Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pep_7_2550_Colour_Light

pep_7_2550_Colour_Light

Published by Itsarapong Pantong, 2021-05-19 05:38:02

Description: pep_7_2550_Colour_Light

Search

Read the Text Version

เรามารจู ักสแี ละแสงกนั เถอะ อัจฉราวรรณ รตั นา คําสาํ คัญ สี, แสง สี สีเปนสิ่งท่ีแสดงความสัมพันธระหวางการตอบสนองของคนเรากับพลังงาน สีเปนสวนท่ีเติมสีสัน ใหกับชีวิตของเราและมักเขามามีบทบาทในการเลือกใชสิ่งของตาง ๆ ไมวาจะเปน รถยนต เสื้อผา อาหาร หรือสิง่ อ่นื ๆ เปนตน สจี ะเปนสิ่งที่สรางความโดดเดนความเปนเอกลักษณ เพื่อปกปดอําพรางหรือซอนเรน หรือเพ่ือเปนเคร่ืองบงบอกขอมูลตาง ๆ การวัดสีถือไดวาเปนการวัดลาสุดและยังคงไดรับการพัฒนาให กาวหนาอยูในขณะน้ี ทางหองปฏิบัติการฟสิกสแหงชาติ (National Physical Laboratory: NPL) ประเทศ อังกฤษ เปนหองปฏิบัติการหนึ่งท่ีไดดําเนินการคนควาวิจัยเพื่อพัฒนาการวัดสีและขอกําหนดของสีอยาง ตอเนื่องมาโดยตลอด สคี อื อะไร สีคือความเขมของแสงท่ีปรากฏตอสายตา โดยผานกระบวนการรับรูดวยตา และมีปฏิกิริยา ตอบสนองดวยกระบวนการวิเคราะหแยกแยะของสมอง โดยสมองจะทําการปอนรหัสท่ีสัมพันธกับความ ยาวคล่นื ตาง ๆ ของแสง ความแตกตา งของความยาวคลนื่ จะทําใหเกิดความรูสึกท่ีตางกันของการมองเห็น สี วัตถุจะมองดูแตกตางกันเมื่ออยูภายใตแสงสีที่ตางกัน สีของวัตถุจะขึ้นอยูกับธรรมชาติของแสงที่ตก กระทบวัตถุนั้น การสะทอนแสงของวัตถุ การดูดกลืนแสงหรือการกระเจิงแสงของวัตถุ และปฏิกิริยาของตา และสมอง ขอมูลจากแสงสเปคตรัมที่ผานกระบวนการรับรูของตาและสมองจะถูกวิเคราะหออกเปน 3 สัญญาณที่จะถูกแปลงเปนสีอ่ืน ๆ ไดอีก ระบบการวิเคราะหสีน้ันจะแสดงไดดวยความสัมพันธของสี 3 พิกัดดวยกันคือ ความเขมจางของสี (Hue) ความสวางของสี (Brightness) และความมีสีสันของสี (Colourfulness) เราจะวดั สีไดอ ยางไร ในการวัดสีน้ันเราตองอาศัยเครื่องมือท่ีสามารถเลียนแบบการมองเห็นของมนุษยที่มีความซับซอน อยางมาก ซ่ึงเครื่องจะทําการประเมินปริมาณของแสงที่ปลอยออกมา แสงท่ีสะทอน หรือสองผานออกมา จากวัตถุ และแปลงกลับไปเปนคาของสีเชน Hue, Brightness และ Colourfulness โดยใชโมเดลของระบบ การมองเหน็ ของมนษุ ยท ่รี ูจักกันในนามของ ‘Standard Observer’ ซง่ึ ทาํ หนา ท่เี สมอื นเปน โมเดลทแ่ี สดงการ มองเห็นสีของมนุษยที่เปนสากล ซ่ึงถูกนํามาใชโดยองคกรไฟฟาแสงสวางสากล International Commission on illumination หรือ CIE ในป ค.ศ. 1931 ‘Standard Observer’ เปนโมเดลท่ีอยูบนพื้นฐานของการทดลองท่ีทําในชวงปลายป ค.ศ. 1920 ท่ี หองปฏิบัติการ NPL และที่มหาวิทยาลัย Imperial College ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ 1

หองปฏิบัติการ NPL พัฒนาและวัดมาตรฐานของสีท่ีใชกันอยางแพรหลายทั่วโลกเพ่ือใหม่ันใจวาเคร่ืองมือ วัดสจี ากแตล ะที่นัน้ ใหผลการวดั สอดคลองกัน จากการทดลองเกี่ยวกับสี จะพบวามีสีหลักอยูเพียง 3 สี ท่ีถือไดวาเปนสีปฐมภูมิหรือแมสีของวัตถุ คือสีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน เราสามารถสังเกตแมสีของแสงไดจากจอโทรทัศนหรือจอคอมพิวเตอร ถา สงั เกตใหด หี รือใชแวน ขยายสอ งดหู นาจอจะเหน็ เปนจุดสีอยู 3 สีดวยกันน่ันคือ แดง เขียว และนํ้าเงิน และ เมื่อนําสีทั้งสามนี้มาผสมกัน ก็จะเกิดเปนสีตาง ๆ ข้ึน เจมส คลารก แมกเวล (James Clark Maxwell) เปน ผูที่เสนอทฤษฎีการผสมสีข้ึนมา ซ่ึงการผสมสีนี้มีได 2 แบบคือ การผสมสีแบบบวก (Additive colour mixing) และการผสมสีแบบลบ (Subtractive colour mixing) ทฤษฎีการผสมสีแบบบวกเกิดข้ึนโดยการ ฉายภาพจากฟลม positive ขาวดํา 3 แผน ท่ีไดจากการถายภาพโดยใชแผนกรองแสงสีแดง เขียว และน้ํา เงิน บังหนากลองถายภาพ การถายภาพดังกลาวทําใหฟลมแตละแผนบันทึกเฉพาะแมสีของแสงท่ีสะทอน ออกมาจากวัตถเุ ปนนํา้ หนักสี ตางๆ บนฟลม ตามความเขม แสงทีส่ ะทอั นจากวตั ถุ จากนั้นนาํ ฟล ม แตล ะแผน ไปฉายดว ยเคร่อื งฉายท่มี ีแผนกรองแสง สีแดง เขียว และนํ้าเงิน บังอยู เม่ือแสงสามสีนี้ไปรวมกันบนจอภาพ จะเกดิ เปนสตี า งๆ ขึน้ มาใหมอ กี มากมาย จากการผสมสีของแสงทง้ั สามในความเขม ตางๆ กัน - การผสมสีแบบบวกน้ีเปนการผสมกันของสีของแสง ซึ่งมีแมสีหลัก (Primary colour) คือแสงสี แดง เขียวและนํ้าเงิน ซ่ึงเราจะพบเห็นการผสมสีแบบบวกไดจากจอโทรทัศน หรือจอคอมพิวเตอร และเราจะเรียกสีที่เกิดจากการผสมกันของแมสีแบบบวกวา แมสีรอง (Secondary colour) ซ่ึง ไดแกสีน้ําเงินเขียว (Cyan) สีมวงแดง (Magenta) และสีเหลือง (Yellow) และเมื่อนําสีน้ําเงินรวม กบั สเี ขียวรวมกับสแี ดงจะไดสีขาว - การผสมสีแบบลบเปนการผสมกันของแมสี สีน้ําเงินเขียว มวงแดงและเหลือง เราจะพบเห็นการ ผสมสแี บบลบไดจากส่ิงพิมพตางๆ สีทาบาน เปนตน น่ันคือ เม่ือสีนํ้าเงินเขียวรวมกับสีมวงแดงได สีนํา้ เงิน เมอ่ื สนี า้ํ เงินเขียวรวมกบั สีเหลอื งไดสเี ขยี ว เมือ่ สีมวงแดงรวมกบั สีเหลืองไดสีแดง และเมื่อ สนี าํ้ เงนิ เขยี วรวมกับสีมวงแดงรวมกับสเี หลืองไดสดี ํา ขอสังเกตจากการผสมสีทั้งแบบบวกและแบบลบคือการผสมกันของแมสีบวกคูหนึ่ง จะใหแมสีลบ และการ ผสมของแมสีลบคูห น่งึ จะใหแ มส บี วก จากคําอธิบายของเฮลมโฮลซก็ยังระบุวาตาของคนเรามีเรตินาทําหนาที่รับแสงและเปล่ียนแสงเปน สญั ญาณไปสูระบบประสาทซง่ึ จะมีกลุมเซลลรับแสง 2 ประเภทคอื เซลลร บั แสงรปู แทงและรูปกรวย เซลลรับ แสงรูปแทงจะทํางานเมื่อแสงนอย สวนเซลลรับแสงรูปกรวยจะทํางานเม่ือมีแสงมากและเปนเซลลที่ทําให เกิดการรับรูสี เซลลรูปกรวยน้ีจะมี 3 กลุมเซลล แตละกลุมเซลลจะไวตอแสงปฐมภูมิในแตละชวงตางกันคือ กลุมเซลลท ีไ่ วตอแสงสีแดง กลมุ เซลลทไี่ วตอ แสงสีขียว และกลุมเซลลท่ีไวตอแสงสีน้ําเงิน กลุมเซลลรับแสง ท้ังสามจะถูกกระตุนในอัตราสวนท่ีตางกันข้ึนกับสีและความเขมของแสงท่ีตกกระทบ และสมองก็จะแปล 2

สัญญาณท่ีแตกตางกันน้ันเปนสีตางๆ อีกที ในการพิมพหรือการวาดระบายสีนั้น เราจะใชทฤษฏีการผสมสี แบบบวกและแบบลบเพื่อสรางสีตาง ๆ ขึ้นมา โมเดลของสีแบบระบบ 3 พิกัด (Coordinate) ท่ีไดจาก การศึกษาคนควาทดลองทางวิทยาศาสตรน้ันยังถูกนําไปใชประโยชนสําหรับระบบการพิมพอุตสาหกรรม การถายภาพ ภาพยนตร โทรทัศน จอคอมพิวเตอร แหลง กาํ เนดิ แสง แหลงกําเนิดแสงมีอยู 2 ประเภทคือแหลงกําเนิดแสงตามธรรมชาติคือดวงอาทิตยและแหลงกําเนิด แสงที่ประดิษฐคิดคนข้ึนมา เชน แสงจากเทียนไข แสงจากหลอดไฟฟา เปนตน สีของแสงท่ีเกิดจาก แสงอาทิตยน้ันจะมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอตามตําแหนงของดวงอาทิตยบนทองฟา เชนแสงของดวง อาทิตยในเวลาเที่ยงวันจะมีความเขมแสง มากและเปนสีขาว ในขณะท่ีแสงในเวลาเย็นจะมีความเขมแสง นอยและเปน สีเหลืองหรือสม และในสภาพอากาศท่ีแตกตางกันแสงจากดวงอาทิตยก็จะแตกตางกัน ดังที่ เราสงั เกตไดจ ากแสงสวา งในทีร่ ม เวลาที่ทองฟามีเมฆกบั แสงแดดท่สี อ งตรงจากดวงอาทติ ยจะมสี ี และความ เขมแสงที่แตกตางกัน ดังนั้นในการท่ีเราจะนําแสงจากดวงอาทิตยมาใชเปนแสงในการเปรียบเทียบสี อาจจะไมเหมาะสมเน่ืองจากปญหาของความเขมและสีของแสงที่เปล่ียนแปลงไปตามสภาพอากาศหรือ ตําแหนง ดวยเหตุนี้การใชแสงจากหลอดไฟฟานาจะมีความเหมาะสมมากกวาเน่ืองจากการใหแสงจะมี ความสม่ําเสมอ อยางไรก็ดีตามการเลือกใชหลอดไฟฟาท่ีเปนหลอดมาตรฐานสําหรับการเปรียบเทียบสีก็ เปน ส่งิ สําคญั เชน เดียวกัน ดังน้ันจึงตองมีการพจิ ารณาทอ่ี ณุ หภมู ิสี (Colour temperature) ของแสงท่ีไดจาก หลอดน้ัน ๆ เปนสําคัญ ซ่งึ อุณหภมู สิ ขี องแสงใด ๆ จะหาไดจากการเปรียบเทียบสีของแสงน้ันกับสีของแสงที่ เปลงออกมาจากวัตถุดํา (Black body) เม่ือถูกทําใหรอน ถาสีของแสงใดๆ เหมือนกับสีที่เปลงออกมาจาก วัตถุดํา ณ อุณหภูมิใด จะเรียกวา สีของแสงมีอุณหภูมิสีเทาน้ัน โดยมีหนวยเปนเคลวิน (K) ยกตัวอยางเชน แสงจากหลอดไฟทังสเตนมีสีเหมือนกับแสงท่ีเปลงออกมาจากวัตถุดําท่ีมีอุณหภูมิประมาณ 2854 เคลวิน จะเรียกวาไฟทังสเตน มอี ณุ หภูมสิ ี 2854 เคลวนิ แถบสีของสเปคตรัม ในป ค.ศ. 1669 ในชวงท่ีเซอรไอแซค นิวตันอายุเพียง 27 ป เขาไดรับการแตงตั้งเปนศาสตราจารย ลคู สั เชียนแหง มหาวทิ ยาลยั แคมบรดิ จ งานชนิ้ แรกของเขาจะเกี่ยวกับเรื่องแสง ในชว ง 2 ปน นั้ เขาไดส รปุ วา แสงสีขาวไมใชสิ่งธรรมดาเลย เม่ือเขาใหแสงจากดวงอาทิตยสองผานเขาไปในปริซึมแกว ลําแสงจะหักเห และปรากฎแถบสีสเปคตรัม นิวตันไดกลาววาแสงดวงอาทิตยน้ีเกิดจากการผสมผสานจากรังสีตางชนิดกัน แตละรังสีหักเหที่มุมตางกันและแตละรังสีก็จะใหสีสเปคตรัมตางกันอีกดวย จากการท่ีเขาคนพบและการ อธิบายแถบสีเหลานั้น จึงไดกลายเปนท่ีโดงดังและรูจักในนามวาสเปคตรัมของนิวตัน สีของสเปคตรัม เหลานี้มีลําดับพลังงานที่แปรผันตรงกับความถี่และผกผันกับความยาวคล่ืน แถบสีสเปคตรัมที่ปรากฎคือสี มวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อแสงกระทบวัตถุ พลังงานบางสวนจะดูดกลืนสีจากแสง บางสว นและสะทอ นสบี างสใี หเ ราเหน็ พนื้ ผวิ วัตถุทเี่ ราเห็นเปน สแี ดง เพราะวตั ถุดูดกลืนแสงสีอื่นไว สะทอน 3

เฉพาะแสงสีแดงออกมา วัตถุสีขาวจะสะทอนแสงสีทุกสี และวัตถุสีดําจะดูดกลืนสีทุกสีเพราะไมมีแสงใด ๆ สะทอนเขาตาเราเลย อัลตราไวโอเล็ต : อัลตราไวโอเล็ตเปนแสงท่ีไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา สวนใหญแลวจะถูกกรอง ดวยเลนสเรตินา สารบางตัวดูดซับแสงอัลตราไวโอเล็ตและสงคืนกลับออกมาเปนความยาวคล่ืนในชวงท่ีตา มองเหน็ ได หรือฟลอู อเรสเซนซ สีมวง : สีมวงเปนสีที่มีพลังงานสูงสุดที่ตาเราสามารถมองเห็น และความสามารถของการมองเห็นก็จะ เปลีย่ นไปตามอายุ สีคราม : สคี รามเปนสีธรรมชาตซิ ่งึ นํามาใชเพื่อทําใหสีมคี วามโดดเดน สนี ้าํ เงิน : การท่ีเราเห็นทอ งฟา เปนสฟี าก็เพราะปริมาณของแสงท่ีกระเจิงนั้นมีมากพอ ๆ กับพลังงานของมัน แสงจะกระเจงิ เมอื่ กระทบกบั อนุภาคของอากาศ ทําใหแสงสีฟาสะทอนใหเราเหน็ ในบรรยากาศ สีนํา้ เงินเขยี ว : ถงึ แมส นี ไี้ มไดถกู รวมอยใู นแถบสีของนิวตัน แตก เ็ ปนสปี ฐมภูมทิ ่ใี ชเปนหมกึ พมิ พ สีเขียว : ทําไมหญามีสีเขียวเปนคําถามท่ีเรามักไดยิน แมแตไอนสไตนก็เคยถามคําถามน้ันกับตัวเขาเอง เหตุผลท่ีหญามีสีเขียวก็เน่ืองมาจากพืชสวนมากจะใชแสงสีแดงและนํ้าเงินในการสรางนํ้าตาล ดังน้ันจึงมี การดดู ซับสีเหลา น้นั ไว และสะทอนแตสเี ขียวออกมา สีเหลือง : การใชสารเพ่ิมความสวางเขาไปในเนื้อกระดาษ จะทําใหกระดาษไมเปนสีเหลืองซีด เพราะสารที่ ใสเ ขา ไปเปนสารท่ีใชดดู แสงอุลตราไวโอเลตแลว ใหแสงสนี ํ้าเงินท่ีทําใหดสู ดใส สีสม : การเปล่ียนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานแสง ณ ความยาวคลื่นสีสม 2 ความยาวคล่ืน ทําใหแสงไฟ บนทอ งถนนที่เปนหลอดไอโซเดียมความดันต่าํ นนั้ เกดิ แสงสวางมาก ๆ ซ่ึงเปนสีท่ีสบายตา อยางไรก็ตามมัน ไมไดหมายถงึ สตี าง ๆ ทเี่ รามองเห็นนนั้ เปน เฉดสีสม ทงั้ หมด สีแดง : สีแดงเปนสีที่มีผลตอการตอบสนองตอความความรูสึกของเรา ใหความรูสึกรอน รุนแรง กระตุน ทา ทาย เคล่อื นไหว ตน่ื เตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ ความมั่งคั่ง ความรัก ความสําคัญ และสีน้ีเปนสีที่ ท่ัวโลกนิยมใชเพ่ือบงบอกถึงส่ิงท่ีจะกอใหเกิดอันตราย การทาผนังหองดวยสีแดงน้ันจะเปนการเพ่ิม ความเครียดใหกับสถานทท่ี าํ งาน อินฟาเรด : อินฟาเรดเปนแสงทมี่ ีพลงั งานตา่ํ และตาเราไมสามารถมองเหน็ ได แสง การมองเห็นเปนหนึ่งในประสาทการรับรูทั้ง 5 ท่ีทําใหเรารับรูและเขาใจถึงสภาพแวดลอมท่ีอยู รอบตัวเรารวมท้ังการเคล่ือนไหวตาง ๆ ความสามารถในการทํางานของเราก็ยังขึ้นอยูกับความสามารถใน การรับรูสิ่งเหลาน้ันไดมากนอยแคไหน ความคิดและความเขาใจที่ไดจากการมองเห็นของคนเรานั้นจะ สงผลในดานอารมณ ความรูสึกและการแสดงออกได แตจะมากนอยแคไหนน้ันข้ึนอยูกับระดับความเขม ของแสง ดังนั้นการพัฒนาและปรับปรุงระบบการวัดความเขมของแสงจึงเปนเรื่องสําคัญท่ีจะชวยในการวัด หาปริมาณแสงที่สองมายังสิ่งท่ีเรากําลังทําอยู อีกท้ังยังเปนการพัฒนาแหลงกําเนิดแสงที่เราสรางข้ึนเอง 4

พรอมท้ังทําการเปรียบเทียบผล ระดับความเขมของแสงจะเปนเร่ืองสําคัญในดานความปลอดภัยและการ ออกกฎขอบังคับ ไมวาจะเปนความเขมของการสองสวางสําหรับหองปฏิบัติการหรือหองเรียน ปาย สัญญาณจราจรบนทองถนน และสัญญาณไฟฉุกเฉิน หรือแมกระท่ังเก่ียวของกับกิจกรรมอ่ืน ๆ ใน ชวี ิตประจําวนั ของเราอยางเชน โทรทศั น การถา ยรปู การเลน กีฬา หนวยวัดความเขมของแสงในระบบพ้ืนฐานท่ีเปนมาตรฐาน (International standard of unit : SI unit) เรยี กวา แคนเดลา (Candela) ในอดีตน้ันกําลังของการแผรังสีแสงจะถูกวัดในหนวยวัตต (Watts) อยางไรก็ตามตาเราไมสามารถ มองเห็นไดทกุ สีหรือทกุ ความยาวคลน่ื ของแสง ดังนัน้ การวัดในหนวยอื่นจงึ นา จะเหมาะสมมากกวา ของ และ หนวยทีว่ านกี้ ็คอื แคนเดลานน่ั เอง ตาของคนเราน้ันจะไวตอแสงในชวงแสงสเปคตรัมสีเขียว-เหลือง ซึ่งใกลบริเวณชวงของสีตรงกับ peak output ของแสงแดดท่ีสองมายังพ้ืนผิวโลก แตตาจะไมไวตอแสงสีแดงและน้ําเงิน ฟงกชัน V(λ) จะ อธิบายความสามารถของแสงที่เรามองเห็นไดที่ทําใหเกิดการตอบสนองดานการมองเห็น ในป คศ. 1924 หองปฏิบัติการตาง ๆ รวมทั้งหองปฏิบัติการ NPL ไดดําเนินการทดลองและคิดคนฟงกชันน้ีข้ึนมา และ นําเอาผลการทดลองที่ไดมาทําการวิเคราะหดวยการจับความสวางของสีตาง ๆ มาเขาคูกัน มาใหคํานิยาม ฟงกชันน้ี ซึ่งจะใหคาสูงสุด ณ จุด sensitivity ของตา ท่ีความยาวคล่ืน 555 นาโนเมตร หรือบริเวณแถบสี เขียวเหลอื ง ฟงกชัน V(λ) นเ้ี ปนคา เฉลี่ยที่ไดจากการทดลองการตอบสนองตาของคนมากกวา 200 คน ที่ มีอายุต้ังแต 18 ถึง 60 ป ท้ังเพศชายและหญิง การตอบสนองของตานั้นจะแตกตางกันไปและเปลี่ยนตาม อายุ นั่นหมายถึงวาในขณะนี้ยังไมมีใครที่จะเปนมาตรฐานได ซึ่งนั่นก็คือคนเราจะมองเห็นภาพท่ีอาจจะ แตกตา งกันบางเลก็ นอ ย ความเขมของการสองสวางจะมีคานอยมากถาหากวาไมไดมีการวัดจริงจากแหลงกําเนิดจริง เชน หลอดทังสเตน หนวยแคนเดลาไดถูกนํากลับมานิยามใหมอีกครั้งในป คศ. 1979 ในหนวยของวัตตเพราะ การใชวัตถุดําน้ันยากตอการทดลองและอุณหภูมิสําหรับการทดลองที่จะใหไดผลน้ันยังต่ํากวาอุณหภูมิของ แหลง กาํ เนิดแสงในปจจุบัน การสรา งนยิ ามทางมาตรรังสีของแคนเดลาท่ีหอ งปฏิบัตกิ าร NPL น้ัน ไดประสบ ความสําเรจ็ ในป คศ.1985 วิธีที่ใชวัดนั้นเปนวิธีที่อาศัยหลักการพ้ืนฐานของเครื่องวัดรังสีท่ีอุณหภูมิตํ่า เปน เครื่องมือท่ีสามารถวัดกําลัง ในหนวยวัตตท่ีใหความแมนมากกวา 0.01 % ลําแสงที่วัดนั้นไดรับการสอบ เทียบดวยเครื่องวัดแสง (Photometer) ตัวรับสัญญาณ (Detector) ผานตัวกรองที่ทําการเลียนแบบการ ตอบสนองของตา และลําแสงเลเซอรนั้นจะถูกนํามาใชวัดความเขมของการสองสวางที่ปลอยออกมาจาก หลอดทังสเตนดวยคาความแมนถึง 0.1 % หลอดประเภทอื่นนั้นก็สามารถทําการวัดโดยตรงไดโดยการใช เคร่ืองวัดแสงหรือการเปรียบเทียบกับหลอดทังสเตน วิธีการทดลองดูเหมือนจะเปนการทดลองที่งาย แต แทจรงิ แลว ยังมีรายละเอียดของการวัดแตกยอ ยลงไปอกี มากเพือ่ การวดั หาคา ความเขมของการสองสวางให มคี วามถูกตอง 5

ประวตั ขิ องการใหค าํ นยิ ามของคาํ วา แคนเดลา ค.ศ.1860 เปนการใหคํานิยามครั้งแรกของคําวาแคนเดลาซึ่งเกิดจากการใชเทียนซ่ึงทําจากไขปลาวาฬ ค.ศ.1898 หรอื ทเี่ รียกกนั วา spermaceti ค.ศ.1909 ไดม ีการพัฒนาตะเกียงกา ซทีเ่ ผาไหมสวนผสมของกาซเพนเทนและอากาศในเตา ณ ขณะนั้น ถือไดว า เปน ความกา วหนา ทางเทคโนโลยีดา นแสง ค.ศ.1940 ความพยายามก็ไดประสบความสาํ เรจ็ เปนคร้ังแรกในการตั้งหนวยวัดที่เปน สากล โดยไดมีการ ตกลงรวมกันไดโดยมีประเทศตาง ๆ เชน NPL จาก ประเทศอังกฤษ สํานักมาตรฐานแหงชาติ ค.ศ.1948 จากอเมริกาและ Laboratories Central d’Electricite’ จากประเทศฝร่ังเศสท่ีไดรวมกันกอตั้ง ค.ศ.1979 หนว ยนขี้ นึ้ มา มาตรฐานการวัดจะอาศัยหลักการของวัตถุดําซ่ึงเปนอุปกรณที่ไดรับการออกแบบเพ่ือ เลียนแบบตัวดดู ซบั และตัวปลอ ยรงั สที ่ีไดท ดลองทาํ เปน ครงั้ แรกในป ค.ศ.1930 ในวันท่ี 1 มกราคม ค.ศ.1940 น้ัน หนวยความเขมของแสงน้ันไดรับการนิยามวาเปนความ สวางของตัวปลอยรังสีวัตถุดําที่จุดเยือกแข็งของแพลตทินัม หนวยน้ีถูกต้ังชื่อเปน ‘the new candle’ และไดเผยแพรอ ยา งแพรหลาย ‘the new candle’ ไดเปล่ียนเปนแคนเดลาและใชไปทั่วโลก ขนาดของแคนเดลาไดรับการ นิยามวาคือความสวางของตัวเปลงรังสีเต็มที่ท่ีอุณหภูมิของการแข็งตัวของแพลตทินัมคือ 60 แคนเดลาตอ ตารางเซนตเิ มตร ไดใหคํานิยามของแคนเดลาใหมในหนวยของวัตตที่แสงหน่ึงความยาวคล่ืน นั่นคือความเขม ของการสองสวางในทิศท่ีกําหนดของแหลงกําเนิดที่แผรังสีของแสงท่ีมีความถ่ี 540 × 1012 เฮิรต และมีความเขม ของการแผร ังสีของแสงในทิศทางนัน้ ซง่ึ มขี นาด 1/683 วัตต/ สเตอเรเดยี น เอกสารอา งอิง 1. ‘Beginners Guides to Measurement – Colour’ http://www.npl.co.uk/publications/colour/ 2. ‘Beginners Guides to Measurement – Light’ 3. http://www.npl.co.uk/publications/light/ 4. http://www.prc.ac.th/newart/webart/colour06.html 5. http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~kchawan/colortheory/color1.html กลมุ สอบเทยี บเครอื่ งมือวดั วเิ คราะหทดสอบ, โครงการฟส กิ สและวศิ วกรรม โทร. 02-2017322 e-mail: [email protected] 2 กรกฎาคม 2550 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook