Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4 เครื่องมือและการสืบค้นข้อมูล

บทที่ 4 เครื่องมือและการสืบค้นข้อมูล

Description: บทที่ 4 เครื่องมือและการสืบค้นข้อมูล

Search

Read the Text Version

บทที่ 4 เครื่องมือและการสืบค้นข้อมูล โดย นางสาวอินธิรา อินทร์น้อย เลขที่ 11 รหัส 64302160011 ชั้น ปวส.2/1 สาขางงานการจัดการสำนักงาน แผนกวิชาการเลขานุการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชุมพร

สารบัญ หน้า เรื่อง 1 ความหมายของ Search Engines 1-2 ประเภทของ Search Engines การใช้งาน Search Engines และดาวน์โหลด 3 การค้นหาแฟ้มข้อมูลโปรแกรม ประโยชน์ของ Search Engines 3-5 Keyword คืออะไร 6 7 ประเภทของ Keyword ในการค้นหา 7 หลักการทำงานของ Search Engines 8 9 เทคนิคเพิ่มเติมที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูลบน Search Engine 10 Matching ของ Search Terms 11 คำถามท้ายบท

ความหมายของ Search Engines เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) หรือ โปรแกรมค้นหา คือ โปรแกรมที่ออกแบบมาเป็นเครื่องมือสำหรับใช้ ค้นหาข้อมูล ซึงโปรแกรมที่ใช้สำหรับคนหาข้อมูลบนเว็บไซต์ หรือ เว็บไซต์ที่ใช้สำหรับค้นหาข้อมูล เราจะ เรียกว่า Web Search Engine ( เว็บเสิร์ชเอนจิน ) Search engine ส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลโดยที่เรา ต้องกรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหาหรือคำค้นหาต่าง ๆ ลงไปซึ่งคำเหล่านั้นเราจะเรียกว่า Keyword (คีย์เวิร์ด) ซึ่งผลลัพธ์จะต้องการก็จะแสดงผลมาให้ทางผู้ค้นหาทราบ ในปัจจุบัน Search Engine บาง ตัว จะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนำประวัติที่บันทึกไว้นั้น มา ช่วยกรองผลลัพธ์ในการค้นหาครั้งต่อ ๆ ไป ซึ่งข้อดีจะช่วยการค้นหานั้นประสบความสำเร็จ ได้ข้อมูลที่ ตรงกับ Keyword มากที่สุด เช่น search คำว่า รับออกแบบเว็บไซต์,รับทำเว็บไซต์,รับเขียนโปรแกรม,รับ ทำเว็บบอร์ดsmf,รับทำเว็บSupport ipad iphone,รับปรับตกแต่งเว็บไซต์,บริษัทเอโอซอฟต์ จำกัด,aosoft.co.th,aosoft,เอโอซอฟต์,รับทำเว็บอะไร,webboard smf,เว็บบอร์ด smf ประเภทของ Search Engines ประเภทที่ 1 CRAWLER BASED SEARCH ENGINES Crawler Based Search Engines คือ เครื่องมือการค้นหาบนอินเทอร์เน็ตแบบอาศัยการบันทึกข้อมูล และจัดเก็บข้อมูลเป็นหลัก ซึ่งจะเป็นจำพวก Search Engine ที่ได้รับความนิยมสูงสุด เนื่องจากให้ผลการ ค้นหาแม่นยำที่สุด และการประมวลผลการค้นหาสามรถทำได้อย่างรวดเร็ว จึงทำให้มีบทบาทในการค้นหา ข้อมูลมากที่สุดในปัจจุบัน โดยมีองค์ประกอบหลักเพียง 2 ส่วนด้วยกัน คือ ฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์

ประเภทของ Search Engines ประเภทที่ 2 WEB DIRECTORY หรือ BLOG DIRECTORY web directory หรือ Blog Directory คือ สารบัญเว็บไซต์ที่ให้คุณสามารถค้นหาข่าวสารข้อมูล ด้วยหมวกหมู่ข่าวสารข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกันในปริมาณมาก ๆ คล้าย ๆ กับสมุดหน้าเหลืองซึ่งจะมีการสร้าง ดรรชนี มีการระบุหมวดหมู่อย่างชัดเจน ซึ่งจะช่วย ให้การค้นหาข้อมูลต่าง ๆ ตามหมวดหมู่นั้น ๆ ได้รับการเปรียบเทียบอ้างอิง เพื่อหาข้อเท็จจริงได้ในขณะที่เราค้นหาหมวดหมู่ เดียวกันให้เราเลือกที่จะหาข้อมูลได้ อย่างตรงประเด็นที่สุด (ลดระยะเวลาได้มากในการค้นหา) ประเภทที่ 3 META SEARCH ENGINE Meta Search Engine คือ Search Engine ที่ใช้หลักการในการค้นหาโดยอาศัย Meta Tag ในภาษา HTML ซึ่งมรการประกาศชุด คำสั่งต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ด้วยภาษา HTML นั้นเองเช่น ชื่อผู้พัฒนา คำค้นหา เจ้าของเว็บ หรือบล็อกคำอธิบาย เว็บหรือบล็อกอย่างย่อ

การใช้งาน Search Engines และดาวน์โหลด Search Engine แต่ละประเภทจะมีการทำงานที่คล้าย ๆ กันคือ การส่ง Web Crawler หรือ Spider ไปเก็บข้อมูลเว็บไซต์ต่าง ๆ เข้ามา เก็บไว้ในระบบ เพื่อจัดทำเป็นดัชนี (Index) การค้นหา และเมื่อผู้ใช้งานค้นหาข้อมูลผ่าน Search Engine ตัวโปรแกรม Search Engine ก็จะทำการประมวลผลด้วยอัลกอริทึมการจัดอันดับ (Ranking) และนำผลลัพธ์จากข้อมูลที่มีอยู่ออกมาแสดงให้ผู้ใช้งานได้เห็น การค้นหาแฟ้มข้อมูลโปรแกรม 1. โปรแกรมอาร์คี (Archie) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการค้นหาแฟ้มข้อมูลที่เราทราบชื่อ แต่ไม่ทราบตำแหน่ง ที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลว่าอยู่ ในเครื่องบริการใดๆ ในอินเตอร์เน็ต โดยโปรแกรมอาร์คีนั้นจะสร้างบัตรรายการแฟ้มไว้ใน ฐานข้อมูล ซึ่งหากเราต้องการค้นหา ตำแหน่งของแฟ้มข้อมูลก็เปิดโปรแกรมอาร์คีนี้ขึ้นมาล้วให้พิมพ์ชื่อแฟ้มข้อมูล ที่ต้องการลงไป โดยโปรแกรมอาร์คีจะตรวจค้นฐาน ข้อมูลให้ปรากฏชื่อแฟ้มและ รายชื่อเครื่องบริการที่เก็บแฟ้มนั้นขึ้นมา ซึ่งหลังจากทราบชื่อเครื่องบริการแล้วเราก็จะสามารถใช้ FTP ถ่ายโอนเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ของเราได้ 2. โปรแกรมโกเฟอร์ (Gopher) เป็นโปรแกรมค้นหาข้อมูล ซึ่งใช้บริการด้วยระบบเมนูโปรแกรมโกเฟอร์เป็นโปรแกรม ที่มีรายการ เลือก เพื่อช่วยเหลือผู้ใช้งานในการค้นหาข้อมูลการใช้งาน โปรแกรมนี้ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องทราบ รายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ เชื่อม โยงอยู่กับอินเตอร์เน็ตใด ๆ เลย เราแค่เพียงเลือกรายการที่ต้องการในรายการเลือก และกดปุ่ม <Enter> ซึ่งเมื่อมีข้อมูลแสดงขึ้นมา แล้ว เราก็สามารถอ่านข้อมูลนั้น และบันทึกเก็บไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ได้

การค้นหาแฟ้มข้อมูลโปรแกรม 3. โปรแกรม Veronica เป็นโปรแกรมค้นหาข้อมูลที่ได้รับการพัฒนามาจากโปรแกรมโกเฟอร์ โดยการค้นหาข้อมูล จะทำได้โดยไม่ต้องผ่าน ระบบเมนู เพียงแค่พิมพ์คำสำคัญ หรือ ให้ระบบได้ทำการค้นหาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ Keyword 4. โปรแกรมเวส (Wide Area Information Server-WAIS) เป็นโปรแกรมที่เป็นเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูล โดยทำการค้นหาจากเนื้อหา ของข้อมูล ซึ่งการใช้งานต้องระบุชื่อเรื่อง หรือชื่อของคำหลักที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของข้อมูล ที่ต้องการ ซึ่งโปรแกรมเวสจะช่วยค้นหาไป ยังแหล่งข้อมูลที่เชื่อมต่ออยู่ภายในอินเตอร์เน็ต 5. โปรแกรม Search Engines เป็นโปรแกรมค้นหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน โดยให้พิมพ์คำ หรือข้อความที่เป็น Keyword จากนั้นโปรแกรม Search Engines จะแสดงรายชื่อของแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องขึ้นมาให้เราได้เลือกคลิกที่รายชื่อของ แหล่งข้อมูลนั้น เพื่อเลือกข้อมูลที่ต้องการได้ ซึ่งการจัดการแหล่งข้อมูลเหล่านั้นโปรแกรม Search Engines จะจัดไว้เป็นเมนู โดยเริ่มจาก ข้อมูลในหมวดใหญ่ ๆ ไปจนถึงข้อมูลในหมวดย่อยๆ แบบสัมพัทธ์ (relative file)

โปรแกรม Search Engines Google (www.google.com) Bing (www.bing.com) Yahoo (www.yahoo.com) Baidu (www.baidu.com) Ask.com (www.ask.com) Wikipedia (www.wikipedia.org) Sanook (www.sanook.com)

ประโยชน์ของ Search Engines Search Engines มีประโยชน์ในการใช้สืบค้นข้อมูลที่ต้องการทราบได้อย่างสะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง สามารถใช้งานได้ตลอด เวลา รวมทั้งให้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความตรงการแก่ผู้สืบค้นข้อมูล ดังนั้นการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ใหม่ๆ ในในปัจจุบันจึงควรคำนึงถึงรูป แบบของเว็บไซต์ให้มีความเหมาะสมแก่ Search Engine ด้วยเช่นกัน (เรียกว่าการทำ SEO) เพื่อให้ผู้สืบค้นสามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้ ง่ายมากยิ่งขึ้น 1.ค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการได้ง่าย สะดวกและรวดเร็ว 2.ค้นหาข้อมูลได้อย่างละเอียด และหลากหลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่น ข่าว เพลง รูปภาพ และอื่นๆ เป็นต้น 3.ค้นหาข้อมูลได้จากเว็บไซต์เฉพาะทางต่างๆ ได้ เช่น เว็บไซต์เกี่ยวกับ ขาย Software หรือ เว็บไซต์รับทำการตลาดออนไลน์ เป็นต้น 4. ค้นหาข้อมูลได้อย่างหลากหลาย 5.รองรับการค้นหาได้หลายภาษา รวมทั้งภาษาไทย

Keyword คืออะไร Keyword (คีย์เวิร์ด) คือคำค้นหา หรือคำอธิบายสิ่งใดสิ่งหนึ่งสั้นๆ ที่กล่าวถึงสิ่งที่เรากำลังตามหาเพื่อสืบค้นราย ละเอียดข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตบนเว็บ Search Engine ตัวอย่างคำ Keyword ที่ใช้ค้นหากันในชีวิตประจำวัน ต้องการค้นหารถยนต์มือสอง คีย์เวิร์ดที่ใช้ในการค้นหา คือ รถมือสอง, ราคารถมือสอง, รถยนต์มือสอง, ฯลฯ มา เที่ยวต้องหาต้องการหาโรงแรมที่พัก คีย์เวิร์ดที่ใช้ในการค้นหา คือ Agoda, โรงแรม, ห้อพัก, หอพัก, ฯลฯ ต้องการ หาร้านอาหาร คีย์เวิร์ดที่ใช้ในการค้นหา คือ ร้านปิ้งย่าง, หมูกระทะ, ร้านก๋วยเตี๋ยว ฯลฯ ประเภทของ Keyword ในการค้นหา Niche Keyword : เป็นคำค้นหาเฉพาะเจาะจง เฉพาะกลุ่มซึ่งโดยปกติแล้วเรามักพบบ่อยในชื่อเรียกรุ่นแบรด์สินค้าต่างๆ เช่น Samsung Note 8 Widely Keyword : เป็นคำค้นหาสั้นๆ ที่มีเนื้อหาความหมายที่ค่อนข้างกว้าง และมีอัตราการค้นหาสืบค้นสูง เช่น บ้านใหม่ Mass Keywords : เป็นคำค้นหาสิ่งต่างๆที่มีความเกี่ยวข้องและสอดคล้องในกลุ่มคำเดียวกัน เช่น iPhone X Misspelling Keyword : เป็นคำค้นหาต่างๆ ที่มีการสะกดคล้างคลีงหรือที่ผิดเพี้ยนไปจากเดิม ทั้งแบบตั้งใจ และไม่ได้ตั้งใจ เช่น ทาญาติ

หลักการทำงานของ Search Engines 1. ใช้โปรแกรมรวบรวมเอกสารเว็บ (spider หรือ crawler) ขั้นแรกที่ Search engines ทำการสำรวจและตรวจสอบหน้าเว็บไซต์ต่างๆ จาก โดเมน แล้วติดตาม Links ที่พบภายในเว็บไซต์ทั้งหมด โดยการทำงานของโปรแกรมมีรูปแบบลักษณะโยงใย จึงเรียกโปรแกรมดังกล่าวว่า Spider หรือ Crawler ซึ่งหลังจากที่ Spider ทำการติดตาม Links และนำข้อมูลของเว็บไซต์เหล่านั้นไปเก็บไว้ในฐานข้อมูลของ Search Engine เรียบร้อยแล้ว Spider จะกลับไปทำการสำรวจและตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลในเว็บไซต์เหล่านั้น ทุก ๆ 2. จัดทำรายการดรรชนี เมื่อโปรแกรม Spider ทำการค้นพบข้อมูลต่างๆ แล้ว จะมีการนำข้อมูลเหล่านั้นไปทำสำเนา และส่งไปจัดเก็บยัง รายการดรรชนี ที่เรียกว่า index หรือ catalog ซึ่งเมื่อข้อมูลในเว็บไซต์หลักมีการเปลี่ยนแปลง จะส่งผลให้ข้อมูลภายในสมุดดรรชนี เปลี่ยนแปลงตามไปด้วยตามบัญชีดัชนีที่ถูกกำหนดไว้ 3. โปรแกรมสืบค้น โปรแกรมที่ใช้สำหรับทำการค้นหาข้อมูลต่างๆ จากฐานข้อมูลของ Search Engine โดยมีการทำงานเริ่มต้นจากการ รับคำค้นหาที่ถูกป้อนเข้ามาในโปรแกรม โดยผู้ใช้งานบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แล้วนำคำค้นหาไปจับคู่กับดรรชนีในฐานข้อมูล หลังจากนั้นจึง จะทำการดึงเอกสารจากเว็บไซต์นั้นๆ หรือดึงข้อมูลจากฐานออกมาประมวลผลลัพธ์ให้แก่ผู้สืบค้น ซึ่งจะมีการจัดลำดับผลการค้นหาตาม ระดับความเกี่ยวข้องของข้อมูล

เทคนิคเพิ่มเติมที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูลบน Search Engine 1.ใช้คำมากกว่า 1 คำที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกันช่วยค้นหา เพราะจะได้ผลลัพท์ที่มีขนาดแคบลงและชี้เฉพาะมากขึ้น (ย่อมจะดีกว่าหาคำ เดียวโดดๆ) 2.ใช้บริการของผู้ให้บริการเฉพาะด้าน เช่น การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องราวของภาพยนตร์ก็น่าที่จะเลือกใช้ Search Engine ที่ให้ บริการใกล้เคียงกับเรื่องพวกนี้ เพราะผลลัพท์ที่ได้จะเป็นที่น่าพอใจมากกว่า 3.ใส่เครื่องหมายคำพูด “ … ” ครอบคลุมกลุ่มคำที่ต้องการ เพื่อบอกกับ Search Engine ว่าเราต้องการผลการค้นหาที่มีคำในกลุ่ม นั้นครบและตรงตามลำดับที่เราพิมพ์ทุกคำ เช่น “free shareware” เป็นต้น 4.ใช้ * เป็นตัวร่วม เช่น ราคาพืช* เป็นการบอกให้หาคำที่มีคำว่า com ขึ้นหน้าส่วนด้านท้ายเป็น อะไรไม่สนใจ *พืช เป็นการให้หาคำที่ ลงท้ายด้วย พืช ด้านหน้าจะเป็นอะไรไม่สนใจ 5.หลีกเลี่ยงการใช้ตัวเลข พยายามเลี่ยงการใช้คำค้นหาที่เป็นคำเดี่ยวๆ หรือเป็นคำที่มีตัวเลขปน แต่ถ้าเลี่ยงไม่ได้ก็อย่าลืมใส่ เครื่องหมายคำพูด (” “) ลงไปด้วย เช่น “windows 98” 6.หลีกเลี่ยงภาษาพูด หลีกเลี่ยงคำประเภท Natural Language หรือเรียกง่ายๆ ว่าคำหรือข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค ควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มคำหรือวลี ที่มีความหมายรวมทั้งหมดไว้ 7.อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละเว็บ จะมี ปุ่ม help หรือ Sitemap ไว้คอยช่วยเหลือ แต่คนส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/sitemap จะมีประโยชน์มากในการอธิบาย option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์

Matching ของ Search Terms คำค้นหา = การตลาด ออนไลน์ : โดยปกติของการค้นหาข้อมูล ผู้สืบค้นส่วนมากมักจะทำการใส่ Search Term ด้วยคำหรือคีย์เวิร์ด ที่ต้องการค้นหาโดยตรง โดยไม่มีการระบุ Operator พิเศษไว้ ดังนั้นวิธีการ matching ที่ใช้คือ Google จะทำการประมวลผลลัพธ์ จากคำค้นหาที่มีคำทั้งสองรวมอยู่ โดยไม่คำนึงถึงลำดับก่อนหลังของคำนั้นๆ ได้แก่ คำว่า การตลาด และ ออนไลน์ มากกว่านั้น Google ยังจะทำการแสดงผลลัพธ์ของคำที่เป็นพหูพจน์ คำที่มีความหมายคล้ายกัน และไม่นับรวมคำสะกดผิด คำค้นหา = “การตลาด ออนไลน์” : การสืบค้นข้อมูลโดยการใส่ Double Quote (“…”) ให้กับคำที่ต้องการค้นหาลงไปใน Search Term จะทำให้ผู้สืบค้นได้ผลลัพธ์ที่ตรงกับความต้องการมากยิ่งขึ้น โดย Google จะใช้วิธีการ match คำทั้งสองเข้าด้วยกันแล้ว ประมวลผลออกมาเป็นข้อมูลของคำผสมที่ใช้ค้นหา รวมทั้งจะทำการนับรวมคำค้นหาที่ถูกวางไว้ข้างหน้าและข้างหลังของคีย์เวิร์ด ด้วย ตัวอย่างเช่น บริษัท รับทำ การตลาด ออนไลน์ เป็นต้น คำค้นหา = การตลาด +ออนไลน์ : การสืบค้นข้อมูลโดยการนำเครื่องหมาย + มาใช้สำหรับใส่คั่นระหว่างคำสองคำจะทำให้ Google ประมวลผลลัพธ์ออกมาเป็นข้อมูลของคำว่า การตลาด หรือ ออนไลน์ ซึ่งมีหลักการค้นหาคือ หากระบบค้นหาพบเพียงคำใดคำหนึ่ง คำนั้นจะถูก Matching เข้ากับสิ่งที่ระบุไว้ โดยส่วนมากวิธีการค้นหาข้อมูลในรูปแบบดังกล่าว จะถูกนำมาใช้สำหรับค้นหาคำที่มีความ หมายเดียวกัน แต่สามารถเขียนได้หลายแบบ หรือคำที่มักเขียนผิด ซึ่งคำเหล่านี้หากใช้วิธีการค้นหาแบบปกติ Matching ของ Google Trends จะไม่นับรวมไปประมวลผล

ใบงานบทที่ 4 เครื่องมือและการสืบค้นข้อมูล 1. จงอธิบายความหมายของ Search Engine เสิร์ชเอนจิน (Search Engine) หรือ โปรแกรมค้นหา คือ โปรแกรมที่ออกแบบมาเป็นเครื่องมือสํา หรับใช้ค้นหาข้อมูลซึ่งโปรแกรมที่ใช้ สํา หรับคนหาข้อมูลบนเว็บไซต์หรือ เว็บไซต์ที่ใช้สํา หรับค้นหาข้อมูลเราจะเรียกว่า Web Search Engine ( เว็บเสิร์ชเอนจิน ) 2. จงอธิบายลักษณะการทํา งานของ Search Engine Search Engine แต่ละประเภทจะมีการท างานที่คล้าย ๆ กันคือ การส่ง Web Crawler หรือ Spider ไปเก็บข้อมูลเว็บไซต์ต่าง ๆ เข้ามา เก็บไว้ในระบบเพื่อจัดทํา เป็นดัชนี (Index) การค้นหาและเมื่อผู้ใช้งานค้นหาข้อมูลผ่าน earch Engine ตัวโปรแกรม Search Engine ก็ จะทํา การประมวลผลด้วยอัลกอริทึมการจัดอันดับ (Ranking) และนํา ผลลัพธ์จากข้อมูลที่มีอยู่ออกมาแสดงให้ผู้ใช้งานได้เห็น 3. จงบอกเว็บไซต์ที่ให้บริการ Search Engine มา 5 เว็บไซต์ Google (www.google.com) Bing (www.bing.com) Yahoo (www.yahoo.com) Baidu (www.baidu.com) Ask.com(www.ask.com) 4. จงอธิบายขั้นตอนการค้นหาข้อมูลจากเว็บไซต์ต่าง ๆ ด้วย Google 5. จงอธิบายขั้นตอนการค้นหารูปภาพด้วย Google ทํา การเปิดเว็บไซต์ที่ให้บริการ http://www.google.co.th/ 4t23e...xกเพลtิดืมอbทพีกo่์ปุxห่kัมวeข“y้คอw้นทีo่หตr้าdอ”ง(ขก้อารคคว้นามใ)นททีี่่นตี้้จอะงเกลืาอรกสหืับวคข้้นอล“งเวใ็นบช”่อง 1. คไAป้nนทีdห่ rาGoรoiูdปoภgาleพรูปภาพในโทรศัพท์หรือแท็บเล็ต ตพ5้.อร้รงอะกมบาบรจแะลทํะาแกสาดรงค้อนอหกามเวา็บในไซรูตป์ทแี่บตบรงขกอับงลkิงeคy์word ที่ 2. 34..แแตตะะรู\"ปค้ภนาหพาภายในรูปภาพ\" ที่ด้านขวาบน