Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาการป้องกันกับการทุจริต

วิชาการป้องกันกับการทุจริต

Published by ary.thip, 2023-07-08 23:56:33

Description: วิชาการป้องกันกับการทุจริต

Keywords: การป้องกันการทุจริต

Search

Read the Text Version

สือ่ ประกอบการเรียน วชิ า การปอ้ งการทจุ ริต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย กศน.ตำบลไร่ขิง ศนู ย์ส่งเสรมิ การเรยี นร้อู ำเภอสามพราน

ใบความรู้ เรอ่ื ง การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม 1. สาเหตุของการทุจรติ และทิศทางการป้องกันการทุจริตในประเทศไทย การทุจริตเปนหนึ่งในปญหาใหญที่ท่ัวโลกกังวลเปนอยางมาก เพราะเปนปญหาท่ีมีความซับซอนยากต อการจัดการและเกยี่ วของกบั คนทกุ คน องคกรทุกองคกร ซึ่งจะสงผลกระทบอยางมากกับการพฒั นาประเทศ 1. สาเหตุของการทจุ รติ สาเหตขุ องการทจุ ริต อาจเกิดขึน้ ไดในประเทศที่มีสถานการณดังตอไปน้ี 1.1 มีกฎหมาย ระเบียบ หรือขอกําหนดจํานวนมากที่เก่ียวของกับการดําเนินการทางธรุ กิจหากมาตรการ หรอื ขอกาํ หนดดังกลาวมคี วามซบั ซอน คลุมเครอื เลือกปฏบิ ัติเปนความลับหรือไมโปรงใสจะสงผลใหเปนตนเหตุของ การทจุ ริตได 1.2 มีสถานการณ โอกาส หรือมีกฎ ระเบยี บตาง ๆ ท่ีนาํ ไปสูการทจุ ริตได 1.3 กฎหมาย และกระบวนการยุตธิ รรมไมมคี วามเขมแขง็ ตลอดจนการพฒั นาใหทนั สมัย 2. ทศิ ทางการปองกันการทุจริตในประเทศไทย ปจจุบนั ประเทศไทยมีหลายหนวยงานเกิดการต่นื ตวั พยายามเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหาการทุจริต โดยรวมกันสรางเคร่ืองมือ กลไก และกําหนดเปาหมายสําหรับการปฏิบัติงานดานการปองกันและปราบปรามการ ทุจริต ในฐานะท่สี ํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (สํานักงานป.ป.ช.) เปนองคกร หลกั ดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตไดบรู ณาการการทาํ งานดานการตอตานการทุจริตเขากบั ทุกภาคสวน ดงั น้ี 2.1 กําหนดเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องนี้ในรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวดที่ 4 หน าที่ของประชาชนชาวไทยวา “... บุคคลมีหนาที่ไมรวมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ” หมวดที่ 5 หนาที่ของรัฐวา “รัฐตองสงเสริมสนับสนุนและใหความรูแกประชาชนถึงอนั ตรายท่ีเกดิ จากการทุจริตและ ประพฤติมิชอบท้ังภาครัฐและภาคเอกชน จัดใหมีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพ เพื่อปองกันและขจัดการ ทุจริตอยางเขมงวด รวมท้ังกลไกในการสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกนั เพ่ือมีสวนรวมในการรณรงคใหความรูตอตาน การทจุ ริต หรือชเ้ี บาะแสโดยไดรับความคุมครองจากรฐั ตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ” 2.2 กําหนดใหมียุทธศาสตรการแกไขปญหา 3 ยทุ ธศาสตร ประกอบดวย 1) ยุทธศาสตรการปลกู ฝง “คนไทยไมโกง” เพื่อปฏิรูป “คน” ใหมีจิตสํานึกและสรางพลงั รวมเพื่อแกไขปญหาทุจริต คอรรปั ชนั 2) ยุทธศาสตรการปองกนั ดวยการเสรมิ สรางสังคมธรรมาภิบาล เพ่ือปฏิรูประบบและองคกรเพ่ือสรางธรรมาภบิ าล ในทุกภาคสวน 3) ยุทธศาสตรการปราบปราม เพ่ือปฏิรูประบบและกระบวนการจัดการตอกรณีการทุจริตคอรรัปชันใหมี ประสทิ ธภิ าพ 2.3 กําหนดไวในกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) โดยมีวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความ มั่นคง มั่งค่ัง ยงั่ ยนื เปนประเทศพฒั นาแลวดวยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” 2.4 กําหนดใหมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) วาดวยเร่ือง สังคมไทยมีวินัย โปรงใส ยึดมั่นในความซื่อสัตย ยุติธรรม รวมทั้งสรางความเขมแข็งเปนภูมิคุมกันในสังคมไทย ครอบคลมุ ภาครัฐ

ภาคเอกชน องคกรพัฒนาเอกชน และภาคประชาชน พรอมท้งั สรางพลังการขบั เคล่ือนคานิยมตอตานการทุจริตโดย ปลกู ฝงใหคนไทยไมโกง 2.5 กําหนดใหมีโมเดลประเทศไทยสูความมนั่ คง ม่ังค่ัง และยงั่ ยืน (Thailand 4.0) เปนโมเดลท่ีนอมนําหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวคิดหลักในการบริหารประเทศ ถอดรหัสออกมาเปน2 ยุทธศาสตรสําคัญ คอื 1) การสรางความเขมแขง็ จากภายใน (Strength From Within) 2) การเช่ือมโยงกับประชาคมโลกในยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งจากภายในThailand 4.0เนนการ ปรบั เปลี่ยน 4 ทิศทางและเนนการพัฒนาที่สมดุลใน 4 มิติ มิติท่ีหยิบยก คือ การยกระดับศักยภาพและคุณคาของ มนษุ ย (Human Wisdom) ดวยการพัฒนาคนไทยใหเปน “มนุษยท่ีสมบูรณ” ผานการปรับเปลี่ยนระบบนิเวศนการ เรียนรูเพอ่ื เสริมสรางแรงบันดาลใจบมเพาะความคดิ สรางสรรค ปลกู ฝงจติ สาธารณะยดึ ประโยชนสวนรวมเปนที่ตงั้ มี ความซื่อสัตย สุจริต มีวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ เนนการสรางคุณคารวม และคานิยมที่ดี คือ สงั คมที่มคี วามหวงั (Hope) สังคมทีเ่ ปยมสขุ (Happiness) และสังคมที่มีความสมานฉันท (Harmony) 2.6 กําหนดใหมียทุ ธศาสตรชาติวาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจริตระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) โดยกําหนดวิสัยทัศน “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยท้ังชาติตานทุจริต” (Zero Tolerance & Clean Thailand) หมายความวา ประเทศไทยในระยะ 5 ปขางหนา จะมุงสูการเปนประเทศท่ีมีมาตรฐานทางคุณธรรม จริยธรรมเป นสงั คมมติ ใิ หมทีป่ ระชาชนไมเพิกเฉยตอการทุจรติ ทุกรปู แบบ โดยไดรบั ความรวมมอื จากฝายการเมอื งหนวยงานของ รัฐ ตลอดจนประชาชน ในการพิทักษรักษาผลประโยชนของชาติและประชาชน เพ่ือใหประเทศไทยมีศักด์ิศรีและ เกยี รตภิ มู ใิ นดานความโปรงใสทดั เทยี มนานาอารยประเทศ 2. ทฤษฎี ความหมายและรปู แบบของการขดั กันระหวางผลประโยชนสวนตน และผลประโยชนสวนรวม (โลก) การขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวมน้ัน มีลักษณะทํานองเดียวกันกับกฎศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี หลักคณุ ธรรม จริยธรรม กลาวคือ การกระทําใด ๆ ที่เปนการขดั กันระหวางประโย ชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวม เปนส่ิงที่ควรหลีกเล่ียง ไมควรจะกระทํา ซึ่งบุคคลแตละคนแตละสังคม อาจ เหน็ วาเรือ่ งใดเปนการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวมแตกตางกนั ไปหรือเม่ือเห็นวาเปนการ ขัดกันแลวยังอาจมีระดับความหนักเบาแตกตางกัน อาจเห็นแตกตางกันวาเร่ืองใดกระทําได กระทําไมไดแตกตา งกันออกไปอีก และในกรณีท่ีมกี าร ฝาฝนบางเรื่องบางคนอาจเห็นวาไมเปนไรเปนเรอื่ งเล็กนอย หรืออาจเห็นวาเป นเร่ืองใหญตองถกู ประณาม ตาํ หนิ ตฉิ ิน นินทาวากลาว ฯลฯ แตกตางกันตามสภาพของสังคม 1. ทฤษฎขี องการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม (โลก) 1.1 ทฤษฎีอุปถัมภ การขัดกันแหงผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมจากโครงสราง ของสังคม ซึ่งมคี วามสัมพันธในลักษณะการพึ่งพาอาศัยในความเทาเทยี มกนั โดยตางฝายตางมผี ลประโยชนตางตอบ แทนความสัมพันธนัน้ มีองคประกอบของความเปนมติ รรวมอยูดวย แตเปนมติ รภาพที่ขาดดุลยภาพคือ อีกฝายหนงึ่ มี อํานาจ ทําใหเกิดพวกพองในองคกรทาํ ใหงายตอการเกดิ การทจุ ริตและประพฤติมิชอบและยากตอการตรวจสอบ 1.2 ทฤษฎกี ารทจุ รติ ทฤษฎีทุจรติ เกิดขึน้ จากปจจยั 3 ประการ คือ 1) ความซอื่ สัตย เม่ือมนุษยมีความตองการ ความโลภ แมถูกบังคับดวยจริยธรรม คุณธรรมและบทลงโทษ ทางกฎหมายก็ตาม ความจาํ เปนทางเศรษฐกิจมสี วนผลักดันใหบุคคลตดั สนิ ใจกระทําความผดิ เพ่อื ใหตนเองอยูรอด

2) โอกาส ผูกระทําความผิด พยายามท่ีจะหาโอกาสทเี่ อือ้ อํานวยตอการทุจริต โอกาสท่ีเยายวนตอการทจุ ริตยอมกระ ตุนใหเกิดการทุจรติ ไดงายขึน้ กวาโอกาสที่ไมเปดชอง 3) การจูงใจ เปนมูลเหตจุ ูงใจใหบคุ คลตัดสินใจกระทาํ การทจุ ริต และนําไปสูการหามาตรการในการปองกัน การทจุ รติ ดวย การจูงใจในการกระทําการทุจริต เชน ความทะเยอทะยานอยางไมมีท่ีส้ินสดุ ปรารถนาจะยกระดบั ให ทดั เทยี มกับบุคคลอ่นื ในสังคม ปญหาทางการเงนิ การกระทําเพื่ออยากเดนเปนตน 2. ความหมายของการขัดกันระหวางประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวม (โลก) การขัดกันของผลประโยชน คือ สถานการณท่ีบุคคลผูดํารงตําแหนงอยางท่ีไววางใจ(เชน ทนายความ นกั การเมือง ผูบรหิ าร หรือผูอํานวยการของบริษัทเอกชน หรอื หนวยงานอ่ืน ๆ) เกิดความขดั แยงข้ึนระหวางผลประ โยชนสวนตนกับผลประโยชนทางวิชาชีพ อันสงผลใหเกิดปญหาท่ีเขาไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางเปนกลาง ไม ลาํ เอียง ผลประโยชนทับซอนท่เี กิดข้นึ อาจสงผลใหเกิดความไมไววางใจที่มีตอบุคคลผูนนั้ วาเขาจะสามารถปฏบิ ตั งิ าน ตามตาํ แหนงใหอยูในครรลองของคุณธรรมจริยธรรมไดมากนอยเพียงใด ผลประโยชนทบั ซอนอาจเรียกชอ่ื แตกตาง กัน เชน ความขัดแยงกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม ผลประโยชนทับซอน หรือผลประโย ชนขัดกนั คําวา ผลประโยชนสวนตน (Private Interests) หมายถงึ ผลประโยชนทบ่ี ุคคลไดรบั โดยอาศัยตําแหนงหน าท่ีของตนหาผลประโยชนจากหนาที่ของตนและหาผลประโยชนจากบุคคลหรือกลุมบุคคลผลประโยชนสวนตนมีทั้ง เก่ียวกับเงิน ทอง และไมไดเก่ียวกับเงินทอง เชน ที่ดิน หุน ตําแหนง หนาที่ สัมปทานสวนลด ของขวัญ หรือสิ่งท่ี แสดงนํ้าใจไมตรีอน่ื ๆ การลําเอยี ง การเลอื กปฏิบตั ิ เปนตน คาํ วา ผลประโยชนสวนรวม (PublicInterests)หมายถึง การที่บคุ คลใดในสถานะท่ีเปนเจาหนาที่ของรัฐ (ผดู ํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือ เจาหนาท่ีของรัฐในหนวยงานของรัฐ) ไดกระทําการใด ๆ ตามหนาท่ีหรือไดปฏิบัติหนาที่อันเปนการดําเนินการใน อกี สวนหนึ่งที่แยกออกมาจากการดําเนนิ การตามหนาท่ใี นสถานะของเอกชน การกระทําการใด ๆ ตามหนาที่ของเจ าหนาท่ีของรัฐจึงมีวัตถุประสงคหรือมีเปาหมายเพื่อประโยชนของสวนรวม หรือการรักษาประโยชนสวนรวมที่เป นประโยชนของรัฐการทําหนาท่ขี องเจาหนาทข่ี องรฐั จงึ มีความเกี่ยวเนื่องเชื่อมโยงกับอาํ นาจหนาทต่ี ามกฎหมาย และ จะมีรูปแบบของความสัมพันธหรอื มีการกระทาํ ในลกั ษณะตาง ๆ กันที่เหมอื นหรือคลายกับการกระทําของบุคคลใน สถานะ เอกชน เพียงแตการกระทาํ ในสถานะท่ีเปนเจาหนาท่ีของรฐั กับการกระทาํ ในสถานะเอกชน จะมคี วามแตกตางกนั ท่ี วัตถปุ ระสงค เปาหมาย หรือประโยชนสดุ ทายทแ่ี ตกตางกัน 3. รปู แบบของการขัดกนั ระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม (โลก) การขัดกนั ระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม มไี ดหลายรปู แบบไมจาํ กัดเฉพาะในรูปแบบของตัว เงนิ หรอื ทรพั ยสินเทานั้น แตรวมถึงผลประโยชนอื่น ๆ ท่ีไมไดอยใู นรูปแบบของตัวเงินหรอื ทรัพยสนิ ดวย ทง้ั นี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ไดจําแนกรูปแบบของการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโย ชนสวนรวมออกเปน 7 รปู แบบ คือ 3.1 การรับผลประโยชนตาง ๆ การรบั ผลประโยชนตาง ๆ (Accepting Benefits) ซ่ึงผลประโยชนต าง ๆ ไม วาจะเปนทรัพยสินของขวัญ การลดราคา การรับความบันเทงิ การรับบริการ การรบั การฝกอบรม หรือ สง่ิ อ่ืนใดในลกั ษณะเดียวกนั น้ีและผลจากการรับผลประโยชนอื่น ๆ น้ัน ไดสงผลใหการตัดสินใจของเจาหนาที่ของรัฐ ในการดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาที่

ตวั อยาง 1) นายสุจริต ขาราชการช้ันผูใหญ ไดเดินทางไปปฏิบัติราชการในพื้นทจ่ี ังหวัดราชบุรีซ่ึงในวันดังกลาว นาย รวย นายกอบต. แหงหนึ่ง ไดมอบงาชางจํานวนหนึ่งคูใหแกนายสุจริต เพอื่ เปนของท่ีระลกึ 3.2 การทําธุรกิจกับตนเองหรือเปนคูสัญญา การทําธุรกิจกับตนเอง (Self - Dealing) หรือเปนคูสัญญา (Contracts) เปนการท่ีเจาหนาท่ีของรัฐ โดยเฉพาะผูมีอํานาจในการตัดสินใจเขาไปมีสวนไดสวนเสียในสัญญาท่ีทํา กับหนวยงานท่ีตนสังกัดโดยอาจจะเปนเจาของบริษัทที่ทําสัญญาเอง หรือเปนของเครือญาติ สถานการณเชนนี้เกิด บทบาททขี่ ัดแยง หรอื เรียกไดวาเปนท้งั ผูซ้อื และผูขายในเวลาเดียวกนั ตวั อยาง 1) การที่เจาหนาท่ีในกระบวนการจัดซื้อจัดจางทําสัญญา ใหหนวยงานตนสังกัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร สํานักงานจากบริษัทของครอบครัวตนเอง หรือบรษิ ัททต่ี นเองมีหุนสวนอยู 3.3 การทาํ งานหลังจากออกจากตําแหนงหนาที่สาธารณะหรอื หลังเกษยี ณการทาํ งานหลงั จากออก จากตําแหนงหนาทีส่ าธารณะหรอื หลงั เกษยี ณ (Post - employment) เปนการทเี่ จาหนาท่ีของรัฐลาออกจาก หนวยงานของรฐั และไปทํางานในบริษัทเอกชนที่ดําเนินธุรกิจประเภทเดยี วกนั หรือบรษิ ทั ท่มี คี วามเกย่ี วของกบั หน วยงานเดิม โดยใชอิทธพิ ลหรอื ความสัมพันธจากที่เคยดํารงตาํ แหนงในหนวยงานเดมิ นัน้ หาผลประโยชนจากหนวย งานใหกับบริษทั และตนเอง ตวั อยาง 1) อดีตผูอํานวยการโรงพยาบาลแหงหน่ึง เพง่ิ เกษียณอายุราชการไปทํางานเปนที่ปรึกษาในบริษัทผลิตหรือ ขายยา โดยใชอิทธิพลจากที่เคยดํารงตาํ แหนงในโรงพยาบาลดงั กลาว ใหโรงพยาบาลซ้ือยาจากบรษิ ัทท่ีตนเองเปนท่ี ปรึกษาอยู พฤติการณเชนนี้ มีมูลความผิดทั้งทางวินัยและทางอาญาฐานเปนเจาหนาท่ีของรัฐปฏบิ ัติหรือละเวนการ ปฏิบตั ิในพฤตกิ ารณทอี่ าจทาํ ใหผอู น่ื เชื่อวาตนมีตําแหนงหรอื หนาท่ีทั้งท่ีตนมิไดมตี ําแหนงหรือหนาทน่ี ั้น เพ่ือแสวงหา ประโยชนท่ีมิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผูอื่น ตามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวาดวย การปองกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 มาตรา171 3.4 การทํางานพิเศษ (Outside employment or moonlighting) ในรูปแบบนี้มีไดหลายลักษณะ ไม่ว่าจะเปนการทเ่ี จาหนาที่ของรัฐตงั้ บรษิ ัทดําเนินธุรกิจท่ีเปนการแขงขันกับหนวยงานหรือองคการสาธารณะท่ีตน สังกัด หรอื การรบั จางพิเศษเปนที่ปรึกษาโครงการโดยอาศัยตําแหนงในราชการสรางความนาเชอื่ ถือวาโครงการของผู วาจางจะไมมีปญหาติดขดั ในการพิจารณาจากหนวยงานทีท่ ี่ปรึกษาสังกัดอยู ตัวอยาง 1) นายชาง 5 แผนกชุมสายโทรศัพทเคล่ือนท่ีขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทยไดนําขอมูลเลขหมาย โทรศพั ทเคล่ือนท่ี ระบบ 470 MHZ และระบบปลดล็อคไปขายใหแกผูอื่น จาํ นวน 40 หมายเลข เพื่อนําไปปรบั จูนเข ากับโทรศัพทเคล่ือนที่ท่ีนําไปใชรับจางใหบริการโทรศัพทแกบุคคลทั่วไปคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 151 มาตรา 157 และมาตรา 164และมีความผิดวินัย ขอบงั คับองคการโทรศัพท แหงประเทศไทยวาดวยการพนกั งาน พ.ศ. 2536 ขอ 44 และขอ 46 3.5 การรูขอมูลภายใน (Inside information) เปนสถานการณทเ่ี จาหนาท่ีของรัฐใชประโยชนจากการ ท่ีตนเองรบั รูขอมูลภายในหนวยงาน และนําขอมูลน้ันไปหาผลประโยชนใหกับตนเองหรือพวกพองอาจจะไปหาผล ประโยชนโดยการขายขอมลู หรอื เขาเอาผลประโยชนเสยี เอง

ตวั อยาง 1) นายชาง 5 แผนกชุมสายโทรศัพทเคลื่อนท่ีขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทยไดนําขอมูลเลขหมาย โทรศัพทเคล่ือนท่ี ระบบ 470 MHZ และระบบปลดลอ็ คไปขายใหแกผูอื่น จํานวน 40หมายเลข เพื่อนาํ ไปปรับจูนเข ากับโทรศัพทเคลื่อนท่ีที่นําไปใชรับจางใหบริการโทรศัพทแกบุคคลทั่วไปคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิด ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 151 มาตรา 157 และมาตรา 164และมีความผิดวินยั ขอบงั คบั องคการโทรศพั ท แหงประเทศไทยวาดวยการพนกั งาน พ.ศ. 2536 ขอ 44 และขอ 46 3.6 การใชทรัพยสินของราชการเพ่ือประโยชนสวนตัว (Using your employer’spropertyfor private advantage) เปนการท่ีเจาหนาที่ของรัฐนําเอาทรพั ยสนิ ของราชการ ซ่งึ จะตองใชเพ่ือประโยชนของทาง ราชการเทานั้นไปใชเพ่อื ประโยชนของตนเองหรอื พวกพอง หรอื การใชใหผใู ตบังคบั บญั ชาไปทาํ งานสวนตัว ตวั อยาง 1) คณบดคี ณะแพทยศาสตร ใชอาํ นาจหนาที่โดยทุจริต ดวยการสั่งใหเจาหนาท่ีนาํ เกาอ้ีพรอมผาปลอกคลุม เกาอ้ี เคร่ืองถายวิดีโอ เครื่องเลนวิดีโอ กลองถายรูป และผาเต็นท นําไปใชในงานมงคลสมรสของบุตรสาว รวมท้ัง รถยนต รถตูสวนกลาง เพื่อใชรับสงเจาหนาท่ีเขารวมพิธี และขนยายอุปกรณท้งั ท่ีบานพักและงานฉลองมงคลสมรสท่ี โรงแรม ซงึ่ ลวนเปนทรัพยสินของทางราชการ การกระทําของจําเลยนับเปนการใชอํานาจโดยทจุ ริต เพื่อประโยชนส วนตนอันเปนการเสียหายแกรัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดช้ีมูลความผิดวนิ ัยและอาญา ตอมาเรอื่ งเขาสูกระบวนการ ในชั้นศาล ศาลพิเคราะหพยานหลักฐานโจทกแลวเห็นวาการกระทําของจําเลยเปนการทุจรติ ตอตําแหนงหนาท่ีฐาน เปนเจาพนักงานมีหนาที่ซ้ือ ทํา จัดการ หรือรกั ษาทรพั ยใด ๆใชอํานาจในตําแหนงโดยทุจริต อันเปนการเสยี หายแก รัฐและเปนเจาพนักงานปฏิบัติหนาท่ีโดยมิชอบ จึงพิพากษาใหจําคุก 5 ป และปรับ 20,000 บาท คําใหการรับ สารภาพเปนประโยชนแกการพิจารณาคดี ลดโทษใหก่ึงหนงึ่ คงจําคุกจาํ เลยไว 2 ป 6 เดือน และปรบั 10,000 บาท 3.7 การนําโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกตั้งเพอ่ื ประโยชนทางการเมือง (Pork – Barreling) เป นการที่ผูดาํ รง ตาํ แหนงทางการเมอื ง หรอื ผูบริหารระดับสูงอนมุ ัตโิ ครงการไปลงพื้นท่ี หรอื บานเกิดของตนเองหรือ การใชงบประมาณสาธารณะเพ่อื หาเสียง ตวั อยาง 1) นายกองคการบริหารสวนตําบลแหงหนึ่งรวมกับพวกแกไขเปล่ียนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุง และซอมแซมถนนคนเดิน ในตําบลท่ตี นมีฐานเสียงโดยไมผานความเห็นชอบจากสภาฯและตรวจรับงานท้ังท่ีไมถกู ต องตามแบบรายการท่ีกําหนด รวมท้ังเม่ือดําเนินการแลวเสรจ็ ไดติดปายชื่อของตนและพวก การกระทาํ ดังกลาวมีมูล เปนการกระทําการฝาฝนตอความสงบเรียบรอยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไมปฏิบัติตาม หรือ ปฏิบัตกิ ารไมชอบดวยอาํ นาจหนาทม่ี ีมูลความผิดท้ังทางวนิ ัยอยางรายแรง และทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มี หนังสือแจงผลการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ช.ใหผูมีอํานาจแตงตั้งถอดถอน และสํานักงานคณะกรรมการ การเลอื กต้งั ทราบ 3.8 การใชตําแหนงหนาที่แสวงหาประโยชนแกเครือญาติหรือพวกพอง (Nepotism) หรืออาจจะ เรยี กวาระบบอุปถัมภพิเศษ เปนการทเ่ี จาหนาท่ขี องรัฐใชอิทธิพลหรือใชอํานาจหนาท่ีทําใหหนวยงานของตนเขาทํา สัญญากบั บริษทั ของพน่ี องของตน

ตัวอยาง พนักงานสอบสวนละเวนไมนําบันทึกการจับกุมที่เจาหนาท่ีตํารวจชุดจับกุมทําขึ้น ในวันเกิดเหตุรวมเข าสํานวน แตกลับเปล่ียนบันทึกและแกไขขอหาในบันทึกการจับกมุ เพ่ือชวยเหลือผูตองหา ซึ่งเปนญาติของตนใหรับ โทษนอยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแลว มีมูลความผดิ ทางอาญาและทางวินยั อยางรายแรง 3.9 การใชอิทธิพลเขาไปมีผลตอการตัดสินใจของเจาหนาที่รัฐหรือหนวยงานของรัฐอื่น (influence) เพื่อใหเกิดประโยชนแกตนเองหรือพวกพอง โดยเจาหนาที่ของรัฐใชตําแหนงหนาที่ขมขูผูใตบังคับ บัญชาใหหยุดทําการตรวจสอบบรษิ ัทของเครอื ญาติของตน ตวั อยาง 1) เจาหนาที่ของรัฐใชตําแหนงหนาที่ในฐานะผูบริหาร เขาแทรกแซงการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ให ปฏบิ ัตหิ นาทโี่ ดยมิชอบดวยระเบยี บ และกฎหมาย หรือฝาฝนจริยธรรม 2) นายเอเปนหัวหนาสวนราชการแหงหนึ่งในจังหวัด รูจกั สนิทสนมกับนายบี เปนหวั หนาสวนราชการอีก แหงหน่ึงในจังหวดั เดียวกัน นายเอ จึงใชความสัมพนั ธสวนตัวฝากลูกชาย คือ นายซี เขารับราชการภายใตสังกดั ของ นายบี 3.10 การขดั กนั แหงผลประโยชนสวนบคุ คลกบั ประโยชนสวนรวมประเภทอ่นื ๆ 1) การเดินทางไปราชการตางจงั หวัดโดยไมคํานึงถึงจํานวนคน จาํ นวนงาน และจํานวนวันอยางเหมาะสม อาทิ เดนิ ทางไปราชการจาํ นวน 10 วัน แตใชเวลาในการทํางานจรงิ เพียง 6 วัน โดยอีก 4 วนั เปนการเดินทางทอง เที่ยวในสถานทต่ี าง ๆ 2) เจาหนาท่ีผูปฏิบัติไมใชเวลาในราชการปฏิบัติงานอยางเต็มที่ เนื่องจากตองการปฏิบัติงานนอกเวลา ราชการ เพราะสามารถเบิกเงินงบประมาณคาตอบแทนการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการได จากรูปแบบดังกลาว จะ เห็นไดวาการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวมนั้น มีไดหลายรูปแบบไมจาํ กัดอยูในรูปตัว เงินหรือทรัพยสนิ เทานั้น แตรวมถึงผลประโยชนอื่น ๆท่ีไมใชรูปตวั เงินหรอื ทรพั ยสินกไ็ ด เชน การท่ี นาย ก. ดํารงตํา แหนงเปนท่ีปรึกษาของรัฐมนตรี และมีหนาท่ีใหคําแนะนําแกรัฐมนตรีเกี่ยวกับการออกกฎ ระเบียบสําหรับ บริษัทเอกชน ซึ่งในขณะเดียวกันนาย ก. มีธุรกิจสวนตัวโดยเปนผูถือหุนของบริษัทเอกชนที่จะไดรับผลกระทบจาก กฎระเบียบนี้ดวยเชนกันหรือกรณีที่ นาย ข. ซ่ึงเปนขาราชการในหนวยงานของรัฐแหงหน่ึงรับขอเสนอวาจะไดรับ การวาจางงาน หลังจากที่ นาย ข. ออกจากราชการแลวจากบริษัทที่กําลังยื่นขอสัมปทานจากหนวยงานท่ี นาย ข. สังกดั อยู หรือกรณที ีน่ าย ค. เปนหน่ึงในคณะกรรมการที่ตองพิจารณาตัดสินใจเลอื กเสนทางที่จะตดั ถนนเสนทางใหม ซ่งึ มีเสนทางหน่งึ อาจจะสงผลใหมลู คาทีด่ ินในครอบครองของ นาย ค. สงู ข้นึ เปนตน ขาราชเรื่องท3. กฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการขัดกันระหวางผลประโยชนสวนตนกบั ผลประโยชนสวนรวม รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ไดบญั ญัตหิ นาทีข่ องปวงชนชาวไทย ไวในมาตรา 50 (10) ใหบุคคลไมรวมมือหรอื สนับสนนุ การทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบทกุ รูปแบบ ดงั นนั้ ในฐานะที่เราเป นประชาชนชาวไทย จงึ มีความจําเปนตองมีความรูเก่ยี วกบั กฎหมายที่เก่ียวของกับการขดั กนั ระหวางผลประโยชนส วนตนกบั ผลประโยชนสวนรวม ดงั ตอไปนี้ 1.) รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 ไดบญั ญตั ไิ วในหมวด 9 การขัดกนั แหงผลประโยชน (มาตรา 184 – 187) โดยบญั ญตั ิขอหามสาํ หรบั ผูดํารงตําแหนงสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรและสมาชิก วฒุ ิสภา (มาตรา 184 – 185) ขอหามสาํ หรบั ผูดํารงตาํ แหนงรฐั มนตรี (มาตรา 186 – 187)มรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 หมวด 9 การขัดกันแหงผลประโยชน มาตรา 184 สมาชกิ สภาผูแทนราษฎรและสมาชกิ วุฒสิ ภาตอง (1) ไมดํารงตําแหนงหรือหนาทใ่ี ดในหนวยราชการ หนวยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ หรือตําแหนงสมาชิก สภาทองถนิ่ หรือผูบริหารทองถ่นิ (2) ไมรับหรือแทรกแซงหรือกาวกายการเขารบั สัมปทานจากรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรัฐหรอื รฐั วสิ าหกจิ หรือเขาเปนคูสัญญากับรฐั หนวยราชการ หนวยงานของรฐั หรอื รัฐวสิ าหกิจอันมีลักษณะเปนการผกู ขาด ตดั ตอน หรอื เปนหนุ สวนหรือผูถอื หนุ ในหางหนุ สวนหรือบริษทั ที่รบั สมั ปทานหรอื เขาเปนคูสญั ญาในลักษณะดงั กลาว ท้ังน้ี ไมวาโดยทางตรงหรอื ทางออม (3) ไมรบั เงนิ หรือประโยชนใด ๆ จากหนวยราชการ หนวยงานของรฐั หรือรัฐวิสาหกจิ เปนพเิ ศษ นอกเหนอื ไปจากที่หนวยราชการ หนวยงานของรฐั หรอื รัฐวิสาหกิจปฏิบัตติ อบุคคลอน่ื ๆ ในธุรกิจการงานปกติ (4) ไมกระทาํ การใด ๆ ไมวาโดยทางตรงหรอื ทางออม อนั เปนการขดั ขวางหรือแทรกแซงการใชสทิ ธิหรือ เสรภี าพของหนงั สอื พิมพหรอื สอ่ื มวลชนโดยมิชอบ มาตรานี้มใิ หใชบังคบั ในกรณีท่ีสมาชิกสภาผูแทนราษฎร หรอื สมาชกิ วุฒิสภารับเบ้ยี หวดั บําเหน็จบํานาญ เงนิ ปพระบรมวงศานุวงศ หรือเงินอน่ื ใดในลกั ษณะเดียวกนั และมิใหใชบงั คับในกรณีท่สี มาชิกสภาผูแทนราษฎรหรอื สมาชิกวฒุ ิสภารับหรือดํารงตําแหนงกรรมาธกิ ารของรัฐสภา สภาผูแทนราษฎร หรือวฒุ ิสภา หรอื กรรมการท่ีได รบั แตงตงั้ ในการบริหารราชการแผนดนิ ที่เกี่ยวกับกิจการของสภา หรือกรรมการตามท่ีมีกฎหมายบัญญัตไิ วเปนการ เฉพาะ การเรื่องที่ 3 กฎหมายที่ ใหนํา (2) และ (3) มาบงั คับใชแกคูสมรสและบุตรของสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชกิ วฒุ สิ ภาและ บุคคลอนื่ ซึง่ มใิ ชคสู มรสและบุตรของสมาชกิ สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวฒุ ิสภานัน้ ท่ีดาํ เนินการในลกั ษณะผูถกู ใช ผรู วมดําเนินการ หรือผไู ดรบั มอบหมายจากสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรอื สมาชิกวฒุ ิสภาใหกระทาํ การตามมาตรา นี้ดวย มาตรา 185 สมาชกิ สภาผูแทนราษฎรหรอื สมาชิกวุฒสิ ภาตองไมใชสถานะหรือตําแหนงการเปนสมาชิก สภาผูแทนราษฎรหรือสมาชกิ วฒุ สิ ภากระทําการใด ๆ อันมลี ักษณะที่เปนการกาวกายหรอื แทรกแซงเพือ่ ประโยชน ของตนเอง ของผูอื่น หรือของพรรคการเมือง ไมวาโดยทางตรงหรอื ทางออม ในเร่อื งดังตอไปน้ี (1) การปฏบิ ัตริ าชการหรอื การดําเนนิ งานในหนาทีป่ ระจาํ ของขาราชการ พนักงานหรือลกู จางของหนวย ราชการ หนวยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ กิจการท่ีรัฐถอื หุนใหญ หรอื ราชการสวนทองถิ่น (2) กระทําการในลกั ษณะท่ที ําใหตนมีสวนรวมในการใชจายเงินงบประมาณหรือใหความเห็นชอบในการ จดั ทาํ โครงการใด ๆ ของหนวยงานของรัฐ เวนแตเปนการดาํ เนนิ การในกจิ การของรัฐสภา (3) การบรรจุ แตงต้ัง โยกยาย โอน เลื่อนตําแหนง เล่ือนเงนิ เดอื นหรือการใหพนจากตําแหนงของขา ราชการซ่งึ มีตาํ แหนงหรือเงินเดือนประจาํ และมใิ ชขาราชการการเมอื ง พนกั งาน หรอื ลกู จางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจ กจิ การที่รฐั ถือหุนใหญ หรือราชการสวนทองถน่ิ มาตรา 186 ใหนาํ ความในมาตรา 184 มาใชบังคบั แกรัฐมนตรีดวยโดยอนุโลม เวนแตกรณี ดังตอไปนี้ (1) การดาํ รงตําแหนงหรือการดําเนินการทีก่ ฎหมายบญั ญัติใหเปนหนาท่ีหรอื อาํ นาจของรฐั มนตรี (2) การกระทําตามหนาทีแ่ ละอํานาจในการบรหิ ารราชการแผนดนิ หรอื ตามนโยบายท่ไี ดแถลงตอรฐั สภา หรือตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ

นอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง รัฐมนตรีตองไมใชสถานะหรอื ตําแหนงกระทาํ การใดไมวาโดยทางตรงหรือทา งออม อันเปนการกาวกายหรอื แทรกแซงการปฏบิ ตั ิหนาทีข่ องเจาหนาทข่ี องรัฐ เพือ่ ประโยชนของตนเองของผูอื่น หรอื ของพรรคการเมอื งโดยมชิ อบตามท่กี ําหนดในมาตรฐานทางจริยธรรม มาตรา 187 รัฐมนตรีตองไมเปนหนุ สวนหรอื ผูถือหนุ ในหางหุนสวนหรือบริษทั หรือไมคงไว ซึ่งความเปนหุ นสวนหรอื ผูถือหนุ ในหางหนุ สวนหรอื บรษิ ทั ตอไปตามจาํ นวนที่กฎหมายบัญญัติ และตองไมเปนลูกจางของบุคคลใด ในกรณีท่ีรฐั มนตรผี ูใดประสงคจะไดรับประโยชนจากกรณีตามวรรคหนึง่ ตอไป ใหแจงประธานกรรมการป องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติทราบภายในสามสบิ วันนบั แตวนั ทีไ่ ดรบั แตงต้ัง และใหโอนหนุ ในหางหุนส วนหรอื บรษิ ัทดงั กลาวใหแกนิตบิ ุคคลซ่ึงจดั การทรัพยสนิ เพือ่ ประโยชนของผูอื่น ทง้ั น้ี ตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ รฐั มนตรีจะเขาไปเกีย่ วของกับการบรหิ ารจดั การหุนหรอื กิจการของหางหนุ สวนหรอื บรษิ ัทตามวรรคสองไมว าในทางใด ๆ มิได มาตรานีเ้ ฉพาะในสวนทเ่ี กย่ี วกับความเปนหนุ สวนหรอื ผูถือหนุ ใหใชบังคบั แกคูสมรสและบุตรทีย่ ัง ไมบรรลนุ ติ ภิ าวะของรัฐมนตรี และการถือหุนของรฐั มนตรที อ่ี ยูในความครอบครองหรือดแู ลของบุคคลอื่นไมวาโดย ทางใด ๆ ดวย 2. พระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต พทุ ธศกั ราช 2561 พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจรติ พ.ศ. 2561 ไดบัญญตั ิขอหามสําหรบั กรรมการ ผูดํารงตาํ แหนงในองคกรอสิ ระ และเจาพนักงานของรัฐทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช.ประกาศกาํ หนดไวในมาตรา 126 – 129 มีรายละเอียด ดงั น้ี พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. 2561 หมวด 6 การขดั กนั ระหวางประโยชนสวนบุคคลกับประโยชนสวนรวม มาตรา 126 นอกจากเจาพนกั งานของรฐั ที่รฐั ธรรมนญู กาํ หนดไวเปนการเฉพาะแลว หามมิใหกรรมการ ผู ดํารงตาํ แหนงในองคกรอิสระ และเจาพนกั งานของรฐั ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกาํ หนดดําเนินกิจการดังต อไปน้ี (1) เปนคูสญั ญาหรือมีสวนไดเสียในสญั ญาทท่ี ํากับหนวยงานของรฐั ท่ีเจาพนกั งานของรฐั ผนู น้ั ปฏบิ ตั หิ นาท่ี ในฐานะทเี่ ปนเจาพนักงานของรฐั ซึ่งมอี ํานาจไมวาโดยตรงหรอื โดยออมในการกาํ กบั ดูแล ควบคมุ ตรวจสอบหรือ ดําเนนิ คดี (2) เปนหนุ สวนหรือผูถอื หนุ ในหางหนุ สวนหรือบรษิ ทั ที่เขาเปนคสู ญั ญากับหนวยงานของรัฐทเี่ จาพนกั งาน ของรัฐผูน้นั ปฏิบัติหนาท่ใี นฐานะที่เปนเจาพนักงานของรัฐ ซง่ึ มีอาํ นาจไมวาโดยตรงหรือโดยออมในการกํากับ ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบหรือดําเนนิ คดี เวนแตจะเปนผูถือหุนในบริษทั จาํ กดั หรือบรษิ ัทมหาชนจาํ กัดไมเกนิ จํานวนท่ี คณะกรรมการป.ป.ช. กําหนด (3) รับสัมปทานหรอื คงถือไวซ่ึงสัมปทานจากรฐั หนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รฐั วสิ าหกจิ หรือราชการส วนทองถิ่น หรอื เขาเปนคูสัญญากบั รัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรฐั รฐั วิสาหกิจ หรอื ราชการสวนทองถนิ่ อันมี ลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอน หรือเปนหนุ สวนหรอื ผูถอื หนุ ในหางหนุ สวนหรือบริษทั ทีร่ บั สัมปทานหรือเขาเปนคู สัญญาในลักษณะดังกลาว ในฐานะทีเ่ ปนเจาพนักงานของรัฐซ่งึ มีอาํ นาจ ไมวาโดยตรงหรอื โดยออมในการกาํ กบั ดแู ล ควบคุม ตรวจสอบ หรอื ดําเนินคดี เวนแตจะเปนผูถอื หุนในบริษัทจาํ กดั หรอื บริษัทมหาชนจํากัดไมเกินจํานวนท่ี คณะกรรมการป.ป.ช. กําหนด (4) เขาไปมสี วนไดเสียในฐานะเปนกรรมการ ทีป่ รึกษา ตวั แทน พนักงานหรอื ลกู จางในธรุ กิจของเอกชน ซ่งึ อยภู ายใตการกาํ กับ ดูแล ควบคมุ หรอื ตรวจสอบของหนวยงานของรัฐที่เจาพนกั งานของรัฐผนู ั้นสังกดั อยูหรือ ปฏบิ ตั ิหนาที่ในฐานะเปนเจาพนกั งานของรัฐ ซ่งึ โดยสภาพของผลประโยชนของธุรกิจของเอกชนนน้ั อาจขัดหรือแยงต อประโยชนสวนรวม หรือประโยชนทางราชการ หรือกระทบตอความมีอสิ ระในการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงานของ รฐั ผูน้นั

ใหนําความในวรรคหน่ึง มาใชบังคับกับคูสมรสของเจาพนกั งานของรฐั ตามวรรคหน่ึงดวย โดยใหถือวาการ ดาํ เนนิ กิจการของคูสมรสเปนการดําเนินกิจการของเจาพนักงานของรฐั เวนแตเปนกรณที ่คี ูสมรสน้ันดาํ เนนิ การอยกู อนท่ีเจาพนกั งานของรฐั จะเขาดาํ รงตําแหนง คูสมรสตามวรรคสองใหหมายความรวมถงึ ผูซ่ึงอยูกินกันฉนั สามีภรยิ าโดยมไิ ดจดทะเบียนสมรสดวยทงั้ นี้ ตามหลกั เกณฑที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด เจาพนกั งานของรัฐทมี่ ลี ักษณะตาม (2) หรือ (3) ตองดําเนนิ การไมใหมีลักษณะดงั กลาว ภายในสามสิบวัน นบั แตวนั ทเี่ ขาดาํ รงตาํ แหนง มาตรา 127 หามมิใหกรรมการ ผูดํารงตาํ แหนงในองคกรอสิ ระ ผดู าํ รงตาํ แหนงระดับสูงและผูดํารงตาํ แหน งทางการเมอื งทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ดําเนินการใดตามมาตรา 126 (4) ภายในสองปนบั แตวนั ที่พนจากตํา แหนง มาตรา 128 หามมใิ หเจาพนกั งานของรัฐผูใดรับทรพั ยสินหรอื ประโยชนอื่นใดอันอาจคาํ นวณเปนเงินไดจาก ผใู ด นอกเหนือจากทรพั ยสนิ หรือประโยชนอนั ควรไดตามกฎหมาย กฎ หรือขอบังคบั ท่ีออกโดยอาศัยอํานาจตาม บทบญั ญตั แิ หงกฎหมาย เวนแตการรบั ทรัพยสินหรือประโยชนอน่ื ใด โดยธรรมจรรยาตามหลกั เกณฑและจาํ นวนที่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ความในวรรคหน่ึงมใิ หใชบงั คบั กบั การรบั ทรัพยสินหรอื ประโยชนอ่นื ใดจากบพุ การี ผู สืบสนั ดานหรอื ญาติท่ีใหตามประเพณี หรอื ตามธรรมจรรยาตามฐานานุรูป บทบญั ญตั ิในวรรคหน่ึงใหใชบังคับกับการ รับทรพั ยสนิ หรือประโยชนอนื่ ใดของผูซ่ึงพนจากการเปนเจาพนักงานของรัฐมาแลวยังไมถงึ สองปดวยโดยอนโุ ลม มาตรา 129 การกระทาํ อนั เปนการฝาฝนบทบญั ญตั ิในหมวดนี้ใหถอื วาเปนการกระทําความผิดตอตําแหน งหนาทีร่ าชการหรือความผิดตอตาํ แหนงหนาท่ีในการยุตธิ รรม เจาหนาทีข่ องรฐั ตามความหมายในพระราชบัญญัติ ประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. 2561 เปนไปตามนิยามในบทบญั ญตั ิ มาตรา 4 ดังนี้ “เจาพนกั งานของรัฐ หมายความวา เจาหนาที่ของรฐั ผูดํารงตาํ แหนงทางการเมือง ตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ ผดู ํารงตําแหนงในองคกรอิสระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช” “เจาหนาทีข่ องรัฐ” หมายความวา ขาราชการหรือ พนักงานสวนทองถิน่ ซง่ึ มีตําแหนงหรือเงินเดอื นประจาํ ผปู ฏบิ ตั ิงานในหนวยงานของรฐั หรือในรฐั วิสาหกิจ ผูบริหารท องถน่ิ รองผบู ริหารทองถน่ิ ผชู วยผูบริหารทองถนิ่ และสมาชกิ สภาทองถ่นิ ขององคกรปกครองสวนทองถิน่ เจา พนักงานตามกฎหมายวาดวยลกั ษณะปกครองทองที่ หรอื เจาพนกั งานอืน่ ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ และใหหมายความ รวมถึงกรรมการอนุกรรมการ ลกู จางของสวนราชการ หนวยงานของรฐั หรือรฐั วิสาหกิจ และบุคคลหรอื คณะบุคคล ซึ่งมกี ฎหมายกําหนดใหใชอาํ นาจหรอื ไดรบั มอบใหใชอํานาจทางปกครองทจี่ ัดต้งั ขึน้ ในระบบราชการ รัฐวสิ าหกจิ หรอื กจิ การอน่ื ของรฐั ดวย แตไมรวมถงึ ผูดาํ รงตาํ แหนงทางการเมือง ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ผูดาํ รงตาํ แหนงในองคกร อิสระ และคณะกรรมการ ป.ป.ช 3. ระเบียบสํานกั นายกรฐั มนตรวี าดวยการใหหรอื รบั ของขวัญของเจาหนาที่ของรัฐ พ.ศ. 2544 นายกรฐั มนตรี โดยความเห็นชอบของคณะรฐั มนตรี ไดวางระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดวยการใหหรือรับ ของขวัญของเจาหนาทีข่ องรฐั พ.ศ. 2544 มรี ายละเอยี ด ดังน้ี โดยท่ผี านมาคณะรัฐมนตรีไดเคยมีมติคณะรัฐมนตรเี ก่ียวกบั แนวทางปฏบิ ัตใิ นการใหของขวัญและรบั ของขวญั ของเจาหนาทีข่ องรฐั ไวหลายครงั้ เพ่ือเปนการเสรมิ สรางคานยิ มใหเกิดการประหยดั มิใหมีการเบยี ดเบียนขา ราชการโดยไมจําเปนและสรางทศั นคติที่ไมถูกตอง เน่อื งจากมีการแขงขนั กนั ใหของขวญั ในราคาแพง ทัง้ ยังเปนชอง ทางใหเกดิ การประพฤติมชิ อบอืน่ ๆ ในวงราชการอีกดวย และในการกําหนดจรรยาบรรณของเจาหนาทีข่ องรฐั ประเภทตาง ๆ ก็มีการกําหนดในเรือ่ ง

ทาํ นองเดยี วกนั ประกอบกบั คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาตไิ ดประกาศกําหนด หลักเกณฑและจํานวนทเ่ี จาหนาทีข่ องรัฐจะรับทรพั ยสินหรือประโยชนอน่ื ใดโดยธรรมจรรยาได ฉะนัน้ จงึ สมควร รวบรวมมาตรการเหลานัน้ และกําหนดเปนหลกั เกณฑการปฏิบัติของเจาหนาทข่ี องรัฐในการใหของขวัญและรบั ของขวัญไวเปนการถาวร มมี าตรฐานอยางเดยี วกัน และมีความชดั เจนเพือ่ เสรมิ มาตรการของคณะกรรมการปองกัน และปราบปรามการทุจริตแหงชาตใิ หเปน ผลอยางจริงจงั ท้ังนี้ เฉพาะในสวนที่คณะกรรมการปองกนั และ ปราบปรามการทุจริตแหงชาตไิ มไดกําหนดไว อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา 11 (8) แหงพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บ บรหิ ารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี จึงวางระเบียบไวดังตอไปน้ี ขอ 3 ในระเบียบนี้ \"ของขวัญ\" หมายความวา เงนิ ทรพั ยสิน หรอื ประโยชนอืน่ ใดทใี่ หแกกัน เพ่ืออธั ยาศยั ไมตรแี ละให หมายความรวมถึงเงิน ทรพั ยสิน หรอื ประโยชนอื่นใดทีใ่ หเปนรางวัล ใหโดยเสนหาหรอื เพ่อื การสงเคราะห หรือใหเป นสนิ นา้ํ ใจ การใหสิทธพิ ิเศษซึ่งมิใชเปนสทิ ธิที่จัดไวสําหรบั บุคคลทัว่ ไปในการไดรบั การลดราคาทรพั ยสิน หรือการให สทิ ธพิ ิเศษในการไดรบั บรกิ ารหรือความบันเทิง ตลอดจนการออกคาใชจายในการเดินทางหรอื ทองเท่ยี วคาทีพ่ ัก ค าอาหาร หรือสง่ิ อ่นื ใดในลกั ษณะเดยี วกันและไมวาจะใหเปนบตั ร ต๋ัวหรือหลกั ฐานอืน่ ใด การชําระเงนิ ใหลวงหนา หรอื การคนื เงินใหในภายหลัง 19 \"ปกตปิ ระเพณีนิยม\" หมายความวา เทศกาลหรอื วันสําคญั ซึ่งอาจมีการให ของขวัญกนั และใหหมายความรวมถงึ โอกาสในการแสดงความยนิ ดี การแสดง ความขอบคุณ การตอนรับ การแสดง ความเสียใจหรอื การใหความชวยเหลือตามมารยาท ที่ถือปฏิบตั กิ ันในสังคมดวย \"ผูบงั คับบัญชา\" ใหหมายความ รวมถึง ผซู ่ึงปฏบิ ตั ิหนาทหี่ วั หนาหนวยงาน ที่แบงเปนการภายในของหนวยงานของรฐั และผูซ่ึงดํารงตาํ แหนงในระดับ ท่ีสงู กวา และไดรับมอบหมายใหมีอาํ นาจบังคบั บัญชาหรือกํากับดแู ลดวย \"บุคคลในครอบครวั \" หมายความวา คู สมรส บุตร บิดา มารดา พีน่ องรวมบิดามารดา หรอื รวมบิดาหรือมารดาเดยี วกัน ขอ 4 ระเบียบนไี้ มใชบังคับกบั กรณีการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดของเจาหนาท่ีของรัฐซ่ึงอยภู ายใต บังคบั กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ขอ 5 เจาหนาท่ขี องรัฐจะใหของขวัญแกผูบงั คบั บัญชาหรือบุคคลในครอบครวั ของผูบังคับบัญชา นอกเหนอื จากกรณีปกติประเพณนี ิยมท่ีมีการใหของขวญั แกกนั มไิ ด การใหของขวัญตามปกติประเพณนี ยิ มตามวรรค หน่งึ เจาหนาทีข่ องรฐั จะใหของขวัญท่ีมีราคาหรอื มูลคาเกินจํานวนทคี่ ณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาตกิ าํ หนดไว สําหรบั การรบั ทรัพยสนิ หรอื ประโยชนอ่นื ใด โดยธรรมจรรยาของเจาหนาทข่ี องรฐั ตามกฎหมาย ประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตมไิ ด เจาหนาท่ีของรฐั จะทาํ การเรี่ยไรเงนิ หรอื ทรพั ย สินอืน่ ใดหรอื ใชเงินสวสั ดกิ ารใด ๆ เพื่อมอบใหหรือจดั หาของขวัญใหผูบงั คับบัญชาหรือบุคคลในครอบครวั ของผู บงั คับบัญชาไมวากรณีใด ๆ มิได41 ขอ 6 ผบู ังคับบัญชาจะยินยอมหรือรูเหน็ เปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวญั จากเจาหนาทข่ี องรฐั ซง่ึ เปนผูอยใู นบังคับบัญชามไิ ด เวนแตเปนการรบั ของขวัญตามขอ 5 ขอ 7 เจาหนาทข่ี องรฐั จะยินยอมหรือรูเหน็ เปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตนรับของขวญั จากผูทเี่ ก่ยี วของใน การปฏบิ ตั หิ นาที่ของเจาหนาทข่ี องรฐั มิได ถามิใชเปนการรบั ของขวัญตามกรณีทก่ี ําหนดไวในขอ 8 ผูทเี่ กยี่ วของในการปฏิบตั ิหนาทีข่ องเจาหนาทข่ี องรัฐตามวรรคหนึ่ง ไดแก ผูมาติดตองานหรือผูซง่ึ ไดรบั ประโย ชนจากการปฏิบตั งิ านของเจาหนาท่ีของรฐั ในลักษณะดงั ตอไปน้ี

(1) ผูซึง่ มคี าํ ขอใหหนวยงานของรฐั ดําเนนิ การอยางหน่งึ อยางใด เชน การขอใบรบั รองการขอใหออกคาํ สัง่ ทาง ปกครอง หรือการรองเรยี น เปนตน (2) ผูซ่ึงประกอบธรุ กิจหรอื มีสวนไดเสยี ในธรุ กิจที่ทํากับหนวยงานของรัฐ เชน การจัดซ้อื จัดจางหรอื การไดรบั สัมปทาน เปนตน (3) ผูซง่ึ กําลังดาํ เนนิ กจิ กรรมใด ๆ ทีม่ หี นวยงานของรฐั เปนผูควบคมุ หรือกํากบั ดแู ล เชน การประกอบกิจการ โรงงานหรอื ธรุ กิจหลกั ทรัพย เปนตน (4) ผูซง่ึ อาจไดรับประโยชนหรือผลกระทบจากการปฏิบตั ิหนาที่หรือละเวนการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่ของ รัฐ ขอ 8 เจาหนาที่ของรัฐจะยินยอมหรือรเู ห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครวั ของตนรบั ของขวัญจากผูท่เี ก่ยี วของใน การปฏบิ ตั ิหนาท่ขี องเจาหนาที่ของรฐั ไดเฉพาะกรณี การรบั ของขวัญที่ใหตามปกตปิ ระเพณีนยิ ม และของขวญั น้ันมี ราคาหรือมลู คาไมเกินจาํ นวนที่คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตแหงชาติกําหนดไวสําหรับการ รับทรพั ยสนิ หรือประโยชนอ่ืนใดโดยธรรมจรรยาของเจาหนาทขี่ องรฐั ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการป องกนั และปราบปรามการทุจริต ขอ 9 ในกรณีทีบ่ คุ คลในครอบครัวของเจาหนาท่ีของรฐั รบั ของขวญั แลวเจาหนาทีข่ องรฐั ทราบในภายหลังวาเป นการรับของขวัญโดยฝาฝนระเบยี บนี้ ใหเจาหนาที่ของรฐั ปฏบิ ตั ติ ามหลักเกณฑที่คณะกรรมการปองกนั และ ปราบปรามการทุจริตแหงชาตกิ าํ หนดไวสาํ หรบั การรบั ทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด โดยธรรมจรรยาของเจาหนาที่ ของรัฐทมี่ ีราคาหรือมลู คาเกนิ กวาท่กี าํ หนดไว ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปราม การทจุ ริต ขอ 10 ในกรณีทเ่ี จาหนาทขี่ องรฐั ผูใดจงใจปฏิบตั เิ ก่ยี วกับการใหของขวญั หรอื รับของขวัญโดยฝาฝนระเบยี บนี้ ใหดําเนนิ การดงั ตอไปน้ี (1) ในกรณีท่เี จาหนาทขี่ องรฐั เปนขาราชการการเมอื ง ใหถือวาเจาหนาทีข่ องรัฐผูนนั้ ประพฤตปิ ฏิบัตไิ มเปนไป ตามคณุ ธรรมและจริยธรรม และใหดําเนินการตามระเบียบทน่ี ายกรฐั มนตรกี าํ หนด โดยความเหน็ ชอบของ คณะรฐั มนตรวี าดวยมาตรฐานทางคณุ ธรรมและจริยธรรมของขาราชการการเมือง (2) ในกรณที ีเ่ จาหนาทีข่ องรฐั เปนขาราชการประเภทอื่นนอกจาก (1) หรอื พนกั งานขององคกรปกครองส วนทองถ่ิน หรอื พนักงานของรัฐวสิ าหกจิ ใหถอื วาเจาหนาทขี่ องรัฐผูนั้นเปนผูกระทาํ ความผิดทางวินยั และใหผูบงั คับ บัญชามหี นาทดี่ ําเนนิ การใหมกี ารลงโทษทางวินยั เจาหนาท่ขี องรัฐผูน้นั ขอ 11 ใหสํานักงานปลัดสํานกั นายกรัฐมนตรมี หี นาทส่ี อดสองและใหคาํ แนะนาํ ในการปฏบิ ตั ิตามระเบยี บน้ีแก หนวยงานของรฐั ในกรณที ม่ี ผี ูรองเรียนตอสาํ นักงานปลดั สํานักนายกรฐั มนตรวี าเจาหนาทข่ี องรัฐผูใดปฏบิ ัติในการให ของขวัญหรือรบั ของขวญั ฝาฝนระเบียบนี้ ใหสํานักงานปลัดสาํ นกั นายกรฐั มนตรีแจงไปยังผูบงั คบั บัญชาของเจาหน าท่ีของรัฐผูนน้ั เพ่อื ดาํ เนินการตามระเบยี บนี้ ขอ 12 เพ่ือประโยชนในการเสริมสรางใหเกดิ ทศั นคติในการประหยดั แกประชาชนทั่วไปในการแสดงความ ยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการตอนรบั หรือการแสดงความเสยี ใจในโอกาสตาง ๆ ตามปกติประเพณี นิยมใหเจาหนาที่ของรฐั พยายามใชวิธกี ารแสดงออก โดยใชบัตรอวยพร การลงนามในสมุดอวยพรหรือใชบตั รแสดง ความเสียใจ แทนการใหของขวัญ ใหผูบงั คบั บญั ชามีหนาทเ่ี สรมิ สรางคานิยมการแสดงความยินดี การแสดงความ ปรารถนาดีการตอนรับ หรือการแสดงความเสียใจดวยการปฏบิ ตั ิตนเปนแบบอยาง แนะนําหรอื กาํ หนดมาตรการจูง ใจท่จี ะพฒั นาทัศนคติ จิตสํานกึ และพฤติกรรมของผูอยใู นบงั คับบญั ชาใหเปนไปในแนวทางประหยัด

4. ประกาศคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เรอื่ ง หลกั เกณฑการรับทรพั ยสินหรอื ประโยชน อ่นื ใด โดยธรรมดาของเจาหนาท่ีรัฐ พ.ศ. 2543 จากระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรวี าดวยการใหหรือรบั ของขวัญของเจาหนาท่ีของรัฐ พ.ศ. 2544ไดวาง ระเบียบไวในขอ 8 ความวา “เจาหนาทขี่ องรัฐจะยินยอมหรือรเู ห็นเปนใจใหบคุ คลในครอบครัวของตนรับของขวญั จากผูที่เกีย่ วของในการปฏบิ ตั ิหนาท่ขี องเจาหนาท่ีของรัฐไดเฉพาะกรณีรบั ของขวญั ท่ใี หตามประเพณนี ิยม และ ของขวัญนน้ั มรี าคาหรือมูลคาไมเกนิ จํานวนที่คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตแหงชาติกําหนดไว สําหรับการรบั ทรพั ยสนิ หรอื ประโยชนอืน่ ใด โดยธรรมจรรยาของเจาหนาที่รฐั ตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาด วยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต” ในขณะท่มี าตรา 128 แหงพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกนั และปราบปรามการ ทจุ รติ พ.ศ. 2561 บญั ญตั ิไววา มาตรา 128 หามมิใหเจาพนักงานของรฐั ผูใดรบั ทรพั ยสนิ หรอื ประโยชนอนื่ ใดอันอาจคํานวณเปนเงินไดจาก ผใู ด นอกเหนอื จากทรพั ยสินหรอื ประโยชนอนั ควรไดตามกฎหมาย กฎ หรอื ขอบงั คับทีอ่ อกโดยอาศัยอํานาจตาม บทบญั ญัติแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรพั ยสินหรือประโยชนอน่ื ใด โดยธรรมจรรยาตามหลักเกณฑและจาํ นวนท่ี คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด ความในวรรคหนึง่ มิใหใชบงั คับกบั การรับทรพั ยสินหรือประโยชนอื่นใดจากบพุ การี ผูสบื สนั ดาน หรอื ญาตทิ ี่ใหตามประเพณี หรือตามธรรมจรรยาตามฐานานรุ ูป บทบัญญัติในวรรคหน่ึงใหใชบังคบั กบั การรับทรพั ยสนิ หรือประโยชนอนื่ ใดของผูซงึ่ พนจากการเปนเจา พนกั งานของรัฐมาแลวยังไมถงึ สองปดวยโดยอนุโลม คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ จงึ ไดออกประกาศคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ เรอ่ื ง หลกั เกณฑการรับทรพั ยสินหรือประโยชนอน่ื ใดโดยธรรมจรรยาของเจาหนาท่ีรัฐ พ.ศ. 2543 โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี ขอ้ 3 ในประกาศน้ี “การรับทรพั ยสินหรือประโยชนอืน่ ใดโดยธรรมจรรยา” หมายความวาการรับทรพั ยสินหรือประโยชนอื่น ใดจากญาตหิ รอื จากบคุ คลทใี่ หกนั ในโอกาสตาง ๆ โดยปกตติ ามขนบธรรมเนียม ประเพณหี รอื วัฒนธรรม หรือใหกัน ตามมารยาทท่ปี ฏิบัติกนั ในสังคม “ญาติ” หมายความวา ผูบุพการี ผูสบื สันดาน พนี่ องรวมบดิ ามารดา หรือรวม บิดาหรอื มารดาเดยี วกนั ลุง ปา นา อา คูสมรส ผูบุพการี หรือผสู บื สนั ดานของคูสมรส บตุ รบุญธรรม หรือผรู ับบุตร บญุ ธรรม “ประโยชนอื่นใด” หมายความวา สง่ิ ท่ีมีมลู คา ไดแก การลดราคา การรบั ความบันเทิง การรบั บรกิ าร การรบั การฝกอบรม หรือสงิ่ อื่นใดในลกั ษณะเดยี วกัน ขอ 4 หามมใิ หเจาหนาท่ีของรฐั ผูใด รับทรพั ยสินหรอื ประโยชน อ่ืนใดจากบุคคล นอกเหนอื จากทรัพยสนิ หรือประโยชนอันควรไดตามกฎหมาย หรอื กฎ ขอบงั คบั ท่ีออกโดยอาศัย อาํ นาจตามบทบญั ญตั ิแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรพั ยสินหรือประโยชนอน่ื ใดโดยธรรมจรรยาตามท่ีกาํ หนดไวใน ประกาศนี้ ขอ 5 เจาหนาที่ของรฐั จะรับทรัพยสนิ หรือประโยชนอ่ืนใดโดยธรรมจรรยาได ดังตอไปนี้ (1) รบั ทรพั ยสินหรอื ประโยชนอน่ื ใดจากญาติ ซง่ึ ใหโดยเสนหาตามจํานวนทีเ่ หมาะสมตามฐานานรุ ปู (2) รับทรัพยสินหรอื ประโยชนอนื่ ใดจากบุคคลอื่นซึ่งมิใชญาตมิ ีราคาหรอื มูลคาในการรบั จากแตละบคุ คล แตละโอกาสไมเกินสามพันบาท

(3) รบั ทรัพยสนิ หรือประโยชนอน่ื ใดทีก่ ารใหนั้นเปนการใหในลักษณะใหกบั บุคคลทั่วไป ขอ 6 การรับทรัพยสนิ หรอื ประโยชนอน่ื ใดจากตางประเทศซ่ึงผูใหมิไดระบุใหเปนของสวนตวั หรือมรี าคาหรอื มูลค าเกินกวาสามพนั บาท ไมวาจะระบุเปนของสวนตวั หรือไม แตมีเหตผุ ลความจําเปนท่ีจะตองรับไวเพ่อื รกั ษาไมตรี มติ รภาพ หรือความสัมพนั ธอันดรี ะหวางบคุ คล ใหเจาหนาท่ีของรัฐผูนน้ั รายงานรายละเอียดขอเท็จจริงเกย่ี วกบั การ รบั ทรัพยสิน หรือประโยชนดังกลาวใหผูบงั คับบญั ชาทราบโดยเร็วหากผูบังคับบญั ชาเหน็ วาไมมีเหตุทีจ่ ะอนญุ าตใหเจ าหนาท่ผี ูนน้ั ยดึ ถือทรพั ยสินหรอื ประโยชนดังกลาวนัน้ ไวเปนประโยชนสวนบคุ คล ใหเจาหนาที่ของรฐั ผูน้ันสงม อบทรพั ยสินใหหนวยงานของรัฐทีเ่ จาหนาที่ของรฐั ผูนั้นสังกัดทันที ขอ 7 การรบั ทรพั ยสินหรือประโยชนอนื่ ใดท่ไี มเปนไปตามหลักเกณฑหรอื มีราคาหรือมมี ูลคามากกวาทก่ี าํ หนดไว ในขอ 5 ซึง่ เจาหนาท่ีของรัฐไดรบั มาแลวโดยมีความจําเปนอยางยิง่ ท่ีตองรับไวเพื่อรักษาไมตรี มิตรภาพ หรอื ความ สมั พนั ธอนั ดรี ะหวางบุคคล เจาหนาทข่ี องรัฐ ผนู ั้นตองแจงรายละเอียดขอเท็จจริงเก่ยี วกับการรบั ทรัพยสินหรือประ โยชนน้นั ตอผูบังคบั บญั ชา ซึง่ เปนหัวหนาสวนราชการ ผูบรหิ ารสงู สุดของรฐั วิสาหกิจ หรือผูบรหิ ารสูงสดุ ของหนวย งาน สถาบัน หรือองคกรทีเ่ จาหนาทขี่ องรฐั ผูนั้นสังกดั โดยทันที ขอ 8 หลกั เกณฑการรบั ทรัพยสนิ หรือประโยชนอนื่ ใดของเจาหนาท่ีของรัฐ ตามประกาศฉบบั นีใ้ หใชบังคับ แกผูซง่ึ พนจากการเปนเจาหนาทข่ี องรัฐมาแลวไมถงึ สองปดวย เรอื่ งท่ี 4 การคิดเปน ในชีวติ ประจาํ วันทกุ คนตองเคยพบกับปญหาตาง ๆ ไมวาจะเปนปญหาการเอารดั เอาเปรียบ การงาน การเงนิ หรอื แมแตการเลนกฬี าหรอื ปญหาอ่ืน ๆ เชน ปญหาขัดแยงของเด็ก หรอื ปญหาการแตงตัวไปงานตาง ๆเป นตน เมอื่ เกดิ ปญหากเ็ กิดทุกข แตละคนกจ็ ะมีวธิ แี กไขปญหา หรือแกทุกขดวยวิธกี ารท่ีแตกตางกันไปซึ่งแตละคน แต ละวิธกี ารอาจเหมือนหรอื ตางกนั และอาจใหผลลัพธที่เหมอื นกนั หรอื ตางกันกไ็ ด ท้งั นี้ ขึ้นอยกู ับพื้นฐานความเชอ่ื ความรู ความสามารถและประสบการณของบคุ คลนัน้ หรืออาจะขึน้ อยกู ับทฤษฎีและหลกั การของความเชอื่ ที่ตางกัน เหลานัน้ 1. ปรัชญา “คิดเปน” อยบู นพื้นฐานความคิดทว่ี า ความตองการของแตละบุคคลไมเหมอื นกนั แตทุกคน มจี ุดรวมของความตองการท่เี หมอื นกัน คอื ความสุข คนเราจะมีความสุขเม่อื ตนเองและสงั คมสงิ่ แวดลอมประสม กลมกลนื กันได โดยการปรบั ตวั เราเองใหเขากับสังคมหรือสิ่งแวดลอม หรอื โดยการปรบั สงั คมและส่ิงแวดลอมใหเข ากบั ตวั เรา หรอื ปรบั ทัง้ ตวั เราและสิง่ แวดลอมใหประสมกลมกลืนกัน หรอื เขาไปอยใู นสิ่งแวดลอมทเ่ี หมาะสมกบั ตน คนที่สามารถทาํ ไดเชนน้ีเพ่ือใหตนเองมีความสขุ น้ัน จาํ เปนตองเปนผูมกี ารคิดสามารถคิดแกปญหา รจู กั ตนเอง รจู ัก สงั คมและสิง่ แวดลอม และมอี งคความรูที่จะนํามาคดิ แกปญหาไดจึงจะเรียกไดวาผนู ัน้ เปนคนคิดเปน “คิดเปน” เปนคําไทยส้ัน ๆ งาย ๆ ที่ ดร.โกวิท วรพพิ ัฒน ใชเพ่ืออธบิ ายถงึ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคของ คนในการดาํ รงชวี ติ อยูในสังคมท่มี ีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเรว็ รนุ แรงและซบั ซอนไดอยางปกตสิ ขุ “คิดเปน” มาจากความเช่ือพน้ื ฐานเบื้องตนท่ีวา คนมคี วามแตกตางกนั เปนธรรมดาแตทกุ คนมคี วามตองการสงู สุดเหมอื นกันคอื ความสุขในชวี ติ อยางไรก็ตามสังคม ส่ิงแวดลอมไมไดหยดุ นิ่งแตจะมีการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเรว็ และรุนแรงอยู ตลอดเวลากอใหเกิดปญหา เกิดความทุกขความไมสบายกายไมสบายใจขึ้นไดเสมอกระบวนการปรบั ตนเองกบั สงั คม สิ่งแวดลอมใหผสมกลมกลืนจงึ ตองดําเนินไปอยางตอเนือ่ งและทันการ คนท่จี ะทําไดเชนนตี้ องรูจกั คิด รจู กั ใชสติป ญญา รจู กั ตวั เองและธรรมชาติ สงั คมสิง่ แวดลอมเปนอยางดีสามารถแสวงหาขอมูลท่ีเกี่ยวของอยางหลากหลายและ พอเพยี งอยางนอย 3 ประการ คือ ขอมลู ทางวชิ าการข

อมูลทางสังคมสิง่ แวดลอม และขอมลู ที่เกยี่ วของกับตนเอง มาเปนหลักในการวเิ คราะหปญหา เพอื่ เลอื ก แนวทางการตดั สินใจที่ดที ่ีสุดในการแกปญหา หรือสภาพการณที่เผชญิ อยูอยางรอบคอบ จนมคี วามพอใจแลวกพ็ ร อมจะรบั ผิดชอบการตัดสนิ ใจนั้นอยางสมเหตุสมผล เกดิ ความพอดีความสมดลุ ในชวี ิตอยางสนั ติสุข เรยี กไดวา“คน คิดเปน”กระบวนการคดิ เปน อาจสรุปตามผังไดดงั นี้ 1. เปนกระบวนการเรยี นรทู ีป่ ระกอบดวยการคิด การวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลประเภทตาง ๆไมใชการ เรยี นรจู ากหนงั สอื หรอื ลอกเลียนจากตํารา หรือรบั ฟงการสอนการบอกเลาของครูแตเพียงอยางเดียว 2. ขอมลู ท่นี าํ มาประกอบการคิด การวิเคราะหตาง ๆ ตองหลากหลาย เพียงพอ ครอบคลมุ อยางนอย3 ด าน คือ ขอมูลทางวิชาการ ขอมลู เก่ียวกบั ตนเอง และขอมลู เก่ียวกับสงั คมสง่ิ แวดลอม 3. ผูเรียนเปนคนสาํ คัญในการเรยี นรู ครูเปนผูจดั โอกาสและอาํ นวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู 4. เรียนรูจากวถิ ีชวี ติ จากธรรมชาตแิ ละภมู ปิ ญญา จากประสบการณและการปฏิบัติจริงซง่ึ เปนสวนหน่งึ ของ การเรยี นรตู ลอดชวี ิต 5. กระบวนการเรียนรเู ปนระบบเปดกวาง รับฟงความคิดของผูอน่ื และยอมรบั ความเปนมนุษยที่ศรัทธาใน ความแตกตางระหวางบุคคล ดงั นั้น เทคนิคกระบวนการทีน่ าํ มาใชในการเรยี นรูจึงมกั จะเปนวธิ กี ารสานเสวนา การ อภปิ รายถกแถลง กลมุ สมั พนั ธเพือ่ กลุมสนทนา 6. กระบวนการคิดเปนน้นั เมอื่ มกี ารตัดสนิ ใจลงมือปฏบิ ตั ิแลวจะเกดิ ความพอใจ มคี วามสขุ แตถาลงมือ ปฏบิ ตั ิแลวยงั ไมพอใจกจ็ ะมีสติ ไมทรุ นทรุ าย แตจะกลับยอนไปหาสาเหตุแหงความไมสาํ เรจ็ ไมพงึ พอใจกบั การ ตัดสนิ ใจดังกลาว แลวแสวงหาขอมูลเพิม่ เติม เพอ่ื หาทางเลือกในการแกปญหา แลวทบทวนการตดั สนิ ใจใหมจนกว าจะพอใจกบั การแกปญหานั้น กระบวนการเรยี นรตู ามทิศทางของ “คิดเปน” น้ี ผูเรยี นสําคญั ท่ีสดุ ผสู อนเปนผูจดั โอกาส จดั กระบวนการจัดระบบขอมูล และแหลงการเรียนรู รวมทัง้ การกระตนุ ใหกระบวนการคดิ การวเิ คราะหได ใชขอมู ลอยางหลากหลาย ลึกซง้ึ และพอเพยี ง นอกจากน้นั “คดิ เปน” ยังครอบคลมุ ไปถงึ การเคารพคุณคาของความเป นมนษุ ยของคนอยางเทาเทียมกนั การทําตวั เปนสามญั เรียบงาย ไมมีมุม ไมมีเหลย่ี ม ไมมีอัตตา ใหเกียรติผูอนื่ ดวย ความจริงใจ มองในดี - มเี สยี ในเสยี - มดี ี ในขาว - มดี าํ ในดาํ - มีขาว ไมมีอะไรทขี่ าวไปท้งั หมดและไมมีอะไรที่ดํา ไปทงั้ หมด มองในสวนดีของผูอ่นื ไวเสมอ 2. กระบวนการและข้ันตอนการแกปญหาของคนคิดเปน คนคดิ เปนเช่อื วาทกุ ขหรอื ปญหาเปนความจรงิ ตามธรรมชาตทิ ่เี กดิ ขน้ึ ไดกส็ ามารถแกไขไดถารูจักแสวงหาข อมลู ท่หี ลากหลายและพอเพียงอยางนอย 3 ดาน คือ ขอมูลทางวิชาการ ขอมูลเกี่ยวกับสภาวะแวดลอมทางสงั คมใน วถิ ชี ีวติ วถิ วี ฒั นธรรมประเพณี วิถคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและขอมูลท่เี ก่ียวกับตนเอง รูจักตนเองอยางถองแท ซึ่ง ครอบคลุมถึงการพ่ึงพาตนเองและความพอเพยี ง พอประมาณมาวิเคราะหและสังเคราะหประกอบการคิดและการ ตดั สินใจแกปญหา กระบวนการแกปญหาแบบคนคิดเปน อาจแบงไดดงั น้ี 2.1 ขน้ั ทําความเขาใจกบั ทุกขและปญหาปญหาเกิดขนึ้ ได 2 ทาง คอื 1) ปญหาท่ีเกดิ จากปจจัยภายนอก เชน เม่ือเศรษฐกจิ ทรงตวั หรอื ซบเซา ทําใหรายไดของเราลดนอยลงคน ในสังคมมีการดน้ิ รนแกงแยงกัน เอาตวั รอด การลักขโมย จี้ปลน ฆาตกรรม สงผลกระทบตอความเปนอยูและความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสนิ ปญหาหลายเรอ่ื งสืบเนื่องมาจากสขุ ภาพอนามยั ภยั จากสงิ่ เสพติดหรอื ปรากฏการณ ธรรมชาติ เปนตน

2) ปญหาท่ีเกิดจากปจจัยภายใน คือปญหาที่เกดิ จากกเิ ลสในจติ ใจของมนุษย ซ่งึ มี 3เรือ่ งสําคัญ คือ โลภะ ไดแก ความอยากได อยากมี อยากเปนมากขน้ึ กวาเดมิ มีการดิ้นรน แสวงหาตอไปอยางไมมีท่สี น้ิ สุด ไมมีความ พอเพียง เม่ือแสวงหาดวยวิธสี ุจริตไมไดกใ็ ชวิธีการทจุ ริต ทําใหเกดิ ความไมสงบไมสบายกาย ไมสบายใจ โทสะ ไดแก ความโกรธ ความอาฆาตพยาบาทคนอน่ื ความคิดประทุษรายคนอ่นื โมหะ ไดแก ความไมรู หรือรูไมจริง หลงเชือ่ คํา โกหก หลอกลวง ชักชวนใหหลงกระทาํ ส่ิงที่ไมถูกตอง ทําเรอื่ งเสียหาย หลงผิดเปนชอบ เห็นกงจกั รเปนดอกบวั เป นตน 2.2 ขน้ั หาสาเหตุของปญหา ซึ่งเปนข้นั ตอนหนง่ึ ของกระบวนการแกปญหาเปนข้ันตอนท่ีจะวเิ คราะหข อมูลตาง ๆ ท่ีอาจเปนสาเหตุของปญหา 2.3 ขน้ั วิเคราะหเสนอทางเลอื กของปญหา เปนขัน้ ตอนท่ีตองศกึ ษาหาขอมูลทเี่ ก่ยี วของอยางหลากหลาย และทวั่ ถึง 2.4 ขัน้ การตดั สนิ ใจ เลือกทางเลอื กในการแกปญหาทดี่ ีท่ีสุดจากทางเลอื กทัง้ หมดทม่ี ี 2.5 ขัน้ นําผลการตัดสนิ ใจไปสูการปฏบิ ัติ เมือ่ ไดตัดสินใจดวยเหตุผลและไตรตรองขอมูลอยางรอบคอบ 2.6 ขัน้ ติดตามประเมนิ ผล เม่ือตดั สนิ ใจดําเนนิ การตามทางเลอื กทด่ี ีที่สุดแลว อยางไรก็ตาม สังคมในยคุ โลกาภิวัตนเปนสังคมแหงการเปลยี่ นแปลงทร่ี วดเรว็ และรนุ แรงปญหาก็ เปลยี่ นแปลงอยูตลอดเวลา ทกุ ขกเ็ กดิ ข้นึ ดาํ รงอยู และดับไป หรือเปลย่ี นโฉมหนาไปตามกาลสมัยกระบวนทัศนใน การดับทุกขก็ตองพฒั นารปู แบบใหทนั ตอการเปลี่ยนแปลงเหลานน้ั อยูตลอดเวลา ใหเหมาะสมกับสถานการณที่ เปล่ียนแปลงไปดวยกระบวนการดบั ทกุ ขหรอื แกปญหาก็จะหมุนเวียนมาจนกวาจะพอใจอีกเปนเชนน้ีอยูอยางต อเนื่องตลอดชีวิต เรื่องที่ 5 บทบาทของรัฐ/เจาหนาทข่ี องรฐั ที่เก่ียวของกบั การปองกันปราบปรามเก่ยี วกับ การทจุ ริต 1. บทบาทของรัฐ หลักคิดการแยกประโยชนสวนตนและประโยชนสวนรวมอยางเดด็ ขาดดงั กลาวนี้ สอดคลองกับแนวปฏิบตั ิ ของเจาหนาทข่ี องรฐั ตามประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรือน ขอ 5 ทีก่ ําหนดใหเจาหนาท่ขี องรัฐตองแยกเร่ืองส วนตวั ออกจากตาํ แหนงหนาท่ี และยดึ ถอื ประโยชนสวนรวมของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตน โดยอยางน อยตองวางตน ดังน้ี 1.1 ไมนาํ ความสัมพนั ธสวนตัวท่ตี นมตี อบคุ คลอื่น ไมวาจะเปนญาตพิ ี่นอง พรรคพวก เพ่ือนฝูงหรอื ผูมี บญุ คุณสวนตวั มาประกอบการใชดุลยพินิจใหเปนคุณหรอื เปนโทษแกบุคคลนั้น หรือปฏิบตั ติ อบุคคลนน้ั ตางจาก บคุ คลอ่ืนเพราะชอบหรือชงั 1.2 ไมใชเวลาราชการ เงิน ทรัพยสนิ บุคลากร บริการ หรือส่ิงอํานวยความสะดวกของทางราชการไปเพื่อ ประโยชนสวนตวั ของตนเองหรอื ผอู ื่น เวนแตไดรบั อนญุ าตโดยชอบดวยกฎหมาย 1.3 ไมกระทาํ การใด หรือดาํ รงตําแหนง หรือปฏิบัตกิ ารใดในฐานะสวนตัว ซ่งึ กอใหเกดิ ความเคลอื บแคลง หรอื สงสัยวาจะขดั กบั ประโยชนสวนรวมทอ่ี ยูในความรบั ผดิ ชอบของหนาท่ี ในกรณมี คี วามเคลือบแคลงหรอื สงสัย ให ขาราชการผูนั้นยตุ ิการกระทาํ ดงั กลาวไวกอนแลวแจงใหผูบงั คับบัญชา หัวหนาสวนราชการและคณะกรรมการ จริยธรรมพิจารณา เมื่อคณะกรรมการจริยธรรมวนิ ิจฉยั เปนประการใดแลวจงึ ปฏิบตั ิตามนัน้ 1.4 ในการปฏิบตั ิหนาที่ที่รับผิดชอบในหนวยงานโดยตรงหรอื หนาที่อื่นในราชการ รฐั วิสาหกิจองคการ มหาชน หรือหนวยงานของรัฐ ขาราชการตองยึดถือประโยชนของทางราชการเปนหลกั ในกรณที ี่มคี วามขดั แย งระหวางประโยชนของทาง

ราชการหรือประโยชนสวนรวมกับประโยชนสวนตนหรือสวนกลุมอนั จําเปนตองวินจิ ฉัยหรือชีข้ าด ตองยึด ประโยชนของทางราชการและประโยชนสวนรวมเปนสําคัญ 2. หนาท่ขี องรัฐ รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 กําหนดหนาท่ขี องรฐั ทเี่ ก่ียวของกับการปองกนั และ ปราบปรามเก่ยี วกับการทุจรติ ตองมีการดําเนนิ การ ดงั น้ี 2.1 รัฐตองเปดเผยขอมูลหรือขาวสารสาธารณะในครอบครองของหนวยงานของรฐั ท่ีมใิ ชขอมลู เกี่ยวกบั ความมั่นคงของรฐั หรือเปนความลับของทางราชการทกี่ ฎหมายบัญญัติ และตองจดั ใหประชาชนเขาถงึ ขอมูลหรอื ข าวสารดังกลาวไดโดยสะดวก 2.2 รฐั ตองสงเสริม สนบั สนนุ และใหความรูแกประชาชนถงึ อันตรายที่เกดิ จากการทุจริตและประพฤติมิ ชอบทง้ั ในภาครัฐและภาคเอกชน และจัดใหมีมาตรการและกลไกท่มี ีประสทิ ธิภาพ เพ่อื ปองกนั และขจัดการทจุ ริต และประพฤติมชิ อบดงั กลาวอยางเขมงวด รวมทั้งกลไกในการสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกันเพอ่ื มสี วนรวมในการรณ รงคใหความรู ตอตาน หรอื ชี้เบาะแส โดยไดรับความคุมครองจากรัฐตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั 3. แนวนโยบายแหงรฐั รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 กําหนดแนวนโยบายทีเ่ ก่ียวของกับการปองกนั และ ปราบปรามเกยี่ วกับการทุจริต ไวดงั นี้ 3.1 รฐั พงึ พฒั นาระบบการบริหารราชการแผนดินท้ังราชการสวนกลาง สวนภมู ิภาค สวนทองถิน่ และงาน ของรัฐอยางอนื่ ใหเปนไปตามหลกั การบริหารกิจการบานเมอื งทดี่ ี ตลอดทงั้ พฒั นาเจาหนาท่ีของรัฐใหมคี วามซือ่ สตั ย สจุ ริต 3.2 รัฐพึงจดั ใหมีมาตรฐานทางจรยิ ธรรม เพือ่ ใหหนวยงานของรฐั ใชเปนหลักการกาํ หนดประมวลจริยธรรม สําหรับเจาหนาท่ขี องรฐั ในหนวยงานนน้ั ๆ ซง่ึ ตองไมตํ่ากวามาตรฐานทางจริยธรรมดังกลาว 4. เจาหนาทีข่ องรฐั ที่เกย่ี วของกบั การปองกันและปราบปรามเกย่ี วกบั การทุจรติ เจาหนาที่ของรัฐ นบั วาเปนผูที่มีสวนท่เี กยี่ วของในการปองกันและปราบปรามเกีย่ วกบั การทจุ รติ โดยสอด คลองกบั แนวปฏิบตั ิของเจาหนาทีข่ องรัฐ ตามประมวลจรยิ ธรรมขาราชการพลเรือน ขอ 5 ทีก่ ําหนดใหเจาหนาทีข่ อง รฐั ตองแยกเรื่องสวนตวั ออกจากตาํ แหนงหนาท่ี และยึดถอื ประโยชนสวนรวมของประเทศชาตเิ หนือกวาประโยชนส วนตน โดยอยางนอยตองวางตน ดงั น้ี 4.1 ไมนาํ ความสัมพันธสวนตัวทตี่ นมตี อบุคคลอื่น ไมวาจะเปนญาติพน่ี อง พรรคพวก เพอื่ นฝงู หรอื ผูมี บญุ คณุ สวนตวั มาประกอบการใชดลุ ยพนิ ิจใหเปนคุณหรอื เปนโทษแกบุคคลน้นั หรอื ปฏบิ ตั ิตอบุคคลน้ันตางจาก บุคคลอื่นเพราะชอบหรือชงั 4.2 ไมใชเวลาราชการ เงนิ ทรพั ยสนิ บุคลากร บรกิ าร หรือสิง่ อาํ นวยความสะดวกของทางราชการไป เพ่ือ ประโยชนสวนตัวของตนเองหรือผอู ื่น เวนแตไดรับอนุญาตโดยชอบดวยกฎหมาย 4.3 ไมกระทาํ การใด หรือดาํ รงตาํ แหนง หรือปฏิบตั กิ ารใดในฐานะสวนตัว ซ่ึงกอใหเกิดความเคลอื บแคลง หรอื สงสยั วาจะขดั กบั ประโยชนสวนรวมทอี่ ยูในความรับผิดชอบของหนาท่ี

ใบความรู้ เร่ือง ความอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ การสรางสงั คมทไี่ มทนตอการทุจรติ เปนการปรับเปล่ียนสภาพสังคมใหเกิดภาวะ “ทไ่ี มทนตอการทุจริต” โดยเรมิ่ ต้งั แตกระบวนการกลอมเกลาทางสงั คมในทกุ ชวงวยั เพอื่ สรางวัฒนธรรมตอตานการทจุ รติ และปลูกฝงความ พอเพยี ง มีวนิ ยั ซ่อื สตั ยสจุ รติ ความเปนพลเมืองดี มจี ิตสาธารณะ ผานทางสถาบันหรอื กลุมตัวแทนที่ทําหนาที่ในการ กลอมเกลาทางสงั คม เพอ่ื ใหเด็ก เยาวชน ผูใหญเกิดพฤตกิ รรมที่ละอายตอการกระทาํ ความผดิ การไมยอมรับและ ตอตานการทุจรติ ทุกรปู แบบ 1. ความหมายของความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต (Anti - Corruption) คาํ วา ละอาย หมายถึง การรูสึกอายที่จะทาํ ในสิ่งท่ีไมถูก ไมควร ความละอาย เปนความรูสกึ อายทจี่ ะทําในส่งิ ที่ไมถกู ตอง และเกรงกลวั ตอสง่ิ ที่ไมดี ไมถกู ตอง ไมเหมาะสม เพราะเห็นถงึ โทษหรือผลกระทบท่ีจะไดรบั จากการกระทํานัน้ จึงไมกลาทจี่ ะกระทํา ทําใหตนเอง ไมหลงทาํ ในสง่ิ ทผ่ี ดิ นน่ั คือ มคี วามละอายใจ ละอายตอการกระทาํ ผดิ คาํ วา ทน หมายถงึ การอดกลนั้ ได ทนอยูได เชน ทนดา ทนทกุ ข ทนหนาว ไมแตกหัก หรอื บบุ สลายงาย ความอดทน หมายถงึ การรูจักรอคอยและคาดหวงั เปนการแสดงใหเหน็ ถงึ ความม่ันคง แนวแน ตอสง่ิ ทร่ี อคอย หรือสิง่ ที่จูงใจใหกระทาํ ในส่งิ ท่ไี มดี ไมทน หมายถึง ไมอดกลั้น ไมอดทน ไมยอม ดังนั้น ความไมทน หมายถงึ การแสดงออกตอการ กระทาํ ทีเ่ กดิ ข้นึ กับตนเอง บุคคลทเ่ี กยี่ วของหรือสงั คม ในลักษณะที่ไมยินยอม ไมยอมรับในสงิ่ ทเ่ี กดิ ขึน้ ความไมทนสามารถแสดงออกไดหลายลกั ษณะทั้งในรูปแบบของกริยา ทาทาง หรือคําพูด ความไมทนตอการทจุ รติ หรอื การกระทาํ ทไ่ี มถกู ตอง ตองมกี ารแสดงออกอยางใดอยางหนง่ึ เกิดขนึ้ เชน การแซงคิวเพอ่ื ซื้อของ การแซงควิ เปนการกระทาํ ทีไ่ มถกู ตอง ผถู ูกแซงคิวจงึ ตองแสดงออกใหผูที่ แซงคิวรบั รวู าตนเองไมพอใจ โดยแสดงกริ ิยาหรอื บอกกลาวใหทราบ เพื่อใหผทู ี่แซงคิวยอมทจี่ ะตอทายแถว กรณนี แ้ี สดงใหเหน็ วาผูทถี่ ูกแซงคิว ไมทนตอการกระทาํ ที่ไมถูกตอง และหากผูท่ีแซงควิ ไปตอแถวก็จะแสดงให เหน็ วาบุคคลน้ันมีความละอายตอการกระทาํ ทไ่ี มถูกตอง เปนตน ความไมทนตอการทจุ ริต บุคคลจะมีความไมทนตอการทจุ ริตมาก - นอย เพียงใด ขน้ึ อยูกับ จติ สาํ นึกของแตละบุคคลและผลกระทบที่เกดิ ขน้ึ จากการกระทาํ น้นั ๆ แลวมีพฤตกิ รรมที่แสดงออกมา ซึ่งการ แสดงกรยิ าหรือการกระทําจะมหี ลายระดับ เชน การวากลาวตักเตือน การประกาศใหสาธารณชนรับรู การแจง เบาะแส การรองทุกขกลาวโทษ การชุมนมุ ประทวง ซึ่งเปนขน้ั ตอนสุดทายท่ีรนุ แรงทส่ี ดุ เน่ืองจากมีการรวมตวั ของคนจาํ นวนมาก และสรางความเสยี หายอยางมากเชนกนั ความไมทนของบคุ คลตอสง่ิ ตาง ๆ รอบตวั ทีส่ งผลในทางไมดีตอตนเองโดยตรง สามารถพบเห็น ไดงาย ซง่ึ ปกตแิ ลวทกุ คนมักจะไมทนตอสภาวะ สภาพแวดลอมท่ีไมดแี ละสงผลกระทบตอตนเองแลว มกั จะ แสดงปฏกิ ริ ยิ าออกมา แตการทบ่ี ุคคลจะไมทนตอการทุจริตและแสดงปฏกิ ิริยาออกมานัน้ อาจเปนเร่ืองยาก เนือ่ งจากปจจุบนั สังคมไทยมแี นวโนมยอมรบั การทุจริต เพือ่ ใหตนเองไดรบั ประโยชนหรือใหงานสามารถดําเนิน

10 ตอไปสูความสําเร็จ ซ่ึงการยอมรบั การทจุ รติ ในสังคมไมเวนแมแตเดก็ และเยาวชน และมองวาการทุจริตเปนเรือ่ งไกล ตวั และไมมีผลกระทบกับตนเองโดยตรง 2. ลักษณะของความละอายและความไมทนตอการทจุ ริต (Anti - Corruption) ลักษณะของความละอายสามารถแบงได 2 ระดบั คอื ความละอายระดับตน หมายถงึ ความละอาย ไมกลาทจ่ี ะทาํ ในสง่ิ ทีผ่ ิด เนอ่ื งจากกลวั วาเมอื่ ตนเองไดทาํ ลงไปแลวจะมีคนรบั รู หากถกู จับไดจะไดรับการลงโทษหรือ ไดรับความเดอื ดรอนจากสง่ิ ที่ตนเองไดทาํ ลงไป จึงไมกลาท่ีจะกระทําผิด และในระดบั ท่ีสองเปนระดบั ทส่ี งู คือ แมว าจะไมมใี ครรับรูหรือเห็นในสิ่งทตี่ นเองไดทําลงไป ก็ไมกลาทจ่ี ะทําผิด เพราะนอกจากตนเองจะไดรับผลกระทบแลว ครอบครัว สงั คมกจ็ ะไดรับผลกระทบตามไปดวย ทั้งชื่อเสียงของตนเองและครอบครัวก็จะเสอื่ มเสยี บางคร้ังการ ทุจริตบางเรอ่ื งเปนสง่ิ เล็ก ๆ นอย ๆ เชน การลอกขอสอบ อาจจะไมมีใครใสใจหรอื สงั เกตเหน็ แตหากเปนความละอายขั้นสงู แลว บุคคลน้ันก็จะไมกลาทํา สําหรับความไมทนตอการทจุ ริต จากความหมายที่ไดกลาวมาแลว คือ เปนการแสดงออกอยางใด อยางหนง่ึ เกิดข้ึน เพ่ือใหรบั รูวาจะไมทนตอบุคคลหรอื การกระทําใด ๆ ทีท่ ําใหเกดิ การทจุ ริต ความไมทนตอการ ทจุ รติ สามารถแบงระดับตาง ๆ ไดมากกวาความละอาย ใชเกณฑความรนุ แรงในการแบงแยก เชน หากเพื่อนลอกข อสอบเรา และเราเหน็ ซ่งึ เราจะไมยนิ ยอมใหเพ่ือนทุจริตในการลอกขอสอบ เราก็ใชมอื หรือกระดาษ มาบังสวนท่เี ปนคําตอบไว เชนน้ีกเ็ ปนการแสดงออกถงึ การไมทนตอการทจุ รติ นอกจากการแสดงออกดวยวธิ ี ดังกลาวทถ่ี ือเปนการแสดงออกทางกายแลว การวากลาวตักเตือนตอบุคคลท่ีทุจรติ การประณาม การประจาน การชุมนุมประทวง ถือวาเปนการแสดงออกซึง่ การไมทนตอการทจุ ริตทัง้ สิ้นแตจะแตกตางกนั ไป ตามระดบั ของการทจุ รติ ความตื่นตัวของประชาชน และผลกระทบที่เกิดขนึ้ จากการทุจริต โดยทายเรื่องนไ้ี ด ยกตัวอยางกรณศี กึ ษาท่มี ีสาเหตมุ าจากการทุจริต ทําใหประชาชนไมพอใจและรวมตวั ตอตาน ความจําเปนของการทไ่ี มทนตอการทจุ รติ ถอื เปนสิ่งสําคญั เพราะการทุจริตไมวาระดับเลก็ หรือ ใหญยอมกอใหเกิดความเสยี หายตอสังคม ประเทศชาติ ดงั เชนตัวอยาง คดีรถและเรือดบั เพลงิ ของกรงุ เทพมหานคร ผลของการทุจรติ สรางความเสยี หายไวอยางมาก รถและเรือดับเพลงิ ก็ไมสามารถนํามาใชได รัฐตองสญู เสยี งบประมาณไปโดยเปลาประโยชน และประชาชนเองก็ไมไดใชประโยชนดวยเชนกัน หากเกดิ เพลงิ ไหมพรอมกัน หลายแหง รถ เรอื และอุปกรณดบั เพลงิ จะมไี มเพียงพอทจี่ ะดับไฟไดทันเวลา เพยี งแคคดิ จากมลู คาความเสยี หายทร่ี ัฐ สูญเสยี งบประมาณไป ยังไมไดคดิ ถงึ ความเสยี หายทีเ่ กดิ จากความเดอื ดรอนหากเกิดเพลงิ ไหมแลว ถือเปนความ เสยี หายทส่ี ูงมาก ดงั น้นั หากยังมกี ารปลอยใหมีการทจุ รติ ยินยอมใหมกี ารทจุ รติ โดยเหน็ วาเปนเรื่องของคนอน่ื เป นเร่อื งของเจาหนาทร่ี ฐั ไมเกยี่ วของกับตนเองแลว สดุ ทายความสญู เสียทีจ่ ะไดรับตนเองก็ยงั คงทจ่ี ะไดรบั ผลนัน้ อยูแม ไดังนน้ั การทีบ่ ุคคลจะเกิดความละอายและความไมทนตอการทุจรติ ได จาํ เปนอยางยงิ่ ทจ่ี ะตองสรางใหเกดิ ความ ตระหนัก และรบั รถู งึ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากการทจุ รติ ในทุกรปู แบบ ทุกระดับ ซ่ึงหากสังคมเปนสงั คมท่มี คี วาม ละอายและความไมทนตอการทจุ ริตแลว จะทําใหเกดิ สงั คมทีน่ าอยู และมีการพัฒนาในทุก ๆ ดาน

11 3. การลงโทษทางสังคม (Social Sanction) หมายถงึ ปฏิกิริยาปฏิบัติทางสงั คม เปนมาตรการ ควบคุมทางสงั คมท่ตี องการใหสมาชิกในสงั คมประพฤติปฏบิ ัตติ ามมาตรฐาน หรือกฎเกณฑที่สังคมกาํ หนด โดยมที ั้งดานลบและดานบวก การลงโทษโดยสงั คมเชงิ ลบ (Negative Social Sanction) เปนการลงโทษ โดยการกดดันและแสดงปฏกิ ริ ยิ าตอตานพฤติกรรมของบุคคลที่ไมปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑของสังคม ทําใหบุคคล นั้นเกิดความอับอายขายหนา สาํ หรบั การลงโทษโดยสงั คมเชงิ บวกหรอื การกระตุนสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanction) เปนการแสดงออกในเชงิ สนับสนุนหรือใหรางวลั เปนแรงจูงใจ เพ่ือใหบคุ คลในสงั คมประพฤติ ปฏบิ ตั ติ ามกฎเกณฑของสังคม การลงโทษทางสังคม เปนการลงโทษกบั บคุ ลที่ปฏบิ ตั ติ นฝาฝนกบั ธรรมเนียม ประเพณี หรือแบบแผนท่ี ปฏบิ ตั ิตอ ๆ กนั มาในชุมชน มกั ใชในลกั ษณะการลงโทษทางสังคมเชิงลบมากกวาเชงิ บวก การฝาฝนดังกลาวอาจจะ ไมผดิ กฎหมาย แตดวยธรรมเนียมท่ปี ฏิบัติสืบตอกนั มาน้ันถูกละเมิด ถกู ฝาฝน หรอื ถกู ดหู มน่ิ เก่ยี วกับความเช่ือของ ชุมชน กจ็ ะนาํ ไปสูการตอตานจากคนในชุมชน แมวาการฝาฝนดงั กลาวจะไมผดิ กฎหมายก็ตามและทส่ี ําคัญไปกว าน้นั หากการกระทําดังกลาวผดิ กฎหมายดวยแลวอาจสรางใหเกิดความไมพอใจขึ้นได ไมเพยี งแตในชุมชนนั้น แตอาจเกี่ยวเนอื่ งไปกบั ชุมชนอนื่ รอบขาง หรือเปนชมุ ชนทใ่ี หญท่ีสุด น่นั คือ ประชาชน ทั้งประเทศซึ่งการลงโทษทางสังคมมที ง้ั ดานบวกและดานลบ ดังนี้ การลงโทษโดยสังคมเชิงบวก (Positive Social Sanctions) จะอยูในรปู ของการใหการสนบั สนุน หรือการสรางแรงจงู ใจ หรอื การใหรางวัล ฯลฯ แกบคุ คลและสงั คม เพอ่ื ใหประพฤตปิ ฏบิ ตั ิสอดคลองกบั บรรทดั ฐาน (Norm) ของสงั คมในระดบั ชุมชนหรือในระดับสงั คม การลงโทษโดยสงั คมเชงิ ลบ (Negative Social Sanctions) จะอยูในรปู แบบของการใช มาตรการตาง ๆ ในการจัดระเบียบสังคม เชน การวากลาวตักเตอื น ซ่ึงเปนมาตรการข้ันตาํ่ สุดเรื่อยไปจนถึงการ กดดนั และบบี ค้ันทางจิตใจ (Moral Coercion) การตอตาน (Resistance) และการประทวง (Protest) ในรูปแบบตาง ๆ ไมวาจะโดยปจเจกบุคคลหรอื การชมุ นมุ ของมวลชน การลงโทษโดยสงั คมเชิงลบ จะสรางใหเกดิ การลงโทษตอบคุ คลท่ีถกู กระทาํ การลงโทษประเภทน้ี เปนการลงโทษเพอ่ื ใหหยุดกระทําในสิง่ ที่ไมถกู ตอง และบคุ คลท่ถี กู ลงโทษจะเกดิ การเข็ดหลาบ ไมกลาท่ีจะทาํ ในส่ิงนั้นอีก การลงโทษประเภทน้ีมีความรุนแรงแตกตางกนั ตง้ั แตการวากลาวตกั เตือน การนนิ ทาการประจาน การชุมนุมขบั ไล ซ่ึงเปนการแสดงออกถึงการไมทน ไมยอมรับตอสิ่งทบี่ ุคคลอน่ื ไดกระทําไป ดังนัน้ เมื่อมีใคร ทท่ี ําพฤตกิ รรมเหลานน้ั ขึ้น จึงเปนการสรางใหเกิดความไมพอใจแกบุคคลรอบขาง หรือสงั คม จนนําไปสกู าร ตอตานดังกลาว

12 การลงโทษโดยสังคมจะมีความรุนแรงมากหรอื นอย ก็ข้นึ อยูกับการกระทาํ ของบคุ คลน้นั วา รายแรงขนาดไหน หากเปนเรอื่ งเล็กนอยจะถูกตอตานนอย แตหากเรอื่ งนัน้ เปนเรือ่ งรายแรง เรอ่ื งทีเ่ กิดขน้ึ ประจาํ หรือมีผลกระทบตอสงั คม การลงโทษกจ็ ะมีความรุนแรงมากข้ึนดวย เชน หากมีการทจุ ริตเกิดขึ้นกอ็ าจ นําไปเปนประเดน็ ทางสงั คมจนนาํ ไปสูการตอตานจากสังคมได เพราะการทุจรติ ถือวาเปนสิง่ ทไี่ มถูกตอง ผดิ กฎหมาย และผดิ ตอศีลธรรม บอยครง้ั ท่มี กี ารทจุ ริตเกดิ ขน้ึ จนเปนสาเหตุของการชมุ นมุ ประทวง เพ่ือกดดนั ขับไลใหบุคคลน้นั หยดุ การกระทําดังกลาว หรอื การออกจากตาํ แหนงนัน้ ๆ หรือการนําไปสูการตรวจสอบ และลงโทษโดยกฎหมาย โดยในหวั ขอสุดทายของเน้ือหาวิชานี้ ไดนาํ เสนอตวั อยางทไ่ี ดแสดงออกถึงความไมทน ตอการทุจรติ ทีม่ กี ารชมุ นมุ ประทวงบางเหตกุ ารณผูที่ถูกกลาวหาไดลาออกจากตําแหนง ซงึ่ การลาออกจาก ตาํ แหนงนน้ั ถือเปนความรับผิดชอบอยางหนึ่งและเปนการแสดงออกถงึ ความละอายในสิง่ ทต่ี นเอง ไดกระทาํ

ใบความรู้ ภมู ิพล’ กษตั รยิ ์ผู้พอเพยี ง พ่อท่ีใชด้ ินสอไมจ้ นส้นั กุดและนำมวนกระดาษมาตอ่ เพอ่ื ที่จะให้ใช้ต่อไปได้ พอ่ ท่ีรีดหลอดยาสฟี นั จนบางราวกับกระดาษ เพ่ือจะใชย้ าสีฟนั จนถึงหยดสุดท้าย พอ่ ทน่ี ำเร่ืองความพอเพยี งมาสอนให้ลูกๆ ทุกคนยึดถือเป็นแนวทางในการดำรงชวี ิต พอ่ คนนี้คือ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พ่อผู้ทรงเป็นแบบอยา่ งใหก้ ารดำเนินชีวติ ตามหลัก พอเพยี ง ให้กับพสกนกิ รชาวไทยมาตลอด 70 ปี ‘สมเด็จยา่ ’ ผู้ปลูกฝงั เรอื่ งความพอเพียง ความพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช มีจดุ เรมิ่ ต้นมาจากจากคำสอนของ สมเดจ็ พระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือ สมเด็จยา่ ซึง่ การประหยัดอดออมไมฟ่ ุ่มเฟอื ยนนั้ คอื หน่งึ ในวธิ กี ารเล้ียงพระโอรส และพระธดิ าของสมเดจ็ ยา่ พระองค์ทรงสอนลูกทุกพระองค์ให้ร้จู ักใชเ้ งนิ ของขวญั ท่ีจะไดเ้ พียง 2 วัน คือวันปใี หม่ และวันคลา้ ยวันประสตู ิ หากอยากได้นอกเหนือจากนตี้ อ้ งเก็บเงินซ้ือเอง หรอื ทรงไดร้ ับอนญุ าตให้หนุ้ กัน หากสมเด็จ ยา่ เปน็ ผูท้ รงซอื้ ให้ กจ็ ะทรงซอ้ื ใหก้ ็ต่อเมื่อ ต้องใช้ประโยชน์

คร้ังยังทรงพระเยาว์ พระองค์กเ็ ร่มิ มีพระราชอัธยาศัยโปรดการถา่ ยภาพ กลอ้ งถ่ายภาพตัวแรกของพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช คือกล้อง Coronet Midget สเี ขยี วปะดำ ของฝรัง่ เศส ราคาเพียง 2 ฟรังกส์ วสิ ซ่ึงถอื วา่ มีราคาถูก เปน็ สิง่ หน่ึงทสี่ มเด็จย่าพระราชทานให้ [ ท่มี า : http://pantip.com/topic/31350716 ] เม่อื ทรงเจริญพระชนมพรรษาข้นึ มาก็ทรงสนพระทัยทางด้านดนตรี พระองค์ทรงซอ้ื แซกโซโฟนมือสองราคา 300 ฟรังกม์ าทรงหัดเล่น โดยใช้เงนิ สะสมสว่ นพระองคค์ รึง่ หนึง่ และอีกครงึ่ หนึ่งสมเดจ็ ยา่ เปน็ ผู้ออกใหเ้ ช่นกัน อีกสิง่ หน่ึงทค่ี วบคู่กับความเปน็ เด็กนน่ั ก็คอื ของเล่น หากอยากไดข้ องเล่นอะไรต้องทรงเกบ็ เงินซือ้ เอง หรือหุ้นค่าขนม กับพระเชษฐา ในบางคร้ังพระองค์กท็ รงประดิษฐข์ องเล่นขนึ้ เอง ทำให้พระองคท์ รงมคี วามคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์มา ตง้ั แตท่ รงพระเยาว์ และฉายแววพระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นงานประดิษฐ์ เม่อื เจรญิ พระชนมพรรษาข้นึ กท็ รงนำมาต่อยอด เปน็ โครงการชว่ ยเหลอื ประชาชนของพระองคอ์ กี มากมาย ตวั อย่างสง่ิ ของท่พี ระองคท์ รงคดิ ค้นด้วยพระองค์เองคือ ทรงประดิษฐ์กังหันน้ำชัยพฒั นา ทก่ี ารหมนุ น้ำใหน้ ้ำได้รับ ออกซเิ จน ทำใหน้ ้ำท่ีเนา่ เสยี คืนส่สู ภาพเดิม และสามารถนำกลับมาใช้ไดอ้ ีกครั้ง เปน็ อีกหน่งึ โครงการท่สี รา้ ง ประโยชนใ์ ห้แกป่ ระเทศชาตไิ ด้อย่างมหาศาล

การที่พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชเปน็ พระมหากษตั รยิ ์ท่พี อเพียงนนั้ กเ็ พราะทรงมีแบบอยา่ งท่ี ดอี ย่างสมเด็จย่าเป็นผู้ชน้ี ำ จากคำสอนเพยี งไม่กคี่ ำของสมเด็จย่า ทำใหพ้ ระองคท์ รงนำแตกแขนงเกดิ เป็นองคค์ วามรู้ ใหม่ๆ นอกจากการประหยดั อดออม และรู้จกั รู้คุณคา่ ของเงินทส่ี มเดจ็ ย่าไดป้ ลกู ฝงั แลว้ พระอจั ฉริยภาพ และ ความคิดสรา้ งสรรคใ์ นพระองคเ์ องยังเปน็ ส่ิงท่สี ำคัญท่สี ุด ที่ทำใหป้ ระเทศไทยสามารถพัฒนาไปได้อย่างย่งั ยืน ใช้ทุกอย่าง...อย่างคุ้มคา่ เป็นทท่ี ราบกันดีอยู่แลว้ วา่ ของใช้สว่ นพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชแตล่ ะช้นิ น้นั พระองค์จะทรงใชอ้ ย่างคุม้ คา่ ของใชส้ ่วนพระองค์อกี ช้ินทห่ี ลายคนคงคุน้ ตากนั ดี คือหลอดยาสีฟนั ทถ่ี ูกรีดจนแบนราวกับกระดาษ ซ่ึงท่ถี ูกนำมาจดั แสดง ณ พิพิธภณั ฑ์ในคณะทนั ตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย คือหลอดยาสพี ระทนตพ์ ระราชทาน ท่ีทรง ใชจ้ นอย่างคมุ้ ค่า คอื ตัวอย่างหน่ึงของความประหยัดและพอเพยี งของพระองคท์ ีแ่ ทจ้ ริง

ในสว่ นของเคร่อื งแตง่ กาย ดร.สเุ มธ ตันตเิ วชกุล เลขาธิการมลู นิธชิ ัยพฒั นาและข้าราชบริพารทร่ี บั ใช้เบอื้ งพระยุคล บาทอย่างใกล้ชิด เคยเล่าไวถ้ ึงความประหยดั และความพอเพียงของในหลวงไว้วา่ “แมก้ ระทั่งฉลองพระองคก์ ท็ รงมี ไม่ก่ีชดุ ทรงใช้จนเป่อื ยซดี สว่ นฉลองพระบาทกเ็ ป็นเพยี งรองเท้าหนังสดี ำแสนธรรมดา เม่ือเก่าแล้วก็จะถูกสง่ ไปซ่อม ทำเชน่ น้จี นไมส่ ามารถซ่อมได้แลว้ จึงหยดุ ซ่งึ ราคาของฉลองพระบาทของพระองคม์ ีราคาเพียงคู่ละ 300 - 400 บาท เทา่ นน้ั ” ในการทรงงาน พระองค์จะทรงใช้ดินสอไม้ท่ีมียางลบตดิ ท้าย ในแต่ละปีพระองค์จะทรงเบิกดนิ สอเพยี ง 12 แทง่ และ จะทรงใช้เดอื นละแท่งจนส้นั กุด และจะทรงใชก้ ระดาษมามว้ นต่อปลายดินสอใหย้ าว เพือ่ ให้เขียนได้ถนดั มอื จนกระทั่งหมดแท่งแลว้ จงึ ท้งิ ส่วนเหตุผลที่พระองค์ใช้ดินสอในการทรงงานเปน็ สว่ นใหญ่ ก็เพราะด้วยทรงเหน็ ว่า ราคาถกู และผลติ ไดใ้ นประเทศ อกี ทั้งเมอ่ื ผิดก็สามารถลบออกได้งา่ ย

เวลาพระองค์เสด็จฯ เยีย่ มราษฎรในถิ่นทุรกันดาร สง่ิ ของทีพ่ ระองคจ์ ะนำติดตวั ไปด้วยนอกจากดนิ สอและกลอ้ ง ถ่ายภาพแลว้ แผนท่ีทรงงานกเ็ ปน็ สง่ิ ของอีกอย่างหน่งึ ที่พระองค์ทรงใชอ้ ย่างคุ้มคา่ จนมสี ภาพเปื่อยย่ยุ และถูก ซอ่ มแซมด้วยเทปกาวไปท่ัวทัง้ แผ่นแผนที่ ซ่ึงเฟซบ๊กุ “Arnakorn Jarueksil” ได้โพสต์ภาพแผนท่ีสว่ นพระองค์ ท่ี เขามโี อกาสไดเ้ ห็น จากการเข้าไปเยยี่ มชมในกรมแผนที่ แผนทส่ี ่วนพระองคน์ อกจากจะมีสภาพทเ่ี ปือ่ ยยุ่ยแล้ว ยังมีลายพระหตั ถข์ องพระองคท์ ี่ใส่รายละเอียดสถานท่ีที่ พระองคไ์ ด้เสดจ็ ฯไป รวมถึงโครงการตา่ งๆ เรียงรายทัว่ ท้ังผืน สะท้อนให้เหน็ ถงึ ความใส่ใจในพสกนิกรของพระองค์ ทุกกา้ วยา่ งทีท่ รงเหยียบลงไป นำมาซ่งึ ความสุขความเจรญิ แก่เหล่าปวงชนชาวไทยอยา่ งสดุ จะหาใครเสมอเหมอื น

เนน้ ประโยชน์ ไม่เนน้ ไม่หรหู รา นอกจากจะทรงรคู้ ณุ ค่าและใชส้ ิ่งของให้เกดิ ประโยชนอ์ ยา่ งสงู ทส่ี ุดแลว้ อกี สิง่ หนึง่ ท่ีสังเกตไดอ้ ย่างชัดเจนคอื พระองค์จะไมโ่ ปรดสวมเครอ่ื งประดับ เช่น แหวน สร้อยคอ รวมถงึ สิ่งของมีค่าตา่ งๆ ยกเวน้ นาฬกิ าเทา่ น้ัน ที่นบั วา่ เป็นเครื่องประดับเพียงอยา่ งเดียวท่ีอยคู่ ูข่ ้อพระหตั ถ์ของพระองค์ ทส่ี ำคญั ยังเปน็ เพยี งนาฬกิ าธรรมดา ไมไ่ ด้มีความ หรหู ราอะไรอีกดว้ ย ขอ้ มูลของนาฬิกาประจำพระองค์น้ัน ถกู เปดิ เผยผ่านเฟซบุ๊ก “Withaya Heng” ซ่ึงได้มีการโพสต์ภาพพระบรม ฉายาลักษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และนาฬกิ าข้อพระหตั ถ์ พร้อมขอ้ ความระบวุ ่า “วนั นไ้ี ด้เข้าไปดคู ลงั ภาพในหลวงในงานพระราชพธิ ีฉลองสริ ริ าชสมบัติครบ 60 ปี ตามที่มกี ารแชร์ลิงก์เว็บสำนกั พระราชวงั กนั ในเฟซบกุ๊ สะดุดตากบั ภาพของพระองค์ท่านภาพหนงึ่ ซึง่ สามารถเห็นนาฬกิ าบนขอ้ พระหตั ถค์ อ่ นข้าง ชดั เจน ตามประสาคนรกั นาฬกิ ากอ็ ยากจะใคร่รู้ว่าในหลวงทรงนาฬิกายห่ี อ้ ใด จงึ ลองเซฟภาพมาขยายดูแล้วก็ถงึ กบั องึ้ เพราะนาฬิกาบนข้อพระหัตถ์ของพระองคท์ า่ นในวนั นัน้ คอื Seiko SKJ045P นาฬิกาดำนำ้ ระบบ Kinetic ตัว เรอื นเป็น Titanium ซึ่งถือว่าเปน็ นาฬิการะดบั ธรรมดามาก ๆ เรียกภาษาชาวบา้ น คอื เป็นนาฬิกาใชง้ าน แสดงถงึ ความเรียบงา่ ยและสมถะของพระองค์ท่าน และเป็นแบบอย่างแหง่ ความพอเพียงอย่างที่สดุ จริง ๆ ครบั ”

หรือแม้แตว่ นั ที่พระองคเ์ สดจ็ สวรรคต หลายคนคงได้เห็นรถตสู้ ฟี ้า-เทา อนั เรยี บง่ายและไม่มีการตดิ ตราสญั ลกั ษณ์แต่ อย่างใด ใช้สำหรับอญั เชิญพระบรมศพออกจากโรงพยาบาลศริ ิราช มุ่งหนา้ ไปยงั พระบรมมหาราชวงั แล้วอาจเกิด คำถามขึ้นในใจว่า เพราะเหตุใดจึงเลอื กใชร้ ถคนั นี้ และทำไมถงึ ไมใ่ ช้รถพระทน่ี ่งั ทีส่ มพระเกียรติของพระองค์ “เจมส์ บอนด์” คือชอ่ื ของรถยนตพ์ ระทนี่ ง่ั คนั นี้ ส่วนสาเหตุทเ่ี ลอื กใชก้ เ็ พราะเป็นรถทพี่ ระองคท์ รงโปรด โดยภายใน จะมีความเรียบง่าย และแทบไมม่ ีอะไรเลยนอกจากวทิ ยทุ ่ตี ิดมากับรถ และจะมีโตะ๊ เลก็ ๆ ไวท้ รงงาน และจะมนี าย ช่างประจำตวั คอยตรวจเชก็ สภาพ และซอ่ มแซมอยเู่ สมอ ต่อจากนี้ไปตอ้ งเป็นหน้าที่ของลูกๆ ของพอ่ ทกุ คน ท่ีต้องน้อมนำพระราชดำรัสเรอื่ งความพอเพยี งประยุกตใ์ ช้ให้เข้า กับชวี ติ ประจำวัน ซงึ่ ไมเ่ พียงแตจ่ ะมีพระราชดำรัสอย่างเดยี วเทา่ นั้น พระองคเ์ องยงั ทรงเป็นแบบอยา่ งให้พสกนิกร ชาวไทยใหไ้ ดเ้ หน็ ถงึ การใช้ชวี ิตอยา่ งพอเพียง สมกบั คำกล่าวทีว่ ่า “พระมหากษตั รยิ ์ผู้เป็นแบบอย่างการดำเนนิ ชีวิต แบบพอเพียง” ท่แี ทจ้ ริง ขอบคณุ ภาพประกอบ : สำนกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ , pantip.com และเฟซบกุ๊ “ตน้ แบบแหง่ ชีวิต รองเท้าของ พอ่ ”

13

14



16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29 แบบทดสอบ 1. ข้อใดกล่าวถงึ ความหมายของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกตอ้ งที่สุด ก. แนวทางการแกป้ ญั หาเศรษฐกจิ ของประเทศ ข. แนวทางการดำเนินชีวิตด้วยอาชพี เกษตรกรรม ค. แนวทางการสร้างรายได้เพื่อให้เพียงพอตอ่ รายจ่าย ง. แนวทางการดำเนินชีวิตตามหลกั ทางสายกลางเพือ่ คุณภาพชีวิตทดี่ ี 2. การดำเนนิ ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอ้ งยึดเง่อี นไขใดเปน็ พื้นฐาน ก. ความรแู้ ละความรกั ข. ความรกั และคุณธรรม ค. ความร้แู ละความสามัคคี ง. สติปัญญาและความเพยี ร 3. ใครปฏบิ ัตติ นไดถ้ กู ต้องตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมากทีส่ ุด ก. แทยัง ไม่ทานขา้ วกลางวนั เพราะตอ้ งการออมเงินใหไ้ ดม้ ากที่สุด ข. โดยอง เปน็ คนมนี ำ้ ใจและชอบขซอื้ ของราคาแพงมาแจกเพ่อื นๆ ค. แจมิน ใช้เงินอยา่ งรอบคอบและเลอื กซอื้ ของที่จำเป็นจริงๆเท่าน้นั ง. บงิ ซู ชอบแตง่ ตัวตามแฟช่นั จึงมักชอบซ้อื เส้ือผ้าแบบใหม่ๆอยู่เสมอๆ 4. บคุ คลใดเปน็ ผูม้ ีภมู ิคุ้มกนั ท่ีดตี ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก. หนงิ หนงิ ออกกำลงั กายสมำ่ เสมอ ข. เจนน่ี ตรวจสุขภาพและฉดี วัคซนี เป็นประจำ ค. ไอริน มคี วามมุ่งมัน่ และมคี วามขยันหมน่ั เพยี ร ง. ชานน แบ่งเงนิ เดือนบางสว่ นไวส้ ำรองใชย้ ามจำเปน็ 5. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของโมเดล STRONG ก. S : Sacrifice ความเสียสละ ข. T : Transparent ความโปรง่ ใส ค. R : Realize ความตื่นรู้ ง. N : Knowledge ความรู้

30 6. ข้อใดไมใ่ ช่ผลกระทบของการทจุ ริต ก. เกิดความไม่ยตุ ิธรรม ข. บริษทั ต่างชาติเข้ามาลงทนุ ในประเทศมากข้ึน ค. การเมืองขาดเสถยี รภาพและไร้ประสิทธิภาพ ง. ประชาชนขาดความไวว้ างใจในการทำงานของรัฐบาล 7. พฤติกรรมในข้อใดเข้าข่ายการทจุ ริตแบบตดิ สินบนมากท่สี ุด ก. นานา เปดิ ร้านขายของออนไลน์ แล้วนำเงนิ ของลูกค้ามาใช้จา่ ยส่วนตวั ข. ลิลลี่ อยากเปน็ เนต็ ไอดอลจึงนำภาพของผอู้ ืน่ มาแอบอา้ งว่าเป็นตนเอง ค. ดาดา้ ไดร้ ับการดูแลจากคณุ ครูเป็นพเิ ศษ เนอื่ งจากครอบครวั บรจิ าคเงนิ ให้โรงเรียนจำนวนมาก ง. ปนั ปัน ใชค้ วามสามารถด้านคอมพิวเตอรใ์ นการเข้าถงึ ข้อมูลสว่ นตวั ของผู้อื่นโดยไม่ได้รบั อนญุ าต 8. ขอใดไมใชจุดมงุ่ หมายของโมเดล STRONG จิตพอเพยี งดา้ นทจุ ริต ก. ส่งเสริมให้ประชาชนมนี สิ ัยประหยดั อดออม ข. ทำให้กล้าแสดงออกในการตอ่ ตา้ นพฤติกรรมทุจรติ ค. สร้างความเข้าใจวา่ การทุจรติ เป็นเรอื่ งผดิ จรยิ ธรรม ง. เพ่ือที่จะทำให้เกดิ ความละอายตอ่ การกระทำทจุ รติ 9. ขอใดไมใชประโยชนข์ องส่ือสังคมออนไลน์ ก. ติดตอ่ สอ่ื สารได้สะดวกรวดเร็ว ข. ไม่สง่ ผลเสียต่อทรัพยากรธรรมชาติ ค. คลายเครยี ดและสรา้ งความบันเทิงแกผ่ ใู้ ชง้ านได้ ง. เปน็ ชอ่ งทางในการสร้างผลงานและสร้างรายไดด้ ี 10. บุคคลใดใชง้ านสอ่ื ออนไลน์ได้อย่างถกู ต้องและเหมาะสมทีส่ ุด ก. จีมนิ เช็คอินทุกสถานทีท่ ต่ี นเองไปเป็นประจำ ข. ยองแจ ไลฟ์สดขายกระเป๋าท่มี ีลักษณะคลา้ ยของแบรนด์ดงั ในราคาถกู ค. จฮี ุน ใชเ้ วลาในชว่ งวนั หยดุ เลน่ PUBG ตลอดท้งั วันท้ังคืนแบบไม่พกั เลย ง. ซายอล ทำรายงานโดยหาขอ้ มลู จากอินเทอรเ์ น็ตพร้อมอ้างอิงแหลง่ ทม่ี า

31 11. สมเดจ็ ย่า ทรงสอนลกู ทกุ พระองค์เรื่องการใช้เงนิ ของขวญั แค่ 2 วนั คอื วันอะไร ก. วันสงกรานต์และวันปีใหม่ ข. วนั ออกพรรษาและวันสงกรานต์ ค. วันคล้ายวันประสูติและวันปีใหม่ ง. วนั ออกพรรษาและวันคล้ายวนั ประสูติ 12. ในหลวงรัชกาลที่ 9 ทรงใช้นาฬกิ าท่ที รงใสข่ ้อพระหัตถย์ ่ีห้ออะไร ก. Seiko ข. Rolex ค. Cartrer ง. G Shock 13. สง่ิ ท่ที าํ ใหเกดิ การทจุ ริต ก. โอกาส ความกดดันจติ ใจ ความเครียด ข. แรงจูงใจ เหตผุ ล ความยากจน ค. โอกาส แรงจงู ใจ ความยากจน ง. โอกาส แรงจงู ใจ เหตผุ ล 14. การทุจริตขอใดกอใหเกดิ ความเสียหายตอสงั คม ก. คายาเสพติด ข. ลกู พดู โกหกพอแม ค. เพ่ือนขอลอกขอสอบ ง. จางเพื่อนทําช้นิ งานสงครู 15. ถาทานรูวาสิง่ ทีก่ ระทํานัน้ ไมดี ไมถูกตอง ตรงกับความหมายขอใด ก. ความไมทน ข. ความละอาย ค. ความไมกลัว ง. ความเกรงใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook