สุวัณณหัง สชาดก โลภมาก มักลาภหาย
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธิบายเรื่อง สุวัณณหังสชาดกได้
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนเห็นคุณ ค่าในการศึกษา เรื่องราว สุวัณณหังสชาดก
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ วิเคราะห์ข้อคิด ที่ได้รับจากการศึกษานิทาน ชาดกมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ได้
สุวัณณหังสชาดก - หงส์ทองคำ
สื่อวีดิทัศน์นี้ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น ขอขอบคุณสื่อวีดิทัศน์ เรื่อง สุวัณณหังสชาดก เผยเเผ่โดย :watintaram ที่มา :https://www.youtube.com/watch? v=j8PVnPVTsBB&feature=youtu.be
ชาดก or นิทาน เหมือนกันรึเปล่าน่ะ ?
ชาดก เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริง ชาดกเป็นเรื่องเล่าคล้าย นิทาน เป็นเรื่องที่แต่งขึ้น นิทานบางครึ่งจึงเรียกว่า \" นิทานชาดก\"
ชาดก เป็นเรื่องราวหรือชีวประวัติในชาติก่อนของ พระพุทธเจ้าคือสมัยที่พระองค์เป็นพระโพธิสัตว์ บำเพ็ญบารมีเพื่อตรัสรู้พระพุทธเจ้าทรงเล่าชาดกให้ แก่ผู้คนเพื่อเผยแผ่หลักธรรมคำสอนผ่านเรื่องราวเพื่อ ให้เข้าใจคำสอนได้ง่ายขึ้น
ชาดก มี 2 ประเภท นิบาตชาดก ปัญญาสชาติชาดก
นิบาตชาดก ทศชาติชาดก พระไตรปิฎก 10 ชาติสุดท้าย มี 500 เรื่อง ของพระโพธิสัตว์ ก่อน เเบ่งหมวดตามคาถาตั้งเเต่ 1- 80 คาถา เกิดเป็นพระพุทธเจ้า ชาดกที่มีเกิน 80 คาถา ขึ้นไป เรียกว่า มหานิบาตชาดก
ปัญญาสชาติชาดก ไม่มีในพระไตรปิฎก เเต่ขึ้นจากนิทานพื้นเมืองของชาวเชียงใหม่ โดย เลียนแบบ นิบาตชาดก
ความสำคัญของชาดก มีคุณค่าให้ข้อคิดสอนใจที่ไม่ล้าสมัย สามารถนำมาปรับ ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน ได้ทุกยุคทุกสมัย
ความสำคัญของชาดก ส่งเสริม และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่เด็กผ่านการ เล่านิทานได้ทั้ง ความรู้ และความสนุก
ความสำคัญของชาดก ยกระดับจิตใจคนให้คิดดี พูดดี ทำในสิ่งที่ดี
ความสำคัญของชาดก ส่งเสริม และปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่เด็กผ่านการ เล่านิทานได้ทั้ง ความรู้ และความสนุก
ข้อคิดที่ได้จากกันศึกษา “โลภมาก มักลาภหาย”
พระคาถา “บุคคลได้สิ่งใด ควรยินดีสิ่งนั้น เพราะความ โลภเกินประมาณเป็ นความชั่วแท้” นางพราหมณ์จับพระยาหงส์เสียแล้วจึงเสื่อมจากทอง
บทบาทและโครงสร้างตัวละคร ภิกษุณี ถูลนันทา พระพุทธเจ้า นางพราหมณ์ พระพุทธเจ้า นายพราหมณ์, หงส์ทองคำ นางนันทา นางนันทวดี นางสุนันทา เหล่าภิกษุบริวาล เหล่าภิกษุบริวาล เหล่าภิกษุบริวาล
กิจกรรม ”ไหนมันเป็นยังไง เล่ามาซิ !
คำชี้แจง การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ ( Cooperative Learning) นักเรียนแบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ภายในสมาชิกกลุ่มต้องมี ผู้ชาย/ผู้หญิง โดยสมาชิกแต่ละคนมีหมายเลข 1,2,3 และ 4
ประเด็นที่จะให้นั กเรียนศึกษาศึกษา - พระพุทธเจ้าตรัสเล่าสุวัณณหังสชาดก เพราะทรงปรารถเรื่องใด - ตัวละครที่สำคัญในสุวัณณหังสชาดกมีใครบ้าง - ตัวละครใดบ้างควรเอาเป็นแบบอย่างและไม่ควรเอาเป็นแบบอย่างเพราะเหตุใด - การศึกษาสุวัณณหังสชาดกได้ข้อคิดอะไรบ้างที่สามรถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ให้สมาชิกภายในกลุ่มจับคู่กันเล่าพร้อมวิเคราะห์เรื่ องราวในชาดกที่ศึกษา ขั้นที่ 1 สมาชิกหมายเลข 1 จับคู่กับหมายเลข 2 และหมายเลข 3 จับคู่กับหมายเลข 4 โดยหมายเลข 1 และ 3 เป็นผู้เล่า ส่วนหมายเลข 2 และ 4 เป็นผู้ฟัง ขั้นที่ 2 เปลี่ยนผู้เล่าและผู้ฟังโดยหมายเลข 2 และ 4 เป็นผู้เล่า ส่วนหมายเลข 1 และ 3 เป็นผู้ฟัง ขั้นที่ 3 ให้แต่ละคนผลัดกันเล่าให้สมาชิกภายในกลุ่มฟังโดยเริ่มจากหมายเลข 1,2,3 และ4
เกม Vonder เเบบทดสอบ จำนวน 10 ข้อ
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: