วนั มาฆบูชา ตรงกบั วนั ข้นึ ๑๕ คา่ เดอื น ๓ \"มาฆะ\" เป็นชอ่ื ของเดอื น ๓ มาฆบูชานน้ั ยอ่ มาจากคาวา่ \"มาฆบุรณมี\" แปลวา่ การบูชาพระใน วนั เพ็ญ เดอื น ๓ วนั มาฆบูชาจงึ ตรงกบั วนั ข้นึ ๑๕ คา่ เดอื น ๓ แตถ่ า้ ปีใดมีเดอื น อธกิ มาส คอื มเี ดอื น ๘ สองครง้ั วนั มาฆบูชาก็จะเลือ่ นไปเป็นวนั ข้นึ ๑๕ คา่ เดอื น ๔
เป็นวนั สาคญั วนั หนึ่ง ในวนั พุทธศาสนา คอื วนั ทมี่ ีการประชมุ สงั ฆสนั นิบาตครง้ั ใหญใ่ นพุทธศาสนา ทเ่ี รยี กวา่ \"จาตรุ งคสนั นบิ าต\" และเป็นวนั ทพ่ี ระสมั มาสมั พุทธเจา้ ไดท้ รงแสดงโอวาทปฎิโมกขแ์ ก่ พระสงฆส์ าวกเป็นครง้ั แรก ณ เวฬุวนั วหิ าร กรุงราชคฤห์ เพ่ือใหพ้ ระสงฆน์ าไปประพฤตปิ ฏิบตั ิ เพื่อจะยงั พระพุทธศาสนาใหเ้ จรญิ รุง่ เรอื งตอ่ ไป
โอวาทปาฏโิ มกข์ หลกั คาสอนสาคญั ของพระพุทธศาสนา หรอื คาสอนอนั เป็นหวั ใจของพระพุทธศาสนา ไดแ้ ก่ พระ พุทธพจน์ ๓ คาถากึ่ง ทพ่ี ระพุทธเจา้ ตรสั แก่พระอรหนั ต์ ๑,๒๕๐ รูป ผไู้ ปประชุมกนั โดยมไิ ดน้ ดั หมาย ณ พระเวฬุ วนาราม ในวนั เพ็ญเดอื น ๓ ทเี่ ราเรยี กกนั วา่ วนั มาฆบูชา (ถรรถกถากลา่ ววา่ พระพุทธเจา้ ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ น้ี แกท่ ป่ี ระชุมสงฆต์ ลอดมา เป็นเวลา ๒๐ พรรษา กอ่ นทจ่ี ะ โปรดใหส้ วดปาฏิโมกขอ์ ยา่ งปัจจบุ นั น้ีแทนตอ่ มา),
คาถา โอวาทปาฏโิ มกข์ มีดงั น้ี สพพฺ ปาปสสฺ อกรณกุสลสสฺ ูปสมปฺ ทา สจติ ตฺ ปรโิ ยทปนเอต พุทธาน สาสนฯ ขนตฺ ี ปรม ตโป ตีตกิ ขฺ า นิพพฺ าน ปรม วทนตฺ ิ พุทธฺ า น หิ ปพพฺ ชโิ ต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปร วเิ หฐยนโฺ ตฯ อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาตโิ มกเฺ ข จ สวโร มตตฺ ญญฺ ุตา จ ภตตฺ สมฺ ึ ปนตฺ ญจฺ สยนาสน อธิจติ เฺ ต จ อาโยโค เอต พุทธฺ าน สาสนฯ
แปล การไมท่ าความชวั่ ทงั้ ปวง, การบาเพ็ญแตค่ วามดี, การทาจติ ของตนใหผ้ อ่ งใส น้ีเป็นคาสอนของพระพุทธเจา้ ทง้ั หลาย ขนั ติ คอื ความอดกลนั้ เป็นตบะอยา่ งยิง่ , พระพุทธเจา้ ทง้ั หลายกลา่ ววา่ นิพพาน เป็นบรมธรรม, ผทู้ ารา้ ยคนอน่ื ไมช่ อ่ื วา่ เป็นบรรพชติ , ผูเ้ บียดเบียนคนอน่ื ไมช่ อื่ วา่ เป็นสมณะ การไมก่ ลา่ วรา้ ย, การไมท่ ารา้ ย, ความสารวมในปาฏิโมกข,์ ความเป็นผูร้ ูจ้ กั ประมาณในอาหาร, ทน่ี ง่ั นอนอนั สงดั , ความเพียรในอธิจติ น้ีเป็นคาสอนของพระพุทธเจา้ ทงั้ หลาย
คาวา่ \"จาตุรงคสนั นิบาต\" แยกศพั ทไ์ ดด้ งั น้ี คอื \"จาตรุ \" แปลวา่ ๔ \"องค\"์ แปลวา่ สว่ น \"สนั นิบาต\" แปลวา่ ประชุม ฉะนน้ั จาตุรงคสนั นิบาตจงึ หมายความวา่ \"การประชุมดว้ ยองค์ ๔\" กลา่ วคอื มีเหตุการณพ์ ิเศษทเี่ กิดข้นึ พรอ้ มกนั ในวนั น้ี
๑. เป็นวนั ท่ี พระสงฆส์ าวกของพระพุทธเจา้ จานวน ๑,๒๕๐ รูป มาประชมุ พรอ้ มกนั ที่ เวฬุวนั วหิ ารในกรุงราชคฤห์ โดยมไิ ดน้ ดั หมาย ๒. พระภิกษุสงฆเ์ หลา่ น้ีลว้ นเป็น \"เอหภิ ิกขุอปุ สมั ปทา\" คอื เป็นผูท้ ไ่ี ดร้ บั การอปุ สมบท โดยตรงจาก พระพุทธเจา้ ทงั้ ส้นิ ๓. พระภิกษุสงฆท์ กุ องคท์ ี่ไดม้ าประชุมในครง้ั น้ี ลว้ นแตเ่ ป็นผุไ้ ดบ้ รรลุพระอรหนั ตแ์ ลว้ ทกุ ๆองค์ ๔. เป็นวนั ทพี่ ระจนั ทรเ์ ต็มดวงกาลงั เสวยมาฆฤกษ
การปฎบิ ตั ิตนสาหรบั พุทธศาสนาในวนั น้ีก็คอื การทาบุญตกั บาตรในตอนเชา้ หรือไมก่ ็จดั หาอาหาร คาวหวานไปทาบุญฟังเทศนท์ วี่ ดั ตอนบา่ ยฟังพระแสดงพระธรรมเทศนา ในตอนกลางคนื จะพากนั นา ดอกไม้ ธูปเทยี น ไปทวี่ ดั เพื่อชุมนุมกนั ทาพิธีเวยี นเทยี นรอบพระอุโบสถพรอ้ มกบั พระภิกษุสงฆ์ โดย เจา้ อาวาสจะนาวา่ นะโม ๓ จบ จากนนั้ กลา่ วคาถวายดอกไมธ้ ูปเทยี น ทุกคนวา่ ตาม จบแลว้ เดนิ เวยี น ขวา ตลอดเวลาใหร้ ะลกึ ถึง พระพุทธคณุ พระธรรมคณุ พระสงั ฆคณุ จนครบ ๓ รอบ แลว้ นาดอกไม้ ธูปเทยี นไปปักบูชาตามทที่ างวดั เตรยี มไวเ้ ป็นอนั เสรจ็ พิธี
กจิ กรรมต่างๆ ท่ีควรปฏบิ ตั ใิ นวนั มาฆบชู า ๑. ทาบุญใสบ่ าตร ๒. ไปวดั เพ่ือปฏิบตั ธิ รรม และฟังพระธรรมเทศนา ๓. ไปเวยี นเทยี นทว่ี ดั ๔. ประดบั ธงชาตติ ามอาคารบา้ นเรอื นและสถานทร่ี าชการ
จดั ทาโดย นางสาวภิญญาพชั ญ์ เพตะกร ปวส.1/13 เลขท่ี 13
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: