Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 8 ดิจิทัลคอมเมิร์ช

บทที่ 8 ดิจิทัลคอมเมิร์ช

Published by สกร.อำเภอหลังสวน, 2020-01-20 01:59:16

Description: บทที่ 8 ดิจิทัลคอมเมิร์ช

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รดิจิทลั คอมเมริ ์ซ 1 (Digital Commerce) Project : DiCY Digital Literacy Thailand Project กระทรวงดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม

E-Commerce คอื อะไร การพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรอื อี คอมเมิรซ์ (E-Commerce) กระบวนการซอ้ื -ขาย แลกเปลีย่ นผลติ ภัณฑแ์ ละข้อมูลข่าวสาร โดยอาศยั คอมพวิ เตอร์และระบบเครือข่าย หมายความรวมถึง  การติดต่อสอื่ สารระหวา่ งธุรกจิ กับธรุ กิจ ธรุ กิจกับผบู้ รโิ ภค  การทารายการธุรกิจ การชาระเงิน การจัดสง่ สนิ คา้  การใหบ้ รกิ ารลกู ค้า และการสร้างความสัมพันธก์ บั ลกู คา้ 2

การดาเนนิ ธุรกจิ E-Commerce  การทาประชาสัมพันธ์ (broadcast)  การโต้ตอบกันทางธรุ กจิ (interaction)  การเชอื่ มโยงข้อมูลของผู้ซอ้ื เพอื่ ให้ได้ข้อมลู อย่างสมบรู ณ์ (integration)  เปน็ ระบบท่ผี ซู้ ้ือและผู้ขายตดิ ต่อถึงกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว  เขา้ ถงึ ลกู คา้ ไดเ้ ปน็ จานวนมาก  มีต้นทุนการทาธรุ กรรมตอ่ หน่วยทต่ี ่ากว่าในรปู แบบเดิม 3

มูลค่า E-Commerce ในประเทศไทย ปี 2556 - 2558 ที่มา: ETDA 4

มูลค่า E-Commerce ปี 2557 และแนวโนม้ ปี 2558 จาแนกตามประเภทอุตสาหกรรม ท่ีมา: ETDA 5

มูลค่า E-Commerce ปี 2557 และแนวโน้มปี 2558 ของอตุ สาหกรรมศลิ ปะ บนั เทิง และนนั ทนาการจาแนกตามประเภทสินคา้ และบริการ ที่มา: ETDA 6

ประโยชนข์ องพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีประโยชน์ร่วมกันท้ังต่อผู้บริโภค ผู้ประกอบการ เศรษฐกิจ และสงั คม ซึง่ สรปุ ได้ 3 ประเด็นหลกั 1. ประหยัดค่าใช้จ่าย ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกองค์กร เช่น ค่าพิมพเ์ อกสาร ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ 2. ไม่มีขอ้ จากัดดา้ นสถานที่ สามารถเข้าถงึ ลูกค้าไดท้ ว่ั โลก 3. ไมม่ ขี อ้ จากดั ด้านเวลา สามารถทาธุรกรรมผา่ นระบบอตั โนมัติได้ตลอดเวลา 7

ประโยชน์ของ E-Commerce สาหรับผู้ประกอบการ  ขยายตลาดจากตลาดทอ้ งถน่ิ ไปสู่ตลาดระหวา่ งประเทศ  ลดต้นทุนการดาเนนิ การทางการตลาด โดยเฉพาะเอกสาร และคา่ ใช้จา่ ยในการ ตดิ ตอ่ สอื่ สาร  ลดสนิ ค้าคงคลงั และค่าใช้จา่ ยในช่องทางการจาหน่าย  เพม่ิ ความเช่ยี วชาญของธรุ กจิ ได้มากขน้ึ  ประโยชน์อนื่ ๆ เช่น สร้างภาพลักษณข์ ององคก์ ร เพม่ิ ช่องทางการให้ บรกิ ารลกู คา้ ฯลฯ 8

ประโยชนข์ อง E-Commerce สาหรับผู้บริโภค  สามารถเลือกซ้ือผลิตภณั ฑ์ต่างๆ ได้สะดวกตลอด 24 ชม.  มโี อกาสในการเปรียบเทยี บและเลอื กซ้อื ผลติ ภณั ฑ์ได้มากข้ึน รวมท้งั เลอื กผขู้ ายไดด้ ้วย  ได้ผลติ ภณั ฑ์ราคาถกู คณุ ภาพตามตอ้ งการ โดยไม่เสียเวลาและไมเ่ สียค่าเดนิ ทาง  ได้รับข้อมูลเก่ยี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ในเวลาอนั สัน้ และโตต้ อบได้เรว็  สามารถแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นกบั ผ้บู รโิ ภครายอื่น ๆ เพ่ือใหม้ ีข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจซอื้ ไดม้ ากขึ้น 9

ประโยชนข์ อง E-Commerceสาหรับสงั คมและชมุ ชน  มีการทางานทีบ่ า้ น และซ้อื ผลติ ภณั ฑจ์ ากที่บ้าน ไมต่ ้องเดนิ ทาง ทาให้ลดปญั หา การจราจรและมลภาวะ  คณุ ภาพชีวติ ของประชาชนดีข้ึน เน่ืองจากมีโอกาสเลอื กซ้อื ผลิตภัณฑ์คุณภาพดี ราคาถกู  ประชากรในแตล่ ะประเทศสามารถเลือกซื้อผลิตภณั ฑท์ ี่ไม่มีขายในประเทศของตนรวมท้ัง โอกาสในการเรยี นรสู้ ่ิงใหม่ ๆ  หนว่ ยราชการใหค้ วามสาคญั กบั การเผยแพรข่ า่ วสารแก่ชุมชนมากขน้ึ รวมทง้ั การจัดให้มี บรกิ ารผา่ นทาง Internet 10

ขอ้ จากัดของ E-Commerce  ระบบการรกั ษาความปลอดภยั ความน่าเช่ือถือของข้อมูล และมาตรฐานของ ระบบ  ความเรว็ ของอินเตอรเ์ น็ตและจานวนชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สือ่ สาร  ยังต้องมกี ารพัฒนาระบบและโปรแกรมคอมพิวเตอร์  ผูบ้ รโิ ภคต้องการความเปน็ ส่วนตัว (Privacy)  กฎหมายพาณิชย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ยังไม่สมบรู ณ์  ต้องอาศยั บคุ ลากรทม่ี คี วามรู้แบบสหสาขาวิชา (Multidisciplinary) 11

เครือ่ งหมายแสดงควา่ น่าเชื่อถอื (Trustmark) • DBD Registered โดย กรมพฒั นาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ • Smile Mark โดย สานักพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มีมาตรฐานความ มั่นคงปลอดภัยของการซือ้ ขายออนไลน์ Security, Privacy และ Transparency • Reliability Seal Program • buySAFE Seal 12

รูปแบบของพาณิชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 1. ธรุ กิจกับธรุ กจิ (Business to Business : B to B , B2B) คือรูปแบบการซือ้ ขาย สินค้าระหว่างธรุ กิจกับธรุ กจิ เปน็ การซื้อขายทีละปรมิ าณมากๆ มีมลู คา่ การซอ้ื ขาย แต่ละครัง้ เปน็ จานวนมาก เปน็ การค้าส่ง เช่น ผู้ผลติ ขายสง่ ให้กบั พอ่ คา้ คนกลางเป็นธรุ กิจนาเข้า - สง่ ออก ชาระเงนิ ผ่านระบบธนาคารด้วยการเปดิ L/C หรอื ในรปู ของ Bill of Exchange อ่ืนๆ 13

ตวั อยา่ งแบบ B to B 14

รปู แบบของพาณชิ ยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ (ตอ่ ) 2. ธุรกิจกบั ลูกคา้ (Business to Custom : B to C , B2C) คือ รปู แบบการจาหน่ายสนิ คา้ โดยตรงจากผคู้ ้ากับผู้บริโภคโดยตรง เปน็ การคา้ ปลกี 15

ตวั อยา่ ง E-Commerce ประเภท B2C 16

รปู แบบของพาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ (ต่อ) 3. ธรุ กิจกับภาครฐั (Business to Government : B to G , B2G) คือ การทาการค้าหรือการตดิ ตอ่ ประสานงานทางการค้าผา่ นสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์ระหว่างผ้ทู า การคา้ กบั รฐั บาล ยกตวั อย่างเช่น การจดั ซอื้ ของภาครัฐทีต่ อ้ งตดิ ตอ่ กับเอกชน (eProcurement), การกรอกแบบฟอร์มและการลงทะเบียนตา่ ง ๆ จดทะเบยี นธรุ กจิ ออนไลน์ www.dbd.go.th , งานบริการสาธารณะตา่ ง ๆ เชน่ ระบบสาธารณูปโภค , งานเสนอโครงการ การเปดิ ประมูล การย่นื ซองประกวดราคา เปน็ ต้น 17

รปู แบบของพาณิชยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (ตอ่ ) 4. ลกู ค้ากับลกู คา้ (Customer to Customer : C to C , C2C) Consumer-to-Consumer (C2C) เป็นรูปแบบการซื้อขาย สินคา้ ระหว่างผู้บรโิ ภคกบั ผ้บู ริโภค เช่นการประกาศขายสนิ ค้าใช้แลว้ เปน็ ตน้ 18

ตวั อยา่ ง E-Commerce ประเภท C2C 19

รูปแบบของพาณชิ ยอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ (ตอ่ ) 5. ภาครฐั กับประชาชน (Government to Customer : G to C , G2C) • กจิ กรรมทีเ่ กิดขน้ึ ผ่านอเิ ล็กทรอนกิ สป์ ระเภทนไ้ี ม่มีวัตถุประสงค์เพอ่ื การคา้ • แต่เนน้ การให้บริการกบั ประชาชน โดยผ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ • ซงึ่ เปน็ นโยบายหน่ึงของรฐั บาล เชน่ การคานวณและชาระภาษอี อนไลนข์ อง กรมสรรพากร www.rd.go.th และ • งานบรกิ ารด้านจดทะเบียนของกระทรวงมหาดไทย www.mahadthai.com 20

ประเภทของสนิ ค้า • แบ่งตามลักษณะของสนิ ค้าและบริการ สามารถจาแนกได้เปน็ 3 ประเภท 1. สนิ ค้าท่มี ลี ักษณะเปน็ ข้อมูลดิจทิ ัล (Digital Products)  เปน็ สินคา้ ท่ีจบั ตอ้ งไมไ่ ด้ (intangible goods) เชน่ ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์  การจัดส่งสินคา้ ขอ้ มูลดจิ ทิ ลั จะใหผ้ ซู้ อ้ื ดาวน์โหลดผ่านทางเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต 2. สินค้าท่ีไม่ใชข่ อ้ มูลดจิ ิทลั (Non-Digital Products)  เปน็ สนิ คา้ ที่สามารถจบั ตอ้ งได้ (tangible goods) เช่น อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์, เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า  การจัดส่งสนิ ค้าประเภทน้ีนิยมส่งในรูปพสั ดุภัณฑ์ หรือจดั ส่งตามสถานทีท่ ล่ี กู ค้ากาหนด 3. สินค้าบรกิ าร  ได้แก่ การท่องเท่ยี ว โรงแรม รา้ นค้า จองตัว๋ เครอื่ งบิน 21

22

โครงสรา้ งของระบบพาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ โครงสรา้ งหลักของระบบพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์ท่ีทาให้เกิดการค้าขายบนเวบ็ ไซต์ • 1. หน้าร้าน (Storefront) • เป็นส่วนประกอบท่ีสาคญั ของระบบการค้าแบบพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ ใชส้ าหรบั แสดงข้อมลู สนิ คา้ ทั้งหมดของรา้ นคา้ • รวมถงึ ระบบค้นหาข้อมูลสนิ คา้ นโยบายการคา้ และขอ้ มลู ที่เกย่ี วข้องกบั บรษิ ัท • ซงึ่ สว่ นหนา้ ร้านนจ้ี ะต้องมีการออกแบบให้ดใี หเ้ หมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย 23

โครงสรา้ งของระบบพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (ตอ่ ) 2. ระบบตะกร้ารบั คาส่งั ซอ้ื (Shopping Cart System) • เป็นระบบทต่ี ่อเนอ่ื งจากหนา้ รา้ น เม่ือลูกคา้ ตอ้ งการสั่งซ้ือสนิ คา้ • โดยคลกิ ทีข่ ้อความส่ังซ้ือ” หรอื สัญลักษณ์รปู ตะกรา้ หรอื รถเขน็ ก็จะปรากฏรายการ สนิ ค้าท่ลี กู ค้าต้องการในหน้าตะกรา้ • พร้อมกบั คานวณค่าใช้จ่ายทัง้ หมด ซึง่ ลกู ค้าสามารถปรบั เปล่ยี นรายการสนิ ค้า หรือ ปริมาณที่สง่ั ได้ • หากลกู คา้ ตดั สินใจเลอื กสินค้าทต่ี อ้ งการแลว้ กจ็ ะเขา้ ส่ขู น้ั ตอนการชาระเงินตอ่ ไป 24

โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนกิ ส์ (ตอ่ ) 3. ระบบการชาระเงิน (Payment System) • การคา้ แบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์มีวธิ ีการชาระเงนิ หลายรปู แบบเช่น การโอนเงินเข้าบัญชี ธนาคาร การชาระดว้ ยบัตรเครดติ การส่งธนาณตั ิ เปน็ ตน้ • -ซึ่งผ้ขู ายจะตอ้ งมที างเลือกใหล้ ูกคา้ หลายทางเลือก • เพอ่ื ความสะดวกของลกู คา้ เช่น ชาระโดยบัตรเครดติ นิยมในกลมุ่ ผู้ซ้อื ชาว ตา่ งประเทศ • ซง่ึ การชาระเงินด้วยบัตรเครดิตรา้ นคา้ ตอ้ งตดิ ต่อกับธนาคาร เพ่ือขอเป็นร้านค้ารับ บัตรเครดติ 25

โครงสรา้ งของระบบพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (ต่อ) 3. ระบบการชาระเงนิ (Payment System) ต่อ • หากมลี กู คา้ ซอื้ สนิ คา้ ชาระเงนิ ดว้ ยบัตรเครดิต จะมกี ารสง่ ขอ้ มลู หมายเลขบัตร เครดิตไปตรวจสอบกับเครื่องคอมพวิ เตอร์ของธนาคารแห่งนน้ั • โดยการส่งข้อมลู บตั รเครดิต จะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้ารหัสขอ้ มลู บตั ร เครดิตทไ่ี ม่สามารถมีผูอ้ นื่ มาขโมยไปใชไ้ ด้ • วธิ ที นี่ ยิ มในปจั จบุ นั จะใชร้ ะบบรกั ษาความปลอดภัยท่ีเรยี กวา่ Secure Socket Layer (SSL) 26

Digital Wallet กระเป๋าเงนิ ดิจทิ ลั ของคนยคุ ใหม่ • Digital Wallet เปน็ รูปแบบการจ่ายเงนิ แบบใหมท่ ีถ่ ูกพัฒนาจากการนาเอาระบบดจิ ทิ ัลมาใช้ ในการ บันทึกข้อมูลช่องทางการชาระเงินท้งั หมดไวใ้ นสมารท์ โฟน เช่น บัญชีธนาคาร บตั รเครดิต

mCommerce (Mobile Commerce) คือ การดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับธุรกรรม หรอื การเงนิ โดยผ่านเครอื ข่ายโทรศพั ทเ์ คล่อื นท่ี หรอื การคา้ ขายตามระบบแนวความคิดของระบบการคา้ อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce ทใี่ ชอ้ ุปกรณ์ พกพาไรส้ ายเป็นเครื่องมือในการสง่ั ซื้อ และขายสนิ คา้ ต่างๆ ทงั้ การสงั่ ซื้อสินค้าท่เี ปน็ รูปธรรม หรอื นามธรรม รวมทง้ั การรบั -ส่งอเี มล์ 28

sCommerce (Social Commerce) \"Social Commerce\" หรอื การค้าบนโซเชียลมเี ดีย Social Commerce คือ \"การขายสนิ คา้ โดยอาศัยมวลขน และสงั คมเปน็ ตัวกระตนุ้ ให้เกิดความยากและการซ้อื เกิดขึน้ ผ่านเทคโนโลยีของโซเชียลเนต็ เวิรก์ (Social Network)\" ท่ที าให้คนสามารถส่ือสารกบั เพือ่ นๆ และคน รอบข้างของตัวเองไดง้ ่ายมากข้ึน มันได้สร้างรูปแบบการ ปฏิสัมพนั ธ์ (Engagement) รปู แบบใหม่ ท่ที าให้เกิดการ โน้มนา้ ว ชกั ชวน คนจานวนมากไดง้ า่ ยๆ ผา่ นบริการอย่าง Facebook หรอื Twitter 29

ขอ้ ควรระวงั เม่ือซอื้ ของออนไลน์ 1.อย่าใหห้ มายเลขบตั รเครดิตผา่ นทางอเี มลล์ 2.ตรวจสอบความน่าเชือ่ ถอื ของร้านค้าเสมอ 3.แน่ใจวา่ เว็บไซต์ตา่ งๆปลอดภัยสาหรบั คณุ 4.เช็คยอดหนี้ในบัตรเครดติ อยา่ งละเอยี ด 5.ไม่มีการสง่ ลิงค์หรอื ส่งข้อมูลสาคัญทางอีเมลล์ 6.กรณีเชื่อตอ่ ผ่านไวไฟ ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ การเชอ่ื มต่อไดม้ ีการเข้ารหสั WPA2 30

31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook