ชื่องานวิจัย การพัฒนาการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพทโ์ ดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะของนักเรยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์ ชือ่ ผู้วิจยั นางสาวมณฑกาญจน์ ศริ ิมงคล หน่วยงาน โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ บทคดั ย่อ การศึกษาวจิ ัยในครง้ั น้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคา ราชาศัพท์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 และเพื่อสร้างและพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนคาราชาศัพท์ท่ีมี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 โดยศึกษาจากกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 43 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาคน้ ควา้ คือ แบบฝึกทกั ษะอ่าน และการเขียนคาราชาศัพท์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทดลองใช้แบบกลุ่มเดียวที่มีการวัด กอ่ นและหลงั การทดลอง สถติ ิทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ใช้คา่ เฉลย่ี และคา่ รอ้ ยละ จากผลการศึกษาพบว่า แบบฝึกทักษะการเขียนคาราชาศัพท์ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.095 /81.14 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ต้ังไว้ และผู้เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเรือ่ งคาราชาศพั ทส์ งู ขึน้ คิดเป็นร้อยละ 81.14 ผลที่ได้จากการศึกษาในคร้ังนี้ ได้แบบฝึกทักษะการเขียนคาราชาศัพท์ท่ีมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนมี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเร่อื งคาราชาศัพทส์ งู ขนึ้
สารบญั เร่ือง หนา้ บทคดั ยอ่ 1 2 บทนา 2 3 บทท่ี 1 1.1 ความสาคญั และความเป็นมาของปัญหา 3 3 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 4 1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั 7 8 1.4 สมมุติฐานการวจิ ยั 16 1.5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 19 27 1.6 ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 30 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง 35 บทท่ี 2 2.1 พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 35 36 2.2 หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 38 39 2.3 แนวการจดั การเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย 2.4 การจดั การเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศกึ ษา ที่เนน้ เป็นผเู้ รียนสาคญั 2.5 การสร้างแบบฝึกทกั ษะ 2.6 หลกั จิตวทิ ยาที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสร้างแบบฝึ ก 2.7 งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง บทท่ี 3 วธิ ดาเนินการ 3.1 กลุ่มเป้ าหมาย 3.2 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 3.3 การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และสถิติท่ีใช้
สารบญั บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน 41 บทท่ี 5 4.1 สัญลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 41 4.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 41 4.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 44 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 44 5.1 วตั ถุประสงคใ์ นการวจิ ยั 44 5.2 สมมุติฐานการวจิ ยั 44 5.3 กลุ่มเป้ าหมาย5rt 45 5.4 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั 45 5.5 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 46 5.6 อภิปรายผล 47 5.7 ขอ้ เสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ภาคผนวก ข แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ภาคผนวก ค แบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ รายชื่อผเู้ ชี่ยวชาญ ประวตั ิยอ่ ผวู้ จิ ยั
สารบญั ตาราง เรื่อง หนา้ ตารางที่ 1 แสดงแบบแผนการทดลอง 37 ตารางท่ี 2 แสดงคะแนนเฉลี่ยและค่าร้อยละเพ่ือหาประสิทธิภาพ 44 ของแบบฝึก ทกั ษะการอ่านและเขียนคาควบกล้า ตามเกณฑม์ าตรฐาน ตารางท่ี 3 80/80 45 แสดงคะแนนเฉล่ียและค่าร้อยละของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ ทดสอบหลงั เรียน
ภาคผนวก ภาคผนวก ก การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ภาคผนวก ข แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ภาคผนวก ค แบบฝึกทกั ษะการเขียนคาท่ีมีตวั การันต์
บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมสำคัญและควำมเปน็ มำของปญั หำ พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 บัญญัตติ าม มาตรา 6 การจัดการศกึ ษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนให้ให้เปน็ มนษุ ย์ท่ีสมบูรณ์ ท้งั ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชวี ิต สามารถอย่รู ่วมกับผูอ้ ่ืน ได้อยา่ งมีความสุข มาตรา 22 การจดั การศึกษาต้องยึดหลักว่าผเู้ รยี นทุกคนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ มาตรา 23 การจัดการศึกษา…ต้องเน้นความสาคัญท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั การศกึ ษา (4) ความรู้ และทกั ษะด้านคณิตศาสตร์ และดา้ นภาษา เน้น การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง…และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือ พัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ สามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อื่นไดอ้ ย่างมคี วามสุข เปดิ โอกาส ให้สังคม มีสว่ นร่วมในการจัด การศกึ ษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรยี นรใู้ ห้เป็นไปอยา่ งต่อเน่ือง(สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ 2542 : ข) สถานศกึ ษาจัดกระบวนการเรียนรู้ท่มี ุ่งเน้นการฝกึ ทกั ษะกระบวนการคดิ การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ความร้มู าใช้ป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกจิ กรรมให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้จาก ประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็นทาเป็น ผสมผสานความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน ปลูกฝัง คุณธรรม คา่ นยิ ม ที่ดงี ามและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ไวใ้ นทกุ กลุม่ สาระการเรียนร้อู านวยความสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ และมคี วามรอบรู้ รวมทงั้ สามารถใชก้ ารวิจัยเปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนการการเรียนรู้ โดยคานึงถึงความแตกตา่ ง ระหวา่ งบุคคลของผู้เรยี น จดั การเรียนรใู้ หเ้ กิดขนึ้ ได้ทกุ เวลา ทุกสถานท่ี จุดมุ่งหมายของหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มุ่ง พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ เป็นคนดี มีความสุขและมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบ อาชีพ จึงกาหนดจุดหมายซ่ึงถือเป็นมาตรฐาน การเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ข้อ ๒. มีความคิด สร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รัก การอ่าน รกั การเขยี น และรักการค้นควา้ ผู้ศกึ ษาจดั กิจกรรมการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 พบวา่ ทกั ษะทง้ั ส่ที จี่ ะตอ้ งฝึกควบคกู่ ันไป คือ ฟัง พูด อ่านและเขียน ทักษะที่เป็นปัญหามากที่สุดคือ ทักษะการอ่าน โดยเฉพาะคาท่ีนามาฝึกทักษะการอ่านมาก ท่ีสุดคือคาราชาศัพท์ ผู้วิจัยมองเห็นความสาคัญท่ีจะไดร้ ับการแก้ไข จึงสร้างส่ือ นวัตกรรม มาฝึกทักษะการอ่านและการ เขียนคาราชาศัพท์มาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พฒั นาผูเ้ รียนให้เรียนภาษาไทยอยา่ งมคี วามสุขและครูไดพ้ ัฒนาเรียนการสอน ภาษาไทยใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยงิ่ ขนึ้
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของกำรวิจัย 1.2.1 เพอื่ สร้างแบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 1.2.2 เพ่ือพฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพทข์ องนกั เรียน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 1.3 ขอบเขตของกำรวจิ ัย 1.3.1. กลุ่มเปา้ หมายในการทดลองใชน้ วัตกรรม คือ นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2/3 จานวน 43 คน 1.3.2 เนอ้ื หาท่ีใช้ในการทดลองได้แก่ การอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ 1.3.3. ระยะเวลาในการทดลอง ภาคเรียนท่ี 1/2563 ใชเ้ วลา 10 ชวั่ โมง ในชวั่ โมงภาษาไทย วนั ละ 1 ช่วั โมง สัปดาหล์ ะ 3 วัน 1.3.4 ตัวแปรทีศ่ ึกษา 1.3.4.1 ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ 1.3.4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความสามารถในการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ 1.4 สมมตุ ิฐำนของกำรวจิ ยั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ท่ไี ดร้ บั การฝึกทักษะการอ่านและการเขยี น คาราชาศัพท์ โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ มี พฒั นาการอา่ นและการเขยี นคาราชาศัพทจ์ ากการทดสอบหลังเรยี นสงู ขนึ้ 1.5 นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ 1.5.1 แบบฝึกทกั ษะ คือ ส่อื การเรียนการสอนทใ่ี ช้ฝึกทักษะ กับผู้เรยี นเพื่อให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ รวมทั้งเกดิ ความชานาญในเร่ืองนนั้ ๆ 1.5.2 แบบทดสอบ คือ แบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน เพ่ือทดสอบนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/3 ก่อน และหลังทดลองใชแ้ บบฝกึ ทักษะ 1.5.3 กำรอ่ำน เป็นกระบวนการสือ่ สารระหว่างผอู้ ่าน โดยการอ่านตัวอักษรหรอื สัญลักษณ์ โดยใช้ความคิด ความรสู้ ึก ความรู้และประสบการณ์เดิมของผ้เู ขียน เป็นแนวทางในการรบั สารเพ่ือให้ตรงกบั การสือ่ สารของผ้อู ่าน 1.5.4 คำรำชศัพท์ คือ ถ้อยคาท่ีใช้กับพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ตั้งแต่หม่อมเจ้าขึ้นไป แต่บางตารา รวมถึงถ้อยคาท่ีใช้กับพระภิกษุสงฆ์ และถ้อยคาสุภาพที่ใช้กับคนทั่วไปด้วย คาราชาศัพท์เป็นวัฒนธรรมทางภาษาและมี วธิ ใี ช้ถ้อยคาตามฐานะของบคุ คล มีทง้ั ที่ใช้เปน็ คานาม คาสรรพนาม และคากริยา
1.6ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ 1.6.1. ได้แบบฝึกทักษะการพัฒนาการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ ที่ผ่านการพฒั นาและหาประสิทธภิ าพ จากผเู้ ชีย่ วชาญเรียบร้อยแลว้ 1.6.2. โรงเรยี นมีแนวทางในการจัดทาแบบฝึกทกั ษะการพัฒนาการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์พัฒนาชั้น อืน่ ๆ 1.6.3. โรงเรียนสามารถนาแนวทางนไ้ี ปสง่ เสริมให้ครคู นอ่นื ๆ ได้นาไปพัฒนากลุ่มสาระอ่ืนๆไดต้ ามมาตรฐาน วชิ าชีพ
บทท่ี 2 เอกสำรและผลงำนวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง เอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรม การพัฒนากระบวนการเรียนรู้สาระ ภาษาไทย โดยสร้างแบบทดสอบวัดความรู้ความสามารถก่อนเรียน-หลังเรียนและสร้างแบบฝึกทักษะการ เขยี นคาราชาศพั ท์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2 ผู้วิจัย ได้ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง ตาม หัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ 2.1 พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช 2542 (หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา) 2.2 หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระการเรียนร้ภู าษาไทย 2.3 แนวทางการจดั การเรยี นรกู้ ล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย 2.4 การจดั การเรยี นรูต้ ามแนวปฏิรปู การศึกษาทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ 2.4.1 หลกั การและแนวคดิ ในการจดั ประสบการณ์เรยี นร้ทู ่เี น้น ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 2.4.2 หลักการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลางของการเรียน 2.4.3 ข้อดขี องการจัดประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ 2.4.4 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั 2.4.5 กจิ กรรมการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 2.5 การสรา้ งแบบฝึกทกั ษะ 2.6 หลกั จติ วทิ ยา ทฤษฎแี ละแนวคดิ ท่ีเกยี่ วข้องกบั การสร้างแบบฝกึ 2.7 งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้องกบั การสรา้ งแบบฝกึ ทักษะ 2.8 งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง 2.1 พระรำชบญั ญัติกำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พุทธศักราช 2542 (หมวด 4 แนวกำรจดั กำรศึกษำ) มาตรา 22 การจดั การศกึ ษาต้องยึดหลักวา่ ผ้เู รียนทกุ คนมคี วามสามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมคี วามสาคญั ท่ีสุด กระบวนการจัดการศกึ ษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนา ตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ มาตรา 23 การจดั การศกึ ษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตอ้ งเน้น ความสาคญั ท้ังความรู้ คณุ ธรรม กระบวนการเรยี นรู้ และบรู ณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดบั การศึกษาในเร่อื ง ตอ่ ไปน้ี (1) ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเอง และความสมั พันธ์ของตนเองกับสงั คม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคม โลก รวมถึงความรูเ้ ก่ียวกบั ประวตั ศิ าสตรค์ วามเปน็ มาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
(2) ความรู้และทกั ษะด้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมทัง้ ความรู้ ความเขา้ ใจและประสบการณ์เรอ่ื งการ จดั การ การบารุงรักษาและการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งสมดลุ ยั่งยนื (3) ความรเู้ กีย่ วกับศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม การกฬี า ภมู ปิ ญั ญาไทย และ การประยกุ ตใ์ ช้ภูมิปญั ญา (4) ความรู้ และทักษะด้านคณติ ศาสตร์ และด้านภาษา เนน้ การใช้ภาษาไทยอย่างถูกตอ้ ง (5) ความรู้ และทกั ษะในการประกอบอาชพี และการดารงชีวิตอย่างมีความสขุ มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ใหส้ ถานศึกษาและหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งดาเนินการดังตอ่ ไปน้ี (1) จดั เนอื้ หาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจและความถนดั ของผูเ้ รยี น โดยคานึงถึงความแตกตา่ ง ระหวา่ งบคุ คล (2) ฝกึ ทักษะ กระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใชเ้ พื่อปอ้ งกนั และ แก้ไขปัญหา (3) จดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏบิ ตั ใิ หท้ าได้ คดิ เป็น และทาเป็น รกั การอา่ น และเกดิ การใฝร่ ้อู ย่างตอ่ เนอ่ื ง (4) จดั การเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรูด้ า้ นต่าง ๆ อยา่ งได้สดั สว่ นสมดลุ กัน รวมทั้งปลูกฝงั คุณธรรม ค่านิยมทดี่ งี ามและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (5) สง่ เสริมสนับสนนุ ใหผ้ ้สู อนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สือ่ การเรียน และอานวยความสะดวก เพ่ือให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรู้ และมคี วามรอบรู้ รวมทัง้ สามารถใช้การวิจัยเปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการเรยี นรู้ ทงั้ นี้ ผสู้ อน และผเู้ รียนอาจเรยี นรไู้ ปพรอ้ มกันจากสอื่ การเรยี นการสอนและแหลง่ วทิ ยาการประเภทตา่ ง ๆ (6) จัดการเรยี นรู้ใหเ้ กดิ ข้นึ ไดท้ กุ เวลาทกุ สถานที่ มีการประสานความร่วมมอื กบั บดิ ามารดา ผ้ปู กครอง และ บคุ คลในชมุ ชนทุกฝ่าย เพอ่ื ร่วมกันพัฒนาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ มาตรา 25 รัฐต้องสง่ เสริมการดาเนนิ งานและการจดั ต้งั แหลง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวิตทกุ รปู แบบไดแ้ ก่ หอ้ งสมุด ประชาชน พิพธิ ภณั ฑ์ หอศลิ ป์ สวนสตั ว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศนู ย์การ กีฬาและนนั ทนาการ แหลง่ ข้อมูล และแหล่งการเรยี นรอู้ นื่ อยา่ งพอเพยี งและมีประสทิ ธภิ าพ มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจดั การประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสงั เกต พฤติกรรมการเรียน การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบควบคไู่ ปในกระบวนการเรยี นการสอนตามความเหมาะสมของแตล่ ะ ระดับ และรปู แบบการศกึ ษา ใหส้ ถานศึกษาใชว้ ิธกี ารทีห่ ลากหลายในการจัดสรรโอกาส การเขา้ ศกึ ษาตอ่ และให้นาผลการ ประเมินผู้เรียนตามวรรคหน่ึงมาใชป้ ระกอบการพจิ ารณาด้วย มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานกาหนดหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานเพอื่ ความเปน็ ไทย ความเป็นพลเมืองทีด่ ีของชาติ การดารงชีวิต และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อใหส้ ถานศึกษาขั้น พืน้ ฐานมีหน้าท่จี ัดทาสาระของหลกั สูตรตามวตั ถปุ ระสงค์ในวรรคหนงึ่ ในสว่ นท่เี กย่ี วกับสภาพปญั หาในชมุ ชนและสงั คม ภมู ิ ปัญญาทอ้ งถ่ิน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคเ์ พ่ือเป็นสมาชกิ ที่ดขี องครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มาตรา 28 หลกั สตู รการศกึ ษาระดบั ตา่ ง ๆ รวมทั้งหลักสตู รการศกึ ษาสาหรบั บุคคลตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี ตอ้ งมลี กั ษณะหลากหลาย ทง้ั น้ี ใหจ้ ัดตามความเหมาะสมของแต่ละระดับโดยมงุ่ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ของบคุ คลใหเ้ หมาะสมแกว่ ยั และศักยภาพ สาระของหลักสูตร ทงั้ ทีเ่ ปน็ วชิ าการ และวิชาชีพตอ้ งมงุ่ พัฒนาคนใหม้ คี วาม สมดลุ ทงั้ ด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดงี ามและความรบั ผิดชอบต่อสังคม สาหรับหลักสูตรการศึกษา ระดบั อุดมศกึ ษา นอกจากคณุ ลกั ษณะในวรรคหนง่ึ และวรรคสองแล้ว ยังมีความมุ่งหมายเฉพาะท่ีจะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพช้นั สงู และการคน้ ควา้ วิจัย เพื่อพัฒนาองคค์ วามรูแ้ ละพฒั นาสงั คม
มาตรา 29 ใหส้ ถานศึกษาร่วมกบั บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์การชุมชน องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสงั คมอื่น ส่งเสรมิ ความเข้มแขง็ ของชมุ ชน โดยจดั กระบวนการเรียนรภู้ ายในชุมชน เพ่ือใหช้ มุ ชนมกี ารจัดการศกึ ษาอบรม มกี ารแสวงหาความรู้ ข้อมลู ขา่ วสาร และ ร้จู ักเลอื กสรรภมู ิปญั ญาและวทิ ยาการตา่ ง ๆ เพ่ือพัฒนาชมุ ชนให้สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาและความตอ้ งการ รวมทั้งหา วธิ ีการสนบั สนนุ ให้มกี ารแลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารพฒั นาระหวา่ งชมุ ชน มาตรา 30 ใหส้ ถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ รวมทง้ั การส่งเสรมิ ให้ผสู้ อนสามารถ วจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรียนร้ทู เี่ หมาะสมกับผเู้ รยี น ในแตล่ ะระดับการศึกษา 2.2 หลักสตู รกำรศึกษำขนั้ พื้นฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 สำระกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย หลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานสาระภาษาไทย กาหนดสาระและมาตรฐาน การเรียนรู้ สาระภาษาไทย เป็นเกณฑ์ในการกาหนดคุณภาพของผู้เรียนเม่ือเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซ่ึงกาหนดไว้ เฉพาะส่วนที่จาเป็น สาหรับเป็นพ้ืนฐานในการดารงชีวิตให้มีคุณภาพ สาหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน สถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมได้ สาระและมาตรฐานมี รายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้ สำระท่ี ๑ : กำรอ่ำน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาและสร้างวสิ ัยทศั น์ในการดาเนนิ ชีวติ และมีนิสัยรกั การอา่ น สำระที่ ๒ : กำรเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี น เขียนสอื่ สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรือ่ งราวในรูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศ และรายงาน การศกึ ษาค้นคว้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ สำระท่ี ๓ : กำรฟัง กำรดแู ละกำรพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความร้สู ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ สำระท่ี ๔ : หลกั กำรใช้ภำษำ มาตรฐาน ท ๔.๑ :เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลง ของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิ ของชาติ มาตรฐาน ท ๔.๒ :สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสรา้ งลกั ษณะนิสยั บุคลิกภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชพี สงั คม และ ชีวิตประจาวนั
สำระท่ี ๕ : วรรณคดี และวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ :เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรม ไทยอย่างเห็นคุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง 2.3 แนวกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุม่ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ภาษาไทย เปน็ เอกลกั ษณ์ประจาชาติ เป็นสมบัตขิ องวัฒนธรรมทีก่ อ่ ใหเ้ กิด การส่ือสารความสัมพันธ์อันดีงามในสังคม เป็นประโยชน์ในการแสวงหาความรู้ และพัฒนาตนให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ทง้ั ยังเปน็ สอ่ื ท่แี สดงถงึ ภูมปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ ทีส่ ืบทอดกนั มา ภาษาไทยจงึ เป็นสมบัติของชาติ ที่ควรแก่การเรียนรู้ เพอ่ื ใหภ้ าษาไทยธารงอยู่อย่างมีคุณค่า การสอนภาษาไทย จะประสบผลสาเร็จได้ดีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับบทบาทของผู้สอน ซึ่งจะต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมจากการเป็นผู้บอก ให้เป็นบทบาทของผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่มี ความหมาย น่นั คอื ทาอยา่ งไรจงึ จะใหผ้ เู้ รยี นเข้าใจถึงคณุ ค่าและประโยชนท์ ่ีจะได้รับ อันได้แก่ (1) การเรียนรู้ภาษาไทยเป็นประโยชน์ต่อการติดต่อสื่อสาร การสื่อสารระหว่างบุคคล การส่ือสารในการ ปฏิบตั ิงาน การประสานงาน ประสานความรว่ มมือ (2) เป็นการสร้างโอกาสการเรียนรู้ เป็นพ้ืนฐานในการศึกษาวิทยาการ แขนงการต่าง ๆ การสืบค้นข้อมูล การ คน้ คว้า การแลกเปล่ียนประสบการณ์ กา้ วทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง (3) เปน็ การเสริมสร้างวัฒนธรรม คณุ ธรรม ความดีงาม ตลอดจนบุคลิกภาพให้เกดิ ขนึ้ ในตนเองและสังคม (4) เป็นการพัฒนากระบวนการคดิ การสร้างองคค์ วามรู้ เพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชีวติ (5) เปน็ การเสรมิ สรา้ งความงดงามในชวี ติ ช่ืนชม ภมู ใิ จในภาษาไทย คุณค่าวรรณคดี ความเป็นเอกลักษณข์ องชาติไทย การจัดการเรียนรทู้ ่มี คี วามหมาย ครผู สู้ อนจะตอ้ งศึกษาวเิ คราะห์สาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น จัดทาสาระการเรียนรู้ช่วงช้ัน ผลการ เรียนร้ทู ่ีคาดหวงั รายปี และจดั ทาคาอธบิ ายรายวิชา เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ กอ่ นจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ ผู้สอน ควรดาเนนิ การโดย (1) เลอื กรปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ศกึ ษารูปแบบ เพอื่ การจดั กจิ กรรม ท่ีเหมาะสมกบั เนอ้ื หาสาระ วฒุ ิภาวะของผเู้ รียน ความสามารถในการเรยี นรู้ ความแตก-ต่างระหว่างบคุ คล รูปแบบกจิ กรรม การเรียนรู้มีหลายประการ เช่น การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การ จัดการเรยี นรู้ เพื่อพฒั นาความคดิ การบรู ณาการ การสอนดว้ ยแผนความคดิ หรือแผนภาพ โครงเรอื่ ง เป็นตน้ (2) พัฒนาหรือคิดค้นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูผสู้ อนสามารถ เชื่อมโยงความรู้ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน สภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน นาส่ิงเหล่าน้ีมาเป็นปัจจัยในการคิดค้น รปู แบบการจัดกิจกรรม ทดลองใช้ปรับปรุงแก้ไขจนได้รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพและควรเผยแพร่เพ่ือ เปน็ ประโยชนต์ อ่ วงการศกึ ษา (3) การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทีค่ านึงถึงการนาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ จรงิ เช่น การศกึ ษาคน้ คว้าหาความรู้จากแหล่งความรู้ ห้องสมุด ส่อื เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ ตา่ ง ๆ ทง้ั ในท้องถิ่นและแหลง่ อ่นื การเรียบเรียง การจัดทารายงาน การสือ่ สาร การสัมภาษณ์ การแสดงผลงาน เปน็ ตน้ เพราะสิง่ เหลา่ น้ีจะเป็นประโยชนต์ ่อการเรยี นรู้ และการประกอบอาชีพในอนาคต
(4) การจัดกระบวนการเรียนรูก้ ลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทยควรจัดใหม้ ี รูปแบบหลากหลายและปรับใช้ได้ในแต่ละกิจกรรม รวมท้ังเหมาะสมกับคุณลักษณะของผู้เรียน ตามแนวทางการจัด กระบวนการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน ดี เก่ง และมีสุข โดยเฉพาะกระบวนการเรียนรู้เฉพาะ (Specific Learning) ของ ภาษาไทย ซึ่งเป็นกระบวนการตามธรรมชาติของภาษาไทย ที่ใช้ในการเรียนรู้ทาให้ผู้เรียนเข้าใจถึงหลักการ กฎเกณฑ์ ทฤษฎี และระเบียบวิธกี ารกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย กระบวนการเรียนรูเ้ ฉพาะดังกลา่ วทคี่ รูผู้สอนควรนามาใช้ ได้แก่ 1. กระบวนการสอ่ื ความ 2. ทกั ษะทางภาษาหรอื กระบวนการทางภาษา 3. กระบวนการอา่ น 4. กระบวนการพูด 5. กระบวนการเขียน 6. กระบวนการดูหรอื พนิ ิจ 7. กระบวนการคดิ วิเคราะหเ์ ชิงตรรกะ กระบวนการเรียนรู้ดังกลา่ วเหล่าน้จี ะเป็นเครอ่ื งมือและวิธีการอนั สาคญั ของหลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ในการปลูกฝงั บุคลกิ ภาพ (Character) คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ของผูเ้ รยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ให้เกดิ ข้ึนได้ คณุ ลักษณะสาคัญที่จะปรากฏ เช่น 1. มคี วามมั่นใจในการใชภ้ าษา 2. มีเหตุผล 3. มีประสทิ ธภิ าพในการสือ่ ความ 4. มวี ิจารณญาณในการใช้ภาษา 5. มคี วามสนุ ทรียภาพในการใช้ภาษา 6. ใช้ภาษาไทยดว้ ยความระมัดระวงั ให้ถกู ตอ้ ง 7. มคี วามคิดสร้างสรรคใ์ นการประยกุ ตใ์ ชภ้ าษาในชีวิตประจาวัน 8. รักและเหน็ คุณค่าในการเรยี นรภู้ าษไทย 9. มนี สิ ัยรักการอ่าน การเขียน 10.มีมารยาทในการฟงั การพดู 11.ใช้ภาษาอย่างมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และรับผดิ ชอบ 12.อนุรักษภ์ าษาในฐานะสมบตั ทิ างวฒั นธรรมฯลฯ ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้ท่ีมีความหมายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สถานศึกษาต้องมุ่งดาเนินการจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนตามแนวปฏริ ปู การเรยี นรู้ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เลือกใช้รูปแบบกระบวนการเรียนรู้การจัดกิจกรรมที่เหมาะสม มีความหมาย พัฒนาความคิด ทักษะ ความสามารถ ความถนัดของผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ ใชเ้ ทคนคิ การจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ กระบวนการเฉพาะ กล่มุ สาระ การเรยี นรู้ภาษาไทยและกระบวนการอ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพดา้ นภาษาไทยของผู้เรียนให้บรรลุจดุ หมายของ หลักสูตร
2.3.1 หลกั กำรวัดและประเมินผลกำรเรยี นร้กู ลุ่มสำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย การวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 โดยทัว่ ไปจะดาเนินการเช่นเดียวกบั กลุม่ สาระอืน่ ๆ ดังนี้ 1. ประเมินและตัดสินผลการเรียนรู้เปน็ รายกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาทเี่ พิม่ เตมิ 2. ประเมินโดยยึดผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวังของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3. ประเมนิ ด้วยวธิ ีการทหี่ ลากหลาย เน้นการประเมนิ ตามสภาพจริง 4. ต้องมีการประเมินผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั ทุกขอ้ 5. การผา่ นเกณฑก์ ารประเมินกลมุ่ สาระการเรียนรตู้ ้องมผี ลการประเมินผล การเรียนร้ทู ีค่ าดหวังผา่ นเกณฑข์ ั้นต่าทกุ ข้อ 6. จัดซ่อมเสริมผเู้ รียนทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ์ประเมนิ และประเมนิ หลังการซอ่ มเสริม 7. ผเู้ รียนตอ้ งเรยี นซ้าในกลุม่ สาระการเรียนรทู้ ที่ าการซ่อมเสรมิ และไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน 2.3.2 หลกั กำรประเมนิ ผลกำรเรียนรู้ การประเมนิ ผลการเรยี นภาษาไทยมีเปา้ หมายสาคญั เพอื่ นาผลการประเมิน ไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ หรือผลการเรียนรู้ที่คาดหวังท่ีกาหนดไว้ โดยนาผลการประเมินไป ปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียน นาไปปรับปรุงแก้ไขการจัดกระบวนการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน รวมทั้งนาผลไปใช้ในการพิจารณาตัดสินความสาเร็จของผู้เรียน การดาเนินการวัดและประเมินผล ดงั กล่าว สถานศึกษาต้องดาเนินการท้ังในระดับช้ันเรียนและในระดับสถานศึกษา การท่ีจะดาเนินการวัดและประเมินผล ภาษาไทยใหม้ ีประสิทธภิ าพ ได้ขอ้ มูลทม่ี คี ุณภาพไปใช้ตามวตั ถุประสงคข์ องการประเมิน มหี ลกั การที่สาคัญดงั นี้ (1) การประเมนิ ผลทม่ี ีประสิทธภิ าพต้องสง่ เสริมการเรยี นรูข้ องผูเ้ รยี น ภาษาไทยเปน็ วิชาทกั ษะ ดงั นัน้ การจัดกิจกรรมการเรียนรจู้ งึ เน้นการพฒั นา ทักษะตามกระบวนการเรียนรู้และควบค่ไู ปกับการวัดและประเมินผล ครูผูส้ อนต้องประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรยี นตั้งแต่ ตน้ จนจบการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียน โดยตรวจสอบความรู้เป็นระยะสม่าเสมอมิใชก่ ารวัดและประเมินผลหลังจบการ เรยี นรู้ เพียงครั้งเดียว การประเมินเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานการประเมินระหว่างเรียนต้องประเมินหลาย ๆ ครั้ง หลาย กิจกรรม และการประเมินเม่ือจบบทเรียน เพื่อให้ได้ข้อมูลของผู้เรียนท่ีถูกต้อง ชัดเจน แสดงถึงก้าวหน้า จุดเด่น จุดด้อย ขอ้ บกพรอ่ งท่ผี ู้เรยี นควรไดร้ ับการสง่ เสรมิ ปรบั ปรุง พัฒนา และดาเนนิ การไดท้ ันท่วงที จะเป็นการประเมนิ ทสี่ ามารถสง่ เสรมิ การเรยี นรู้แกผ่ เู้ รียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี (2) การประเมนิ ผลต้องใชข้ ้อมลู จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย การประเมนิ ท่นี าขอ้ มูลจากแหลง่ ขอ้ มูลหลาย ๆ แหลง่ หรือจากการวดั หลาย ๆ คร้ัง หลาย ๆ วิธี มาสังเคราะห์ สรุป จะได้ข้อมูลท่ีสรุปได้ หรือเป็นสภาพจริงมากกว่าข้อมูลการประเมินจากแหลง่ เดียว เช่น การประเมินการอ่านออก เสียงของผู้เรียนจากการอ่านคร้ังเดียว จากบทอ่านบทเดียว ไม่อาจสรุปได้อย่างแท้จริงว่า ผู้เรียนมี ความสามารถใน การอ่านออกเสียงในระดับใดจะต้องประเมิน หรือสังเกตจากการอ่านหลายครั้งจากการอ่านบทอ่านท่ีหลากหลายออกไป แลว้ จงึ นามาสรุปจึงจะเช่ือได้วา่ ผู้เรยี นมคี วามสามารถในระดบั ใด (3) การประเมนิ ตอ้ งมคี วามเทย่ี งตรง เชื่อถือได้ และมีความเป็นธรรม เคร่ืองมือท่ีใช้ประเมินผลการเรียนรู้มีความสาคัญท่ีจะทาให้ผลการเรียนรู้มีความเท่ียงตรงน่าเช่ือถือ ครูผู้สอนจึงต้อง พยายามใชเ้ ครอ่ื งมือทม่ี ีคณุ ภาพ และใชเ้ ครอ่ื งมอื
ให้ถูกต้องเหมาะสม เครื่องมือที่ดมี ีคุณสมบัติ คือ ความเทีย่ งตรง และมีความเชื่อมั่นสงู ความเท่ียงตรงของเครอ่ื งมือเป็น ผลเนือ่ งมาจากการใช้เคร่ืองมือวดั ผลการเรียนรู้ ทสี่ ามารถวดั ส่ิงที่ตอ้ งการวัดได้อย่างตรงตามสภาพจรงิ เช่น ต้องการทราบระดับความสามารถในการพูดของผเู้ รียน ต้อง ใช้วิธีการสังเกตการณ์พูดของผู้เรียนตามสภาพจริง หากใช้เครื่องมือประเมินการพูดของผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเขียนตอบ ความรู้เกี่ยวกับการพูด ข้อเขียนดังกล่าวไม่สามรถสะท้อนความสามารถในการพูดของผู้เรียนได้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น การออกเสียงตามอักขรวิธี บุคลิกภาพในการพูด ลีลาการพูด ฯลฯ การประเมินดังกล่าวย่อมขาดประสิทธิภาพในการ ประเมิน ในด้านความเช่ือม่ัน หมายถงึ ความเชื่อถือได้ของผลการประเมินที่ได้ เครอื่ งมือท่ีมีความเช่ือมั่นจะมี ผล การประเมินอยู่ในระดับคงที่ ไม่ว่าจะเป็นการประเมินท่ีผู้ประเมินคนเดียวหรือ หลายคน วิธีการท่ีจะทาให้ผลการ ประเมินมีความเชื่อถือได้มากข้ึน คือ การกาหนดเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจนและเหมาะสม สาหรับความเป็นธรรมเป็น การเปิดโอกาส ใหผ้ ู้เรียนทุกคนได้แสดงความสามารถได้เต็มที่ และเท่าเทียมกัน พรอ้ มทั้งการประเมนิ นนั้ สอดคลอ้ งกบั ส่ิง ทผ่ี ู้เรียนไดเ้ รียนรู้ เชน่ ประเมินการเขยี นกลอนสภุ าพ ผูเ้ รยี นตอ้ งผ่านการเรียนร้กู ารเขยี นกลอนสภุ าพมาแล้ว เปน็ ต้น 2.3.3 แนวปฏบิ ตั กิ ำรวัดและประเมินผลกลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย การวัดและประเมนิ ผลกลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย จดั ได้เป็น 3 ระดบั คอื 1) การวัดและประเมนิ ผลระดับชั้นเรยี น 2) การวดั และประเมนิ ผลระดบั สถานศึกษา 3) การวดั และประเมนิ ผลระดับชาติ 1) การวดั และประเมินผลระดับชัน้ เรียน การวดั และประเมนิ ผลในระดบั นี้ เป็นการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ของผู้เรียนระหว่างเรียน มีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ ค่านิยมอันพึง ประสงค์จากการร่วมกจิ กรรมการเรยี นการสอน หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมต่าง ๆ ผลจากการประเมินในระดับนี้ ผู้เกี่ยวข้องสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนกระบวนการเรียนรู้และใช้ประกอบในการตัดสิผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน ดา้ นต่าง ๆ ของผู้เรยี นประกอบด้วย (1) การประเมนิ กอ่ นเรยี น เพ่อื ตรวจสอบขอ้ มลู สารสนเทศของผเู้ รยี นสาหรับนาไปจดั เตรียมกิจกรรม การเรียนการสอนให้สอดคล้องกบั พืน้ ฐานและคุณลกั ษณะของผ้เู รียน มี 2 ลกั ษณะ คือ 1) การประเมินความพรอ้ มพน้ื ฐานของผู้เรยี นเพอ่ื ตรวจสอบ ความรู้ทักษะความพร้อมต่าง ๆ ที่เป็นพื้นฐานของเรื่องใหม่ที่จะเรียน โดยใช้วิธีที่เหมาะสม และนาผลมาใช้ปรับปรุง ส่งเสรมิ หรอื เตรียมตวั ผู้เรยี นใหพ้ ร้อมทีจ่ ะเรียน มีแนวดาเนนิ การดังน้ี 1) วิเคราะหค์ วามรู้ ทักษะ และพ้ืนฐานของเรอ่ื งท่จี ะเรียน 2) เลือกวธิ ีการ/จัดทาเครื่องมอื ประเมินท่ีเหมาะสม มีประสิทธิภาพ 3) ดาเนนิ การประเมินความรูแ้ ละทกั ษะของผู้เรยี น 4) นาผลการประเมนิ ไปใชต้ ามวัตถุประสงค์
2) การประเมินความรอบรู้ในเรื่องท่ีจะประเมิน เพ่อื ตรวจสอบ ว่าผู้เรียนมีความรู้ ทักษะในเรื่องที่จะเรียนมากน้อยเพียงใดสาหรับใช้เป็นข้อมูลเบ้ืองต้น ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รยี นแตล่ ะคน มีแนวปฏิบตั ิดงั นี้ 1) วเิ คราะหค์ วามรู้ ทกั ษะของเร่อื งที่ผเู้ รยี นต้องร้หู รือที่จะสอน 2) เลอื กวธิ กี าร/เครื่องมือประเมนิ 3) ประเมนิ ผูเ้ รยี นด้วยวธิ กี ารและเครือ่ งมอื ทก่ี าหนดกอ่ น จดั การเรยี นรู้ (2) การประเมินระหวา่ งเรียน เป็นการประเมินเพอ่ื มุง่ ตรวจสอบพฒั นาการของผเู้ รียนวา่ บรรลุ ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั มากนอ้ ยเพยี งใด เพอ่ื นาไปสกู่ ารปรบั ปรุง แก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรยี น การจัดการเรยี นร้รู วมทงั้ อาจ นาไปใชเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของการสรปุ ผล การเรยี นรู้ แนวทางการปฏบิ ัตใิ นการประเมนิ ระหวา่ งเรยี นอาจดาเนินการ ดังน้ี 1) วางแผนการสอนและการประเมินระหว่างเรียนให้สอดคล้อง แผนการจัดการเรียนรู้ควร ระบุภาระงานทจ่ี ะทาให้ผูเ้ รยี นบรรลุผลการเรยี นรทู้ คี่ าดหวัง 2) เลือกวธิ ปี ระเมนิ ท่ีสอดคลอ้ งกับภาระงาน หรือกจิ กรรมหลกั ทก่ี าหนดให้ผเู้ รียนปฏิบัติ วิธกี ารท่ีเหมาะสมในการประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากสิง่ ที่ผู้เรยี นได้แสดงให้เห็น ว่า มคี วามรู้ ทักษะ และความสามารถ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์อันผลจากการเรียนรู้ตามท่ีจัดการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ วิธีการท่ีสามารถเลือกใช้ได้ เช่น การประเมินจากการส่ือสารส่วนบุคคล โดยการสนทนาเพื่อประเมินความรู้ การอ่านบันทึกเหตุการณ์ของผู้เรียน การ ประเมินจากการปฏบิ ตั ิ การประเมินจากกจิ กรรมหรอื งานทีม่ อบหมายให้ปฏิบัติ ซง่ึ จะตอ้ งกาหนดภาระงานและเกณฑ์ให้ คะแนน (Rubrics) อยา่ งชดั เจน การประเมนิ จากสภาพจริง การประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน เป็นต้น 1) กาหนดสดั สว่ นการประเมินระหว่างเรียนกบั การประเมินผล ปลายภาคเรยี นหรือปลายภาค โดยควรกาหนดให้นาหลักสาคัญการประเมิน ระหว่างเรียนมากกว่าปลายปหี รือปลายภาค เนื่องจากการประเมินระหว่างเรยี นสามารถ นาผลมาพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรยี นได้ทันท่วงที และตอ้ งนาผลระหว่างเรียนไปใช้ในการตดั สนิ ผลปลายปีดว้ ย ทั้งนีจ้ ะเป็นไปตามระเบยี บสถานศกึ ษาเป็นผู้กาหนด 4) จดั ทาเอกสารบันทกึ ข้อมูลการประเมินหรือสารสนเทศ ของผเู้ รยี นระหว่างเรียนเป็นระบบชัดเจน เพ่ือเป็นแหลง่ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ สง่ เสรมิ ผู้เรียน และใช้เปน็ หลักฐานในการสอื่ สาร ตรวจสอบผลการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น (3) การประเมินสรุปผลการเรยี นหลังเรียน การประเมินผลหลงั เรยี น เปน็ การประเมินผเู้ รยี นเมอ่ื จบ เรอื่ งท่ีเรยี น เพื่อตรวจสอบวา่ ผ้เู รียนเกิดจาก การเรียนรู้ตามผลการเรียนท่ีคาดหวังหรือไม่นาไปเปรียบเทียบกับการประเมินก่อนเรียน เป็นการศึกษาพัฒนาการหรือ ความก้าวหน้าของผู้เรียน แล้วนามาแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในแนวทางของการจัดทาวิจัยในชั้น เรยี น แนวปฏิบัติในการประเมินผล หลังเรียนอาจดาเนนิ การได้ดังน้ี 1) วางแผนการประเมิน โดยกาหนดเป้าหมายในการตรวจสอบ วิธีการ และเคร่ืองมือท่ีจะใช้ให้ สอดคล้องกบั แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และ การประเมนิ ก่อนเรยี น 2) ประเมินผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ และนาข้อมูลไปใช้ ในการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาผู้เรียนให้ บรรลุผลการเรยี นรูท้ ่คี าดหวัง หรือจุดประสงค์ ของการเรียน
3) ปรับปรุง แก้ไขวธิ ีเรียนของผเู้ รียนให้มีประสิทธภิ าพยงิ่ ขึน้ 4) ปรับปรุง แกไ้ ข และพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2) การวัดและประเมนิ ผลระดับสถานศกึ ษา การประเมินผลการเรยี นรู้ในระดับสถานศึกษา เป็นการประเมนิ เพอ่ื ตรวจสอบความก้าวหนา้ ของผู้เรียนเป็นรายปีและรายชว่ งช้ัน สถานศึกษาจะนาขอ้ มูลจาการประเมินไปใช้ในการปรับปรงุ พัฒนาการเรยี นการสอน และพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และนาไปใช้ในการตัดสินผลการเรียนรู้รายกลุ่มสาระ และตัดสินการเลื่อนช่วงช้ันของ ผ้เู รียน การดาเนินการประเมินผลระดับสถานศึกษาในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มแี นวปฏิบตั ดิ ังนี้ (1) กาหนดผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวังรายปขี องกลุ่มสาระ การเรยี นรตู้ ามหลดั สูตรสถานศึกษาให้ชัดเจน (2) กาหนดเกณฑ์สาหรับตัดสินประเมินการผ่านผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังเป็นรายข้อโดย เน้นเกณฑเ์ ชงิ คุณภาพ (3) กาหนดเกณฑ์การประเมนิ ใหร้ ะดบั ผลการเรียนรูร้ ะดับกล่มุ สาระการเรียนรู้รายปี (4) ประเมินผลการเรียนร้รู ะหว่างเรียน (การประเมินระดับช้นั เรยี น) เพ่ือสะสมผลการเรียน สว่ นหน่ึงสาหรบั ประกอบการสรปุ ผลประเมนิ ผลในระดับสถานศึกษา (5) ประเมนิ ผลการเรยี นกล่มุ สาระการเรยี นรรู้ ายปเี มอ่ื ส้ินปี (6) ประเมินสรุปตัดสินผลการเรียนรู้รายปี และการผ่านชว่ งชน้ั ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด 3) การวดั และประเมนิ ผลระดบั ชาติ การประเมินผลระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพ ทางการศกึ ษาในระดับชาติของผู้เรียนทุกคนในปีสุดทา้ ยของแตล่ ะช่วงชัน้ คือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่ง กระทรวงศึกษาธิการจะกาหนดให้มีการประเมินในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆตามความจาเป็น เป็นรายปี ข้อมูลจาการ ประเมินจะนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คุณภาพ การจัดการศึกษาของสถานศึกษา และคุณภาพการศึกษาใน ระดับชาติ สาหรบั กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยเปน็ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ทีเ่ ป็นเครอ่ื งมือในการเรียนรู้ มคี วามจาเปน็ ท่ีผู้เรียนต้องมีความรู้ ความสามารถ และทักษะทางภาษา จึงเป็น กลุ่มสาระพื้นฐานท่ีจะได้รับการประเมิน ทุกปี สาหรับแนวปฏิบัติในการประเมินดังนี้ สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนเข้ารับการประเมินและกระตุ้นให้ผู้เรียนได้แสดง ความสามารถในการประเมินอยา่ งเตม็ ศักยภาพ เพ่ือจะได้ขอ้ มูลทางคณุ ภาพทีเ่ ปน็ จรงิ และเป็นประโยชน์อยา่ งแท้จรงิ 2.4 กำรจดั กำรเรยี นรตู้ ำมแนวปฏิรปู กำรศึกษำทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั การจดั การเรยี นร้ตู ามแนวปฏริ ปู การศกึ ษาท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั นักการศกึ ษาไทย มแี นวคดิ เก่ียวกบั การจดั ประสบการณเ์ รียนรู้ท่เี น้นผู้เรยี น ปน็ สาคญั ไวด้ ังนี้ ดร.สงบ ลักษณะ กล่าวถึงการจัดการเรียนการสอนที่ควรจะเป็นไว้ว่า ควรเป็นการเรียนการสอนท่ีนักเรียน ได้รับการยอมรับนับถือในการเป็นเอกัตบุคคล ได้เรียนวิธีท่ีเหมาะสมกับความสามารถ ได้เรียนส่ิงท่ีตนสนใจ ต้องการมี ประโยชน์ ได้ปฏิบัติตาม กระบวนการเพื่อการเรียนรู้ ได้รับการเอาใจใส่ ประเมิน และช่วยเหลือเป็นรายบุคคล และ ได้รับการพัฒนาเต็มศักยภาพ และสาเรจ็ ตามอัตภาพ
ดร.โกวิท ประวำลพฤกษ์ อธิบายไว้ว่า กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร หมายถึงกระบวรการใด ๆ ที่ให้ ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ เช่นกระบวนการกลุ่มทักษะกระบวนการ 9 ขั้น กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสรา้ งเจตคติ ฯลฯ การจัดการเรียนรู้ตามแนวปฏิรูปการศึกษาที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ มหี ลักการและแนวคิด ข้อดี แนวทางการ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกจิ กรรมการเรยี นการสอน เพื่อจดั ประสบการณเ์ รียนรูท้ ีเ่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 2.4.1 หลกั การและแนวคิดในการจดั ประสบการณเ์ รยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รยี น เป็นสาคัญ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2541) : 50 – 52 ได้กล่าวว่า จากปรัชญาการศึกษาที่เน้นความสาคัญของผู้เรียน จนถึงทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มหลัก ๆ และทฤษฎีการเรียนรู้ที่ประยุกต์สกู่ ารจัดการเรยี นการสอนท่ีเสนอข้างต้นจะเห็นได้ว่า แนวคิด การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีเนน้ นักเรียนเป็นศูนย์กลาง ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องยาวนาน และมั่นคง จนเป็น ภาพท่ีเด่นชัดในปัจจุบันว่า แนวทางนี้เป็นยุทธศาสตร์หลัก ที่จะนาพาการจัดการศึกษาไปสู่เป้าหมาย นั่น คอื การพัฒนา ผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ลกั ษณะเฉพาะท่ีเหมาะสมสาหรบั การเป็นประชากรยคุ โลกาภวิ ัตน์ 2.4.2 หลักการเรียนร้ทู เ่ี น้นผู้เรียนเป็นศนู ยก์ ลางของการเรียน (1) การเรียนเปน็ กระบวนการที่ควรเป็นไปอย่างมีชีวติ ชีวา ดังน้ันผู้เรียนจึงควรมีบทบาทรับผิดชอบต่อ การเรยี นร้ขู องตน และมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมการเรยี น การสอน (2) การเรียนรเู้ กิดขนึ้ ได้จากแหล่งตา่ ง ๆ กนั มใิ ช่จากแหลง่ ใดแหล่งหนงึ่ เพยี ง แหล่งเดยี ว ประสบการณค์ วามรสู้ กึ นกึ คดิ ของแตล่ ะบคุ คล ถือวา่ เปน็ แหลง่ การเรียนรูท้ ่สี าคญั (3) การเรียนรทู้ ่ดี ตี อ้ งเป็นการเรียนรูท้ ี่เกดิ จากความเข้าใจ จงึ จะชว่ ยให้ ผเู้ รียนจดจาและสามารถใช้การเรียนรู้นั้นให้เป็นประโยชน์ได้ การเรยี นรู้ท่ีผู้เรียน เป็นผู้ค้นพบด้วยตนเองน้ัน มีส่วนทาให้ เกิดความเขา้ ใจลกึ ซ้งึ และจดจาไดด้ ี (4) การเรียนร้กู ระบวนการเรียนรู้นั้นมคี วามสาคญั หากผู้เรียนเขา้ ใจ และมีทกั ษะในเรอ่ื งน้ีแล้ว จะสามารถใช้เปน็ เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ และคาตอบตา่ งๆ ทต่ี นตอ้ งการ (5) การเรยี นรูท้ ่มี ีความหมายแก่ผ้เู รยี น คือ การเรยี นร้ทู ี่สามารถ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั 2.4.3 ขอ้ ดีของการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูท้ ีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ในการจดั ประสบการณ์ หรอื กจิ กรรมการเรียนรู้ หากครผู ูส้ อนหรอื ผู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ งยดึ หลักการแนวคดิ ดงั ท่ไี ด้กล่าวมา การเรยี นรขู้ องผู้เรยี นจะเปน็ ไปอยา่ ง มปี ระสทิ ธภิ าพผลเนือ่ งจาก (1) ผเู้ รยี นมีโอกาสพฒั นาศักยภาพของตน เพราะผเู้ รยี นแตล่ ะคน ต่างก็มีความคิด ความเห็น ประสบการณ์ และความชานาญดา้ นต่าง ๆ ติดตัวมาด้วยกันทุกคน จะมากน้อยตา่ งกัน การที่ ผเู้ รียนไดม้ ีโอกาสรว่ มแสดงความรู้สึก ความคดิ เห็น แลกเปลยี่ นประสบการณ์ซง่ึ กันและกันจะเปน็ สง่ิ สาคญั ต่อพวกเขามาก (2) ผู้เรยี นมโี อกาสได้ใช้ประสบการณท์ ่เี รยี นมาก่อนแล้ว เพราะ การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลางนัน้ กจิ กรรมทีจ่ ัดในลักษณะปลายเปิด จะชว่ ยกระตุ้นใหผ้ ้เู รยี นเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบในการเติมรายละเอยี ดลงไป ดงั นนั้ กรอบแนวคดิ อนั เดยี วกนั อาจจะมรี ายละเอยี ด แตกตา่ งหลากหลายวิธี เม่อื ผคู้ ิดอยตู่ า่ งกลุ่มกนั ทาให้คน้ พบส่งิ ใหม่ ๆ ขน้ึ อกี ได้ (3) ผู้เรยี นใหค้ วามสนใจในบทเรยี นมากขนึ้ เพราะผู้เรียนจะตอ้ ง ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมที่ครูมอบหมายและสนใจอยากจะรูว้ ่าตนจะต้องทาอะไรบ้าง เพราะไม่ร้ตู วั ล่วงหน้ามากอ่ น (4) ดา้ นเนือ้ หาวิชาหรอื ประสบการณต์ ่างกนั ดังนัน้ ในขณะรว่ มทา กิจกรรมดว้ ยกนั ผ้เู รียนแตล่ ะคนจะต้องตั้งใจฟงั วา่ เพอื่ นพูดว่าอะไร สามารถช่วยสอนหรอื แลกเปลยี่ นความรู้กนั ได้ ในดา้ น การทางานร่วมกันผ้เู รียนสามารถดงึ ความรู้ต่าง ๆ ที่มีอย่มู ารวมกันได้
(5) ผูเ้ รียนมีความสามคั คีกนั ในกลุ่ม เพราะในการทางานรวมกลุ่มกัน ทกุ คนจะตอ้ งชว่ ยกนั ทาเพือ่ ใหง้ านบรรลุเป้าหมาย ดงั นั้นผูเ้ รยี นจะตอ้ งช่วยกนั ทาไมใ่ ชแ่ ข่งขันกัน 2.4.4 แนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542 : 91-92) ไดก้ ลา่ วถึงการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนไว้ดงั น้ี กจิ กรรมการเรียนการสอน คือ สภาพการเรยี นทก่ี าหนดเพือ่ นาผเู้ รยี นไปสู่เป้าหมายหรอื จุดประสงคก์ าร เรียนการสอนทกี่ าหนดการออกแบบกจิ กรรม การเรยี นการสอนทเ่ี หมาะสม สอดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้ือหา และสภาพแวดล้อม การเรยี นรู้ดา้ นตา่ ง ๆ จึง เป็นความสามารถและทกั ษะของครมู อื อาชีพ ในการจดั การเรียนการสอนท่มี ีประสทิ ธผิ ล 2.4.5 กิจกรรมการเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ หรอื เป็นศูนยก์ ลาง คอื กจิ กรรมที่มีลกั ษณะดังน้ี 1) สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนไดค้ น้ พบและสรา้ งความร้ดู ้วยตนเอง (Construct) โดยค้นควา้ หาความรจู้ ากแหล่งตา่ ง ๆ ทาความเข้าใจ และสร้างความของสาระขอ้ ความร้ใู ห้แก่ตนเอง ค้นพบขอ้ ความรดู้ ้วย ตนเอง 2) ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้คิด ทา และแสดงออก (Performance) เพือ่ แก้ปัญหาหรือสร้างผลงาน 3) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนหรือกลุ่ม (Interaction) ได้เรียนรู้จากกัน แลกเปลี่ยน ขอ้ มูลความรู้ ความคิดและประสบการณแ์ กก่ นั และกันให้มากท่สี ุดเทา่ ท่ีจะทาได้ 4) ส่งเสริมให้ผเู้ รียนร้แู ละปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีขนั้ ตอนหรอื เป็นกระบวนการ (Process) 5) ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมผี ลงานจากการปฏิบตั ิ (Product) 6) สง่ เสริมให้ผ้เู รียนมสี ่วนรว่ มในการประเมินตนเองและเพ่อื น (Assessment) 7) ส่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นได้นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ (Application) 2.5 กำรสร้ำงแบบฝกึ ทกั ษะ การสร้างแบบฝึกทักษะส่ิงควรทราบคือ ความหมายและความสาคัญของแบบฝึก ลักษณะของแบบฝึกท่ีดี จุดประสงค์การเรียนรกู้ ับการสร้างแบบฝึก ส่วนประกอบของแบบฝึก รปู แบบขน้ั ตอนการสร้างและประโยชนข์ องแบบฝึก ทักษะ 2.5.1 ความหมายและความสาคญั ของแบบฝกึ แบบฝึก หรือแบบฝึกหัด หรือแบบฝึกเสริมทักษะ เป็นสื่อการเรียนประเภทหน่ึงสาหรับให้นักเรียนฝึก ปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะเพ่ิมข้ึน ส่วนใหญ่หนังสือเรียนจะมีแบบฝึกหัดอยู่ท้ายบทเรยี น ในบางวิชา แบบฝกึ หัด จะมลี ักษณะเป็นแบบฝึกปฏบิ ตั ิ (สานกั งานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2537 ) ขจีรัตน์ หงษ์ประสงค์ (2534) กล่าวว่า แบบฝึกเป็นอุปกรณ์การเรียนการสอนอย่างหน่ึง ท่ีครูใช้ ฝึกทักษะ หลังจากที่นักเรียนได้เรียนเนื้อหาจากแบบเรียนแล้ว โดยสร้างข้ึนเพื่อเสริมทักษะให้แก่นักเรียน มีลักษณะเป็น แบบฝกึ หัดท่ีมกี ิจกรรมให้นักเรียนกระทา โดยมีจดุ มุ่งหมายเพอ่ื พัฒนาความสามารถของนักเรียน ศศธิ ร สทุ ธแิ พทย์ (2517) กล่าววา่ แบบฝกึ หัดเป็นสงิ่ จาเปน็ อย่างย่ิง
ครูต้องให้แบบฝึกหัดที่เหมาะสม เพื่อฝึกหลังจากท่ีได้เรียนเน้ือหาจากแบบเรียนไปแล้ว ให้มีความรู้กว้างขวาง จึงถือว่า แบบฝึกหัดเป็นอุปกรณ์การเรียนการสอนอยา่ งหน่ึง ซ่ึงครูสามารถนาไปใช้ประกอบกิจกรรมการสอนได้เป็นอย่างดี ช่วยให้ การเรยี นการสอนของครปู ระสบผลสาเรจ็ วรสุดา บุญยไวโรจน์ (2536) กล่าวว่า แบบฝึกหัด เป็นสื่อการสอนท่ีจัดทาขึ้นเพ่ือให้ผู้เรียนได้ ศึกษา ทาความเข้าใจ ฝึกฝนจนเกิดแนวคิดที่ถูกต้อง และเกิดทักษะในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง นอกจากนั้นแบบฝึกหัดยังเป็น เคร่ืองช่วยบ่งชี้ให้ครูทราบว่าผู้เรียนหรือผู้ใช้แบบฝึกหัดมีความรู้ ความเข้าใจในบทเรียนและสามารถนาความรู้น้ัน ไป ใช้ได้มากน้อยเพียงใด ผู้เรียนมีจุดเด่นท่ีควรส่งเสริมหรือมีจุดด้อยที่ควรปรบั ปรุงแก้ไข ตรงไหน อย่างไร แบบฝึกหัดจงึ เป็น เครื่องมือสาคัญท่ีครูทุกคนใช้ในการตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาทักษะของนักเรียนในวิชาต่าง ๆ สงบ ลักษณะ (2536) กล่าวว่า ชุดแบบฝึกเป็นสื่อใช้ฝึกทักษะการคิด การวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการปฏิบัติของ นกั เรยี น นิยมใช้ในกลุ่มทกั ษะภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ การงานและพ้นื ฐานอาชพี จากความเห็นของนักวิชาการดังกล่าว ดังน้ันแบบฝึกจึงมีความสาคัญต่อผู้เรียน ไม่น้อย ในการท่ีจะช่วย เสรมิ สร้างทกั ษะใหก้ ับผูเ้ รียนไดเ้ กิดการเรยี นรู้และเข้าใจไดเ้ รว็ ข้ึน ชัดเจนข้ึน กวา้ งขวางขึ้น ทาใหก้ ารสอนของครู และการ เรยี นของนกั เรยี นประสบ-ผลสาเร็จอย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.5.2 ลกั ษณะของแบบฝกึ ท่ีดี มผี ูก้ ลา่ วถงึ ลักษณะของแบบฝึกที่ดี ดงั น้ี นติ ยา ฤทธิโยธี (2520) กล่าววา่ ลกั ษณะของแบบฝึกที่ดี ควรประกอบด้วย 1) เก่ียวขอ้ งกบั เรื่องท่เี รียนมาแลว้ 2) เหมาะสมกบั ระดับวัย หรอื ความสามารถของนักเรยี น 3) มีคาช้ีแจงสั้น ๆ ทช่ี ว่ ยให้นกั เรยี นเข้าใจวธิ ที าให้งา่ ย 4) ใช้เวลาทเ่ี หมาะสม 5) เป็นสง่ิ ทนี่ ่าสนใจและท้าทายใหแ้ สดงความสามารถ ศศิธร สทุ ธิแพทย์ (2517) ไดก้ ล่าวถึงลกั ษณะของแบบฝึกไว้ ดังนี้ 1) ใช้หลกั จิตวิทยา 2) สานวนภาษาไทย 3) ใหค้ วามหมายตอ่ ชวี ิต 4) คิดไดเ้ รว็ และสนุก 5) ปลุกความสนใจ 6) เหมาะสมกบั วัยและความสามารถ 7) อาจศกึ ษาไดด้ ้วยตนเอง
การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะส่ิงควรทราบคือ จดุ ประสงค์การเรียนรกู้ บั การสรา้ ง แบบฝึก ส่วนประกอบของแบบฝึก รูปแบบและขน้ั ตอนการสรา้ ง 2.5.3 จุดประสงค์การเรียนรกู้ บั การสรา้ งแบบฝกึ การสรา้ งแบบฝึกต้องยึดจดุ ประสงค์ของการเรยี นรู้เป็นลาดับ เพราะจุดประสงคก์ ารเรยี น คือ เป้าหมาย สดุ ทา้ ยที่ต้องการใหผ้ ู้เรียนไดห้ รือเปน็ ดังน้นั การนาจดุ ประสงคม์ าเปน็ เคร่อื งนาทาง จึงเปน็ สิ่งท่ีถูกตอ้ ง หากจะกลา่ วถงึ การแบง่ ชนิดของจุดประสงค์ทางการเรียน สามารถ แบง่ ไดต้ ามลักษณะของพฤตกิ รรม คอื (1) พฤตกิ รรมทางด้านพุทธิพิสัย (2) พฤตกิ รรมทางดา้ นจิตพสิ ัย (3) พฤตกิ รรมทางด้านทกั ษะพสิ ยั การใช้คาสั่งในแบบฝึก จึงควรคานึงถึงพฤติกรรมที่จะนาไปสู่จุดประสงค์ในแต่ละด้านด้วย จึงขอนา พฤตกิ รรมซึ่งเป็นคากรยิ าท่ีบง่ ถึงการกระทาอันจะนาไปสู่จุดประสงคใ์ นแตล่ ะดา้ น เสนอไวเ้ พ่ือนาไปใช้ประกอบในการสร้าง แบบฝกึ (1) พฤติกรรมด้านพทุ ธิพสิ ัย วิชยั วงษ์ใหญ่ (2537) ไดก้ ล่าวว่า เปน็ กิจกรรมทางสมอง ซึ่ง บลมู (Bloom) และคณะไดจ้ าแนกไว้ 6 ระดบั เรยี งจากพฤติกรรมทต่ี ่าสดุ ถงึ สงู สดุ คากรยิ าท่ี สามารถนามาประยุกตใ์ ชใ้ นระดับต่าง ๆ ของการกาหนดจุดประสงค์การเรียนทางดา้ นความรู้ มีดงั น้ี 1) ความร้คู วามจา 2) ความเข้าใจ 3) การประยุกตใ์ ช้ 4) การวเิ คราะห์ 5) กาสังเคราะห์ 6) การประเมินค่า (2) พฤติกรรมทางด้านจิตพิสัย เปน็ เรื่องเก่ียวกับทัศนคติ ความสนใจคุณคา่ การพัฒนา ความซาบซึ้ง และการปรบั ปรงุ ตัว การเขยี นจุดประสงค์การเรียนทางดา้ นเจตคติ เพื่อใหส้ ามารถสังเกตและวดั ได้อย่างชัดเจน เป็นส่ิงท่ีทา ได้ค่อนข้างยาก เพราะพฤติกรรมบางอย่างของด้านนี้มีความซับซ้อนคลุมเครือ ที่จะแสดงออกมาให้สังเกตและวัดได้อย่าง ตรงกัน แต่อย่างไรกต็ าม จดุ ประสงคก์ ารเรียนดา้ นจติ พิสัยน้ี กส็ ามารถจะวดั และสงั เกตไดโ้ ดยวิธกี ารโน้มนา้ ว (approach tendercies) ซ่ึงหมายถึง การแสดงจิตพิสัยต่อสิ่งใดส่ิงหน่ึง หรือในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง คากริยาต่างๆ ซึ่ง สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการระบจุ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ มีดงั นี้ 1) การรบั รู้ 2) การตอบสนอง 3) การเกดิ คุณค่า 4) การจดั ระบบคณุ คา่ หรอื รวบรวมพินจิ 5) การประเมนิ คุณค่า
(3) พฤตกิ รรมทางด้านทกั ษะพิสยั เปน็ เรื่องเกี่ยวกบั กิจกรรม ทางกล้ามเน้ือ และระบบประสาทกล้ามเน้ือ ซ่ึงฟรีสแมน (Fleishman) ได้วิเคราะห์องค์ประกอบเก่ียวกับ ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อสรปุ ไดอ้ งคป์ ระกอบ 11 ประการ คอื 1) ความสามารถในการใช้กลา้ มเนือ้ สว่ นเล็กในการทางาน เป็นความสามารถในการกระทาสงิ่ ของทเี่ ล็กละเอียด โดยการใช้กลา้ มเน้อื ทลี่ ะเอียด ทางมอื และเทา้ ทาการควบคมุ เคลื่อนไหวและทาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 2) ความสามารถในการประสานระหวา่ งกลา้ มเน้ือใหญ่ กับกล้ามเน้ือเลก็ 3) ความสามารถในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง คือร้จู กั เลอื กปฏบิ ัติ หรือกระทาได้อยา่ งตรงตอ่ ภาวะนนั้ ๆ 4) สามารถตอบสนองส่ิงเร้าที่ปรากฏได้รวดเรว็ ทนั ที 5) ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวแขนได้รวดเรว็ ทนั ที 6) ความสามารถในการควบคุมอัตราการทางานของกล้ามเนื้อได้ถูกต้อง รวดเร็วทุกขณะที่ เปลยี่ นไป 7) ความสามารถในการควบคุมการเคล่ือนไหวของมือและแขนให้สามารถทางานได้อย่างมี ทกั ษะ 8) ความสามารถในการควบคมุ การทางานของน้วิ มอื ใหท้ างานได้อยา่ งมีทักษะ 9) ความสามารถทีใ่ ช้มอื และแขนไดอ้ ยา่ งแนน่ อนแมน่ ยา เทีย่ งตรง 10) ความสามารถในการหมุนข้อมอื ไดอ้ ย่างรวดเร็ว 11) ความสามารถในการคาดคะเนได้อยา่ งตรงเป้าหมาย 2.5.4 ส่วนประกอบของแบบฝึก 1) คู่มอื การใช้แบบฝกึ เป็นเอกสารสาคัญประกอบการใช้แบบฝกึ ว่า ใช้เพื่ออะไร และมีวิธีการใช้อย่างไร เช่น ใช้เป็นงานฝึกท้ายบทเรียน ใช้เป็นการบ้าน หรือใช้สอนซ่ อมเสริม ควร ประกอบดว้ ย - ส่วนประกอบของแบบฝึก จะระบุว่าในแบบฝึกชุดน้ี มีแบบฝึกท้ังหมดก่ีชุด อะไรบ้าง และมี สว่ นประกอบอืน่ ๆ หรือไม่ เชน่ แบบทดสอบ หรือแบบบันทกึ ผลการประเมนิ - สิ่งที่ครูหรือนักเรยี นต้องเตรยี ม (ถา้ มี) จะเปน็ การบอกให้ครูหรือนักเรียนเตรียมตัวให้พร้อมล่วงหน้า ก่อนเรยี น - จุดประสงค์ในการใชแ้ บบฝกึ - ข้ันตอนในการใช้ บอกข้ันตอนตามลาดับการใช้ และอาจเขียนในรูปของแนวการสอนหรือแผนการ สอน จะชัดเจนย่งิ ขึ้น - เฉลยแบบฝึกในแตล่ ะชดุ
2) แบบฝึก เปน็ สือ่ ที่สรา้ งข้ึนเพื่อให้ผู้เรยี นฝึกทักษะ เพ่อื ใหเ้ กิด การเรียนรูท้ ่ีถาวร ควรมอี งค์ประกอบดังน้ี - ช่ือชุดฝึกในแตล่ ะชดุ ย่อย - จุดประสงค์ - คาสัง่ - ตวั อย่าง - ชุดฝึก - ภาพประกอบ - ขอ้ ทดสอบก่อนและหลงั เรียน - แบบประเมนิ บนั ทึกผลการใช้ 2.5.5 รูปแบบของการสร้างแบบฝึก การสร้างแบบฝึก รูปแบบก็เป็นส่ิงสาคัญในการที่จะจูงใจให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติ แบบฝึกจึงควรมี รูปแบบที่หลากหลาย มิใช่ใช้แบบเดียวจะเกิดความจาเจ น่าเบ่ือหน่ายไม่ท้าทายให้อยากรู้อยากลอง จึงขอเสนอรูปแบบ ของแบบฝึกที่เป็นหลักใหญ่ไว้กอ่ น ส่วนผู้สร้างจะนาไปประยุกต์ใชป้ รับเปลี่ยนรูปแบบอ่ืน ๆ กแ็ ล้วแต่เทคนิคของแต่ละคน ซง่ึ จะเรยี งลาดบั จากง่ายไปหายาก ดังนี้ 1) แบบถกู ผิด 2) แบบจับคู่ 3) แบบเตมิ คาหรือขอ้ ความ 4) แบบหลายตัวเลือก 2.5.6 ขั้นตอนการสรา้ งแบบฝกึ เสรมิ ทักษะ 1) ศึกษาปัญหาและความต้องการ โดยศึกษาจากการผ่านจุดประสงค์ การเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หากเป็นไปได้ ควรศึกษาความตอ่ เนอ่ื ง ของปัญหาในทุกระดับช้ัน 2) วิเคราะห์เน้ือหาหรือทักษะท่ีเป็นปัญหา ออกเป็นเน้ือหาหรือทักษะย่อย ๆ เพื่อใช้ในการสร้าง แบบทดสอบและแบบฝกึ หดั 3) พิจารณาวัตถุประสงค์ รปู แบบ และข้นั ตอนการใชแ้ บบฝึก เชน่ จะนาแบบฝกึ ไปใช้อยา่ งไร ในแต่ละชดุ จะประกอบไปดว้ ยอะไรบ้าง 4) สรา้ งแบบทดสอบ ซง่ึ อาจมีแบบทดสอบเชิงสารวจ แบบทดสอบ เพ่ือวินิจฉัยข้อบกพร่อง แบบทดสอบความก้าวหน้าเฉพาะเรื่อง เฉพาะตอนแบบทดสอบท่ีสร้างจะต้องสอดคล้องกับ เนื้อหาหรือทกั ษะท่วี ิเคราะหไ์ วใ้ น ข้อที่ 2 5) สร้างแบบฝึกหัด เพ่ือใช้พัฒนาทักษะย่อยแต่ละทักษะ แต่ละบัตรจะมีคาถามย่อยให้นักเรยี น การ กาหนดรูปแบบ ขนาดของบตั ร พจิ ารณาตามความเหมาะสม 6) สร้างแบบอ้างอิง เพื่อใช้อธิบายคาตอบหรือแนวทางการตอบแต่ละเรื่อง การสร้างบัตรอ้างอิงนี้ อาจทาเพิม่ เติมเม่อื ไดน้ าบัตรฝกึ หัดไปทดลองใชแ้ ล้ว
7) สร้างแบบบันทึกความกา้ วหนา้ เพื่อใชบ้ ันทกึ ผลการทดสอบหรอื ผลการเรียน โดยจัดทาเป็นตอน เป็นเร่ือง เพ่ือให้เห็นความเจริญก้าวหน้าเป็นระยะ ๆ สอดคล้องกับแบบทดสอบ ความก้าวหนา้ 8) นาแบบฝึกไปทดลองใช้ เพอ่ื หาข้อบกพร่องคณุ ภาพแบบฝกึ และคุณภาพของแบบทดสอบ 9) ปรับปรุงแก้ไข 10) รวบรวมเป็นชุด จดั ทาคาชแ้ี จง คมู่ ือการใช้ และสารบัญเพอื่ ใชป้ ระโยชน์ต่อไป ขนั้ ตอนการสรา้ งแบบฝกึ จะคล้ายคลึงกบั การสรา้ งนวตั กรรมทางการศึกษาประเภทอื่น ๆ ซง่ึ มีรายละเอยี ด ดังน้ี 1) วิเคราะหป์ ัญหาและสาเหตจุ ากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน เช่น - ปญั หาที่เกิดข้ึนในขณะทาการสอน - ปญั หาการผ่านจดุ ประสงคข์ องนักเรียน - ผลจากการสังเกตพฤติกรรมท่ีไมพ่ ึงประสงค์ - ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน 2) ศกึ ษารายละเอยี ดในหลกั สตู ร เพอ่ื วิเคราะหเ์ นื้อหา จดุ ประสงค์ แต่ละกิจกรรม 3) พิจารณาแนวทางแกป้ ัญหาท่ีเกิดขึ้นจากขอ้ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลือกเนื้อหาในส่วนที่จะ สร้างแบบฝกึ นนั้ ว่าจะทาเรือ่ งใดบ้าง กาหนดเปน็ โครงเรื่องไว้ 4) ศกึ ษารปู แบบของการสรา้ งแบบฝกึ จากเอกสารตัวอย่าง 5) ออกแบบชดุ ฝกึ แต่ละชุดใหม้ ีรูปแบบทห่ี ลากหลาย นา่ สนใจ 6) ลงมอื สรา้ งแบบฝึกในแตล่ ะชดุ พร้อมท้ังข้อทดสอบก่อนและหลังเรยี นให้สอดคลอ้ งกับเนื้อหา และ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 7) ส่งให้ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบ 8) ทาไปทดลองใช้ แล้วบนั ทึกผลเพื่อนามาปรับปรุงแกไ้ ขส่วนทบ่ี กพรอ่ ง 9) ปรับปรงุ จนมปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ทีต่ ้งั ไว้ 10) นาไปใชจ้ ริงและเผยแพรต่ ่อไป 2.5.7 ประโยชน์ของแบบฝึกเสริมทกั ษะ สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2537) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกเสริม ทกั ษะ ดังนี้ 1) เป็นสว่ นเพมิ่ เติม หรือเสริมหนังสือเรยี น 2) ช่วยเสริมทักษะการใช้ภาษาให้ดีข้ึน แต่ทั้งนี้จะต้องอาศัยการส่งเสริมและความเอาใจใส่จาก ครผู ้สู อนด้วย 3) ช่วยในเร่อื งความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล เพราะการท่ใี หน้ กั เรยี น ทาแบบฝึกหดั ทเ่ี หมะสมกับความสามารถของเขาจะชว่ ยใหน้ ักเรยี นประสบความสาเรจ็ 4) แบบฝกึ ช่วยเสริมทักษะทางภาษาคงทน 5) การให้นักเรียนทาแบบฝึก ช่วยให้ครูมองเห็นจุดเด่นหรือจุดบกพร่องของนักเรียนได้ชัดเจน ซ่ึงจะ ช่วยให้ครูดาเนนิ การปรบั ปรงุ แกไ้ ขปญั หาน้ัน ๆ ได้ทันท่วงที
6) แบบฝึกที่จัดพิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้ว จะช่วยให้ครูประหยัดแรงงาน และเวลาในการที่จะเตรียมการ สร้างแบบฝึก นักเรียนไมต่ ้องเสียเวลาในการคดั ลอกแบบฝกึ ทาให้มีเวลาและโอกาสได้ฝกึ ฝนมากข้นึ อดุลย์ ภูปล้มื (2539) ได้กล่าวถงึ ประโยชนข์ องแบบฝึกไว้ ดังนี้ 1) ช่วยให้ผูเ้ รียนเข้าใจบทเรียนไดด้ ขี ึ้น 2) ชว่ ยใหจ้ ดจาเนอื้ หา และคาศัพท์ต่าง ๆ ได้คงทน 3) ทาใหเ้ กิดความสนกุ สนานในขณะเรียน 4) ทาให้ทราบความก้าวหนา้ ของตนเอง 5) สามารถนาแบบฝกึ หดั มาทบทวนเน้อื หาเดมิ ดว้ ยตนเองได้ 6) ทาให้ทราบขอ้ บกพรอ่ งของนักเรียน 7) ทาใหค้ รูประหยัดเวลา 8) ทาให้นักเรยี นสามารถนาภาษาไปใชส้ ่อื สารได้อย่างมีประสิทธภิ าพ รชั นี ศรไี พรวรรณ (2517) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชนข์ องแบบฝึก ไวว้ า่ 1) ทาใหเ้ ขา้ ใจบทเรยี นดขี ึน้ เพราะเป็นเคร่อื งอานวยประโยชน์ ในการเรยี นรู้ 2) ทาใหค้ รทู ราบความเขา้ ใจของนักเรียนทมี่ ีต่อบทเรยี น 3) ฝกึ ให้เด็กมีความเชือ่ ม่นั และสามารถประเมินผลของตนเองได้ 4) ฝกึ ใหเ้ ด็กทางานตามลาพงั โดยมคี วามรับผิดชอบในงาน ท่ไี ด้รับมอบหมาย จากประโยชน์ของแบบฝึกที่กล่าวมา สรุปได้ว่า แบบฝึกท่ีดีและมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้นักเรียนประสบ ผลสาเรจ็ ในการฝกึ ทกั ษะ ได้เป็นอย่างดี แบบฝึกเปรียบเสมือนผู้ช่วยท่ีสาคัญของครู ทาให้ครูลดภาระการสอนลงได้ ทาให้ ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามความสามารถของตน เพอ่ื ความม่นั ใจในการเรยี นได้เปน็ อย่างดี 2.6 หลักจติ วิทยำ ทฤษฎีและแนวคดิ ทเี่ กี่ยวข้องกับกำรสรำ้ งแบบฝกึ การศึกษาในเร่ืองจิตวิทยาการเรยี นรู้ เปน็ ส่งิ ท่ีผูส้ รา้ งแบบฝึกมิควรละเลย เพราะการเรียนรู้จะเกิดข้ึนไดต้ อ้ งข้นึ อยู่ กับปรากฏการณ์ของจิต และพฤติกรรมท่ีตอบสนองนานาประการ โดยอาศัยกระบวนการท่ีเหมาะสมและเป็นวิธีท่ีดีท่ีสุด การศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้จากข้อมูลที่นักจิตวิทยาได้ทาการค้นพบ และทดลองไว้แล้วสาหรับการสร้างแบบฝกึ ในส่วนที่มี ความสมั พันธก์ ันดังน้ี 2.6.1 ทฤษฎีการลองผิดลองถูกของ ธอร์นไดค์ ซึง่ ไดส้ รุปเปน็ กฎเกณฑ์ การเรยี นรู้ ดังนี้ 1) กฎความพร้อม หมายถึง การเรียนรจู้ ะเกิดขึน้ เม่ือบคุ คลพรอ้ มทีจ่ ะกระทา 2) กฎผลท่ีได้รบั หมายถึง การเรยี นรูจ้ ะเกดิ ขึ้นเพราะบุคคลกระทาซ้า และย่ิงทามากความชานาญจะ เกดิ ขนึ้ ไดง้ ่าย ไพบูลย์ เทวรักษ์ (2540) ได้กล่าวถึงกฎการฝึกหัดไว้ว่า การฝึกหัดให้บุคคล ทากิจกรรมต่าง ๆ น้ัน ผู้ฝึก จะต้องควบคุมและจดั สภาพการให้สอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ของตนเอง บคุ คลจะถูกกาหนดลักษณะพฤติกรรมท่ีแสดงออก ดังน้ัน ผู้สร้างแบบฝึกจึงจะต้องกาหนดกิจกรรมตลอดจนคาสั่งต่าง ๆ ในแบบฝึก ให้ผู้ฝึกได้แสดงพฤติกรรม สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ทีผ่ สู้ ร้างตอ้ งการ
2.6.2 ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซ่ึงมีความเช่ือว่าสามารถควบคุมบุคคลให้ทาตามความประสงค์ หรือแนวทางที่กาหนดได้โดยไม่ต้องคานึงถึงความรสู้ ึกทางจิตใจของบุคคลผู้นั้นว่าจะรู้สึกนึกคิดอย่างไร โดยมีการเสริมแรง เป็นตัวการ เม่ือบุคคลตอบสนองการเร้าของสิ่งเร้าควบคู่กันในช่วงเวลาที่เหมาะสม ส่ิงเร้านั้นจะรักษาระดับหรือเพ่ิมการ ตอบสนองให้เขม้ ข้นึ 2.6.3 วธิ กี ารสอนของกาเย่ ซง่ึ มีความเห็นว่า การเรียนรมู้ ีลาดับขนั้ และผู้เรียนจะต้องเรยี นรู้เนอ้ื หาท่งี า่ ยไปหา ยาก พรรณี ช.เจนจิต (2538) ได้กล่าวถึงแนวคดิ ของกาเย่ ไวด้ ังน้ี การเรียนรู้มีลาดับขั้น ดังน้ันก่อนท่ีจะสอนเด็กแก้ปัญหาได้น้ัน เด็กจะต้องเรียนรู้ความคิดรวบยอด หรือ กฎเกณฑ์มาก่อน ซ่ึงในการสอนให้เด็กได้ความคิดรวบยอดหรือกฎเกณฑ์นั้น จะทาให้เด็กเป็นผู้สรุปความคิดรวบยอดด้วย ตนเองแทนท่ีครู จะเป็นผู้บอก การสรา้ งแบบฝกึ จึงควรคานึงถงึ การฝกึ ตามลาดับขน้ั จากง่ายไปหายาก 2.6.4 แนวคิดของบลูม ซึ่งกล่าวถึงธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนว่า มีความแตกต่างกัน ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้เนื้อหาในหน่วยยอ่ ยตา่ ง ๆ ไดโ้ ดยใช้เวลาเรยี นทแ่ี ตกต่างกนั ดังนั้นการสร้างแบบฝึกจึงต้องมีการกาหนดเงื่อนไขท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนสามารถผ่านลาดับข้ันตอนของทุก หน่วยการเรยี นไดถ้ า้ นักเรยี นไดเ้ รียนตามอตั ราการเรียนของตน ก็จะทาให้นักเรยี นประสบความสาเรจ็ ไดม้ ากขึ้น สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2522) ได้แนะนาหลักจิตวิทยาที่ควรนามาสร้างแบบฝึก พอ สรปุ ได้ดังน้ี 1. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เก่ียวกับการฝึกหัด ซ่ึงสอดคล้องกับการทดลองของวัตสัน (Watson) นั่นคือส่ิงใดก็ตามท่ีมีการฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆ ยิ่งทาให้ผู้ฝกึ คล่องแคล่วสามารถทาได้ดี ในทางตรงข้ามส่ิง ใดก็ตามที่ไม่ได้รับการฝึก ทอดท้ิงไปนานแล้ว ย่อมทาได้ไม่ดีเหมือนเดิม ต่อเมื่อมีการฝึกฝนหรือกระทาซ้าก็จะช่วยให้เกิด ทกั ษะเพิม่ ขน้ึ 2. ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ครูควรคานงึ ว่านักเรยี นแต่ละคนมีความรู้ ความถนดั ความสามารถและความ สนใจที่ต่างกนั ฉะนัน้ ในการสร้างแบบฝึก จึงควรพิจารณาถึงความเหมาะสม ไมย่ ากหรืองา่ ยเกนิ ไป และควรมีหลายแบบ 3. การจูงใจผู้เรียน สามารถทาได้โดยจัดแบบฝึกจากง่ายไปหายาก เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน เป็นการ กระตุ้นให้ติดตามต่อไป และทาให้นักเรยี นประสบผลสาเรจ็ ในการทาแบบฝึก นอกจากนั้นการใช้แบบฝกึ สั้น ๆ จะชว่ ยไมใ่ ห้ ผู้เรียนเบอ่ื หนา่ ย 4. การนาส่ิงท่ีมีความหมายต่อชีวิตและการเรียนรู้มาให้นักเรียนได้ทดลอง ทาภาษาท่ีใช้พูดใช้เขียนใน ชีวติ ประจาวนั ทาใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รยี นและทาแบบฝึกในสง่ิ ท่ีใกล้ตัว นอกจากจาไดแ้ ม่นยาแล้ว นกั เรียนยังสามารถนาหลักและ ความรู้ทไ่ี ดร้ ับไปใช้ประโยชนอ์ ีกดว้ ย นอกจากนี้ พรรณี ชูทัย (2522) ไดเ้ สนอการนาหลกั จิตวิทยาการศกึ ษามาใช้ ในการสร้างแบบฝกึ พอสรุปไดด้ ังนี้ 1. การสาธติ และการอธบิ ายแนะนา เรมิ่ แรกควรบอกให้นกั เรยี นทราบวา่ จะทาอย่างไร ชแี้ จงใหเ้ ห็นความสาคัญของสิ่งท่จี ะเรียนนั้น เพื่อเรา้ ให้เดก็ เกิด ความสนใจ 2. ให้เด็กได้มีโอกาสฝกึ ทนั ทีหลงั จากการสาธิต และส่ิงทต่ี อ้ งคานงึ ถึงกค็ ือ การทาซา้ และการเสริมแรง ควรใหโ้ อกาสเด็กไดฝ้ ึกซา้ ๆ และควรใหไ้ ดร้ บั การเสริมแรงอย่างทั่วถึง
3. ในขณะทีฝ่ ึกหัด ควรมีการใหค้ าแนะนาเพื่อใหเ้ ดก็ ได้ฝกึ ทกั ษะน้ัน ๆ ได้ดว้ ยตนเอง 4. ให้คาแนะนาที่อยู่ในบรรยากาศที่สบาย ๆ ครูผู้สอนต้องใจเย็น ไม่ดุ บรรยากาศไม่ตรงึ เครียด จะย่ัวยุให้เด็ก เกดิ ความพยายามทีจ่ ะฝกึ 5. สิ่งท่ีจะทาให้ผู้เรียนพบปัญหายุ่งยากในการฝึกทักษะใหม่ คือการที่ทักษะเก่าของผู้เรียนจะมารบกวนการ เรียนทักษะใหม่ ซ่ึงควรแก้ไขด้วยการอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจว่า ทักษะใหม่ที่จะฝึกฝนน้ันจะมีวิธีการของมันเอง ซึ่งต่างไป จากวธิ ีการของทักษะเก่า และพยายามกระตนุ้ นกั เรยี นใหร้ ะลึกอยา่ งเสมอวา่ เขากาลงั เรยี นทักษะใหม่ หลักจิตวิทยาดังกล่าว ผู้ศึกษาค้นคว้านามาเป็นแนวทางในการสร้างแบบฝึกให้น่าสนใจ เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความถนดั ของนักเรียน เพือ่ ให้การเรียน การสอนสนกุ สนาน นักเรียนมีความพอใจท่ีจะเรยี นและประสบความสาเร็จในการเรยี น 2.6 งำนวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั กำรสรำ้ งแบบฝกึ ทักษะ งำนวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับกำรสร้ำงแบบฝกึ ทกั ษะ งำนวจิ ยั ในประเทศ งำนวิจยั ทีเ่ กย่ี วกบั กำรสอนแบบมงุ่ ประสบกำรณ์ภำษำ ประภาพันธุ์ นลิ อรุณ (2530) ศกึ ษาเปรยี บเทียบความพร้อมการเรียนภาษาไทยเด็กปฐมวยั ในท้องถ่ินที่มีปัญหา ทางภาษา ท่ีเรียนโดยวิธีมุ่งประสบการณ์ภาษากับวิธีสอนตามแผนการจัดประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันเด็ก เลก็ โรงเรยี น บ้านสังขละและโรงเรียนคมวิทยาคาร อาเภอสังขละ จังหวดั สุรนิ ทร์ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2530 ผลการศกึ ษาพบวา่ เด็กปฐมวัยท่ีเรียนโดยวิธีมงุ่ ประสบการณภ์ าษา มีความพรอ้ มทางการเรียนภาษาไทยสงู กว่าเดก็ ปฐมวยั ทเี่ รยี นตามแผนการจดั ประสบการณช์ ้นั เดก็ เล็ก อย่างมีนยั สาคัญทาง สถติ ิท่ี .01 มัลลกิ า ภักดณี รงค์ (2531) เปรยี บเทยี บความเขา้ ใจในการอา่ น การเขยี น และทัศนคติตอ่ การเรยี นภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ในจังหวัดนครราช-สีมาท่ีได้รับการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษากับการสอนปกติ กลุ่มตวั อยา่ งนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2531 โรงเรียน วัดโคกพรมตง้ั ตรงจติ 7 อาเภอ เมอื ง จงั หวดั นครราชสีมา จานวน 50 คน ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ผลการวจิ ยั จรัสศรี กิจบัญญัติอนันต์ (2535) เปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่าน การเขียนและทัศนคติต่อวิชา ภาษาไทยของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 จงั หวดั ขอนแก่น ที่ไดร้ ับการสอนภาษาไทยแบบมุง่ ประสบการณภ์ าษาและแบบปกติ ผลการศกึ ษาพบวา่ นกั เรียนทไ่ี ด้รับการสอนภาษาไทย แบบม่งุ ประสบการณภ์ าษา มีความเขา้ ใจ ในการอ่าน การเขียนคาและทัศนคติต่อวิชาภาษาไทยสูงกว่านักเรียน ท่ีเรียนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่ง สอดคล้องกับผลการวิจัยของ สมชาย กระจายศรี (2536) ท่ีศึกษาเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ภาษาไทยของ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 ในจังหวัดสุรินทร์ ท่ีสอนด้วยวิธีสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา กับสอนด้วยวิธีสอนปกติ ตามคู่มอื ครู ที่พบว่า นักเรยี นทีไ่ ดร้ ับการสอนดว้ ยวิธสี อนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษามีความสามารถในการใช้ภาษาไทย ท้ัง ด้านการฟัง การพูด การอ่าน และ การเขียน สูงกวา่ นกั เรยี นที่ไดร้ บั การสอนด้วยวิธสี อนปกติตามคมู่ อื ครู
ชิญโญ โครบตุ ร (2535) เปรียบเทยี บความเข้าใจในการอา่ น ความสามารถ ในการเขียนคา และพฤติกรรมกลา้ แสดงออกในช้นั เรยี น ของนักเรยี นไทยกระโซ่ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ในเขตอาเภอกุสมุ าลย์ จงั หวัดสกลนคร ท่ไี ดร้ ับการสอนโดยวิธีแบบมงุ่ ประสบการณภ์ าษากับวธิ ีสอน ปกติ ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนไทย กระโซ่ ได้รับการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษามีความเข้าใจในการอ่าน ความสามารถ ในการเขยี นคา และมพี ฤตกิ รรมกล้าแสดงออกในชน้ั เรียนสงู กวา่ นกั เรยี นไทยกระโซ่ ท่ีไดร้ บั การสอนแบบปกติ สธุ ีพร ปาคะดี (2531) ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถทาง การอา่ น การเขียนและการระลกึ สิง่ ท่ี อ่านได้ในวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาและการสอน ตามคู่มือ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนสามเสนนอก กรุงเทพมหานคร จานวน 60 คน ใช้ เวลาทดลอง 7 สัปดาห์ ผลการทดลองพบวา่ นกั เรยี นท่ไี ดร้ บั การสอนดว้ ยวิธี มุ่งประสบการณ์ภาษากับวิธีสอนตามคู่มือครูมีความสามารถทางการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีการระลึกได้ในสิ่งที่อ่านในวิชาภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 โดยกลุ่มที่ได้รบั การสอนแบบมงุ่ ประสบการณ์ภาษาสงู กวา่ กล่มุ ท่ีได้รบั การสอนตามคูม่ อื ครู สรุ ศกั ด์ิ กาญจนการญุ (2531) ไดท้ าการเปรียบเทยี บความเข้าใจในการอา่ น การเขียน และความคงทนถาวร ในการเรียนรู้ของเด็กนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีพูดภาษาเขมร เป็นภาษาแม่ที่ได้รับการสอนโดยวิธีมุ่งประสบการณ์ภาษากับวิธีสอนแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า ความ เข้าใจในการอ่านและความสามารถในการเขียนของนักเรียนที่เรียนโดยวิธีมุ่งประสบการณ์ภาษากับวิธีสอนแบบปกติ แตกตา่ งกันอย่างน้อยมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ี่ ระดับ .01 โดยกลุ่มทไ่ี ดร้ บั การสอนแบบมุง่ ประสบการณภ์ าษาสูงกวา่ กลุ่ม ท่ีไดร้ ับการสอนแบบปกติ งำนวจิ ัยท่ีเก่ียวกับกำรสรำ้ งแบบฝกึ ภูมิศรี จันทร์ดา (2538) ได้ศึกษาแบบฝึกเสริมทักษะกิจกรรมขั้นตอนท่ี 5 ท่ีมีประสิทธิภาพ เรื่อง ฟักทอง ของนิด ประกอบการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 สังกัดสานักงานการ ประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น ผลการทดลองพบว่า แบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 85.76 /87.22 แสดงว่า แบบฝึกเสริมทักษะท่ีสร้างข้ึน มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และคะแนนการทดสอบหลังเรียน สูงกวา่ คะแนนทดสอบกอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ ระดบั .01 บุญรัตน์ มีสมบูรณ์ (2539) ได้สร้างแบบฝกึ ภาษาไทย เรอื่ งตวั สะกดมาตรา แม่กน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรยี นบ้านฉาง ในจังหวัดระยอง จานวน 50 คน ผลการวิจัยพบวา่ แบบ ฝึกสร้างข้นึ มีประสิทธภิ าพ 90.54/90.05 และคะแนนเฉล่ยี คะแนนสอบหลงั ทาแบบฝึกหดั มากกวา่ คะแนนเฉลีย่ กอ่ น ทาแบบฝึกหัดอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .01 แสดงว่า นักเรียนทาแบบฝึกหัดน้ีแล้วมีความสามารถในการ สะกดคาในมาตราแม่กนเพม่ิ ขน้ึ ยุพาภรณ์ ชาวเชียงขวาง (2535) ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเขียนเรียงความโดยใช้แบบฝึกทักษะการ เขยี นเรียงความ กับการสอนปกติ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6โรงเรียนชมุ ชนบ้านเชียงบาน อาเภอเชียงคา จงั หวัดพะเยา ผล การทดลองพบว่า แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความมีประสิทธิภาพ 80.11/86.43 เป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐาน
80/80 ความสามารถการเขียนเรียงความของนกั เรียนที่ใชแ้ บบฝึกกับการสอนตามปกติแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สาคญั ทาง สถติ ิที่ ระดบั .01 อดลุ ย์ ภปู ลมื้ (2539) ศกึ ษาเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิการเขียนสะกดคาสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกที่จัดคาเป็นกลุ่มคาและแบบฝึกที่จัดคา คละคา มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 กลุ่ม ตัวอย่างไดแ้ ก่ นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นชุมชนสามัคคีราษฎรบ์ ารุง อาเภอ หนองกรุงศรี จงั หวัดกาฬสินธุ์ จานวน 60 คน ผลการวิจัยพบว่า แบบฝึกท่ีจัดทาเป็นกลุ่มคาและแบบฝึกที่จัดทาคละคามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 และผลสัมฤทธ์ิการเขียนสะกดคาของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้แบบฝึกจัดคาเป็นกลุ่มคากับ แบบฝกึ ท่ีจัดทาคละคาแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิที่ ระดบั .05 โดยนักเรยี นท่เี รยี นโดยใชแ้ บบฝึกท่จี ดั คาเป็น กลุ่มคา มีผลสัมฤทธ์ิการเขียนสะกดคาสูงกว่านกั เรียนทเี่ รยี นโดยใชแ้ บบฝึกท่จี ัดคาคละคา งำนวิจยั ท่ีเกีย่ วกบั แบบฝกึ สุณี กฤตสัน (2542) ได้ศึกษาการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย กิจกรรมข้ันที่ 5 เรื่อง อ้อยอมยิ้ม ประกอบการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนห้วยราช สังกัด สานักงานการประถมศึกษาอาเภอ-ห้วยราช สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดบุรีรัมย์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2541 จานวนนักเรียน 25 คน ผลการทดลองพบว่า แบบฝึกเสริมทักษะการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา มปี ระสิทธิภาพ 95.51/87.47 แสดงว่าแบบฝึกเสริมทักษะมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80 ท่ีตั้งไว้ ไพฑรู ย์ แวววงศ์ (2542) ได้ศึกษาการทดลองใชช้ ดุ ฝกึ ทกั ษะการเขยี น เชิงสร้างสรรคป์ ระกอบการสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา สาหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นบา้ น นามูล สานักงานการประถมศึกษาอาเภอกระนวน สานักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2541 จานวนนักเรยี น 29 คน ผลการทดลอง ปรากฏวา่ นกั เรยี นไดค้ ะแนนก่อนเรียนคดิ เปน็ รอ้ ยละ 63.10 และได้คะแนนหลงั เรียนคดิ เป็นรอ้ ยละ 88.97 แสดงวา่ ชุดฝกึ ทักษะการเขียน เชิงสรา้ งสรรค์ ทาใหน้ ักเรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสงู ข้นึ งำนวจิ ัยต่ำงประเทศ งำนวิจยั เกย่ี วกับกำรสรำ้ งแบบฝกึ ชเวนดินเกอร์ (Schwendinger.1977) ได้ศึกษาผลการเขียนสะกดคา ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 503 คน โดยใชแ้ บบฝกึ หัดท่มี รี ูปภาพเหมือน ของจริงแบบเขียนตามคาบอก และแบบทดสอบการเขียนสะกดคา ผลการศกึ ษา พบว่า นักเรียนทีเ่ รยี นโดยใช้แบบฝกึ หัดท่ี มีรปู ภาพจรงิ มีผลสัมฤทธิ์ในการเขยี นและสะกดคาสงู กวา่ นกั เรียนทีเ่ รยี นโดยไมใ่ ชร้ ปู ภาพเหมือนของจรงิ แมคพิค ( Mcpeake. 1979 ) ได้ศึกษาผลการเรียนจากแบบฝึกอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่เริ่มศึกษาจนถึง ความสามารถในการอ่าน และเพศท่ีมีต่อความสามารถในการสะกดคาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 จากโรงเรียน ประถมศึกษาทีเ่ มอื ง Scituate และMassachusetts จานวน 129 คน พบวา่ ทกุ กลมุ่ มีผลสมั ฤทธ์ิในการเขียนสะกด คาสูงข้ึน ยกเว้นนักเรียนชายที่มีความบกพร่องด้านการอ่าน และพบว่าแบบฝึกช่วยปรับปรุงความสามารถในการสะกดคา ของนักเรียนทุกคน แต่เวลา 12 สัปดาห์ไม่เพียงพอท่ีจะทาให้เกิดการถ่ายโยงการเรียนรู้ในการสะกดคาไปสู่คาใหม่ท่ียัง
ไม่ได้ศึกษา และคะแนนของนกั เรียนหญงิ สูงกว่านักเรียนชายอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ นอกจากนี้การอ่านยงั มคี วามสมั พันธ์ กับความสามารถในการสะกดคา จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการใช้แบบฝึก สรุปได้ว่า แบบฝึกเสริมทักษะเป็นส่ือการเรียน การสอนท่สี าคัญสาหรับนักเรยี น ชว่ ยให้ผู้เรียนมีพฒั นาการทางภาษาไดด้ ขี ึน้ และแบบฝึกเสริมทกั ษะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความ สนุกสนานเพลิดเพลินในการเรยี นร้อู ย่างแท้จริง
บทท่ี 3 วิธดี ำเนินกำรวิจัย การวิจัยในคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกทักษะการอ่านคาราชาศัพท์โดยใช้แบบฝึกทักษะสาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพ ฯ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 ผศู้ กึ ษาได้ดาเนินการตามขัน้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี 3.1 กลุ่มเปา้ หมาย 3.2 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวิจัย 3.3 การสร้างและหาประสทิ ธิภาพของเคร่ืองมอื 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู 3.5 การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ่ีใช้ 3.1 กลุม่ เปำ้ หมำย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาในคร้ังน้ี คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ เขตจอมทอง จังหวัดกรุงเทพ ฯ จานวน 43 คน และศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 3.2 เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในกำรวิจยั เครือ่ งมือที่ผวู้ ิจัยใชใ้ นการวิจยั ในคร้งั นี้ ประกอบด้วย 3.2.1 นวัตกรรม เปน็ แบบฝกึ ทกั ษะฝกึ ทักษะการอา่ นและการเขียน คาราชาศพั ท์ จานวน 10 แบบฝึกทดลอง แบบกลมุ่ เดยี วท่ีมีการทดสอบก่อนและหลงั การทดลองใช้แบบฝกึ ดังตารางที่ 1 ดังนี้ O1 X O2 ความหมายของสญั ลักษณ์ O1 หมายถึง การวดั ตัวแปรตามกอ่ นการทดลอง (pretest) X หมายถึง การจดั การเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขยี นคาราชาศพั ท์ O2 หมายถงึ การวัดตัวแปรตามหลงั การทดลอง และ O2 เปน็ การวัดดว้ ยเครือ่ งมือวดั อนั เดยี วกัน มมี าตรวดั อันเดียวกัน 3.2.2 เครือ่ งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู แบบทดสอบวดั ความสามารถฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ โดยใช้ทดสอบก่อนการใช้ แบบฝกึ จานวน 20 ขอ้ และเม่ือใชแ้ บบฝึกทกั ษะเสร็จสิ้นแลว้ กใ็ ช้แบบทดสอบชดุ เดิมทดสอบหลงั การใช้แบบฝึก
3.3 กำรสรำ้ งและหำคณุ ภำพของเครื่องมือ 3.3.1. การพฒั นาแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ผู้วิจัยได้พัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 ดังน้ี 1) ศกึ ษาหลักสูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ของกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 2) ศึกษาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จากแนวการจัดสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ของกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ 3) ศึกษาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จากแนวการจัดสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 4) ศึกษาสาระการเรียนรู้รายปี และผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปี ช่วงชั้นท่ี 2 (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4-6) จากแนวการจัดสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 5) ศึกษาวิธีการ หลักการ ทฤษฎี และเทคนิควิธีการสร้าง แบบฝึกทักษะภาษาไทย จากเอกสารต่างๆ และ งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง 6) สรา้ งแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ สาหรบั นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2/3 จานวน 10 แบบฝกึ 7) นาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ท่ีได้รับการพิจารณาทดลองใช้ในการจัดกิจกรรม เรียนการสอน เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกกบั นักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ สานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 43 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 หลังจาก ทดลองใช้แล้วหาข้อบกพร่องเพื่อนามาปรับปรงุ แกไ้ ข 9) นาแบบฝกึ ทักษะการอา่ นและการเขียนคาราชาศพั ท์ ทไ่ี ดร้ ับการปรับปรุงแกไ้ ข นามาทดลองสอนจริง โดย ใช้คกู่ บั แผนการจัดการเรยี นรู้ ใช้กบั นกั เรยี น สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 1 ชวั่ โมง 10) หลงั จากทดลองใชแ้ บบฝึกทักษะคู่กับแผนการจดั การเรยี นรู้เสร็จสน้ิ แล้ว นาแบบทดสอบชุดเดมิ กับกอ่ น เรียนมาทาการทดสอบหลังเรียนอีกครั้ง แล้วนาผลการทดสอบมาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ตาม เกณฑม์ าตรฐาน 80/80 หมายถึง คะแนนของกระบวนการเรยี นตอ่ คะแนนสอบหลงั เรยี น 80 ตัวแรก หมายถงึ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละของประสิทธภิ าพของการฝึก 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉล่ียร้อยละของการทดสอบหลงั เรยี น 3.3 2. การพัฒนาแผนการจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทยนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ที่ผู้ศึกษา สร้างขนึ้ เองตามลาดับ ดังนี้ 1) ศึกษาหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ของกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ 2) ศึกษาหลกั สตู รสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยของโรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ สานกั งานเขต พื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 3) ศึกษาแนวการจัดสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของกรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ 4) ศึกษาแนวการเขียนแผนการจัดการเรียนร้ตู ามแนวปฏริ ูปการศึกษา ตามพระราชบญั ญัติการศึกษา แห่งชาติ
5) ศกึ ษาแนวการจดั การเรยี นการสอนทักษะการอา่ นและการเขยี น จากการจัดสาระการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ของกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธกิ าร 6) ศกึ ษาแนวทางการวัดผลและประเมินผลในชัน้ เรยี น กลุม่ สาระ การเรยี นรู้ภาษาไทย ของสานักนเิ ทศและพฒั นามาตรฐานการศึกษา กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร 7) ศกึ ษาหนงั สือประกอบการเรียนการสอนภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 8) วเิ คราะหห์ ลักสตู ร และสาระมาตรฐานการเรยี นรู้ และวเิ คราะหน์ ักเรียนรายบุคคล 9) เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ โดยยึดองค์ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จัดกิจกรรมท่ียดึ ผู้เรียนเป็นสาคัญ เตรียมสื่ออุปกรณ์การเรียนการสอนและวิธีวัดและ ประเมินผลสอดคลอ้ งกับ ผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวงั 10) นาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเขียนเสร็จแล้ว เสนอต่อผู้เช่ียวชาญชุดเดิมใน ข้อ๗.๑- ๗.3) ตรวจสอบเสนอแนะในกจิ กรรมและความถกู ตอ้ งตรงตามเนือ้ หา แลว้ นามาปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามข้อเสนอแนะ 11) นาแผนการสอนท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปใช้จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริมควบคู่กับแบบฝึกทักษะ โดยเอาแบบ ฝึกทักษะเป็นส่งิ สรปุ บทเรยี นของแตล่ ะแผนการจดั การเรยี นรู้ เพราะถ้านักเรยี นเข้าใจในการเรยี น ช่วงจดั กจิ กรรมแล้ว จะ สามารถทาแบบฝึกทักษะได้ แล้วนามาใชก้ ับนักเรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียน มัธยมวัดสิงห์ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 จานวน 43 คน หลังจากทดลองใช้แล้ว หาขอ้ บกพรอ่ งแล้วนามาปรับปรุงแก้ไข 3.4 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล การศกึ ษาในคร้ังนีผ้ ู้ศึกษาได้ดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ได้ดาเนินการตามขั้นตอนดงั น้ี 3.4.1 ปฐมนเิ ทศนักเรียนพร้อมช้แี จงวัตถุประสงค์ 3.4.2 ทดสอบก่อนเรียนโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นกับหลงั เรยี นนกั เรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย 3.4.3 เร่ิมดาเนินการจัดกิจกรรการเรียนการสอนมีแบบฝึกทักษะท่ีสร้างข้ึน จานวน 10 แบบฝึก โดยมี เกณฑ์ การผ่านคือ ใน 20 ข้อนกั เรียนต้องได้ 18 ขอ้ พร้อมประเมินการผา่ นเกณฑไ์ ปด้วย 3.4.4 เมื่อทดลองใช้แบบฝึกทกั ษะจนครบท้ัง 10 แบบฝึกแล้วทดสอบ หลงั เรียน โดยใช้แบบทดสอบชดุ เดิม กับการสอบก่อนทาการเรียน 3.4.5 เก็บรวบรวมข้อมูลดว้ ยเคร่อื งมือ ที่จัดทาขน้ึ 3.4.6 นาขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการพฒั นาไปวเิ คราะห์ผลและทาการแปลผลขอ้ มูล 3.5 กำรวิเครำะหข์ ้อมลู และสถิติทใี่ ช้ 3.5.1 การวิเคราะห์ข้อมลู การวิเคราะห์ข้อมูลโดยนาข้อมูลที่ได้มาหาความถี่แล้ววิเคราะห์ บรรยายเป็นความเรียง ป ระกอบ ตาราง โดยเปรยี บเทยี บความแตกต่างคะแนนเฉลีย่ ค่าร้อยละ ระหว่างการทดสอบครั้งแรกกับครั้งหลังของกลุ่มเป้าหมายและเปรียบเทียบคะแนนการทาแบบฝึกทักษะกับ คะแนนทดสอบหลังเรยี น
3.5.2 สถิติที่ใช้ 1)หาคา่ เฉลยี่ x = X/N เมื่อ x แทน คะแนนเฉล่ีย X แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด N แทน จานวนนักเรยี นในกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2). ค่ารอ้ ยละ (Percentage) ใชส้ ูตร ศักรินทร์ สวุ รรณโรจน์ และคณะ. (2538) คา่ ร้อยละ = XN 100 เม่อื X แทน คะแนนที่ได้ N แทน คะแนนเตม็ 3) ค่าประสิทธภิ าพ ใชส้ ตู ร ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ (2537) สูตรท่ี 1 E1 = X / N A 100 เมอื่ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ X แทน คะแนนรวมของแบบฝกึ หดั หรอื งาน A แทน คะแนนเกบ็ ของแบบฝึกหดั ทุกช้นิ รวมกัน N แทน จานวนผ้เู รยี น สตู รที่ 2 E2 = F/N B 100 เมอ่ื E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ F แทน คะแนนรวมของผลลัพธห์ ลังเรยี น B แทน คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน N แทน จานวนผู้เรียน
4) การพิจารณาประสิทธภิ าพส่ือ สามารถพิจารณาได้ 3 ระดบั สุรชยั สกิ ขาบัณฑิต (2539) ดังนี้ 4.1 ระดับสูงกว่าเกณฑ์ หมายถึง เม่ือประสิทธิภาพของส่ือสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ มีค่าเกิน 2.5 เปอรเ์ ซน็ ต์ ขน้ึ ไป 4.2 ระดับเท่ากับเกณฑ์ทต่ี ง้ั ไว้ หมายถงึ เท่ากับ 2.5 เปอร์เซ็นต์ และต่ากว่าเกณฑ์ แตไ่ ม่ต่า กว่า 2.5 เปอร์เซ็นต์ ถอื ว่ามีประสิทธภิ าพยอมรับได้ 4.3 ระดับต่ากว่าเกณฑ์ หมายถึง เม่ือประสิทธิภาพของส่ือต่ากว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ คือต่ากว่า 2.5 เปอรเ์ ซ็นต์ ถอื วา่ ส่ือไม่มีประสิทธภิ าพ
บทท่ี 4 ผลกำรวิเครำะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูล จากการเก็บรวบรวมข้อมูล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ผู้วิจัยศึกษา ได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับ ดังน้ี 4.1 สัญลกั ษณท์ ี่ใชใ้ นการนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 4.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 4.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 4.1 สญั ลักษณ์ทีใ่ ช้ในกำรนำเสนอผลกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู ผู้ศึกษาได้กาหนดความหมายของสัญลักษณท์ ใ่ี ช้ในการนาเสนอผลของการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี N แทน จานวนนักเรยี นกลมุ่ ตัวอยา่ ง x แทน คะแนนเฉลีย่ X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด 4.2 กำรวิเครำะหข์ อ้ มลู การวิเคราะหข์ ้อมูลในครั้งน้ี ผู้ศกึ ษาได้ดาเนินการวิเคราะหข์ อ้ มูล ตามลาดบั ขนั้ ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 วิเคราะห์หาประสทิ ธิภาพของสร้างแบบฝึกทกั ษะการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ตอนท่ี 2 วิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างคะแนนทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นของกลมุ่ เปา้ หมาย
4.3 ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล ตอนท่ี 1 การหาประสิทธภิ าพของการฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 2/3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ผู้รายงานได้ดาเนินการทดลองหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทกั ษะ การอ่านและ การเขยี นคาราชาศัพท์ ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 ผลปรากฏดังตารางท่ี 2 ดังน้ี ตารางท่ี 2 แสดงคะแนนเฉล่ียและร้อยละ เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคา ราชาศัพท์ ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2/3 แบบฝกึ ทักษะ คะแนนเตม็ x ร้อยละ แบบฝึกทักษะชุดท่ี 1 10 7.78 77.80 แบบฝกึ ทักษะชดุ ที่ 2 7.83 78.30 แบบฝกึ ทักษะชุดที่ 3 10 8.17 81.70 แบบฝกึ ทักษะชุดที่ 4 10 8.22 82.20 แบบฝกึ ทักษะชดุ ท่ี 5 10 8.22 82.20 แบบฝึกทกั ษะชดุ ที่ 6 10 8.39 83.90 แบบฝกึ ทักษะชดุ ที่ 7 10 8.44 83.90 แบบฝกึ ทกั ษะชุดท่ี 8 10 8.50 85.00 แบบฝกึ ทกั ษะชุดท่ี 9 10 8.94 89.40 แบบฝกึ ทักษะชดุ ที่ 10 10 9.06 90.60 รวม 10 8.35 83.56 100 จากตารางท่ี 2 แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จานวน 10 แบบฝึก มีคะแนนเฉลี่ย 8.35 คิดเป็นร้อยละ 83.56 ดังนั้น แบบฝึกทักษะที่สร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 ท่ตี งั้ ไว้ ตอนที่ 2 วิเคราะห์หาความแตกต่างระหวา่ งคะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี นและ หลังเรยี นของกลุ่มตวั อย่าง ผวู้ ิจยั ได้ดาเนินการทดสอบกอ่ นเรยี นและ หลงั เรยี น ผลวเิ คราะหข์ ้อมูลปรากฏดงั ในตารางที่ 3 ดังนี้
ตารางท่ี 3 ตารางแสดงคะแนนเฉล่ียและค่าร้อยละของคะแนนทดสอบก่อนเรยี น และหลังเรียน คะแนน คะแนนเต็ม X รอ้ ยละ ก่อนเรยี น 20 8.72 43.61 หลงั เรยี น 20 16.28 81.39 จากตารางท่ี 3 ตารางแสดงคะแนนเฉล่ยี และค่ารอ้ ยละของแบบทดสอบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน แบบทดสอบ กอ่ นเรียนมีคะแนนเฉลีย่ 8.7๒ คดิ เป็นร้อยละ 43.61 และแบบทดสอบหลังเรยี น มคี ะแนนเฉลยี่ 16.2๘ คิดเป็น ร้อยละ 81.39 ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/3 ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ตามเกณฑท์ ตี่ ง้ั ไว้
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรำยผล และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาในครงั้ นเ้ี พอ่ื การพฒั นาทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ โดยใชแ้ บบฝึกการอ่านและการเขยี นคาราชาศัพท์ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/3 มขี ้นั ตอนการศกึ ษาและผลการศกึ ษาสรปุ ไดด้ ังนี้ 5.1 วตั ถปุ ระสงคใ์ นกำรวิจัย 5.1.1. เพ่อื สรา้ งแบบฝกึ ทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศพั ท์ ของนกั เรยี น ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 5.1.2. เพื่อพัฒนาทักษะการอา่ นและการเขยี นคาราชาศพั ท์ ของนกั เรยี น ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 5.2 สมมติฐำนของกำรวจิ ัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ท่ีได้รับการฝึกทักษะการอ่านและการเขียน คาราชาศัพท์ โดยใช้แบบฝึก ทักษะ มีพฒั นาการอ่านและการเขยี นคาราชาศพั ท์ จากการทดสอบหลงั เรยี นสูงขึน้ 5.3 กลมุ่ เปำ้ หมำย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการทดลองคร้ังน้ีคือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน 43 คน 5.4 เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในกำรวจิ ยั เคร่อื งมอื ท่ีผ้ศู กึ ษาใชใ้ นคร้ังนี้ ประกอบด้วย 5.4.1 นวตั กรรมคือแบบฝกึ ทักษะฝึกทกั ษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/3 จานวน 10 แบบฝกึ 5.4.2 เคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู คือแบบทดสอบวัดทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ เป็นแบบ ปรนยั ชนดิ เลอื กตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 20 ข้อ 5.5 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ผรู้ ายงานทาการวิเคราะหข์ ้อมลู มผี ล ดังนี้ 5.5.1 แบบฝกึ ทักษะการอา่ นและการเขยี นคาราชาศพั ท์ ของนักเรยี น ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2/3 ทีผ่ วู้ จิ ยั สรา้ งข้ึนมปี ระสทิ ธิภาพ 8๓.๕๖ ซึ่งเปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 5.5.2 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เรือ่ งทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคา ราชาศัพท์ ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2/3 สูงข้นึ คิดเป็นรอ้ ยละ 81.๓๙ ซึง่ เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
5.6 อภิปรำยผล รายงานผลการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคาราชาศัพท์ มาพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคา ราชาศัพท์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/3 ประจาภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยม วดั สงิ ห์ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 จานวน 43 คน อภปิ รายผลได้ ดังน้ี 1) แบบฝึกทกั ษะการอา่ นและการเขียนคาราชาศัพท์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/3 2 ที่ผูว้ ิจัยสรา้ งขึ้น มีประสิทธิภาพ เท่ากับ ร้อยละ 8๓.๕๖ หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนเฉล่ียจากการทาแบบฝึกทักษะท้ัง 10 แบบฝึก คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.๕9 และนกั เรียน ได้คะแนนเฉลย่ี จากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เร่ืองการอา่ น และการเขียนคาราชาศัพท์ ภาคเรียนที่ ๑ คิดเป็นร้อยละ 81.๓๙ แสดงว่า แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคา ราชาศัพท์ ทผ่ี ู้รายงานสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ซ่ึงเป็นไปตามสมมุตตฐิ านท่ีต้ังไว้สอดคล้อง กับผลการศึกษาของ กาญจนาพร หอศิลาชัย ( 2545 : บทคดั ย่อ ) พักตร์พมิ ล ภูมิกอง ( 2546 :บทคดั ย่อ ) ทพี่ บว่า แบบฝึกทกั ษะ ท่สี ร้างขน้ึ มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ท้ังนอี้ าจเน่ืองมาจากแบบฝึกทกั ษะทผี่ ู้รายงานสร้าง ข้ึน ได้ผ่านข้ันตอน กระบวนการสร้างอย่างมีระบบ มีการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการสร้างแบบฝึกจากเอกสารและ งานวิจัยที่เก่ียวข้อง ศึกษาหลักสูตร แผนการสอน เน้ือหา จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้การวัดผลและ ประเมินผล และผ่านการทดสอบจากผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบด้านคุณภาพและความเหมาะสมของแบบฝึกทักษะ แบบทดสอบกอ่ นและหลังเรยี น เพอื่ ใหม้ ีความเหมาะสมมากย่ิงขนึ้ สามารถนาไปใชใ้ นการสอนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 5.7 ขอ้ เสนอแนะ 5.7.1 ควรพัฒนาแบบฝกึ ให้มีคณุ ภาพมากขน้ึ 5.7.2 แบบฝกึ ทักษะควรผา่ นการหาประสทิ ธภิ าพ 5.7.3 แบบฝึกทักษะต้องน่าสนใจ มีรูปภาพ สีสันท่ีสดใสประกอบ เพื่อให้นักเรียนอยากสัมผัสอยากฝึก กิจกรรม 5.7.4 ครคู วรปรับกจิ กรรมของแบบฝึกใหส้ อดคลอ้ งกบั เวลา 5.7.5 ครูควรพฒั นาการเรียนการสอนโดยการทาวจิ ยั ทกุ ปี 5.7.6 ผู้บรหิ ารโรงเรียนควรสง่ เสรมิ ใหค้ รทู าวิจยั ทกุ คนทกุ ปี 5.7.7 โรงเรยี นควรมีวสั ดหุ รอื งบประมาณสนบั สนนุ ผู้วจิ ัยเพ่ือให้ขวญั และกาลังใจ
บรรณำนกุ รม กาญจนาพร หอศิลาชัย. กำรพัฒนำผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรียน กลุ่มทกั ษะ ภำษำไทย ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 2 ท่ีไดร้ บั กำรจัดกจิ กรรมแบบ มุ่งประสบกำรณภ์ ำษำโดยใชห้ นังสอื เร่ือง ปรำสำทเปอื ยน้อยและ เรื่องหนทู ำได้. ขอนแก่น. 2545. โกวทิ ประวาลพฤกษ.์ โครงกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรเรียนกำรสอน เรอ่ื ง กำร พัฒนำคณุ ภำพครูตำมเกณฑม์ ำตรฐำนระดบั คณุ ภำพครู( NTO ) สกู่ ำรจัดกำรเรยี นกำรสอนด้วยกระบวนกำรโดยยึดผ้เู รยี นเปน็ ศนู ย์กลำง. กรงุ เทพฯ : สถาบันพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ, ม.ป.ป. โกวิท ประวาลพฤกษ์ กมล ภปู่ ระเสริฐ และสงบ ลกั ษณะ. กำรพฒั นำผลงำน ทำงวชิ ำกำร. กรุงเทพ ฯ : ศนู ยส์ ่งเสริมวิชาการ,ม.ป.ป. ขจีรตั น์ หงส์ประสงค์. กำรสรำ้ งแบบฝกึ กำรเขยี นคำพ้องสำหรับนกั เรยี น ชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 4. ปริญญานพิ นธก์ ารศกึ ษามหาบัณฑิต. มหาวยิ าลยั เกษตรศาสตร์. อัดสาเนา, 2543 คณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ, สานักงาน. ค่มู อื อบรมครูแนวกำรใช้ หลกั สตู รประถมศกึ ษำ พทุ ธศกั รำช 2521(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2533) และกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนชนั้ ประถมศกึ ษำปที ี่ 1–2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว, 2534. _______. สานักงานนิเทศการพัฒนา มาตรฐานการศกึ ษา. แนวทำงกำรวัดและ ประเมนิ ผลในชน้ั เรียนกลุ่มสำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย ตำมหลกั สูตร กำรศกึ ษำขัน้ พนื้ ฐำน พุทธศักรำช 2544. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ องค์การรบั ส่งสินคา้ และพสั ดุภัณฑ์. 2545. นติ ยา ฤทธ์ิโยธ.ี กำรทำและกำรใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะ. กรุงเทพฯ : หนว่ ย ศึกษานิเทศก์ กรมสามญั ศกึ ษา, 2520. บญุ รัตน์ มีสมบูรณ.์ กำรฝึกเสริมทกั ษะภำษำไทย เร่อื งตวั สะกดมำตรำแม่กน สำหรับนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษำปที ี่ 4. ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. ชลบรุ ี : มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒบางแสน, 2539. พรรณี ช. เจนจติ . จติ วทิ ยำกำรเรยี นกำรสอน. พิมพค์ รงั้ ที่ 4. กรงุ เทพ ฯ : ต้นออ้ แกรมม่ีจากัด, 2538. พรรณี ชูทัย. จติ วิทยำกำรเรียนกำรสอน. กรุงเทพ ฯ : วรวุฒกิ ารพมิ พ,์ 2522. ไพฑูรย์ แวววงศ์. กำรทดลองใช้แบบฝกึ ทกั ษะกำรเขียนเชงิ สรำ้ งสรรค์ ประกอบกำรสอนภำษำไทยแบบมุ่งประสบกำรณภ์ ำษำ ชัน้ ประถมศึกษำปีที่ 2. ขอนแกน่ , 2542. ไพบูลย์ เทวรกั ษ์. จติ วิทยำกำรเรียนรู้. กรุงเทพ ฯ : เอสดีเพรสการพมิ พ,์ 2540. รัชนี ศรไี พวรรณ. แบบฝึกทกั ษะวชิ ำภำษำไทยสำหรบั เด็กแรกเรยี น คู่มอื แนวควำมคิดและทรรศนะบำงประกำรเกย่ี วกับกศุ โลบำยกำรสอน
เด็กเร่มิ เรยี นทีพ่ ดู ภำษำที่ 2 . นครปฐม : สานกั งานศกึ ษาธกิ าร เขต 1, 2517. วรสุดา บุญยไวโรจน.์ การพฒั นำทกั ษะทำงคณติ ศำสตรใ์ นระดับประถมศึกษำ เรื่องน่ำรู้สำหรบั ครคู ณิตศำสตร์. พมิ พค์ รั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ , 2536. วฒั นาพร ระงบั ทุกข.์ แผนกำรสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลำง. พมิ พค์ รัง้ ที่ 2. กรุงเทพ ฯ : บรษิ ัทแอนทเี พรส จากดั , 2542 วชิ าการ, กรม. กำรจัดสำระกำรเรยี นรู้ กลุม่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทยตำม หลกั สูตรกำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน พทุ ธศกั รำช 2544. กรุงเทพ ฯ : โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพรา้ ว, 2546. ________ . กำรเรียนกำรสอนวชิ ำภำษำไทย ปญั หำและแนวทำงแกไ้ ข. กรงุ เทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2539. ________. ค่มู ือหลกั สูตรประถมศกึ ษำ พุทธศกั รำช 2521( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2533 ) กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, 2534. ________. หลักสูตรการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544. กรงุ เทพ ฯ : โรง พมิ พ์คุรสุ ภาลาดพร้าว, 2545. ________. หลักสตู รประถมศึกษำ พทุ ธศกั รำช 2521( ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2533). พมิ พ์ครั้งท่ี 2 .กรงุ เทพ ฯ : โรงพมิ พ์การศาสนา, 2535. ศศิธร สทุ ธิแพทย์. แบบฝึกหัดสำหรับกำรสอนเรื่องวลี ในภำษำไทย ระดับประกำศนียบตั รวชิ ำกำรศึกษำ. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑติ . จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั , อัดสาเนา, 2517. สงบ ลักษณะ. กำรวจิ ัยเชิงพัฒนำระดบั โรงเรยี น. กรุงเทพ ฯ : โรงพมิ พ์ ครุ ุสภาลาดพรา้ ว, 2536. _______. จำกหลกั สตู รสกู่ ำรสอน. กรุงเทพ ฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว, 2534. สจุ ริต เพยี รชอบและสายใจ อนิ รมั พรรย์. วิธสี อนภำษำไทยระดบั มธั ยมศึกษำ. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2522. อดลุ ย์ ภปู ลม้ื . กำรเปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นกำรเขยี นสะกดคำ สำหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึกจัดคำเป็น กล่มุ คำและแบบฝกึ ท่ีจัดคำคละคำ. วทิ ยานพิ นธ์ กศ.ม.มหาสารคาม : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม, อัดสาเนา. 2539.
ภำคผนวก ภาคผนวก ก การวิเคราะห์ขอ้ มูล ภาคผนวก ข แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น ภาคผนวก ค แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขยี นคาราชาศพั ท์
แบบฝึกทักษะชดุ ท่ี 1 เรอื่ งคำรำชศัพท์ คำชีแ้ จง ให้นกั เรียนอ่านคาแล้วเขยี นคาอ่านให้ทถ่ี ูกตอ้ ง คำรำชำศพั ท์ อำ่ นว่ำ ๑. พระทนต์ ๒. พระสนับเพลา ๓. พระธามรงค์ ๔. พระหทยั ๕. พระราชนัดดา ๖. พระราชโอรส ๗. พระหัตถ์ ๘. พระเนตร ๙. พระพกั ตร์ ๑๐. พระภูษา
แบบฝกึ ทกั ษะชุดที่ 2 เรื่องคำรำชศัพท์ คำชีแ้ จง จงเขียนคาสามัญใหม้ คี วามหมายตรงกบั คาราชาศพั ท์ต่อไปนี้ คำรำชำศพั ท์ คำสำมัญ คำรำชำศพั ท์ คำสำมัญ 1. โปรด 2. พระนาม …………………………… 11. พระพักตร์ ……………………………… 3. เสวย 4. นา้ พระทัย …………………………… 12. พระเนตร ……………………………… 5. สนพระทยั 6. พระราชประวตั ิ …………………………… 13. พระชันษา ……………………………… 7. ทอดพระเนตร 8. เสด็จประพาส …………………………… 14. พระตาหนัก ……………………………… 9. ทรงดนตรี 10. ทรงธรรม …………………………… 15. พระราชโอรส ……………………………… …………………………… 16. พระราชธดิ า ……………………………… …………………………… 17. ทรงทาบ ……………………………… …………………………… 18. ทรงเครอื่ ง ……………………………… …………………………… 19. พระชนนี ……………………………… ………………………...… 20. สวรรคต …………………….……… ชอ่ื ………………………………………………………..เลขที่……………………ช้ัน……..………….
แบบฝึกทักษะชดุ ท่ี 3 เรือ่ งคำรำชศัพท์ คำช้แี จง ให้นักเรียนอา่ นคาแล้วลากเสน้ คาสามญั ให้ตรงความหมายคาราชาศพั ท์ ๑. ใบหนา้ พระเกศา ๒. ผม พระพกั ตร์ ๓. ศรี ษะ พระราชวัง ๔. ตาย พระเศียร ๕. พอ่ พระทัย ๖. มอื พระราชทาน ๗. หู สวรรคต ๘. ใจ พระหัตถ์ ๙. บ้าน พระราชบิดา ๑๐. ให้ พระกรรณ ชือ่ ……………………………………………………..เลขท…่ี ………………ชั้น……..……….
แบบฝกึ ทักษะชดุ ที่ 4 เรือ่ งคำรำชศัพท์ คำช้แี จง ใหน้ ักเรยี นเลอื กตัวอกั ษรท่ีอยูท่ างขวามอื ซง่ึ มคี าอธบิ ายความหมาย ของคาราชาศัพทม์ าใสไ่ ว้หน้าข้อทางซ้ายมอื ใหต้ รงกบั คาราชาศพั ท์ ตัวอย่ำง ความหมาย ก. หลัง คาราชาศพั ท์ ข. มอื ……ข….๑. พระหตั ถ์ ……ก…..๒. พระขนอง คำรำชำศัพท์ ควำมหมำย ………..๑. บรรทม ก. รองเท้า ………..๒. สวรรคต ข. กิน ,ดมื่ ………..๓. ทรงพระอกั ษร ค. เทา้ ………..๔. พระขนง ง. ค้ิว ….…….๕. เสวย จ. ตาย ………..๖. พระบาท ฉ ค้ิว ………..๗. ฉลองพระบาท ช. นอน , นอนหลบั ………..๘. พระปิตลุ า ซ. ลงุ ………..๙. ทอดพระเนตร ฌ. ดู , ชม ………..๑๐. พระภูษา ญ. เขียนหนงั สอื ,อา่ น หนงั สอื ช่อื ………………………………………………………..เลขท…่ี …………………ช้ัน……..………….
แบบฝกึ ทกั ษะชุดที่ 5 เรอื่ งคำรำชศพั ท์ คำชแ้ี จง ให้นักเรียนอ่านคาในกรอบสเี่ หลยี่ มแลว้ เตมิ คาเหมาะสมไดใ้ จความสมบรณู ์ เขา ทา่ น พระองค์ ทอดพระเนตร กระผม นมิ นต์ เสวย ใตฝ้ ่าละอองธรุ พี ระบาท พระพุทธเจ้าข้า พระราชนพิ นธ์ 1. ข้าพระพุทธเจ้า ชอื่ เด็กชายอาทติ ย์ พลมนั่ ประธานโรงเรยี นชุมชนบ้านหัวขัว ........................................................ 2. พวกเราขออวยพรให้...............................หายประชวรเร็วๆ 3. ..............................................โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม 4. คณุ ปา้ ทา่ น ไมอ่ ย่บู ้าน 5. ...........................ช่อื เด็กชายแดง มน่ั คง 6. เพอื่ นของกระผม....................ปว่ ยมาเรยี นไมไ่ ด้ 7. พ่อไป........................พระทว่ี ัดมาฉนั อาหารเพลทบ่ี า้ น 8. ในหลวงพระองค์........................อาหารไดม้ าก 9. พระราชินเี สดจ็ ไป.......................การแสดงละครเวที 10. สมเด็จพระเทพ..................................พระราชนพิ นธ์หนังสอื ชอื่ ………………………………………………………..เลขท…ี่ …………………ช้ัน……..………….
แบบฝกึ ทกั ษะชุดที่ 6 เรื่องคำรำชศัพท์ คำชแี้ จง ให้นักเรยี นเขยี นคาที่ถกู ตอ้ งจากคาอา่ น ตัวอยา่ ง พระ – บาด …พระบาท….. 1. พระ- เนด …………………….………….. 2. พระ – ทน ………………………………….. 3. พระ – พู - สา ………………………………….. 4. พระ – หะ – ไท …………………………...…….. 5. พระ –ราด –ชะ – โอ -รด ………………………………….. 6. สะ – เหวย ………………………………….. 7. จะ – เรนิ – พอน ………………………………….. 8. นะ – มัด – สะ – กาน ………………………………….. 9. อาด – ตะ – มา ………………………………….. 10. พระ – ราด – ชะ – ทาน ………………………………….. ช่อื ………………………………………………………..เลขท…ี่ …………………ช้นั ……..………….
Search