ก ส่ือประกอบการสอน ( E-book ) เร่ือง ภาษาคอมพวิ เตอร์ จดั ทาโดย นายธนาวฒุ ิ มาลี เลขท่ี 5 รหสั ประจาตวั นกั ศึกษา 63243502008-6 คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สาขาวชิ า ค.อ.บ.วศิ วกรรมไฟฟ้า ช้นั ปี ท่ี 2 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ตาก
ก คานา สื่อประกอบการสอน( E-book ) เร่ือง ภาษาคอมพิวเตอร์เล่มน้ี เรียบเรียง ข้ึนเพื่อใชป้ ระกอบการเรียนการสอนในรายวิชาไมโครคอนโทรลเลอร์ตามหลกั สูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง ( ปวส. ) เน้ือหาในส่ือประกอบการสอน ( E-book ) ประกอบไปดว้ ย ภาษาเคร่ือง ภาษาระดบั ต่าและภาษาระดบั สูง พร้อมท้งั ยงั มีแบบฝึ กหัดและแบบทดสอบหลงั เรียน เพอ่ื ใชใ้ นการวดั ระดบั ความรู้ความเขา้ ใจของผเู้ รียนเก่ียวกบั ภาษาคอมพวิ เตอร์ ผูเ้ รียบเรียงหวงั เป็ นอย่างย่ิงว่าสื่อประกอบการสอน ( E-book ) เร่ือง ภาษาคอมพิวเตอร์ เล่มน้ีจะศึกษาให้ความรู้และเกิดประโยชน์แก่ผูเ้ รียน ผู้สอน ตลอดจนผศู้ ึกษาทว่ั ไปเป็นอยา่ งดี หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผเู้ รียบเรียงขอนอ้ มรับ เพอ่ื เป็นประโยชน์ในการแกไ้ ขปรับปรุงในโอกาศตอ่ ไป ธนาวฒุ ิ มาลี
สารบญั ข เรื่อง หนา้ คานา ก สารบญั ข ภาษาคอมพวิ เตอร์ 1 2 ภาษาเคร่ือง 2 ภาษาระดบั ต่า 4 ภาษาระดบั สูง 21 แบบฝึ กหดั 22 แบบทดสอบ ค อา้ งอิง
1 ภาษาคอมพวิ เตอร์ มนุษย์ ใชภ้ าษาในการสื่อสารมาต้งั แต่สมยั โบราณ การใชภ้ าษาเป็นเร่ืองที่มนุษย์ พยายามถ่ายทอดความคิดและความรู้สึกต่าง ๆ เพ่ือการโตต้ อบและสื่อความหมาย ภาษาท่ีมนุษยใ์ ช้ติดต่อส่ือสารในชีวิตประจาวนั เช่น ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ หรือ ภาษาจีน ต่างเรียกว่า “ภาษาธรรมชาติ” (Natural Language) เพราะมีการศึกษา ไดย้ ิน ไดฟ้ ัง กนั มาต้งั แต่เกิดการใชง้ านคอมพิวเตอร์ ซ่ึงเป็ นเคร่ืองมือทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ ทางานตามที่ต้องการ จาเป็ นต้องมีการกาหนดภาษา สาหรับใช้ติดต่อส่ังงานกับ คอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์จะเป็ น ”ภาษาประดิษฐ์” (Artificial Language) ที่ มนุษยค์ ิดสร้างมาเอง เป็นภาษาท่ีมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ มีกฎเกณฑท์ ี่ตายตวั และจากดั คือ อยู่ในกรอบให้ใช้คาและไวยากรณ์ท่ีกาหนดและมีการตีความหมายที่ชัดเจน จึงจดั ภาษาคอมพิวเตอร์เป็ นภาษาท่ีมีรูปแบบเป็ นทางการ (Formal Language) ต่างกับ ภาษาธรรมชาติท่ีมีขอบเขตกวา้ งมาก ไม่มีรูปแบบตายตวั ที่แน่นอน กฎเกณฑ์ของ ภ า ษ า จ ะ ข้ึ น กั บ ห ลั ก ไ ว ย า ก ร ณ์ แ ล ะ ก า ร ย อ ม รั บ ข อ ง ก ลุ่ ม ผู้ใ ช้ น้ั น ๆ ภาษา คอมพิวเตอร์อาจแบ่งได้เป็ น 3 ระดับ คือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาระดบั ต่า (Low Level Language) และภาษาระดบั สูง (High Level Language) กลับ
2 ภาษาเคร่ือง (Machine Language) การเขียนโปรแกรมเพ่ือส่ังใหค้ อมพิวเตอร์ทางานในยคุ แรก ๆ จะตอ้ งเขียนดว้ ย ภาษาซ่ึงเป็ นท่ียอมรับของเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่เรี ยกว่า “ภาษาเครื่ อง” ภาษาน้ี ประกอบดว้ ยตวั เลขลว้ น ทาใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานไดท้ นั ที ผทู้ ่ีจะเขียน โปรแกรมภาษาเครื่องได้ ตอ้ งสามารถจารหสั แทนคาสั่งต่าง ๆ ได้ และในการคานวณ ต้องสามารถจาได้ว่าจานวนต่าง ๆ ท่ีใช้ในการคานวณน้ันถูกเก็บไวท้ ี่ตาแหน่งใด ดงั น้นั โอกาสท่ีจะเกิดความผิดพลาดในการเขียนโปรแกรมจึงมีมาก นอกจากน้ีเครื่อง คอมพิวเตอร์แตล่ ะระบบมีภาษาเคร่ืองที่แตกต่างกนั ออก ทาให้เกิดความไม่สะดวกเมื่อ มีการเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์เพราะจะตอ้ งเขียน โปรแกรมใหม่ท้งั หมด ภาษาระดบั ตา่ (Low Level Language) เน่ืองจากภาษาเครื่องเป็นภาษาท่ีมีความยงุ่ ยากในการเขียนดงั ไดก้ ล่าวมาแลว้ จึง ไม่มีผนู้ ิยมและมีการใชน้ อ้ ย ดงั น้นั ไดม้ ีการพฒั นาภาษาคอมพิวเตอร์ข้ึนอีกระดบั หน่ึง โดยการใชต้ วั อกั ษรภาษาองั กฤษเป็นรหสั แทนการทางาน การใชแ้ ละการต้งั ช่ือตวั แปร แทนตาแหน่งท่ีใชเ้ ก็บจานวนต่าง ๆ ซ่ึงเป็นค่าของตวั แปรน้นั ๆ การใชส้ ัญลกั ษณ์ช่วย ให้การเขียนโปรแกรมน้ีเรี ยกว่า “ภาษาระดับต่า”ภาษาระดับต่าเป็ นภาษาที่มี ความหมายใกลเ้ คียงกบั ภาษาเครื่อง มากบางคร้ังจึงเรียกภาษาน้ีว่า “ภาษาอิงเครื่อง” (Machine – Oriented Language) ตวั อยา่ งของภาษาระดบั ต่า ไดแ้ ก่ ภาษาแอสเซมบลี เป็ นภาษาที่ใชค้ าในอกั ษรภาษาองั กฤษเป็ นคาส่ังให้เคร่ืองทางาน เช่น ADD หมายถึง บวก SUB หมายถึง ลบ เป็นตน้ การใชค้ าเหลา่ น้ีช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายข้ึนกวา่ การใชภ้ าษาเครื่องซ่ึง เป็ นตวั เลขลว้ น ดงั ตารางแสดงตวั อย่างของภาษาระดบั ต่าและ ภาษาเคร่ืองที่ส่ังใหม้ ีการบวกจานวน ท่ีเก็บอยใู่ นหน่วยความจา กลับ
3 ภาษาระดบั ต่า ภาษาเคร่ือง รหสั เลขฐานสิบหก MOV AL,05 10110000 00000101 B0 05 MOV BL,08 10110011 00001000 B3 08 ADD AL,BL 00000000 11011000 00 D8 MOV CL,AL 10001000 11000001 88 C1 บรรทดั แรก 10110000 00000101 เป็นคาสั่งใหน้ าจานวน 5 (หรือเขียนในรูป ของเลขฐานสองเป็น 00000101) ไปเก็บในรีจิสเตอร์ชื่อ AL โดยส่วนแรก 10110000 คือรหสั คาส่งั MOV ซ่ึงเป็นการเคล่ือนยา้ ยขอ้ มลู จานวนมาเก็บไวใ้ นรีจิสเตอร์ AL บรรทดั ท่ี สอง 10110011 00001000 เป็นคาสง่ั ใหน้ าจานวน 8 (หรือเขียนในรูปของ เลขฐานสองเป็น 00001000) ไปเกบ็ ในรีจิสเตอร์ช่ือ BL โดยส่วนแรก 10110011 คือ รหสั คาสงั่ MOV ซ่ึงเป็นการเคล่ือนยา้ ยขอ้ มลู จานวนมาเก็บไวใ้ นรีจิสเตอร์ BL บรรทดั ที่สาม เป็นคาสง่ั การบวกระหวา่ งรีจิสเตอร์ AL กบั BL หรือนา 5 บวก 8 ผลลพั ธ์เกบ็ ในรีจิสเตอร์ AL บรรทดั ที่สี่ เป็ นการนาผลลพั ธ์จากรีจิสเตอร์ช่ือ AL ไปเก็บไวใ้ นรีจิสเตอร์ชื่อ CL การใชโ้ ปรแกรมที่เขียนดว้ ยภาษาแอสเซมบลีน้นั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ไม่สามารถ ทางานไดท้ นั ที จาเป็นตอ้ งมีการแปลโปรแกรมในการแปลที่มีชื่อวา่ “แอสเซมเบลอร์” (Assembler) ซ่ึงแตกต่างไปตามเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละชนิด ดงั น้นั แอสเซมเบลอร์ ของเครื่องชนิดหน่ึงจะไม่สามารถใชแ้ ปลโปรแกรมภาษาแอสเซ มบลีของเครื่องชนิด อื่น ๆ ไดภ้ าษาแอสเซมบลีน้ียงั คงใชย้ าก เพราะผูเ้ ขียนโปรแกรมจะตอ้ งเขา้ ใจในการ ทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์อย่าง ละเอียด ตอ้ งรู้ว่าจานวนท่ีจะนามาคานวณน้นั อยู่ ณ ตาแหน่งใดในหน่วยความจาในทานองเดียวกบั การเขียนโปรแกรมเป็นภาษาเคร่ือง ภาษาแอสเซมบลีจึงมีผูใ้ ช้น้อย และมักจะใช้ในกรณีท่ีต้องการควบคุมการทางาน ภายในของตวั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ กลับ
4 ภาษาระดบั สูง (High Level Language) ภาษาระดบั สูงเป็ นภาษาที่สร้างข้ึนเพื่อช่วยอานวยความสะดวกในการเขียน โปรแกรม กล่าวคือลกั ษณะของคาส่ังจะประกอบดว้ ยคาต่าง ๆ ในภาษาองั กฤษ ซ่ึง ผูอ้ ่านสามารถเขา้ ใจความหมายไดท้ นั ที ผเู้ ขียนโปรแกรมจึงเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา ระดับสูงได้ง่ายกว่าเขียนด้วยภาษาแอ สเซมบลีหรือภาษาเคร่ือง ภาษาระดับสูงมี มากมายหลายภาษา อาทิเช่น ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสิก(BASIC) ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java) เป็ นตน้ โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงแต่ละภาษา จะตอ้ งมีโปรแกรมท่ีทาหนา้ ท่ีแปล ภาษาระดบั สูงให้เป็ นภาษาเครื่อง เช่น โปรแกรม แปลภาษาฟอร์แทรนเป็ นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาปาสคาลเป็ นภาษาเครื่อง คาส่ังหน่ึ งคาสั่งในภาษาระดับสู งจะถูกแปลเป็ นภาษาเครื่ องหลายคาส่ัง ภาษาระดบั สูงที่จะกล่าวถึงในที่น้ี ไดแ้ ก่ 1.ภาษ าฟอ ร์ แท รน ห รื อ FORTRAN เ ป็ น ช่ื อ ท่ี ย่อ ม า จ า ก FORmular TRANslation ถูกพฒั นาข้ึนเม่ือกลางทศวรรษท่ี 1950 ด้วยฝี มือของพนักงานบริษทั ไอบีเอม็ นบั เป็นภาษาช้นั สูงภาษาแรกท่ีไดม้ ีการใชแ้ พร่หลาย จึงไดม้ ีบญั ญตั ิภาษาฟอร์ แทรนฉบับมาตรฐานข้ึนในเวลาต่อมาโดย ANSI (American National Standard Institute)ฟอร์แทรนถูกออกแบบมาเพ่ือใชง้ านทางดา้ นวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อนั เป็ นงานท่ีมกั ใช้งานประมวลท่ีซับซ้อนเนื่องจากฟอร์แทรนถูก ออกแบบมาสาหรับการใชง้ านทางวทิ ยาศาสตร์ จึงมีจุดอ่อนในเร่ืองเก่ียวกบั การจกั การ ไฟล์ นอกจากน้ีจากการที่ฟอร์แทรนถกู ออกแบบมาต้งั แตส่ มยั ที่เรายงั ใชบ้ ตั รเจาะรู ซ่ึง มีขนาด 80 คอลมั น์ ทาใหฟ้ อร์แทรนมีกฎเกณฑท์ ่ีจะตอ้ งเร่ิมตน้ และจบประโยคภายใน คอลมั น์ท่ีกาหนด ซ่ึงเป็ นเร่ืองน่าราคาญพอสมควร ในการเขียนโปรแกรมในปัจจุบนั เม่ือพดู ถึงโครงสร้างของภาษาฟอร์แทรนแลว้ ก็ไม่สามารถสู้ภาษารุ่นใหมๆ่ ไดช้ ุดคาสั่ง กลับ
5 ภาษาฟอร์แทรนเป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกบั การใช้งานทางด้านการคานวณ ตวั แปลชุดคาส่ังจะทาหน้าที่อ่านชุดคาส่ังที่เป็ นภาษาฟอร์แทรนท่ีเราเขียน ข้ึน และ แปลเป็นภาษาเครื่องที่ชุดคาสง่ั ควบคุมสามารถรับได้ คาสัง่ ในภาษาฟอร์แทรนแต่ละ คาสัง่ เรียกเป็นภาษาองั กฤษวา่ statement ซ่ึงแบ่งเป็นดงั น้ี คาสงั่ รับส่งขอ้ มูล (input-output statement)ไดแ้ ก่ READ, WRITE หรือ PRINT, FORMAT คาสั่งคานวณ (arithmetic statement) ไดแ้ ก่ – คาสง่ั ท่ีเป็นการคานวณ โดยทางซา้ ยมือเป็นตวั แปร ทางขวามือเป็นการคานวณ เช่น X=A+B+5 – คาสั่งตรรกะ (logical statement) เป็นคาสง่ั ประเภทควบคุม ไดแ้ ก่ คาสงั่ ท่ีใชใ้ นการ ทดสอบ ค่าเช่น IF (A.EQ.B) GO TO 15 หรือ GO TO (1, 2, 3,4, 5) และ I เป็นตน้ นอกจากน้ี ยงั มีคาสง่ั ประกอบอ่ืนๆ อีก เช่น DIMENSION, DATA, CALL SUB, และ RETURN เป็นตน้ https://machineguyguyblog.files.wordpress.com/2015/02/2383b-fr.jpg?w=301&h=225&zoom=2 กลับ
6 ฟอร์แทรนเป็ นภาษาระดับสูงที่ใช้เขียนคาส่ังงานเพื่อควบคุมการทางานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องเมนเฟรม (Mainframe Computer) เป็นภาษา ที่ใชแ้ กป้ ัญหาดา้ นวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ภาษา FORTRAN จึงเหมาะสาหรับ เขียนโปรแกรมเก่ียวกบั สูตร สมการ หรือฟังกช์ นั ทางวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ตวั อยา่ งของภาษา FORTRAN บางส่วน มีดงั น้ี READ X IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X ELSE PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’ ความหมายของคาสง่ั งาน READ X หมายถึงการอา่ นคา่ ลงในตวั แปรช่ือ X IF((X.GT.0) .AND. (X.LT.100)) THEN หมายถึงการตรวจสอบค่า X ท่ีอา่ นคา่ เขา้ มา วา่ อยรู่ ะหวา่ 0-100 หรือไมถ่ า้ ใช่ใหท้ าคาสงั่ หลงั THEN ถา้ ไม่ใช่ใหท้ าคาสั่งหลงั ELSE PRINT *, ‘VALUE OF X IS :’,X หมายถึงใหพ้ ิมพท์ ้งั ประโยคดว้ ยขอ้ ความที่กาหนด แลว้ ตามดว้ ยคา่ ของตวั แปร X ที่อา่ นเขา้ มา PRINT * , ‘X IS NOT BETWEEN 0 AND 100’ หมายถึงพมิ พท์ ้งั ประโยคโดยแสดง ค่าของ X กอ่ นประโยคขอ้ ความ กลับ
7 ขอ้ ดีของภาษาฟอร์แทรน เป็นภาษาท่ีมีคาส่ังงานเนน้ ประสิทธิภาพดา้ นการคานวณวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมท้งั คาส่งั ควบคุมการทางานของอุปกรณ์เคร่ืองเมนเฟรม ขอ้ จากดั ของภาษาฟอร์แทรน เน่ืองจากคาสง่ั งานเหมาะสาหรับการควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญเ่ มื่อนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั เครื่องคอมพวิ เตอร์ขนาดเลก็ จะตอ้ งปรบั ใชค้ าสง่ั มากมาย รวมท้งั เม่ือมีการเปลี่ยนเครื่องประมวลผลก็ตอ้ งเปล่ียนรูปแบบคาสง่ั ทกุ คร้ัง รูปตวั อยา่ งการเขียนโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน https://machineguyguyblog.files.wordpress.com/2015/02/4e31b-srw.png?w=314&h=251&zoom=2 2.ภาษาโคบอล (Common Business Oriented Language : COBOL) เป็ น ภาษาท่ีพัฒนาข้ึนในราว พ.ศ. 2502 ต่อมาได้รับการปรับปรุ งจาก คณะกรรมการซ่ึงเป็นตวั แทนของหน่วยงานธุรกิจและ รัฐบาลของสหรัฐอเมริกา เป็น ภาษาโคบอลมาตรฐานในปี พ.ศ. 2517 เป็ นภาษาที่เหมาะสมสาหรับงานด้านธุรกิจ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญส่ ่วนมากมีโปรแกรมแปลภาษาโคบอล กลับ
8 3) ภาษาเบสิก (Beginner’s All – purpose Symbolic Instruction Code : BASIC) เป็ นภาษาท่ีได้รับการคิดข้ึนเป็ นคร้ังแรกที่วิทยาลัยดาร์ทมัธ (Dartmouth College) และเผยแพร่เป็นทางการในปี พ.ศ. 2508ภาษาเบสิกเป็นภาษาที่สร้างข้ึนโดยมี จุดประสงค์เพื่อใชส้ อนเพ่ือใช้สอน เขียนโปรแกรมแทนภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาอ่ืน เช่น ภาษาฟอร์แทรน ซ่ึงมีขนาดใหญ่และตอ้ งใชห้ น่วยความจาสูงในการทางาน ซ่ึงไม่ เหมาะกบั เครื่องคอมพิวเตอร์ในสมยั น้นั ภาษาเบสิกเป็นภาษาท่ีมีขนาดเลก็ เป็นตวั แปล ภาษาชนิดท่ีเรียกวา่ อนิ เทอร์พรีเตอร์ นอกจากน้ีภาษาเบสิกเป็ นภาษาที่ง่ายต่อการเขียนซ่ึงผูเ้ ขียนจะสามารถนาไป ประยกุ ตก์ บั การแกป้ ัญหาต่าง ๆ ไดท้ ุกสาขาวิชาผทู้ ่ีเพ่ิงฝึ กเขียนโปรแกรมใหม่ ๆ หรือ ผูท้ ี่ไม่ใช่นักเขียนโปรแกรมมืออาชีพ แต่เป็ นเพียงวิศวกรหรือนกั วิจยั จะสามารถหัด เขียนโปรแกรมภาษาเบสิกได้ในเวลาไม่นานนัก ปกติภาษาเบสิกส่วนใหญ่ใช้กับ ไมโครคอมพวิ เตอร์ 4) ภาษาปาสคาล (Pascal) ต้งั ชื่อตามนกั คณิตศาสตร์ชาวฝร่ังเศส ช่ือ เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) ซ่ึง เป็นผผู้ ลิตเคร่ืองคิดเลขโดยใชเ้ ฟืองหมนุ ภาษาปาสคาลคิดข้ึนในปี พ.ศ. 2514 โดยนิ คลอส เวยี ซ (Niklaus Wirth) ศาสตราจารยว์ ชิ าคอมพวิ เตอร์ชาวสวติ ภาษาปาสคาล ไดร้ ับการออกแบบใหใ้ ชง้ ่ายและมีโครงสร้างที่ดี จึงเหมาะกบั การใชส้ อนหลกั การ เขียนโปรแกรม ปัจจุบนั ภาษาปาสคาลยงั คงไดร้ ับความนิยมใชใ้ นการเรียนเขียน โปรแกรม คอมพิวเตอร์ กลับ
9 5.ภาษา C++ (อ่านว่า ซี – พลสั - พลสั ) เป็ นลูกผสมระหว่างภาษา Simula และภาษา C โดยรับเอาแนวคิดของ ภาษา C มากกว่า 95% ประยุกต์เข้ากับแนวคิดเชิ งวัตถุของ Simula ทาให้ ภ า ษ า C++ เ ป็ น ลู ก ผ ส ม ร ะ ห ว่ า ง Proeceural Language แ ล ะ Object Oriented Language เราไม่สามารถบอกไดว้ ่า C++ เป็ น OOP 100% โดยเราอาจเลือกเขียนแบบ ภาษา C ไดอ้ ีกแบบหน่ึง ภาษา C++ เป็ นภาษาโปรแกรมภาษาหน่ึงท่ีไดร้ ับการพฒั นาข้ึนมาไม่นานนกั และเป็ นภาษาที่มีความสามารถสูง ดังน้ัน ในบทน้ีจะเสนอความเป็ นมาของ ภาษา C++ รูปแบบการเขียนโปรแกรมข้นั ตน้ เพ่ือเรียนรู้ถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ี จาเป็ นในการเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา C++ เช่น การเขียนคอมเมนต์ การประกาศตวั แปร ชนิดขอ้ มูลท่ีควรรู้ รวมท้งั ขอ้ สังเกตท่ีน่าสนใจในภาษา C++ เช่น ตวั ดาเนินการ ตา่ ง ๆ การจดั การกบั การเกิดส่วนลน้ (Overflow) เป็นตน้ 1.ความเป็นมาของภาษา C++ C++ มีรากฐานมาจากภาษา C และเป็ นภาษาที่คลุมภาษา C ไว้ C++ ยงั คงรักษา ความสามารถและความยืดหยุ่นของ C ในการเขียนโปรแกรมระบบต่า รวมท้ัง โปรแกรมควบคุมฮาร์ดแวร์ ที่สาคญั กว่าน้ัน คือ C++ ให้การสนับสนุนการเขียน โ ป ร แ ก ร ม แ บ บ Object - Oriented C++ จั ด เ ป็ น ภ า ษ า ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ มากกวา่ ADA และ Modula-2 ขณะท่ียงั คงความมีประสิทธิภาพและความกะทดั รัดของ ภาษา C ไว้ ดังน้ัน จึงเป็ นภาษาโปรแกรมภาษาหน่ึงท่ียอมให้โปรแกรมเมอร์เขียน โปรแกรมแบบมีโครงสร้าง และเขียนโปรแกรมเชิงวตั ถไุ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ กลับ
10 C++ เป็นภาษาผสม (Hybrid Language) โดยอาจแกป้ ัญหาหน่ึงดว้ ยวิธี Object – Oriented ลว้ น ๆ หรืออาจแกป้ ัญหาดว้ ยการใชภ้ าษาแบบเก่า ซ่ึงมีโครงสร้างบางอยา่ ง เพิ่มข้ึนจากภาษา C ในทางปฏิบตั ิในการแกป้ ัญหามกั จะสะทอ้ นให้เห็นวิธีการท้งั 2 แบบ C++ ถูกพัฒนาโดย Bjane Stroutrup ที่ Bell Labs ในช่วงทศวรรษ 1980 Dr. Stroustrup พัฒนาภาษาน้ีข้ึนเพื่อเขียนซอฟต์แวร์จาลองเหตุการณ์ (Event-Driven Simulation) ที่มีความซบั ซอ้ น ซ่ึงมี Rick Mascitti เป็นผตู้ ้งั ช่ือของภาษาน้ีใหก้ บั เขา ต่อมาได้มีคนนาภาษาน้ีไปใช้และได้เปล่ียนแปลงบางส่วน ในตอนที่ยงั ไม่มี มาตรฐานของภาษา Dr. Stroustrup และผู้ร่ วมงานคนอื่น ๆ จึงได้ตัดสินใจวาง มาตรฐาน C++ ให้เขา้ กับ C ได้ เพ่ือจะไดไ้ ม่สูญเสียโคด้ ของภาษา C ที่มีอยู่นับลา้ น บรรทดั C++ ถูกออกแบบให้ส่งเสริมการพฒั นาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ โดยเพิ่มการ ตรวจสอบ Type เข้าไป เม่ือเปรี ยบเทียบกับ C แล้วจะลดข้อผิดพลาดลงได้มาก เพราะว่าภาษา C ยอมให้โปรแกรมเมอร์ควบคุมระบบในระดับต่าได้โดยตรง โปรแกรมเมอร์จานวนมากจึงทางานโดยเร่ิมจากโครงสร้างระดบั ต่า แลว้ นาส่วนตา่ ง ๆ เหล่าน้ีมาประกอบกนั เป็ นโครงสร้างใหญ่ แต่ในภาษา C++ จะทาในทางตรงกนั ขา้ ม คือ กาหนดโครงสร้างใหญ่ก่อนนามาสัมพนั ธ์กัน แลว้ จึงกาหนดโครงสร้างย่อย ๆ ต่อไป กลับ
11 2.รูปแบบการเขียนโปรแกรม C++ ภาษาโปรแกรม C++ เป็ นภาษาโปรแกรมท่ีไม่มีรูปแบบการเขียนตายตัว กล่าวคือ ไม่ตอ้ งกาหนดวา่ องคป์ ระกอบของโปรแกรมจะตอ้ งเขียนอยใู่ นบรรทดั หรือ บนหน้ากระดาษส่วนไหน ดังน้ัน โปรแกรมเมอร์จึงมีอิสระที่จะวางรูปแบบของ โปรแกรม แต่โปรแกรมเมอร์ท่ีมีประสบการณ์ย่อมทราบดีว่าการเขียนโปรแกรม รูปแบบท่ีดีน้นั จะตอ้ งอ่านง่าย สะดวกต่อการแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม และง่าย ต่อการดูแลรักษาโปรแกรม แต่อย่างไรก็ตาม เราสามารถเขียนตามระเบียบแบบแผน มาตรฐานของภาษา C++ ซ่ึงมีขอ้ ปฏิบตั ิง่าย ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1 .การเขียนประโยคตวั เตรียมประมวลผล #include ไวท้ ่ีตาแหน่งเริ่มตน้ ของ โปรแกรม 2.เขียนบรรทดั ละหน่ึงคาสัง่ 3.เขียนกลุ่มคาส่งั ที่อยภู่ ายในบลอ็ กแบบยอ่ หนา้ 4.ใหม้ ีการเวน้ วรรคตรงเคร่ืองหมายตวั ดาเนินการท้งั ก่อนและหลงั เคร่ืองหมาย เช่น n = 4. ระเบียบแบบแผนอีกลกั ษณะหน่ึงที่พึงปฏิบตั ิ คือ การเขียนช่ือตวั แปร ถา้ เขียน ด้วยชื่อส้ัน ๆจะลดโอกาสที่จะพิมพ์ผิด แต่ในขณะเดียวกันก็ควรจะเป็ นช่ือที่ส่ือ ความหมายว่าตวั แปรน้นั แทนอะไร การเขียนรูปแบบน้ี เรียกว่า รหัสคาสั่งเอกสารใน ตวั เอง (Self – Documenting Code) โปรแกรมเมอร์ C++ เกือบท้งั หมดนิยมเขียนช่ือตวั แปรดว้ ยตวั พิมพเ์ ล็ก ยกเวน้ ในกรณีท่ีช่ือตวั แปรประกอบดว้ ยคาหลาย ๆ คาจะเขียน ตวั อกั ษรตวั แรกของคาที่มาตอ่ ทา้ ยดว้ ยตวั พมิ พใ์ หญ่ เช่น กลับ
12 Char Middle Initial; Unsigned Max Unsigned Int; เหตุผลท่ีเขียนแบบน้ี เพราะจะทาใหอ้ ่านง่ายกวา่ เขียนดว้ ยตวั พมิ พเ์ ลก็ เพียงอยา่ ง เดียว เช่น Middleinitial และ Maxunsignedint หรือมีอีกวิธีหน่ึงที่นิยมให้เช่นกนั คือ การใชเ้ ครื่องหมายสญั ประกาศ (underscore ‘_’) เป็นตวั แยกคาแทนช่องวา่ ง เช่น Char middle_initial; Unsigned Max Unsigned Int; 3.โปรแกรมภาษา C++ อยา่ งง่าย https://sites.google.com/site/kruaumdsl/_/rsrc/1472872534551/hlak-kar-kheiyn-porkaerm-1/naeana-phasa- si-phlas-phlas/01.jpg บรรทดั แรกของโปรแกรมเป็นการกาหนดตวั เตรียมประมวลผล (Preprocessor Directive) ดว้ ยคาว่า #include เพื่อแสดงว่าโปรแกรมน้ีมีการนาขอ้ มูลออกหรือมีการ แสดงผลออกทางอุปกรณ์ตัวใดตัวหน่ึง โดยการอ้างถึงไฟล์ช่ือ iostream ซ่ึงเป็ น โปรแกรมที่ทาหนา้ ท่ีจดั การกบั กลุ่มสารสนเทศท่ีตอ้ งการส่งให้หน่วยควบคุมการนา ขอ้ มูลออก คือ ตวั วตั ถุ cout สาหรับเครื่องหมายวงเล็บมุม “<” และ “>” ไม่นับเป็ น กลับ
13 ส่วนของช่ือไฟล์ แต่ใช้เพื่อแสดงถึงมาตรฐานของการกล่าวถึงคลงั โปรแกรม หรือ ไลบรารีไฟล์ (Library File) เท่าน้นั ดงั น้นั จึงสรุปไดว้ ่าเม่ือใดที่โปรแกรมตอ้ งการใช้ วตั ถุ cout เพื่อส่งข้อมูลออกทางอุปกรณ์แสดงผลจะต้องมีการกาหนดตัวเตรี ยม ประมวลผลและไฟล์ iostream ไวด้ ว้ ย บรรทดั ที่ 5 คือ Namespace คือ กลุ่มของฟังก์ชนั ตวั แปร และคลาสประเภท ต่างๆไวส้ าหรับเรียกใช้งาน เช่น เนมสเปชท่ีเก่ียวกบั การแสดงผล การคานวณทาง คณิตศาสตร์ การใช้ namespace ทาได้ 2 วิธี 1. ใชค้ าสั่ง using ต่อดว้ ยช่ือเนมสเปช ต่อดว้ ยตวั ดาเนินการสโคป (::) ตอ่ ดว้ ยชื่อ object ท่ีตอ้ งการ เช่น using std::cout; หรือ using std::cin; 2. ใชค้ าสั่ง using namespace ตอ่ ดว้ ยชื่อเนมสเปชโดยตรง เช่น using namespace std; ขอ้ ดีการใชเ้ นมสเปช คือ เราสามารถใชค้ าส่ังต่างๆไดโ้ ดยตรง โดยไม่ ตอ้ งพิมพเ์ นมสเปชขณะเรียกใช้ เช่น cout << \"Hello World\"; ใชไ้ ดท้ นั ทีโดยไม่ตอ้ ง พมิ พ์ std::cout <<“Hello World”; บรรทดั ที่ 2 คือ หมายเหตุโปรแกรมหรือที่เรียกกันโดยทัว่ ไปว่าคอมเมนต์ (Comment) เขียนนาดว้ ยสัญลกั ษณ์ // และตามดว้ ยขอ้ ความ หมายเหตุโปรแกรม คือ ขอ้ ความท่ีใช้อธิบายการทางานของโปรแกรมนอกเหนือจากคาสั่งของโปรแกรม จุดประสงค์ของหมายเหตุโปรแกรมมีไวส้ าหรับให้อ่านเท่าน้นั ไม่มีผลกระทบใด ๆ ต่อการทางานของโปรแกรม บรรทัดที่ 3 คือ การกาหนดฟังก์ชัน main() ซ่ึงเป็ นฟังก์ชันหลกั กาหรับทุก โปรแกรมท่ีเขียนด้วยภาษา C++ เป็ นสิ่งที่บ่งบอกจุดเริ่ มต้นการปฏิบัติงานของ กลับ
14 โปรแกรม ส่วนของวงเลบ็ “()” ที่อยหู่ ลงั คา Main เป็นสัญลกั ษณ์ขอ้ กาหนดของภาษา ท่ีตอ้ งเขียนรวมอยดู่ ว้ ย บรรทดั ที่ 4 และ 8 มีเพียงเครื่องหมายวงเล็บปี กกาเปิ ด “}” และวงเล็บปี กกา ปิ ด “}” ตามลาดับ ซ่ึ งเป็ นเคร่ื องหมายแสดงถึงรายการคาส่ังต่าง ๆ ของ ฟังกช์ นั main() และเป็นส่วนท่ีตอ้ งมีในทุกโปรแกรมท่ีเขียนข้ึนดว้ ยภาษา C++ บรรทดั ที่ 6 มีประโยคคาสงั่ ดงั น้ี cout << “hello world\\n”; ประโยคน้ีบอกใหร้ ะบบคอมพวิ เตอร์ส่งขอ้ ความ “hello world. \\n” ไปที่ส่วน ควบคุมการนาข้อมูลออก cout (ซี-เอาต์) วตั ถุตัวน้ี คือ กระแสส่งออกมาตรฐาน โดยทวั่ ไปจะหมายถึงจอภาพวตั ถุ cout มาจากคาเต็มว่า Console Output คือ จอเฝ้าคุม แสดงผล ผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการสงั่ Run โปรแกรมในตวั อยา่ งที่ 2-1 คือ hello world สัญลกั ษณ์ \\n หมายถึง การข้ึนบรรทดั ใหม่ ประกอบดว้ ยตวั อกั ขระสองตวั ไดแ้ ก่เครื่องหมาย ‘\\’ และตวั อกั ษร ‘n’ การใส่สัญลกั ษณ์น้ีต่อทา้ ยท่ีขอ้ ความภายใน เคร่ืองหมายอญั ประกาศเป็ นการบอกให้ระบบคอมพิวเตอร์ข้ึนบรรทดั ใหม่ หลงั จาก พิมพ์ตัวอักขระหรื อข้อความท่ีอยู่หน้าเครื่ องหมายน้ี หรื ออีกนัยหน่ึงก็คือ เป็ น เคร่ืองหมายแสดงจุดสิ้นสุดรายการขอ้ มูลของบรรทดั น้นั นน่ั เอง บรรทดั ท่ี 7 ประกอบดว้ ยคาสงั่ return 0 หมายถึง สิ้นสุดปฏิบตั ิการคาสัง่ ของ โปรแกรมและสั่งการควบคุมการทางานกลบั ไปท่ีระบบปฏิบตั ิการ ส่วนเลข 0 ใชเ้ ป็น สัญลกั ษณ์แสดงการจบโปรแกรมเมื่อไมม่ ีขอ้ ผดิ พลาดใด ๆ เกิดข้ึน กลับ
15 ประโยคคาส่ังแสดงผลลพั ธ์ท่ีบรรทดั ที่ 6 มีการใชส้ ัญลกั ษณ์หลายตวั หน่ึงใน จานวนน้นั คือสัญลกั ษณ์ ‘<<’ เราเรียกสัญลกั ษณ์น้ีว่า ตวั ดาเนินการส่งออก (Output Operator) หรือตวั ดาเนินการแทรก (Insertion Operation) กล่าวคือ เป็นการแทรกขอ้ มลู เขา้ ไปที่กระแสส่งออก ส่วนสัญลกั ษณ์ \\n ท่ีอยปู่ ิ ดทา้ ยขอ้ ความ คือ ตวั อกั ขระควบคุม การทางานใหร้ ะบบคอมพิวเตอร์ข้ึนบรรทดั ใหม่ เม่ือไรก็ตามท่ีมีเครื่องหมายน้ีปรากฏ อยทู่ ี่ขอ้ ความส่งออกจะส่งผลให้บรรทดั ของคาส่ังแสดงผลลพั ธ์ในขณะน้นั สิ้นสุดลง และไปเร่ิมตน้ ที่บรรทดั ใหม่ ขอ้ สงั เกตของสัญลกั ษณ์ท้งั สอง คือ การใชต้ วั อกั ขระสอง ตวั ติดกนั โดยไม่มีช่องวา่ งระหวา่ งตวั อกั ขระน้นั ประโยคคาส่ังในโปรแกรมภาษา C++ ทุกคาสั่งจะต้องปิ ดท้ายด้วย เครื่องหมาย ‘ ; ’ เรียกเครื่องหมายน้ีวา่ เครื่องหมายอฒั ภาคหรือเคร่ืองหมายเซมิโคลอน และในหน่ึงบรรทดั อาจมีไดห้ ลายคาสั่ง หรือในทางตรงขา้ มอาจมีบางคาส่ังที่ตอ้ งเขียน มากกว่าหน่ึงบรรทดั แต่ไม่ว่ากรณีใดก็ตามทุกคาสั่งจะตอ้ งจบลงด้วยเครื่องหมาย อฒั ภาค(;) 3.1 การส่งขอ้ มูลออกดว้ ย cout ถึงแมว้ ่าจะยงั ไม่ได้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับวตั ถุ cout ก็ตาม แต่เราก็ได้ ทดลองใช้ cout ดูแลว้ ซ่ึงก็แสดงใหเ้ ห็นวา่ วตั ถุมีจุดเด่นท่ีสามารถใชง้ านวตั ถไุ ดโ้ ดยไม่ จาเป็ นตอ้ งรู้รายละเอียดภายในของวตั ถุเลย เพียงรู้วิธีการเช่ือมต่อ (Interface) ก็พอ วตั ถุ cout มีวธิ ีการเช่ือมตอ่ แบบง่าย ๆ กลับ
16 https://sites.google.com/site/kruaumdsl/_/rsrc/1472872532232/hlak-kar-kheiyn-porkaerm-1/naeana-phasa- si-phlas-phlas/02.jpg cout << ส่วนท่ีตอ้ งการส่งออก ส่วนที่อยทู่ างดา้ นขวามือ จะถูกใส่เขา้ ไปในสายกระแส (Stream) cout ดว้ ยปฏิบตั ิการ ของเคร่ืองหมาย Insertion Operator (<<) ของวตั ถุ cout วตั ถุ cout ทาหน้าท่ีเหมือนกระแสหรือสายนาส่งข้อมูลจากโปรแกรมไปปรากฏท่ี จอภาพ (เครื่องพิมพห์ รืออุปกรณ์แสดงผลอ่ืน ๆ) ทีละตวั อกั ษรตามลาดบั cout สามารถทางานไดก้ บั ท้งั ขอ้ ความ (String) และจานวนเต็ม ซ่ึงเป็นความฉลาดของ วตั ถุ cout อนั เป็ นผลมาจากคุณลกั ษณะของ OOP ในภาษา C++ สาระสาคญั ก็คือ ตวั ดาเนินการใส่ (Insertion Operator, <<) สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ตาม สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดลอ้ มในท่ีน้ี หมายถึง ชนิดขอ้ มูลของตวั ถูกดาเนินการ 3.2การเขียนคอมเมนต์ (Comment) คอมเมนตห์ รือหมายเหตุโปรแกรม หมายถึง ขอ้ ความท่ีเขียนอธิบายไวร้ วม กับตวั โปรแกรม แต่คอมพิวเตอร์จะไม่นาขอ้ ความน้ันมาปฎิบตั ิตาม เน่ืองจากมีไว้ เพ่ือให้ผูใ้ ช้โปรแกรมได้อ่าน ซ่ึงจะช่วยให้สามารถทาความเขา้ ใจการทางานของ โปรแกรมไดง้ ่ายข้ึน และยงั เป็นประโยชนต์ อ่ การบารุงรักษาโปรแกรมต่อไป เราเรียก หมายเหตโุ ปรแกรมวา่ คอมเมนต์ กลับ
17 ตวั อยา่ งการเขียนหมายเหตโุ ปรแกรมแบบมาตรฐานภาษา C /* this is a C style comment */ การเขียนหมายเหตโุ ปรแกรมรูปแบบที่สอง คือ การเขียนแบบมาตรฐานภาษา C ซ่ึง เร่ิมตน้ ดว้ ยเคร่ืองหมาย // และตามดว้ ยขอ้ ความท่ีจะใชเ้ ป็นหมายเหตโุ ปรแกรม ตวั อยา่ งการเขียนหมายเหตุโปรแกรมแบบมาตรฐานภาษา C // this is a C++ style comment โปรแกรมเมอร์ส่วนใหญ่นิยมใช้รู ปแบบที่สองเพราะเขียนง่ายและ สังเกตเห็นไดง้ ่ายในส่วนของโปรแกรม แต่อยา่ งไรก็ดี การเขียนหมายเหตุโปรแกรม แบบมาตรฐานภาษา C ก็มีความจาเป็ น ถา้ โปรแกรมเมอร์ตอ้ งการใส่ส่วนของหมาย เหตไุ วใ้ นประโยคคาสัง่ แตไ่ ม่แนะนาใหถ้ ือปฏิบตั ิเช่นน้ี 3.3 เคร่ืองหมายจบประโยคคาส่ัง ภาษา C++ ใชเ้ ครื่องหมายอฒั ภาคหรือเซมิโคลอน (;) แสดงจุดสิ้นสุดของ ประโยคคาสั่งนั่นคือ ประโยคคาสั่งทุกประโยคตอ้ งจบลงดว้ ยเครื่องหมายอฒั ภาค (;) ซ่ึงจะแตกต่างจากภาษาโปรแกรมภาษาอ่ืน เช่น ภาษาปาสคาล โดยที่ภาษาปาสคาล ใชเ้ ครื่องหมายอฒั ภาคเป็นตวั คน่ั ระหวา่ งคาสงั่ แต่สาหรับประโยคที่ข้ึนตน้ ดว้ ย สญั ลกั ษณ์จานวนหรือแฮช (#) เช่น #include <iostream> จะไม่จบดว้ ยเครื่องหมายอฒั ภาค เพราะประโยคน้ีไมใ่ ช่ประโยคคาสั่งแต่เป็น ประโยคท่ีกาหนดตวั เตรียมประมวลผล จากตวั อยา่ งที่ผา่ นมาจะเห็นวา่ กลับ
18 ประโยค C++ สามารถทาการแปลเป็นนิพจน์ หรือในทางกลบั กนั นิพจนก์ ็ สามารถเป็นประโยคในภาษา C++ ไดด้ ว้ ย นิพจนส์ ามารถกาหนดใหเ้ ป็นประโยคเด่ียว ๆ เช่น ตวั อยา่ งสองประโยคตอ่ ไปน้ีถือวา่ เป็นประโยค C++ ท่ีถกู ตอ้ ง x+ y; 22; ประโยคท้งั สองน้ีไม่มีผลอะไรต่อโปรแกรม ดงั น้นั จึงถือไดว้ ่าเป็ นประโยคท่ี สูญเสียเปล่าแต่อย่างไรก็ดี ถือว่าเป็ นประโยคที่ถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา C++ เราจะดู นิพจนท์ ่ีเป็นประโยชน์ตอ่ ไปภายหลงั เครื่องหมายอฒั ภาคเปรียบเหมือนตวั ดาเนินการบนนิพจน์ ซ่ึงเปล่ียนนิพจน์ ไปเป็ นประโยคคาสั่ง เคร่ืองหมายน้ีไม่ใช่ตวั ดาเนินการที่ถูกตอ้ งเพราะผลลพั ธ์ คือ ประโยคคาสั่งไม่ใช่ค่าขอ้ มูล แต่ก็เป็ นจุดท่ีช่วยอธิบายให้เห็นความแตกต่างระหว่าง นิพจน์และประโยคคาส่ัง 6.ภาษาวชิ วลเบสิก(VisualBasic) เป็ น ภาษาท่ีพฒั นาต่อมาจากภาษาเบสิก ใชไ้ วยากรณ์บางส่วนของภาษาเบสิก ในการเขียนโปรแกรม แต่มีแนวคิดและวิธีการพฒั นาโปรแกรมที่แตกต่างจากภาษา เบสิกโดยสิ้นเชิง รวมท้งั การใชเ้ น้ือท่ีในหน่วยความจากแ็ ตกต่างกนั มาก ท้งั น้ีเน่ืองจาก ภาษาวชิ วลเบสิกใชแ้ นวคิดท่ีต่างออกไป 7) การเขียนโปรแกรมแบบจินตภาพ (Visual Programming) ภาษา น้ีพฒั นาข้ึนโดยบริษทั ไมโครซอฟต์ออกแบบเพ่ือเขียนโปรแกรมที่ สามารถใชง้ านได้ บนระบบปฏิบตั ิการแบบจียไู อ เช่น ระบบปฏิบตั ิการไมโครซอฟต์ กลับ
19 วินโดวส์ มีการติดต่อกบั ผใู้ ชโ้ ดยใชร้ ูปภาพ การเขียนโปรแกรมทาไดง้ ่ายกวา่ การเขียน โปรแกรมแบบเก่ามาก 8) ภาษาจาวา (Java) พฒั นา ข้ึนในปี พ.ศ. 2534 โดยบริษทั ซันไมโครซิสเตมส์ เป็ นภาษาท่ีได้รับ ความนิยมสูงมาโดยตลอด เน่ืองจากเป็ นภาษาที่มีความยืดหยุ่นสูง สามารถเขียน โปรแกรมและใชง้ านไดบ้ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทุกประเภทและระบบ ปฏิบตั ิการทุก รูปแบบ ในช่วงแรกที่เริ่มมีการนาภาษาจาวามาใชง้ านจะเป็ นการใชง้ านบนเครือข่าย อิน เทอร์เน็ต เป็ นภาษาท่ีเน้นการทางานบนเว็บ แต่ปัจจุบนั สามารถสามารถนามา ประยกุ ตส์ ร้างโปรแกรมใชง้ านทว่ั ไปได้ นอก จากน้ี เม่ือเทคโนโลยีของการสื่อสารก้าวหน้าข้ึน จนกระท่ังเคร่ือง คอมพิวเตอร์ปาล์มท็อป หรือ แมแ้ ต่โทรศพั ท์เคล่ือนที่สามารถเช่ือมต่อเขา้ สู่ระบบ อินเทอร์เนต็ และใชง้ าน ระบบเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ ได้ ภาษาจาวากส็ ามารถสร้างส่วนที่เรียกวา่ “แอปเพลต็ ” (Applet) ใหอ้ ปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่กล่าวขา้ งตน้ เรียกใชง้ านจากเครื่องที่ เป็นแมข่ ่าย (Server) ได้ 9) ภาษาเดลฟาย (Delphi) เป็น ภาษาท่ีไดร้ ับความนิยมภาษาหน่ึง แนวคิดในการเขียนโปรแกรมภาษาเดล ฟายเหมือนกับแนวคิดในการเขียนโปรแกรมภาษาวิ ชวลเบสิก คือเป็ นการเขียน โปรแกรมเชิงจินตภาพ แต่ภาษาพ้ืนฐานที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมจะเป็ นภาษา ปาสคาล ในการเขียนโปรแกรมเชิงจินตภาพน้ีมีคอมโพเนนต์ (Component) ท่ีสามารถ ใช้เป็ นส่วนประกอบเพ่ือสร้างส่วนติดต่อผูใ้ ช้ท่ีเป็ นแบบกราฟิ ก ทาให้ซอฟต์แวร์ที่ พฒั นามีความน่าสนใจและใชง้ านง่ายข้ึน การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาเดลฟายจึงเป็น กลับ
20 ท่ีนิยมในการนาไปพฒั นาเป็นโปรแกรมใช้ งานมาก รวมท้งั ภาษาปาสคาลเป็นภาษาท่ี เขา้ ใจง่าย เหมาะแก่การนามาใชส้ อนเขียนโปรแกรม กลับ
21 แบบฝึกหดั หลงั เรียน 1.อธิบายความหมายของภาษาเครื่อง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 2.อธิบายความหมายของภาษาระดบั ต่า ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ 3.อธิบายความหมายของภาษาระดบั สูง ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ กลับ
22 แบบทดสอบหลงั เรียน 1.ภาษาคอมพวิ เตอร์แบง่ ไดก้ ี่ระดบั ก. 2 ระดบั ข. 3 ระดบั ค. 4 ระดบั ง. 5 ระดบั 2.คอมพวิ เตอร์ยคุ แรกๆใชภ้ าษาใดในการเขียนโปรแกรม ก. ภาษาเครื่อง ข. ภาษาระดบั ต่า ค. ภาษาระดบั สูง ง. ภาษา C 3.ขอ้ ใดจดั อยใู่ นภาษาระดบั ต่า ก. ภาษาโคบอล ข. ภาษาปาสคาล ค. ภาษาแอสแซมบลี ง. ภาษาวาจา 4.ภาษาระดบั สูงมีกี่ภาษา ก. 3 ภาษา ข. 5 ภาษา ค. 7 ภาษา ง. 9 ภาษา 5.ภาษาระดบั สูงในขอ้ ใดเก่าแก่ที่สุด ก. ภาษาโคบอล ข. ภาษาปาสคาล ค. ภาษาฟอร์แทรน ง. ภาษาวาจา กลับ
ค อา้ งอิง ทรงศกั ด์ิ.2556.ภาษาคอมพวิ เตอร์.สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2564,จาก https://sites.google.com/site/programcomputer56/home/phasa-khxmphiwtexr ครูอมุ้ .ภาษา C และ C++.สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2564,จาก https://sites.google.com/site/kruaumdsl/hlak-kar-kheiyn-porkaerm-1/naeana- phasa-si-phlas-phlas กลับ
ง
จ
Search
Read the Text Version
- 1 - 28
Pages: