญา ทอ งถ่ิน ศลิ ปวฒั นธรรมของทองถ่ินและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา ลากรใชป ระโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมอยางสมดุลการท่ีรัฐธรรมนูญให โอกาสประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจกับรัฐและเจาหนาท่ีของรัฐเน่ืองจากปญหา ทรัพยากรธรรมชาติมีจํานวนลดนอยลง สาเหตุการใชและการทําลายท่ีเกิดข้ึนอยางรุนแรง ขณะทีก่ ารฟน ฟูชดเชย ทดแทน สรางขึ้นใหมไมทันกับความตองการรัฐธรรมนูญ จึงอนุญาตให ชุมชนเขามาชวยจัดการบํารุงรักษาและใชประโยชนได และเน่ืองจากภาครัฐมีกําลังไมเพียง พอที่จะจัดการกับความรนุ แรงของปญ หาดงั กลาว จงึ อนญุ าตใหป ระชาชนเขา มามสี วนรวมในการ ตัดสินใจและกระทําการโดยชุมชนทองถ่นิ ดงั้ เดิม นอกจากนี้ยังใหสิทธิและโอกาสการมสี วนรวมของประชาชน ในการตัดสินใจใน กระบวนการทางนิติบัญญัติ ในการพิจารณาออกกฎหมายเก่ียวกับเด็ก สตรี คนชรา หรือผู พกิ าร หรือทพุ พลภาพโดยใหสภาผแู ทนราษฎรต้ังคณะกรรมการวิสามญั ประดวยผูแทนองคกร เอกชนที่เก่ียวของกับบุคคลประเภทน้ัน ไดใชสิทธิออกเสียงพิจารณากฎหมายแทน เพื่อสนอง ปญ หาและความตอ งการที่แทจรงิ ดวยความเปน ธรรม 3.4 การมีสว นรวมตรวจสอบ หมายถึง การใหส ิทธปิ ระชาชนมีสวนรวมในการ ตรวจสอบการใชอํานาจรฐั สามารถแบง ออกได 3 ประการคือ 3.4.1 การใชสิทธิดวยตนเอง ประชาชนสามารถใชสิทธิสวนตัวของแตละ บคุ คลตรวจสอบการใชอํานาจรัฐได ไดแก การใชสิทธิทางศาล การใชสิทธิที่จะฟองรองหนวย ราชการและขาราชการ วา ไดท ําหนาท่ถี ูกตอ งครบถว นหรือไม หากมีการละเลยไมปฏิบัติหนาท่ี ตามกฎหมาย บุคคลผูมีสวนไดเสีย มีสิทธิขอใหขาราชการลูกจาง หรือเจาหนาท่ีของรัฐ หรือ ผบู ังคับบัญชาของบุคคลน้นั ชแ้ี จงเหตผุ ลท่ีไมกระทําตามหนาที่ และมสี ิทธิขอใหด ําเนินการตาม กฎหมาย นอกจากน้ียังรวมถึงการติดตาม ตรวจสอบบัญชีทรัพยสินของผูดํารงตําแหนงทาง การเมอื งและครอบครัวได
73 3.4.2 การใชส ิทธริ วมเปนกลุม ประชาชนสามารถใชสิทธิรวมเปนกลุม เพ่ือตรวจสอบอํานาจรัฐในกรณที พ่ี บวาผดู าํ รงตําแหนงทางการเมืองมีพฤติกรรมร่ํารวยผิดปกติ สอไปในทางทจุ รติ ตอ หนา ที่หรือกระทาํ ผดิ ตอตําแหนง หนาท่ไี ด นอกจากนยี้ งั สามารถรวมตัวกัน เปน สมาคม สหภาพ สหพันธ องคกรเอกชน หรือหมคู ณะเพอื่ รว มตรวจสอบการใชอาํ นาจรฐั 3.4.3 ใหอ าํ นาจแกป ระชาชนสามารถเขา มามีสวนรวมทางการเมืองโดยตรง สามารถสรปุ สาระสําคญั ไดดงั น้ี 1) ผูมีสิทธิเลือกต้ังไมนอยกวา 10,000 คน มีสิทธิเขาช่ือรองขอตอ ประธานรัฐสภาเพอื่ ใหร ฐั สภาพิจารณารา งพระราช บัญญตั ิ (การเขาชอื่ เสนอกฎหมาย) 2) ผมู สี ิทธเิ ลอื กต้ังจํานวนไมน อยกวา 20,000 คน มีสิทธิเขาชื่อรองขอ ตอประธานวุฒิสภาเพ่ือใหวุฒิสภาถอดถอนบุคคลผูดํารง ตําแหนงทางการเมืองและผูดํารง ตาํ แหนงระดบั สงู (นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธาน ศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนญู ประธานศาลปกครอง หรืออยั การสงู สุด รวมถงึ ตุลาการศาล รัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกต้ัง ผูพิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผูดํารง ตําแหนงระดับสูง) ดวยเหตุมพี ฤติการณร ่ํารวยผดิ ปกติ - สอไปในทางทจุ รติ ตอ หนา ท่ี - สอ วากระทาํ ผิดตอ ตําแหนง หนาทรี่ าชการ - สอ วากระทําผิดตอตําแหนงหนาท่ีในการยุตธิ รรม - สอวาจงใจใชอํานาจหนาที่ขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือ กฎหมาย หรอื ฝาฝน หรอื ไมปฏิบัตติ ามมาตรฐานจริยธรรมอยา งรุนแรง 3) ผูมีสิทธิเลือกตั้งยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ เห็นชอบหรือไม เหน็ ชอบในกจิ การตามท่จี ดั ใหมีการออกเสยี งประชามติ แบง เปน กรณดี ังตอ ไปนี้ - กรณีที่อาจกระทบถึงประโยชนไดเ สยี ของประเทศชาติหรือประชาชน - กรณที ี่มีกฎหมายบญั ญตั ใิ หม ีการออกเสียงประชามติ
74 กิจกรรมทายบทท่ี 3 1. ขอ ใดหมายถึงหนาที่ของชาวไทยตามกฎหมายรฐั ธรรมนูญ ก. การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ข. การออกเสียงประชามติ ค. การเขารวมชุมนมุ โดยสงบ ง. การเขา รว มจัดตงั้ พรรคการเมือง 2. ขอ ใดเปนคณุ ลกั ษณะของพลเมอื งดใี นสงั คมประชาธปิ ไตย ก. เคารพและปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ข. เคารพในสิทธิเสรภี าพของบคุ คลอนื่ ค. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการดาํ เนนิ ชีวิต ง. ถกู ทกุ ขอ 3. กฎหมายรัฐธรรมนูญท่ใี ชป จ จบุ ันคือกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบบั ใด ก. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศักราช 2514 ข. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยพุทธศกั ราช 2540 ค. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทยพุทธศกั ราช 2549 ง. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยพุทธศักราช 2550 4. ประเทศไทยใชก ฎหมายรฐั ธรรมนูญถึงปจ จุบนั (พ.ศ. 2554)กฉ่ี บับ ก. 16 ฉบบั ข. 17 ฉบับ ค. 18 ฉบับ ง. 19 ฉบับ 5. ขอใดเปน คุณลกั ษณะของพลเมอื งดใี นสังคมประชาธิปไตย ก. เคารพกฎหมายและปฏบิ ตั ติ ามกฎ ข. เคารพในสิทธิเสรภี าพของบคุ คลอนื่ ค. มีคณุ ธรรมจริยธรรมในการดํารงชีวติ ง. ถูกทกุ ขอ 6. การทํางานรว มกนั ในกระบวนการประชาธปิ ไตยควรปฏบิ ตั อิ ยางไร ก. ความมีเหตุผล ข. มีสวนรว มในการพฒั นา ค. การมสี วนรวมในการอนุรกั ษ ง. การมีสว นรวมในพธิ ีกรรมทางศาสนา 7. การทบี่ ุคคลยอ มเสมอภาคกันในทางกฎหมายและไดรบั ความคุม ครองตามกฎหมายเทา เทียมกันแสดงถงึ หลกั การขอ ใด ก. สิทธเิ สรีภาพ ข. สิทธิมนุษยชน ค. ความเปนบคุ คล ง. ศักด์ิศรคี วามเปนมนุษย
75 8. กระบวนการในการจัดทาํ รา งรฐั ธรรมนูญประกอบดวยบุคคลใด ก. สมัชชาแหงชาติ ข. สภารางรฐั ธรรมนูญ ค. คณะกรรมาธกิ ารรางรัฐธรรมนูญ ง. ถกู ทกุ ขอ 9. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ประกาศใชเ มือ่ ใด ก. 19 สงิ หาคม 2550 ข. 22 สิงหาคม 2550 ค. 27 สงิ หาคม 2550 ง. 1 กันยายน 2550 10. ขอใดคอื การมสี ว นรว มทางการเมอื งแบบไมเปนทางการ ก. การเลอื กต้งั ข. การประทว ง ค. การตง้ั พรรคการเมอื ง ง. การแสดงความคิดเหน็ ทางการเมอื ง
76 บทท่ี 4 สถานการณ และการมีสวนรวมทางการเมอื ง การปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ สาระสาํ คญั การอยูรวมกันในสังคมทีม่ ีความแตกตา งทัง้ ความคดิ อาชพี สถานะทางสังคม และ สภาพแวดลอม การศกึ ษาเรียนรู การพัฒนาการทางการเมือง และการมสี ว นรวมทางการเมอื ง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข เปนสว นหน่ึงท่จี ะ ทําใหสังคมอยูไดอ ยา งสงบสขุ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั 1. อธบิ ายสาเหตแุ ละความเปนมาของการปฏิรูปการเมืองหลังการเปลย่ี นแปลง การปกครอง พ.ศ. 2475 ได 2. อธบิ ายการมสี วนรว มทางการเมอื งและการอยูรวมกันอยางสนั ติในระบอบ ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุขได ขอบขา ยเนอ้ื หา เรือ่ งที่ 1 ระบุสถานการณท เ่ี กีย่ วขอ งกับการเมอื งการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ เปนประมุข เรือ่ งท่ี 2 การมีสวนรวมทางการเมอื งการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริยท รงเปนประมุข สอ่ื ประกอบการเรยี นรู 1. ซดี ี เหตุการณสาํ คัญการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง 2. คอมพวิ เตอร อินเทอรเ นต็ 3. บทความทางหนังสอื พิมพ
77 เร่ืองท่ี 1 สถานการณท ีเ่ กีย่ วของกบั การเมอื งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยเ ปน ประมุข 1. การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เ ห ตุ ก า ร ณ ท่ี ผ า น ม า แ ล ะ วิ วั ฒ น า ก า ร ท า ง ค ว า ม คิ ด ข อ ง ค น ไ ท ย ใ น เ ร่ื อ ง ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตยที่คอยๆ กอตัวและมีพัฒนาการขึ้นมาตามลําดับ และนับจาก กบฏ ร.ศ. 130 เมอ่ื ป พ.ศ. 2445 เวลาผานไปอีก 20 ป จนถึงป พ.ศ. 2475 (วันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475) จึงไดเกิดเหตุการณเปลี่ยนแปลงการปกครองคร้ังสําคัญของประเทศไทยข้ึนโดยคณะบุคคลท่ี เรียกวา “คณะราษฎร” ประกอบดวยทหารและพลเรือน ไดยึดอํานาจการปกครองจาก พระมหากษตั ริย คือพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่เจ็ดและเปลี่ยนแปลงการ ปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย เปน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมุขอยภู ายใตกฎหมายรัฐธรรมนญู สาเหตุของการเปล่ียนแปลงการปกครอง เมือ่ ป พ.ศ. 2475 มดี ังน้ี 1. คนรนุ ใหมทไ่ี ดร ับจากการศึกษาประเทศตะวันตก ไดรับอิทธิพลของลัทธิเสรีนิยม และแบบแผนประชาธปิ ไตยของตะวนั ตก จงึ ตอ งการนํามาปรบั ปรงุ ประเทศชาติ 2. เกิดภาวะเศรษฐกจิ ตกตํ่า รฐั บาลไมส ามารถแกไขได 3. ประเทศญ่ีปุนและจีนไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแลวทําใหประชาชน ตอ งการเห็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยภายในบานเมืองเร็วขึน้ 4. เกิดความขัดแยงระหวางพระราชวงศกับกลุมที่จะทําการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง ซง่ึ ไมพอใจทพ่ี ระราชวงศช้ันสงู มอี าํ นาจและดํารงตาํ แหนง เหนือกวา ท้ังในราชการฝาย ทหารและพลเรอื น ทําใหก ลมุ ผจู ะทําการเปล่ยี นแปลงการปกครอง ไมมโี อกาสมีสวนรวมในการ แกไ ขปรบั ปรุงบานเมือง 5. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไมอาจทรงใชอํานาจสิทธิ์เด็ดขาดในการ ปกครองทําใหผูทจี่ ะเปลย่ี นแปลงการปกครองรสู ึกวาพระองคตกอยูใตอํานาจ อิทธิพลของพระ ราชวงศช ้นั สูง โดยเฉพาะอยา งยิ่งเมอื่ พระบรมวงศานุวงศไ ดย ับย้งั พระราชดาํ รทิ ี่จะพระราชทาน รัฐธรรมนูญ จึงทําใหเกิดความไมพอใจในพระบรมวงศานุวงศและ การปกครองระบอบ สมบูรณาญาสิทธริ าชยเ พิม่ ขน้ึ
78 2. พฒั นาการทางการเมอื งและการปกครองหลงั การเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 หลังจากการเปล่ียนแปลงการปกครอง ป พ.ศ. 2475 ประเทศไทยไดกาวเขาสูระบอบ การปกครองแบบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ แตแนวคดิ ความรู ความเขา ใจในเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยยังจํากัดอยูเฉพาะกลุมปญญาชนที่ไดรับ การศึกษาจากตะวันตกเทานั้น จึงมีความขัดแยงทางความคิดท้ังในกลุมผูปกครองขาราชการ และประชาชนจนเกิดเปนกบฎ ปฏิวัติและรัฐประหาร สลับกันไปมา (ปญหาทางการเมืองและ การปกครองของประเทศไทยหลังป พ.ศ. 2475 ท่ีไมมีเสถียรภาพทางการเมืองการเปล่ียน รัฐบาล หรือผูปกครองประเทศมักไมเปนไปตามกติกา หรือระเบียบแบบแผนโดยสันติวิธี ตรงกันขามมักเกิดการแยงชิงอํานาจดวยการใชกําลังอยูเนืองๆ ไมวาจะเปนไปในรูปของการ จลาจล กบฏ ปฏวิ ัตหิ รือรฐั ประหาร) ความหมายของคําเหลานี้เหมือนกันในแงที่วาเปนการใช กําลังอาวุธยึดอํานาจทางการเมืองแตมีความหมายตางกันในดานผลของการใชกําลังความ รุนแรงนนั้ กลาวคือ หากการยึดอํานาจคร้ังใดท่ีผูกอการทําการไมสําเร็จจะถูกเรียกวา “กบฏ” หากการยดึ อํานาจนั้นสาํ เร็จและเปล่ียนเพียงรัฐบาลเรียกวารัฐประหาร นับแตป พ.ศ. 2475 เปนตนมา ประเทศไทยมีการพัฒนาการทางการเมืองและการปกครองโดย เรียงลําดับตาม ระยะเวลาของเหตกุ ารณส ําคัญๆ ท่เี กดิ ข้นึ ได ดงั น้ี 1. พ.ศ. 2476 : การรัฐประหารครั้งท่ี 1 โดย พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนาไดยึดอํานาจจากพระยามโนปกรณนิติธาดา นายกรฐั มนตรีคนแรกของไทย เมอ่ื วนั ที่ 20 มถิ ุนายน 2476 2. พ.ศ. 2476 : กบฎครงั้ ที่ 1 กบฏวรเดช ความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและกลุมผูนิยมระบอบเกา ในป พ.ศ. 2476 ทําให พระวรวงศเธอพระองคเจาบวรเดชและพวกกอการกบฏในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 เพ่ือตั้ง รัฐบาลใหม แตถูกฝายรัฐบาลในขณะนั้นปราบได การกบฏครั้งนี้มี ผลกระทบ กระเทือนตอ พระราชฐานะของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา ยูห ัว ทง้ั ๆ ทีท่ รงวางพระองคเ ปน กลางเพราะ คณะราษฎรเขาใจวาพระองคทรง สนับสนุนการกบฏ ความสัมพันธระหวางรัชกาลที่ 7 และ คณะราษฎรจึงราวฉาน ย่ิงขึ้น ในตนป พ.ศ. 2477 รัชกาลที่ 7 ไดเสด็จไปรักษาพระเนตรท่ี ประเทศ สหราชอาณาจักร และทรงสละราชสมบตั เิ ม่ือวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477
79 3. พ.ศ. 2478 : กบฏครงั้ ท่ี 2 กบฏนายสบิ เกดิ ขึน้ เมื่อวันท่ี 3 สิงหาคม 2478 เม่ือทหารชัน้ ประทวนในกองพนั ตางๆ ซงึ่ มี สิบเอกสวัสด์ิ มหะมัด เปนหัวหนา ไดรวมกันกอการเพ่ือเปล่ียนแปลงการ ปกครอง โดยจะ สงั หารนายทหารในกองทัพ และจับพระยาพหลพลพยุหเสนาฯ และหลวงพิบูลสงครามไวเปน ประกนั แตรฐั บาลสามารถจบั กมุ ผูคดิ กอ การ เอาไวไ ด หัวหนา ฝา ยกบฏถูกประหารชีวิต โดยการตดั สินของศาลพเิ ศษในระยะตอ มา 4. พ.ศ. 2482 : กบฏคร้งั ที่ 3 กบฏพระยาทรงสุรเดช หรือ กบฏ 18 ศพ เกิดข้ึนเม่ือวันที่ 29 มกราคม 2482 เน่ืองจากความขัดแยงระหวาง หลวงพิบูล สงครามกับพระยาทรงสรุ เดช ต้งั แตกอนการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การกอกบฏ คร้ังน้ีเปนความพยายามที่จะลมลางรัฐบาลใน ขณะน้ัน เพื่อเปล่ียนแปลงการปกครองใหกลับ ไปสรู ะบอบสมบรู ณาญา สิทธิราชย ดังเดิม 5. พ.ศ. 2490 : การรัฐประหารคร้ังที่ 2 เกิดขนึ้ เมือ่ วันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 โดยคณะนายทหารกลุมหนง่ึ มีพลโทผิน ชุณหะวัน เปนหัวหนา ไดเ ขา ยึดอาํ นาจรฐั บาลท่ีมีพลเรอื ตรถี วลั ย ธํารงนาวาสวัสดิ์ เปนนายกรัฐมนตรีได สําเรจ็ แลว มอบใหนายควง อภัยวงศ เปน นายกรัฐมนตรี จัดต้ังรัฐบาล ขณะเดียวกันไดแตงตั้งจอม พล ป. พิบลู สงคราม เปน ผบู ญั ชาการทหาร แหง ประเทศไทย 6. พ.ศ. 2491 : กบฏคร้งั ที่ 4 กบฏเสนาธกิ าร เกิดข้ึนเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2491 คณะนายทหารซึ่งทํารัฐประหาร เม่ือ 8 พฤศจกิ ายน 2490 ไดบ ังคับใหนายควง อภัยวงศ ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีแลวมอบ ใหจ อมพล ป. พิบลู สงคราม เขาดาํ รงตาํ แหนง และนาํ มาสู “กบฏเสนาธิการ” 1 ตุลาคม 2491 ซึ่งพลตรีสมบูรณ ศรานุชิต และพลตรีเนตร เขมะโยธิน เปนหัวหนาคณะและนายทหารกลุมหน่ึง วางแผน ทจ่ี ะเขา ยดึ อาํ นาจการปกครอง และปรับปรุงกองทัพจากความเสื่อมโทรม แตรัฐบาล ทราบแผนการ และจับกุมผูคิดกบฏไดสําเร็จ 7. พ.ศ. 2492 : กบฏครั้งที่ 5 กบฏวังหลวง เกิดข้ึนเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2492 นายปรีดี พนมยงค กับคณะนายทหารเรือ และ พลเรือนกลมุ หนึง่ ไดนํากําลงั เขา ยึดพระบรมมหาราชวังและต้ังเปนกองบัญชาการ ประกาศถอด ถอนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และนายทหารผูใหญหลายนายพลตรีสฤษด์ิ ธนะรัชต ไดรับการแตงต้ังเปนผูอํานวยการปราบปราม มีการสูรบกันในพระนครอยางรุนแรงรัฐบาล
80 สามารถปราบฝายกอการกบฏไดสําเร็จ นายปรีดี พนมยงคตองหลบหนีออกนอกประเทศอีก ครัง้ หนี่ง 8. พ.ศ. 2494 : กบฏครง้ั ท่ี 6 กบฏแมนฮตั ตัน เกดิ ข้นึ เม่ือวนั ท่ี 29 มิถนุ ายน 2494 เมอื่ นาวาตรีมนัส จารภุ า ผูบังคับการเรือรบหลวง สโุ ขทยั ใชปน จี้จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ไปกักขงั ไวในเรอื รบศรอี ยธุ ยา นาวาเอกอานน บุญฑริก ธาดา หัวหนาผกู อการไดส่ังใหหนวยทหารเรือมุงเขาสูพระนครเพ่ือยึดอํานาจ และประกาศต้ัง พระยาสารสาสนประพนั ธ เปนนายกรัฐมนตรี เกิดการสรู บกันระหวางทหารเรอื กบั ทหารอากาศ จอมพล ป. พิบูลสงคราม สามารถหลบหนีออกมาได และฝายรัฐบาลไดปราบปรามฝายกบฏ จนเปน ผลสําเรจ็ 9. พ.ศ. 2494 : การรฐั ประหารคร้งั ที่ 3 เกิดขึน้ เม่อื วันท่ี 29 พฤศจิกายน 2494 เม่อื จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ไดทํารัฐประหาร ยดึ อาํ นาจตนเอง เนือ่ งจากรัฐบาลไมส ามารถควบคุมเสียงขา งมากในรฐั สภาได 10. พ.ศ. 2497 : กบฏครั้งที่ 7 กบฏสนั ตภิ าพ เกิดขึ้นในยุคท่ีโลกตกอยูในสภาวะสงครามเย็น และประเทศไทยเปนยุคของอัศวิน ตํารวจรัฐบาลที่ไดอํานาจมาจากการกระทํารัฐประหารต้ังแตวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 นับเปนรัฐบาลท่ีดําเนินนโยบายทําสงครามกับฝายคอมมิวนิสตอยางเต็มที่ ดวยการรื้อฟน กฎหมายคอมมวิ นิสต 2495 และกวาดจบั ผูมีความคิดเห็นแตกตางจากรฐั บาลคร้ังใหญที่รูจักกัน ในนาม “กบฏสนั ตภิ าพ” ในป พ.ศ. 2497 11. พ.ศ. 2500 : การรัฐประหารคร้ังที่ 4 เกิดข้ึนเม่ือวันท่ี 16 กันยายน 2500 มีจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เปนหัวหนาคณะ นาํ กําลังเขา ยึดอาํ นาจของรัฐบาลจอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ที่เปน นายกรฐั มนตรี ภายหลังจากเกิด การเลอื กตัง้ สกปรก และรัฐบาลไดรับการคดั คา นจากประชาชนอยางหนัก หลังการยึดอาํ นาจจอมพล ป.พบิ ลู สงคราม และพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท ตองหลบหนีออกไปนอกประเทศ และต้ังนาย พจน สารสนิ เปน นายกรฐั มนตรี 12. พ.ศ. 2501 : การรัฐประหารคร้ังที่ 5 เกิดข้นึ เมอ่ื วนั ท่ี 20 ตุลาคม 2501 มีจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เปนหัวหนา ไดช่ือวาการ ปฏวิ ัติเงียบเพราะเปนการยึดอาํ นาจของตนเอง หลงั การรัฐประหาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต
81 ไดเขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ประกาศยกเลิก รัฐธรรมนูญยกเลิกพระราชบัญญัติพรรค การเมืองและใหสภาผูแ ทนราษฎรและ คณะรฐั มนตรีชดุ เดมิ ส้นิ สุดลง 13. พ.ศ. 2516 : การรฐั ประหารครั้งท่ี 6 เกดิ ข้นึ เมือ่ วนั ท่ี 17 พฤศจิกายน 2514 โดยจอมพลถนอม กิตติขจร ซ่ึงดํารง ตําแหนง นายกรัฐมนตรี ควบรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม และผูบัญชาการ ทหารสูงสุด ทําการ รัฐประหารตัวเอง ประกาศยเลิกรัฐธรรมนูญ ยุบสภาผูแทนราษฎร และจัดต้ังสภานิติบัญญัติ แหง ชาติ ขนึ้ ทําหนา ทีฝ่ ายนติ บิ ญั ญตั ิ และใหร า งรัฐธรรมนญู ใหเ สรจ็ ภายในระยะเวลา 3 ป 14. พ.ศ. 2519 : การรฐั ประหารครงั้ ที่ 7 ความต่นื ตวั ทางประชาธปิ ไตยท่ีกําลงั แบง บานตองหยุดชะงักลงอกี ครงั้ เมอ่ื พลเอกสงดั ชลออยู และคณะนายทหารเขายึดอํานาจ เมือ่ วนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2519 เนื่องจากเกิด การจลาจล และรัฐบาลพลเรอื นในขณะนนั้ ยงั ไมสามารถแกไขปญ หาได หลังการรฐั ประหารได มอบใหนายธานนิ ทร กรยั วเิ ชียร ดาํ รงตําแหนงนายกรฐั มนตรี 15. พ.ศ. 2520 : กบฏคร้งั ท่ี 8 กบฏ 26 มีนาคม 2520 เกดิ ข้ึนเมื่อวนั ท่ี 26 มีนาคม 2520 นําโดยพลเอกฉลาด หิรัญศิริ และนายทหารกลุมหน่ึง ไดน ํากาํ ลังทหารจากกองพลท่ี 9 จังหวดั กาญจนบุรี เขายดึ สถานท่ีสําคัญ ฝายทหารของรัฐบาล พลเรอื น ภายใตก ารนําของ พลเรือเอกสงัด ชลออยู ไดปราบปรามฝายกบฏเปนผลสําเร็จพล เอกฉลาด หริ ญั ศิริ ถูกประหารชีวิตตามคําสง่ั นายกรัฐมนตรี ซึง่ อาศัยอาํ นาจตามมาตรา 21 ของ รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2520 16. พ.ศ. 2520 : การรัฐประหารคร้ังที่ 8 เกิดขนึ้ เม่ือวนั ท่ี 20 ตลุ าคม 2520 เมื่อพลเรือเอกสงัด ชลออยู ใหทําการรัฐประหาร รฐั บาลของนายธานนิ ทร กรยั วิเชียร โดยใหเ หตุผลวา การบริหารงานของรัฐบาลนายธานินทร กรัยวิเชียร ไมอาจแกไขปญหาสําคัญของประเทศ ไดท้ังในดานเศรษฐกิจ สังคมและ อตุ สาหกรรม อกี ทงั้ ยังปด ก้นั เสรีภาพทางความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนทาทีของรัฐบาล ในเหตุการณลอบวางระเบดิ ใกลพ ลับพลาที่ประทบั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ท่ีจังหวัด ยะลา และตั้งพลเอกเกรยี งศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรฐั มนตรี
82 17. พ.ศ. 2524 : กบฏครงั้ ที่ 9 กบฏยงั เติรก เกดิ ข้นึ เมอื่ วันท่ี 1 เมษายน 2524 นําโดยพลเอกสัณห จิตรปฏิมา ดวยการสนับสนุน ของคณะนายทหารหนมุ โดยการนําของพันเอกมนูญ รูปขจร และ พันเอกประจักษ สวางจิตร ไดพยายามใชกําลงั ทหารในบงั คับบัญชาเขา ยดึ อาํ นาจปกครองประเทศ ซ่ึงมีพลเอกเปรม ติณสู ลานนท เปนนายกรัฐมนตรี เน่ืองจาก เกิดความแตกแยกในกองทัพบก แตการปฏิวัติลมเหลว ฝายกบฏยอมจํานนและถูกควบคุมตัว พลเอกสัณห จิตรปฏิมา สามารถหลบหนีออกไปนอก ประเทศได ตอมารฐั บาลไดอ อกกฎหมายนิรโทษกรรมแกผูมีสวนเกย่ี วของการกบฏในครงั้ นี้ 18. พ.ศ. 2528 : กบฏคร้ังที่ 10 กบฏทหารนอกราชการ เกิดข้ึนเม่ือวันที่ 9 กันยายน 2528 โดยคณะนายทหารนอกราชการท่ีพยายาม ยดึ อํานาจจากรฐั บาลของพลเอกเปรม ตณิ สูลานนท แตดําเนนิ การไมส ําเรจ็ ผูก อ การ คอื พันเอกมนญู รูปขจร และนาวาอากาศโทมนสั รูปขจร ไดล ี้ภัยไปสิงคโปรและเดินทางไปอยูใน ประเทศเยอรมนีตะวนั ตก 19. พ.ศ. 2534 : การรฐั ประหารครั้งที่ 9 เกิดข้ึนเม่ือวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2534 นําโดยพลเอกสุนทร คงสมพงษ ผูบัญชาการ ทหารสงู สุด หวั หนา คณะรักษาความสงบเรียบรอ ยแหง ชาติ (รสช.) ยดึ อํานาจจากรฐั บาล พล.อ.ชาตชิ าย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีในขณะนน้ั และแตงต้งั นายอานันท ปนยารชนุ ขึน้ เปนนายกรฐั มนตรี ทวา รัฐบาลท่ีมีอายุเพียง 1 ปของ รสช. ก็ตองประสบกับอุปสรรคในการ เรียกรองรัฐธรรมนูญท่ีเปนประชาธิปไตยจาก ประชาชน อันนํามาสูการชุมนุมเรียกรองทาง การเมอื งที่กลายเปนชนวนเหตขุ อง เหตุการณพ ฤษภาทมฬิ ในป 2535 ภายหลังการเลือกต้ังท่ี พลเอกสุจินดา คราประยรู ข้นึ เปน นายกรัฐมนตรีในเวลาตอมา 20. พ.ศ. 2549 : การรัฐประหารคร้ังที่ 10 เกิดข้ึนเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 นําโดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการ ทหารบกทาํ การยึดอาํ นาจจากรัฐบาลรกั ษาการของพันตํารวจโททกั ษณิ ชินวัตร เรียกตนเองวา คณะปฏิรปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหา กษัตริยท รงเปน ประมุข 21. ในป พ.ศ. 2557 : การรฐั ประหารครง้ั ท่ี 11 เกิดข้ึนเมื่อวันท่ี 22 พฤษภาคม 2557 เวลา 16.00 น. โดยคณะรักษาความสงบ แหงชาติ (คศช.) อันมีพลเอกประยุทธ จันทรโอชา เปนหัวหนาคณะโคนรัฐบาลรักษาการ นิวัฒนธํารง บุญทรงไพศาล นับเปนรัฐประหารคร้ังท่ี 11 ในประวัติศาสตรไทย รัฐประหาร
83 ดังกลาวเกิดข้ึนหลังวิกฤตการณการเมืองซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม 2556 เพ่ือคัดคานราง พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ และอิทธิพลของพันตํารวจโทดร.ทักษิณ ชินวัตร ในการ เมอื งไทย จากพฒั นาการทางการเมอื งการปกครองทีเ่ กิดขน้ึ ในประเทศไทยหลงั การเปล่ียนแปลง การปกครอง ป พ.ศ. 2475 มีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นอยางบอยครั้ง รวมท้ังเปนที่มาของ รัฐธรรมนูญฉบบั ตา งๆ ดวยจะเหน็ วา มีพัฒนาการในทางท่ีใหสทิ ธแิ ละเสรีภาพแกป ระชาชน มากข้ึน แมวาบางยุคสมัยจะถูกกลาวหาวาเปนเผด็จการก็ตาม เราก็จะเห็นพัฒนาการทาง การเมืองในภาคประชาชนที่คอยๆ กอตัวข้ึนในท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ จนคลายกับเปน ความขัดแยงทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังเหตุการณรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ไดทําใหเกิด ความคิดเหน็ ทีแ่ ตกตา งของประชาชนทง้ั ประเทศอยางไมเ คยเกดิ ขน้ึ มากอนจนหลายฝายวิตกวา จะนาํ ไปสูสงครามการเมือง แตเมื่อมองในดานดจี ะพบวา ในเหตุการณดังกลาวไดก อ ใหเกิดความ ต่ืนตัวของภาคประชาชน ในดานการเมืองท้ังประเทศอยางท่ีไมเคยมีมากอน ความคิดเห็น ทางการเมืองตางกันที่เกดิ ขึน้ ในเวลาน้ีเปนเรอ่ื งใหมแ ละยังไมมีความคิดเห็นท่ีตรงกัน ตองอาศัย ระยะเวลาและการเรียนรูของผูคนทั้งประเทศท่ีจะตองอดทนเรียนรูและอยูรวมกันใหได ทามกลางความแตกตา งและปรับความคิดเขาหากนั ใหถ ึงจดุ ท่พี อจะยอมรบั กันได เรือ่ งท่ี 2 การมสี วนรว มทางการเมอื งการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ เ ปน ประมุข 1. การมีสวนรว มทางการเมือง การปกครองระบอบประชาธิปไตย มหี ลกั การพ้นื ฐานสําคญั 5 ประการ คอื 1. หลกั การอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน ประชาชนแสดงออกซง่ึ การเปนเจาของ โดยใชอาํ นาจทีม่ ตี ามกระบวนการเลือกตั้งอยางอิสระและท่ัวถึงในการใหไดมาซ่ึงตัวผูปกครอง และผแู ทนของตนรวมทัง้ ประชาชนมีอาํ นาจในการคัดคา นและถอดถอนผูปกครองและ ผูแทนที่ ประชาชนเห็นวา มไิ ดบ รหิ ารประเทศในทางทีเ่ ปน ประโยชนตอสังคมสวนรวม เชน มี พฤติกรรม รา่ํ รวยผิดปกติ หรอื คอรร ัปชนั่ (Corruption) 2. หลกั เสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทําหรอื งดเวนการกระทํา อยา งใด อยางหนึง่ ตามท่บี คุ คลตองการ ตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้นไมไปละเมิด ลิดรอน สิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น หรือละเมิดตอความสงบเรียบรอยของสังคมและความมั่นคงของ ประเทศชาติ
84 3. หลักความเสมอภาค การเปด โอกาสใหประชาชนทกุ คนสามารถเขาถงึ ทรัพยากร และคณุ คาตา งๆ ของสังคมที่มอี ยูจ าํ กัดอยา งเทาเทียมกัน โดยไมถ ูกกีดกนั ดวยสาเหตแุ หงความ แตกตางทางชั้นวรรณะ ทางสังคม ชาติพันธุ วฒั นธรรมความเปน อยู ฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื ดวยสาเหตอุ ่ืน 4. หลกั การปกครองโดยกฎหมายหรอื หลกั นติ ธิ รรม การใหค วามคุม ครองสิทธิ ข้นั พน้ื ฐานของประชาชนทงั้ ใหเ รอ่ื งสทิ ธิเสรีภาพในทรัพยสนิ การแสดงออก การดาํ รงชพี อยา งเสมอหนากัน โดยผูปกครองไมสามารถใชอาํ นาจใดๆ ลดิ รอนเพิกถอนสทิ ธเิ สรีภาพของ ประชาชนไดและไมส ามารถใชอ ภสิ ิทธิอ์ ยเู หนือกฎหมาย หรอื เหนือกวา ประชาชนคนอน่ื ๆ ได 5. หลักการเสียงขางมาก (Majority rule) ควบคูไปกับการเคารพในสิทธิของ เสียงขา งนอ ย (Minority Rights) การตัดสนิ ใจใดๆ ที่สง ผลกระทบตอประชาชนหมมู าก ไมวา จะเปน การเลือกตง้ั ผูแทนของประชาชนเขาสูระบบการเมือง การตัดสินใจของฝาย นิติบัญญัติ ฝายบริหารหรือฝายตุลาการ ยอมตองถือเอาเสียงขางมากที่มีตอเรื่องน้ันๆ เปน เกณฑในการ ตัดสินทางเลือก โดยถือวาเสียงขางมากเปนตัวแทนท่ีสะทอนความตองการขอเรียกรองของ ประชาชนหมูมาก หลักการน้ีตองควบคูไปกับการเคารพคุมครองสิทธิเสียงขางนอยดวย ท้ังน้ี เพ่อื เปนหลกั ประกันวาฝายเสียงขางมากจะไมใชวิธีการ “พวกมากลากไป” ตามผลประโยชน ความเหน็ หรือกระแสความนยิ มของพวกตนอยางสุดโตง แตตองดําเนินการ เพื่อประโยชนของ ประชาชนท้ังหมดเพื่อสรางสังคมที่ประชาชนเสียงขางนอย รวมท้ังชนกลุมนอย ผูดอยโอกาส ตางๆ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุข โดยไมมีการเอาเปรียบกันและ สรางความขัดแยงใน สงั คมมากเกินไป 2. การอยูรว มกันอยา งสันติในระบอบประชาธปิ ไตย จากหลักการของระบอบประชาธิปไตยเห็นไดวาประชาชนตองมีบทบาทและมีสวน รว มในทางการเมืองมากกวาระบอบเผด็จการ และในระบอบประชาธิปไตยที่ยึดหลักสิทธิและ เสรีภาพของประชาชนทุกคนอยางเทาเทียมในสังคมท่ีมีขนาดใหญ หากทุกคนยึดแตหลักการ พ้ืนฐานของระบอบประชาธิปไตยเทานั้น เช่ือวาความวุนวายและไรระเบียบของสังคมยอม เกิดข้ึนในสังคมไทยแนวคิดของระบอบประชาธิปไตยเปนสิ่งที่เรารับมาจากประเทศทาง ตะวนั ตก ซึ่งมีขอดใี นเรือ่ งวนิ ัย สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาค สวนวิถีของสังคมไทย ท่ีเปน สังคมพุทธ มีขอดีในเรื่องความอบอุน การเคารพผูอาวุโส ความกตัญู เปนขอดีที่เราตอง นาํ มาใชใหถ กู ตอ ง ดังนั้นการจะอยูรว มกันอยา งสนั ติในระบอบประชาธปิ ไตยของ สงั คมไทย
85 คงมใิ ชก ารยึดหลักการพน้ื ฐานของระบอบประชาธปิ ไตยเทา นนั้ แตตองมองรากฐานของคนไทย ดว ยวา มีวิถีชีวติ อยา งไร ลกั ษณะที่สําคัญของสงั คมไทย ประเทศไทยตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีนท่ีเรียกวา “สุวรรณภูมิ” มีพ้ืนท่ีประมาณ 513.115 ตารางกิโลเมตร มกี ลมุ ชนชาตไิ ทยและกลมุ ชาติพันธุอ่ืนๆ อีกมากกวา 50 ชาติพันธุ เชน จีน ลาว มอญ เขมร กูย ฝรั่ง แขก ซาไก ทมิฬ ฯลฯ มาอาศัยอยูในประเทศไทย มีภาษาไทยเปนของตนเอง มีประวัติศาสตรการตั้งถ่ินฐานที่ยาวนาน ประชากรสวนใหญ ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จนถึงป พ.ศ. 2475 เมื่อเกิด การเปล่ียนแปลง ระบอบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เวลาผานไปเกือบ 80 ป จนถึงปจจุบัน เม่ือวเิ คราะหล ักษณะ ของสังคมไทยในปจจบุ นั เราจะพบวา ลักษณะสําคัญ ดังน้ี 1. สังคมไทยเปน สงั คมที่เคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ สังคมไทยปกครองโดยพระมหากษัตริยมา ตั้งแตสมัยสุโขทัยท่ีเรียกวา สมบูรณาญาสิทธริ าชย จนมาถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยพระมหากษัตริยทรงเปน ท้ังองคพระประมุข เปนขวัญและกําลังใจใหกับประชาชน และทรงเปนศูนยรวมแหงความ สามคั คขี องคนในชาติ สถาบนั พระมหากษัตรยิ จงึ ไดร ับการเคารพเทดิ ทูนอยางสูงในสงั คมไทย 2. สงั คมไทยยดึ ม่ันในพระพุทธศาสนา วดั มคี วามสมั พันธก บั ชุมชนมาก ในอดีตวัดเปนแหลงการศึกษาของฆารวาสและภิกษุ สามเณรเปนสถานท่ีอบรมขัดเกลาจิตใจโดยใชธรรมะเปนเครื่องช้ีนําในการดําเนินชีวิต โดยมี พระภิกษุเปนผูอบรมส่ังสอนพุทธศาสนิกชน ใหเปนคนดีมีศีลธรรม 3. สังคมไทยเปน สงั คมเกษตร อาชพี เกษตรกรรมเปนอาชพี ท่ีเปน พ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ ซ่งึ ปจ จุบนั มกี ารนําเทคโนโลยี มาใชใ นการเกษตรมากขน้ึ ทาํ ใหมีการพฒั นาเปน เกษตร อุตสาหกรรม จากพ้ืนฐานการมีอาชีพ เกษตรกรรม ทําใหคนไทยรักความเปนอยูที่เรียบงาย ไมทะเยอทะยานเกินฐานะ มีจิตใจ ออ นโยน เอือ้ เฟอ เผ่ือแผ
86 4. สงั คมไทยใหก ารเคารพผูอาวุโส การแสดงความเคารพ การใหเกียรติผูอาวุโส มีผลตอการแสดงออกของคน ในสังคมดานกิริยาวาจา ความเคารพ และความเกรงใจ ทําใหเด็กๆ หรือผูนอย รูจักออนนอม ถอมตนตอผูใ หญ 5. สังคมไทยเปนสงั คมระบบเครอื ญาติ สังคมไทยเปนสังคมท่ีอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธกันอยาง ใกลช ดิ ทําใหมคี วามผูกพันและหว งใยในทุกขสขุ ของกันและกัน อุปการะ เก้ือกูลกัน สมาชิกใน ครอบครัวทกุ คนถอื เปนหนา ทท่ี ่ตี อ งประพฤตปิ ฏิบตั ิตอกัน 6. สังคมไทยมกี ารเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว เนอ่ื งจากมกี ารเปดรับวฒั นธรรมตา งชาตเิ ขามามาก และระบบเศรษฐกิจเปนแบบ ทนุ นยิ ม โดยเฉพาะเมอื งใหญ เชน กรุงเทพมหานคร เชียงใหม ภูเก็ต เปนตน แตในชนบทจะมี การเปลี่ยนแปลงชากวา เมืองใหญ ทาํ ใหมขี นบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามคงอยู
87 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 4 คาํ ส่ัง ใหนักศึกษาบรรยายหรืออภิปรายตามหัวขอเรอ่ื ง ดังนี้ 1. นายสมศักด์ิ ดงี าม จะตองปฏบิ ัตติ น หรือดาํ รงชีวิตอยางไร จึงจะถือวา เปนพลเมอื ง ดี ของประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ใหย กตัวอยา ง หลักการ อยรู ว มกันในสังคมอยางสันตสิ ขุ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................
88 บทท่ี 5 หลักสิทธิมนุษยชน สาระสําคญั มนษุ ยทุกคนเกิดมามีเกียรติ ศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน ยอมจะไดรับความคุมครองจากรัฐ ตามมาตรฐานเดียวกันกับประเทศอื่นๆ ซ่ึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดบัญญัติสิทธิมนุษยชนขั้นพ้ืนฐานไว เพื่อปกปองคุมครองประชาชนทุกคนมิใหถูก ละเมดิ สทิ ธิ และรักษาสิทธขิ องตนได ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง 1. อธิบายทม่ี าของแนวคิดเร่อื งสทิ ธิมนุษยชนได 2. อธิบายหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนสากลได 3. ยกตัวอยา งแนวทางในการคุมครองตนเองและผอู ืน่ ตามหลักสทิ ธมิ นุษยชนได ขอบขา ยเนอื้ หา เรือ่ งที่ 1 แนวคิดและหลกั การสิทธิมนุษยชน เรอื่ งที่ 2 การคุม ครองปกปอ งตนเองและผูอ ืน่ ตามสทิ ธมิ นุษยชน สอื่ ประกอบการเรยี นรู 1. อินเทอรเน็ต 2. เอกสารสทิ ธมิ นษุ ยชนสากล 3. บทความทางวชิ าการ
89 เรอื่ งท่ี 1 แนวคิดและหลกั การสิทธิมนษุ ยชน 1. ความหมายสิทธิมนุษยชน คําวา สิทธิมนุษยชน ในอดีตยังไมเปนท่ีแพรหลาย จนกระท่ังมีการกอตั้งองคการ สหประชาชาติจึงไดถูกนํามาใชอยางแพรหลายทั้งในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ ซ่ึงกฎ บัตรสหประชาชาติไดกลาวถึงสิทธิมนุษยชนไวหลายแหง เชน ในอารัมภบท มีขอความที่ กลา วถงึ ความมุงหมายของสหประชาชาติไวว า “เพ่ือเปนการยืนยันความเช่ือในสิทธิขั้นพื้นฐานของความเปนมนุษย ในศักดิ์ศรีและ คุณคาของมนุษยชาติ สทิ ธิมนุษยชน เปนสิทธิประจําตวั ของมนษุ ยทกุ คน เพราะมนุษยทุกคนมี ศักด์ิศรี มีเกียรติศักด์ปิ ระจําตวั สทิ ธมิ นษุ ยชนไมสามารถโอนใหแกกันได แตนักปฏิบัติการสิทธิ มนุษยชนใหค ําอธิบายวา เราเรียกส่ิงจําเปนสําหรับคนทุกคนท่ีตองไดรับในฐานะที่เปนคน ซ่ึงทําใหคนๆ น้ันมีชีวติ อยูรอดไดอ ยา งมคี วามเหมาะสมแกค วามเปน คน และสามารถมีการ พฒั นาตนเองได วา “สิทธิมนษุ ยชน” เม่ือนําคําทั้งสองมาประกอบกัน ก็สามารถเขาใจไดวา สิทธิมนุษยชน คือ ส่ิงจําเปน สําหรับคนทุกคนท่ีตองไดรับในฐานะท่ีเปนคน เพ่ือทําใหคนคน นั้นมีชีวิตอยูรอดไดและมีการ พัฒนา สิทธมิ นุษยชนจึงมี 2 ระดับ (กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ,2555) ระดบั แรก ระดบั ที่สอง สิทธิท่ีติดตัวคนทุกคนมาแตเกิด ไม สิทธทิ ตี่ อ งไดร ับการรับรองในรูปของ สามารถถายโอนใหแกกันได อยูเหนือ กฎหมายหรอื ตองไดร ับการคุมครองโดยรฐั บาล กฎหมายการมีสิทธิเหลาน้ี ไดแก สิทธิใน ไดแก การไดรับสัญชาติ การมีงานทํา การไดรับ ชีวิตหามฆาหรือทํารายตอชีวิต หาม ความคุมครองแรงงาน ความเสมอภาคของหญิง การคามนุษย หามทรมานอยางโหดราย ชาย สิทธขิ องเดก็ เยาวชน ผสู ูงอายุ และคนพิการ คนทุกคนมีสิทธิในความเชื่อทางศาสนา การไดรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การประกันการ ทางการเมอื ง มเี สรภี าพในการแสดงความ วา งงานการไดร ับบรกิ ารทางดา นสาธารณสุข คิดเห็นและแสดงออก หรือการส่ือ การสามารถแสดงออกทางดานวัฒนธรรมอยาง ความหมายโดยวิธีอ่ืน สิทธิมนุษยชน อิสระ สามารถไดรับความเพลิดเพลินจากศิลปะ เหลาน้ีไมจําเปนตองมีกฎหมายมารองรับ วัฒนธรรมในกลุมของตน เปนตนสิทธิมนุษยชน สิทธิเหลาน้ี ก็ดํารงอยูซ่ึงอยางนอยอยูใน ระดบั ท่สี องนต้ี องเขียนรบั รองไวใ นกฎหมายหรือ มโนธรรมสํานึกถึงบาปบุญคุณโทษท่ีอยูใน รฐั ธรรมนูญหรือแนวนโยบายพนื้ ฐานของรัฐของ
90 ตัวของแตละคน เชน แมไมมีกฎหมาย แตละประเทศ เพอื่ เปน หลักประกันวาคนทุกคน บัญญัติวา การฆาคนเปนความผิดตาม ท่ีอยูในรัฐนั้นจะไดรับความคุมครองชีวิตความ กฎหมาย แตคนทุกคนมีสํานึกรูไดเองวา เปนอยูใหมคี วามเหมาะสมแกค วามเปน มนุษย การฆาคนนั้นเปนส่ิงตองหาม เปนบาป ในทางศาสนา เปนตน 2. ขอบเขตของสทิ ธมิ นษุ ยชน เม่อื พดู ถงึ สิทธิมนุษยชน จึงมคี วามหมายกวางกวา “สิทธิ” ตามกฎหมาย นักกฎหมาย โดยทว่ั ไปมกั อธิบายวา “สทิ ธิ” คือประโยชนท่ีกฎหมายรับรอง ซ่ึงเปนไปตามหลักกฎหมายใน ขอบเขตท่ีแคบ ในแงท่ีวาคนจะมีสิทธิได ตองมีกฎหมายรับรองไวเทาน้ัน ถากฎหมายไมเขียน รับรองไวยอ มไมมสี ทิ ธิ หรอื ไมไ ดร บั สิทธิ แตใ นแงของ “สทิ ธิมนุษยชน” นนั้ ขอบเขตของสิทธิ มนษุ ยชนกวางกวา สงิ่ ท่ีกฎหมายรับรอง ดังกลาวขางตน สิทธิมนุษยชนที่ไดรับการรับรองทั่ว โลก วา เปน มาตรฐานขน้ั ตํา่ ของการปฏิบตั ติ อ มนษุ ยน ั้น สามารถจําแนกไดครอบคลมุ สิทธิ 5 ประเภท ไดแก (กรมคมุ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ,2555) 1) สทิ ธิพลเมือง ไดแก สิทธิในชวี ิตและรางกาย เสรีภาพและความม่ันคงในชีวิต ไมถูก ทรมานไมถ ูกทํารายหรอื ฆา สิทธใิ นกระบวนการยุติธรรม ไดแก สิทธิในความเสมอภาคตอหนา กฎหมายสิทธิที่จะไดรับการปกปองจากการจับกุมหรือคุมขังโดยมิชอบสิทธิท่ีจะไดรับการ พจิ ารณาคดีในศาลอยางยุติธรรม โดยผูพิพากษาที่มีอิสระ สิทธิในการไดรับสัญชาติ เสรีภาพ ของศาสนิกชนในการเชื่อถอื และปฏบิ ัตติ ามความเชอื่ ถือ 2) สิทธิทางการเมือง ไดแก สิทธิในการเลือกวิถีชีวิตของตนเองทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เสรีภาพในการแสดง ความคดิ เหน็ และการแสดงออก สิทธิการมีสวนรวมกับรัฐในการดําเนินกิจการท่ีเปนประโยชน สาธารณะ เสรีภาพในการชมุ นมุ โดยสงบ เสรีภาพในการรวมกลุม สทิ ธใิ นการเลอื กตั้งอยางเสรี 3) สิทธิทางเศรษฐกิจ ไดแก สิทธิในการมีงานทํา ไดเลือกงานอยางอิสระและไดรับ คาจา งอยางเปนธรรม สิทธิในการเปนเจาของทรัพยสิน การไดรับมาตรฐานการครองชีพอยาง พอเพียง
91 4) สิทธิทางสังคม ไดแก สิทธใิ นการไดร บั การศึกษา สิทธิในการไดรับหลักประกันดาน สุขภาพแมและเด็กตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ ไดรับการพัฒนาบุคลิกภาพอยางเต็มที่ ไดรับ ความมัน่ คงทางสังคม มีเสรีภาพในการเลอื กคูครองและสรา งครอบครัว 5) สทิ ธิทางวฒั นธรรม ไดแก การมเี สรภี าพในการใชภ าษาหรอื ส่อื ความหมายในภาษา ทองถิ่นตนมีเสรีภาพในการแตงกายตามวัฒนธรรม การปฏิบัติกิจตามวัฒนธรรม ประเพณี ทอ งถนิ่ ของตน การปฏิบัติตามความเชื่อทางศาสนา การพักผอนหยอนใจดานการแสดงศิลปะ วฒั นธรรม บนั เทงิ ไดโ ดยไมมีใครมาบังคบั 3. หลักการของสิทธิมนษุ ยชน ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน นอกจากระบุขอบเขตของสิทธิมนุษยชนวา ครอบคลุมสิทธิอะไรแลว ตัวปฏิญญาฯ เองยังไดนําเสนอหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชนไว ดวย หลักการนี้ถือเปนสาระสําคัญท่ีใชอางอิงความเปนสากลของสิทธิมนุษยชน และใชเปน เครื่องมือช้ีวัดวา สังคมใดมีการเคารพและปฏิบัติตามหลักการสิทธิมนุษยชนหรือไม สําหรับ หลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน ประกอบดว ย 1) เปน สทิ ธิธรรมชาติติดตัวมนุษยมาแตเกดิ (Natural Rights) หมายความวา มนุษย ทกุ คนมศี ักดศ์ิ รปี ระจาํ าตัวตง้ั แตเกดิ มาเปนมนุษย ศกั ดิศ์ รคี วามเปนมนุษย (Human Dignity) นี้ไมม ใี ครมอบใหเ ปน สิง่ ท่ธี รรมชาตไิ ดกําหนดขึ้นในมนุษยท กุ คน ศักดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย หมายถงึ (1) ศักด์ศิ รีความเปนมนุษย คือ คุณคา ของคนในฐานะทเี่ ขาเปน มนษุ ย (2) การใหคณุ คา ของมนุษย แบงเปน 2 ประเภท ก. คุณคาท่ีถูกกําหนดข้ึนโดยสังคม เปนการใหคุณคาของมนุษยใน ฐานะการดาํ รงตาํ แหนง ทางสงั คม ซึ่งมคี วามแตกตางกันขึ้นอยูกับการมีอํานาจหรือการ ยึดครองทรัพยากรของสงั คม ข. คุณคาท่ีถูกกําหนดขึ้นโดยธรรมชาติ เปนการใหคุณคาของมนุษยใน ฐานะท่ีเปนมนุษย ซ่งึ มคี วามเทา เทยี มกัน ไมแบง แยก
92 (3) การกําหนดคณุ คาที่แตกตางกันนํามาซ่ึงการลดทอนคุณคาความเปนมนุษย ผคู นในสังคมโดยทั่วไปมักใหคณุ คา ทางสังคม เชน ฐานะตาํ แหนง หรือเงนิ ตรามากกวา ซึ่งการให คุณคาแบบนี้นามาซ่ึงการเลือกปฏิบัติ จึงตองปรับวิธีคิดและเนนใหมีการปฏิบัติ โดยการให คุณคา ของความเปน คนในฐานะความเปน มนษุ ย ไมใชใ หค ุณคา คนตามสถานภาพทางเศรษฐกิจ และสังคม 2) สิทธิมนุษยชนเปนสากลและไมสามารถถายโอนกันได (Universality & Inalienability) หมายความวา สิทธิมนุษยชนนั้นเปนของคนทุกคน ไมมีพรมแดน คนทุกคนมี สิทธิมนษุ ยชนตางๆ ดงั ทก่ี ลาวมานี้เชน เดียวกัน เพราะโดยหลักการแลวถือวา คนทุกคนยอมถือ วาเปนคน ไมวาอยูที่ไหนในโลก ไมวาจะมีเชื้อชาติสัญชาติ เหลากําเนิดใดก็ตาม ยอมมีสิทธิ มนุษยชนประจําตัวทุกคนไป จงึ เรียกไดว า สทิ ธิมนษุ ยชนเปน ของคนทกุ คนไมวาคนๆ น้นั จะยากจนหรือรํา่ รวย เปน คนพกิ ารเปนเด็ก เปน ผูห ญิง สวนทีก่ ลา ววาสิทธิมนุษยชนไมสามารถถายโอนใหแกกันได หมายความวา ในเม่ือสิทธิ มนุษยชนเปนสิทธิประจําตัวของมนุษย มนุษยแตละคนยอมไมสามารถมอบอํานาจ หรือสิทธิ มนุษยชนของตนใหแกผ ใู ดไดไมม ีการครอบครองสิทธิแทนกนั แตกตางจากการครอบครองที่ดิน หรือทรัพยสิน เพราะสิทธิมนุษยชนเปนเร่ืองที่ธรรมชาติกําหนดข้ึน เปนหลักการที่ทุกคนตอง ปฏิบัติ แตหากจะถามวาในเม่ือสิทธิมนุษยชนเปนของคนทุกคนเชนน้ีแลว สามารถมีสิทธิ มนษุ ยชนเฉพาะกลมุ ไดห รอื ไม ในทางสากลไดมีการจดั หมวดหมูและกลมุ ของสิทธมิ นุษยชนเปน สิทธิของกลุมเฉพาะและสิทธิตามประเด็นปญหา เชน สิทธิสตรี สิทธิเด็ก สิทธิในกระบวนการ ยุติธรรม สทิ ธผิ ตู ิดเชือ้ เอชไอวี เอดส สิทธขิ องผลู ีภ้ ัย เปน ตน 3) สิทธมิ นุษยชนไมสามารถแยกเปน สว นๆ วาสทิ ธิใดมคี วามสาํ คญั กวาอกี สทิ ธหิ น่ึง (Indivisibility) กลาวคือ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ไมสามารถแบงแยกวามี ความสําคัญกวาสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สิทธิทั้งสองประการนี้ตางมี ความสําคัญเทาเทียมกัน ดังนั้นรัฐบาลใดจะมาอางวาตองพัฒนาประเทศใหประชาชนมีความ เปนอยูทางเศรษฐกิจ หรือตองแกปญหาปากทองกอน แลวจึงคอยใหประชาชนมีสวนรวม ทางการเมอื ง ยอ มขดั ตอหลักการน้ี
93 4) ความเสมอภาคและหามการเลือกปฏิบัติ (Equality and Non-Discrimination) การเลือกปฏิบัติเปนปญหาที่เกิดข้ึนมานานในทุกสังคม และถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพราะเหตุวา ในฐานะทเี่ ราเกดิ มาเปนคน ตองไดรับการปฏบิ ตั อิ ยางเทา เทียมกนั ไมวาจะเปนคน จน คนรวย คนพิการ เด็ก หรือผูสูงอายุ คนปวยหรือมีสุขภาพดี ความเสมอภาคไมใชการไดรับ เทากัน เชน การที่นักเรียนทุกคนท่ีทําผิดระเบียบจะตองถูกเฆ่ียน 3 ที เทาๆ กัน อยางน้ีไมถือวา เปน ความเสมอภาค ความเสมอภาค คอื การท่ที ุกคนควรไดรับจากสว นท่ีควรได ในฐานะเปนคน เชน การแจกของผูประสบภัยนาทวม ทุกคนจะไดรับของแจกขั้นพื้นฐาน เชน ไดรับขาวสาร อาหารแหง ยาปอ งกนั เทา เปอ ย แตหากมีครอบครัวหนึ่ง มีคนปวยท่ีตองการยาเปนพิเศษ หรือ บางครอบครัวมเี ดก็ ออน ตอ งไดรับนมผงเพ่ิมสําหรบั เด็ก ทางราชการสามารถเพิม่ ยา และนมผง ใหแกครอบครัวเหลาน้ัน นี่คือความเสมอภาคที่ไดรับ เพราะทุกคนในครอบครัวไดรับแจก สิ่งจาํ เปน เพือ่ การยังชพี แลว หลักความเสมอภาค คือ ตองมีการเปรียบเทียบกับของ 2 ส่ิง หรือ 2 เรื่อง และดูวา อะไรคือสาระสําคัญของเรื่องน้ัน หากสาระสําคัญของประเด็นไดรับการพิจารณาแลว ถือวามี ความเสมอภาคกนั เชน การทร่ี ฐั จดั เกบ็ ภาษเี งินไดบุคคลไมเทากัน คนท่ีมีรายไดมากก็เสียภาษี มาก คนที่มีรายไดนอยก็เสียภาษีนอย คนที่มีรายไดไมถึงเกณฑท่ีกําหนดก็ไมตองเสียภาษี แตการมีรายไดมากหรือนอยเปนสาระสําคัญของการเก็บภาษี ซึ่งเปนธรรมสําหรับประชาชน การเลอื กปฏิบัตินั้น เปนเหตุใหเกิดความไมเสมอภาค เชน การรักษาพยาบาล หรือการเขาถึง บรกิ ารสาธารณะของรัฐเปนไปไมท ัว่ ถึง และไมเ ทา เทยี มกนั เพราะมีความแตกตางของบุคคลใน เร่ืองเช้ือชาติ เชน หากมีแรงงานขามชาติชาวกัมพูชาหรือพมามารักษา เจาหนาที่มักไมอยาก ใหบ ริการทีด่ ี หรือไมยอมรับรักษาผูมีเช้ือเอชไอวี หรือผูปวยเอดส เปนตนหลักการเร่ืองความ เสมอภาคและหา มการเลือกปฏบิ ตั ิ ในสังคมไทยนัน้ ปรากฏอยูใ นรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักร ไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 30 ที่วา การเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแหงความแตกตางตามที่ รัฐธรรมนูญกําหนดไว ไมอาจกระทาได ซ่ึงมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญฉบับใหมนี้ มีขอความ ใกลเ คยี งกบั บทบญั ญตั ขิ องมาตราเดยี วกนั ตามรฐั ธรรมนูญ ป พ.ศ. 2540
94 5) การมีสวนรวมและการเปนสวนหน่ึงของสิทธิน้ัน (Participation & Inclusion) หมายความวา ประชาชนแตละคนและกลุมของประชาชนหรือประชาสังคมยอมมีสวนรวม อยางแข็งขันในการเขา ถึงและไดร บั ประโยชนจ ากสทิ ธพิ ลเมอื ง สิทธิทางการเมือง และสิทธิทาง เศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม 6) ตรวจสอบไดและใชหลักนิติธรรม (Accountability & The Rule of Law) หมายถงึ รฐั และองคกรท่มี หี นาที่ในการกอใหเกิดสทิ ธมิ นุษยชน ตองมีหนาทตี่ อบคําถามใหไดวา สิทธมิ นุษยชนไดรบั การปฏบิ ัตใิ หเกิดผลจรงิ ในประเทศของตน สว นสทิ ธใิ ดยังไมไดดําเนินการให เปนไปตามหลักการสากลก็ตองอธิบายตอสังคมไดวา จะมีขั้นตอนดําเนินการอยางไร โดยเฉพาะรัฐตองมีมาตรการปกครองประเทศโดยใชหลักนิติธรรมหรือปกครองโดยอาศัย หลักการที่ใชกฎหมายอยางเที่ยงธรรม ประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยงายมี กระบวนการไมซับซอนเปนไปตามหลักกฎหมายและมีความเทาเทียมกันเมื่ออยูตอหนา กฎหมาย ไมมีใครอยเู หนอื กฎหมายได 4. ความหมายระหวา งสทิ ธมิ นษุ ยชนและสทิ ธิเสรีภาพ เน่ืองจากมีหลายคนเกิดขอสงสัยวา “สิทธิมนุษยชน” กับ “สิทธิเสรีภาพ” มีความ เหมอื น หรือความแตกตางกันหรือไม อยา งไร จึงอาจสรปุ ไดว า “สทิ ธิมนษุ ยชน (Human Rights)” หมายความถึง สิทธิท่ีมีตามธรรมชาติ ซึ่งติดตัว มนุษยมาตั้งแตเกิด โดยมีความเปนสากลและมีการรับรองไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ มนุษยชน หรือ กติกา อนุสัญญา ขอตกลงตางๆ ระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ท่ีทุก ประเทศทัว่ โลกใหก ารรบั รอง “สิทธเิ สรีภาพ” (Rights and Liberties) หมายความถึง สิทธิท่ีมีการบัญญัติรับรอง ไวในกฎหมายของแตละรัฐ วาประชาชนจะมีสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมากนอย แคไหน เพียงใด ขนึ้ อยกู ับบรบิ ทสงั คมของประเทศน้ันๆ “สิทธิเสรีภาพ” (Rights and Liberties) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดบ ัญญัติไวเ ปน ๒ คํา คอื “สิทธิ” หมายถึง อํานาจอันชอบธรรม บุคคลมีสิทธิและหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ และ อํานาจทจี่ ะกระทาํ การใด ๆ ไดอ ยา งอิสระ โดยไดร ับการรบั รองจากกฎหมาย
95 “เสรภี าพ” หมายถึง ความสามารถที่จะกระทําการใดๆ ไดตามที่ตนปรารถนาโดยไมมี อุปสรรคขดั ขวาง เชน เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา ความมีสิทธิที่จะทําจะ พดู ไดโดยไมละเมดิ สิทธิของผูอ่ืนดังนั้นจะเห็นวา “สิทธิมนุษยชน” เปนเร่ืองตั้งแตเกิดจนตาย เปนสิทธิตามธรรมชาติที่ทั่วโลกใหการรับรอง แตถาเม่ือใดมีกฎหมายบัญญัติในเร่ืองใด เพือ่ รับรองสทิ ธแิ ละเสรีภาพไวเปนการเฉพาะซึ่งกฎหมายน้ันอาจมีผลทําใหเปนการจํากัดสิทธิ บางประการ ทั้งน้ีเพื่อความสงบสุขของสังคม อยางไรก็ตามหากกฎหมายใดท่ีมีการจํากัดหรือ ละเมิดสิทธมิ นุษยชน หรอื ลดิ รอนสทิ ธิเสรภี าพ อาจมกี ารพิจารณาแกไข หรือยกเลกิ กฎหมายน้นั กไ็ ด เรอ่ื งท่ี 2 การคมุ ครองปกปอ งตนเองและผอู นื่ ตามหลักสิทธิมนษุ ยชน หากจะกลา วถึงการคุม ครองตนเองและผูอ่นื ตามหลกั สิทธิมนุษยชน คาํ ถามคือ การคุมครองสิทธิมนษุ ยชนควรเรม่ิ จากทไี่ หน หากเราจะหาคําตอบจากกวางไปหาแคบ ไดแก รัฐบาล สังคม สถานที่ทํางาน ครอบครัว และปจเจกบุคคล หากเราจะหาคําตอบจากแคบ ขยายไปกวาง ก็ตองเร่ิมจาก ปจเจกบุคคล ครอบครัว สถานท่ีทํางาน สังคม และรัฐบาล หมายความวา การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนควรเริ่มตนกับทุกๆภาคสวนโดยเฉพาะ อยางย่งิ การปลูกฝง มโนธรรมสํานึกในแตละปจ เจกชน เสรภี าพทีม่ นษุ ยทุกคนตองไดร บั เพื่อใหไ ดรบั สทิ ธิตา งๆตามหลกั การพนื้ ฐานของสิทธิ มนุษยชน คือ 1. เสรีภาพในการแสดงออก 2. เสรีภาพในความเชื่อ 3. เสรภี าพจากความหวาดกลัว และอสิ รภาพท่ีพึงปรารถนา สาเหตุทมี่ นษุ ยตองไดรับความคมุ ครองสิทธมิ นษุ ยชน เกดิ จาก 1. มนุษยทุกคนเกดิ มาแลว ยอ มมสี ทิ ธิในตวั เอง 2. มนษุ ยเ ปน สตั วสังคม 3. มนษุ ยมีเกียรตภิ ูมทิ ่ีเกดิ มาเปน มนษุ ย 4. มนุษยทุกคนเกิดมามีฐานะไมเทา เทียมกัน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129