Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปนิยม

ศิลปนิยม

Published by Roengrong Na Moengyong, 2021-01-23 05:07:50

Description: ศิลปนิยม

Search

Read the Text Version

ศิลปนยิ ม (Art Appreciation) ศิลปนิยม (Art Appreciation) เป็นความซาบซึ้งในงานศิลปะ งานศิลปะแบ่งตามยุคสมัยต่าง ๆ ให้ศึกษา ในแงข่ องคตนิ ิยม ความเช่อื สติปญั ญา ภมู ิปัญญา ดังน้ี - ศลิ ปนยิ มบง่ บอกสภาพเศรษฐกิจ สังคม และการเมอื ง - ศิลปนิยมสื่อให้เห็นถึงการถ่ายทอดความรู้ ความคิด จากคนยุคหนึ่งไปสู่คนอีกยุคหนึ่งอย่าง ต่อเนือ่ ง - ศิลปนิยมแสดงให้เหน็ ถงึ พฒั นาการ เอกลกั ษณ์ ซ่งึ เป็นคา่ นิยมของคนในสงั คมยคุ สมยั ตา่ งๆ ศลิ ปนิยมประกอบด้วยประเด็นสำคญั ๆ ดังนี้ - ศลิ ปนิยมเป็นแบบแผนของการคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์และแสดงออกอย่างชัดแจ้งหรอื แอบแฝง - ศิลปนิยมเป็นผลผลิตอันเกิดจากการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในสังคมที่มีความคิดและยึดถือกัน มา จนเปน็ ประเพณีและค่านิยมซ่งึ รวมอยู่ในความคดิ สร้างสรรค์นนั้ - ศิลปนิยมเป็นผลงานทมี่ นุษยส์ รา้ งข้ึนจนมคี วามผกู พันและมีอทิ ธิพลตอ่ การคดิ สรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะ การสร้างสรรค์งานศิลปะในปัจจุบันมีวิวัฒนาการและพัฒนาการก้าวไกลออกไปมาก ศิลปนิยมจึงเข้ามา เกยี่ วเน่ืองเปน็ องค์ความรู้ท่วี ่าดว้ ยการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ - การเสาะแสวงหาความหมาย ขอบข่ายความงามของศิลปะตามหลกั การของสนุ ทรยี ศาสตร์ - การสอ่ื การถา่ ยทอดสร้างสรรคง์ านศิลปะแขนงต่าง ๆ เพอ่ื ความรูค้ วามเข้าใจทัศนคติความเชื่อ ท่ถี กู ต้องตอ่ งานศลิ ปะร่วมกนั ภาพที่ 1 ผลงานศลิ ปะแตย่ ุคสมัย ทม่ี า : https://angelpayhq.org/artist-appreciation/

ความหมายและขอบขา่ ยของศิลปะ ความหมายของศิลปะ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2530 หมายถึง ผลแห่งความคิด สร้างสรรค์ ของมนุษย์ที่แสดงออกมาในรูปลักษณ์ต่าง ๆ ให้ปรากฏ ซึ่งสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความ สะเทือนอารมณ์ ความอัจฉริยภาพ พุทธิปัญญา ประสบการณ์ รสนิยม และทักษะของแต่ละคน เพื่อความพอใจ ความรื่นรมย์ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีหรือ ความเชื่อทางศาสนา นอกจากนั้นนักปรัชญาได้นิยาม ความหมายของศิลปะไว้ มากมาย ดังเช่น ศิลปะ คือ การถ่ายทอดความรู้สึก ศิลปะเป็นวิธีสื่อสารความรู้สึกระหว่างมนุษย์ด้วยกัน (เรโอ ตอลสตอย : Leo Tolstoi) ศิลปะ เกิดจากความเมาหรือความเพลิน ช่วยให้เราไดร้ ับความเพลิดเพลินในชีวติ ด้วยเหตนุ ้ี โลก ทน่ี า่ เกลียดจงึ เปล่ยี นแปลงไปเปน็ โลกท่ีนา่ รกั เพราะศลิ ปะ (ไดโอนซิ สุ : Dionisus) ศิลปะ ได้แก่ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ในเมื่อธรรมชาติไม่สามารถอำนวยให้ (หลวงวิจิตรวาทการ) ศลิ ปะ หมายถงึ งานอันเป็นความพากเพยี รของมนษุ ย์ ซงึ่ ต้องใชค้ วามพยายามด้วยมอื และด้วยความคิด ศลิ ปะ คือ การเลียนแบบธรรมชาติ ศิลปะ คือ การแสดงออกทางความงาม ศลิ ปะ คือ ภาษาชนดิ หน่ึง ศิลปะ คือ การรับรทู้ างการเหน็ ศิลปะ คือ การกระทำทุกอย่างที่มนุษย์ต้องการสร้างขึ้น เพื่อให้มีความงาม ความแปลก และมี ประโยชน์เท่าที่ความสามารถและแรงดลใจของมนุษย์จะแสดงให้ปรากฏได้ จากการนิยามความหมายดังกลา่ วพอ สรุปไดว้ ่า “ศลิ ปะ คือสิง่ ทมี่ นุษยส์ รา้ งสรรคข์ น้ึ เพ่อื ความงามและความพึงพอใจ” คุณสมบตั ิของคนทีม่ ีศลิ ปะ คนทมี่ ศี ลิ ปะในตวั ตนจำเป็นตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดงั ต่อไปน้ี 1. เป็นคนมีศรัทธา มีความเชื่อมั่น และตั้งใจมั่น ในสิ่งที่จะทำ ว่าเป็นสิ่งดีจริง มีประโยชน์จริง และจะตอ้ งทำใหส้ ำเรจ็ 2. เป็นคนไมข่ โี้ รค รู้จักระวงั ดแู ลรักษาสุขภาพของตนเอง 3. เปน็ คนถ่อมตน เพราะคนโอ้อวดไมม่ ใี ครอยากสอน ไมม่ ีใครอยากแนะนำ คนพวกนม้ี วั แต่อวด มวั แต่คยุ จนไม่มเี วลาฝกึ ฝมี ือตัวเอง 4. เป็นคนขยัน มคี วามมานะพากเพยี ร อดทน 5. เป็นคนมีปญั ญา รู้จักพินิจพจิ ารณาช่างสงั เกต

ขอ้ ดขี องการมศี ิลปะ ศิลปะนอกจากมีความผูกพันกับชีวิตของเราแล้ว ศิลปะยังมีส่วนผูกพันอย่างแนบแน่นกับหลักธรรม ทาง พระพุทธศาสนา ดังพุทธพจน์ บทหนึ่งที่กว่าไว้ว่า “ผู้มีศิลปะแม้เพียงอย่างเดียว ก็สามารถเลี้ยงชีพได้โดยง่าย ” การมศี ิลปะทัง้ ทเ่ี ปน็ พรสวรรค์ หรือพรแสวง ตามทไ่ี ดก้ ล่าวมาแล้ว จงึ เกิดผลดีกบั ผู้มี หรอื ฝกึ ฝนใหม้ ีศลิ ปะ โครงสรา้ งทัศนศลิ ป์ มนุษย์สามารถมองเห็นและสังเกตสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติด้วยตา มีสมองและจิตใจเป็นเครื่องมือในการ ตรวจสอบความเห็นจากภาพที่ปรากฎ การรับรู้ทางการเห็นจึงเป็นกระบวนการทางธรรมชาติของจักษุสัมผัสและ ประสบการณ์ของมนุษย์ต่อส่งิ เรา้ ภายนอก กอ่ ให้เกิดการรับร้ภู าพท่ีปรากฏในลกั ษณะตา่ ง ๆ กันไป อันมที ฤษฎีของ การเหน็ (Visual theory) ทส่ี ำคญั 4 ประการ คือ 1. การเห็นรูปและพื้น เป็นองค์ประกอบแรกที่มนุษย์มองเห็นภาพจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เมื่อเรามองเห็นวัตถุเราจะรับรู้พร้อม ๆ กันทั้งรูปและพื้น วัตถุเป็นรูปและบริเวณรอบ ๆ เป็นพื้น แต่ในบางกรณี เช่น เมื่อเราเห็นม้าลาย เราจะเห็นภาพรวม ๆ กันทั้งลายดำและลายขาว ไม่สามารถตอบได้ว่าม้าลายนั้นมีลายดำ หรือลายขาว เมื่อเรามองลายดำเป็นรูปและพื้นเป็นสีขาว เราก็เห็นลายดำ ในทางกลับกันเมื่อเราเห็นลายขาวเป็น รูป และพน้ื เป็นสีดำเราก็เหน็ ลายขาว เป็นตน้ การรับรู้ทางการเห็นจะมีปัญหาที่ดูได้หลายแง่ ขึ้นอยู่กับว่าเราจะเพ่งหรือให้ความสำคัญบริเวณ สว่ นใด แต่เร่อื งรูปและพน้ื ในส่วนของภาพเหมอื นจรงิ มักจะไมเ่ ปน็ ปัญหา เพราะวา่ รปู ของความเป็นจริงมกั จะแสดง ความเดน่ ชัดของตัวเอง 2. การเห็นแสงและเงา เป็นการรับรูห้ รือมองเหน็ เพราะมีแสงสวา่ งบริเวณท่ีวตั ถุนั้นตั้งอยู่ ถ้าไม่มี แสงสว่างก็จะไม่มีน้ำหนักของวัตถุ หรือถ้ามีแสงสว่างก็จะไม่มีน้ำหนักของวัตถุ หรือถ้ามีแสงสว่างเท่ากันเงาจะไม่ เกดิ ขน้ึ หรอื ถา้ มแี สงสว่างเทา่ กนั เงาจะไมเ่ กดิ ข้นึ คณุ คา่ (Value) ของแสงและเงามีอทิ ธิพลตอ่ รู)ร่างของวตั ถุ ขนาด ของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงไปตามคุณค่าของแสงและเงาวัตถุโปร่งแสงมีพืน้ ผวิ ขรขุ ระ ถ้าแสงส่องเป็นมุมตรงก็อาจจะ ทะลไุ ปทำใหด้ ูราบเรียบ แต่ ถ้าแสดงส่งเปน็ มมุ เอยี งก็จะแลเหน็ พื้นผิวนัน้ แลดูขรขุ ระ แสงและเงามีผลต่อความรู้สึกและการรับรู้ อิทธิพลของแสงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องศึกษาทั้งในด้าน ความงามจากธรรมชาติและการสร้างสรรค์งานศิลปะ เช่น สงบเงียบ นุ่มนวล เร้าใจ ตื่นเต้น ฯลฯ ถ้าเราเข้าใกล้ วตั ถุ กจ็ ะมองเหน็ ไดช้ ดั เหน็ ส่วนละเอยี ดมาก แตถ่ ้าอย่ไู กลกจ็ ะมองเห็นไมช่ ดั เจน และวัตถทุ ี่อยใู่ กลจ้ ะมีขนาดใหญ่ วัตถุที่อยู่ไกลจะมีขนาดเล็กเป็นสัดส่วนกัน ปัญหาเรื่องตำแหน่งและสัดส่วนที่เกี่ยวข้องกับความใกล้ไกล ความ ชัดเจนและความพรา่ มั่ว 4. การเหน็ ความเคลอ่ื นไหว เปน็ การรับรู้หรอื มองเห็นเพราะความเคลอ่ื นไหวของวัตถุ หรือเพราะ ตัวเราเคลื่อนไหวเอง ทำให้สามารถเข้าใจถึงการเคลื่อนที่ไปอย่างรวดเร็วเชื่องช้า ทิศทาง จังหวะ เป็นต้น องค์ประกอบส่วนนี้ถ้ามกี ารบันทึกเป็นภาพถ่าย รปู ทรง และจงั หวะลีลาของการเคล่อื นไหวของวัตถุไดช้ ัดเจนขน้ึ

ส่วนประกอบของการเห็น ส่วนประกอบของการเห็นหรือทัศนธาตเุ กี่ยวข้องกับการรับรู้ ทางการเหน็ ของมนุษย์ตั้งแต่เริ่มลืม ตา ดังนั้นถ้าเราจัดลำดับส่วนประกอบของการเห็นของมนุษย์ โดยเริ่มจากส่วนที่เป็นพื้นฐานที่สุดจะได้ 7 ส่วนคือ จุด (dot) เส้น (line) น้ำหนัก (tone) สี (Color) ผิว (texture) รูปร่าง (Shape) และรูปทรง (form) และที่ว่าง (space) ศลิ ปะยุคกอ่ นประวัติศาสตร์ (Pre-Historic) งานศิลปะได้เริ่มมีการสร้างกันมาตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ตั้งแต่ ยุคหินเก่าตอนปลาย ซึ่งอยู่ใน ช่วงเวลาประมาณ 30,000-10,000 ปีมาแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 15,000- 10,000 ปีมานั้น มนุษย์ได้เขียน ภาพสีและขูดขีดบนผนงั ถ้ำและเพิงผา เป็นภาพสัตว์ การล่าสัตว์และภาพลวดลายเรขาคณิต โดยมีจุดมุ่งหมายเพือ่ แสดงออกเก่ียวกับวถิ ชี วี ติ ประจำวนั และแสดงความสามารถในการลา่ สตั ว์ ภาพเหลา่ นีม้ กั ระบายด้วยถา่ นไม้ และสี ที่ผสมกับไขมันสัตว์ พบได้ทั่วไปในประเทศฝรั่งเศส และภาคเหนือของสเปนที่มีชื่อเสียงมากได้แก่ถ้ำลาสโกซ์ใน ฝรั่งเศส ถ้ำอัลตามิราในสเปนงานศิลปะในยุคเก่าไม่มีเพียงแต่การเขียนภาพเท่านั้น ยังมีการปั้นรูปด้วยดินเหนียว หรือแกะสลักบนกระดกู เขาสัตวแ์ ละงาชา้ งด้วยเร่ืองราวท่ีนิยมทำกันไดแ้ กเ่ รอื่ งการลา่ สตั วห์ รือบางกม็ รี ปู คน เป็นรูป สตรี ซงึ่ อาจมคี วามหมายถึง การให้กำเนดิ เป็นการเพมิ่ ความอุดมสมบูรณใ์ หก้ ับชนเผา่ ภาพท่ี 2 ถ้ำลาสโกซใ์ นฝรั่งเศส ที่มา : https://www.khanacademy.org

ยุคสมัยศลิ ปะกบั วิญญาณ ในยุคนี้มีความเชื่อในชีวิตในโลกหน้า การเกิดใหม่ เชื่อว่ามนุษย์ประกอบด้วย รางกาย และ วิญญาณ ยคุ ศิลปะกับวญิ ญาณ ประกอบดว้ ย ศิลปะอียีปติ (Egypt Art) ศิลปะเมโสโปเตเมยี (Mesopotemia Art) ศลิ ปะอยี ปิ ต์ (Egyptian Art) อียิปต์ (Egypt) เชื่อในเรื่องโลกหน้า สวรรค์ นรก และการกลับฟื้นคืนชีพมาใหม่ เชื่อว่าคนที่ตายไปแล้ว วิญญาณ (Ka) จะออกจากร่างไปให้สุริยเทพพิพากษา เมื่อหมดเวรกรรมแล้ววิญญาณจะกลับมาเข้าร่างเดิมใหม่ จึง เกิดประเพณีการรักษาศพ (Mummy) เพื่อรอรับวิญญาณ ฟาโรห์ เป็นตัวแทนของเทพเจ้าเชื่อในลัทธิวิญญาณ นิยม นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เทพสูงสุดคือรา (เร) เป็นสุริยเทพ รูปลักษณะของเทพเจ้า ส่วนใหญ่มีลักษณะผสม ระหวา่ งมนุษย์กบั สตั ว์ ภาพที่ 3 ภาพเขยี นพธิ กี รรมของชาวอียิปต์โบราณ ท่มี า : https://www.pinterest.com/pin/755127062498683583/ ศิลปะเมโสโปเตเมยี (Mmesopotamia Art) บริเวณที่เรียกว่าตะวันออกใกล้ (Near East) อียิปต์ อิสราเอล ซีเรีย อีรัก อิหร่าน ตุรกี ดินแดนส่วน ใหญ่เป็นทะเลทราย เหลือความอุดมสมบูรณ์ตามบริเวณลุ่มแม้น้ำ เช่น แม่น้ำไนล์ แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส (ซีเรีย - อิรัก) มีชนเผ่าต่าง ๆ อาศัยอยู่ตามเวลาแต่ละยุคสมัยอาณาจักรบาบิโลเนีย มีกษัตริย์ที่สามารถพระองค์ หนึ่ง คือ พระเจ้าฮัมมูราบิ ทรงตรากฎหมายใหม่ศิลปกรรม ส่วนใหญ่ก่อสร้างด้วยอิฐเผ่าไฟหรือดินผสมฟางตาก

แดดให้แห้งสถาปัตยกรรม เนื่องจากวัสดไุ ม่คงทนถาวร สันนิษฐานว่ามีแผนผังสี่เหลี่ยมและมีการใช้เสาและประตู โคง้ (Arch) เพอื่ รับนำ้ หนักจักรวรรดิอัสสิเรยี กษตั ริยส์ ำคญั คอื พระเจา้ อัสสรุ นะสิรปาล ภาพท่ี 4 Mesopotamian ทมี่ า : https://www.dw.com ยุคศลิ ปะกับความจรงิ และเหตุผล ศิลปะโรมัน (Roman Art) ศิลปะโรมันส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากกรีก ซึ่งมีองค์ประกอบที่ประณีต งดงาม แต่ศิลปะของโรมันเน้น ความใหญ่โตมโหฬาร มีความหรูหรา สง่างาม มั่นคงแข็งแรง สถาปัตยกรรมโรมันมีชือ่ เสียงมาก โรมันเป็นชาติแรก ที่คิดค้นสร้างคอนกรีตได้ สามารถใช้คอนกรีตหล่อขึ้นเป็นโครงสร้างรูปโดมช่วยทำให้การก่อสร้างอาคารมีขนาด ใหญ่ข้ึน สถาปัตยกรรมของโรมนั ทม่ี ีชื่อเสยี งได้แก่ วหิ ารแพนเธออน (Pantheon) โคลอสเซียม (Colosseum) เป็น สนามกีฬารปู กลมรขี นาดใหญ่มหึมาสามารถจคุ นดไู ด้ถึง 50,000 คน นอกจากงานสถาปตั ยกรรมดงั กลา่ วแล้ว ชาว โรมันยังสร้างสะพานโค้งข้ามแม่น้ำและส่งน้ำข้ามหุบเขาต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก สิ่งก่อสร้างที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ รู้จักกันทั่วโลก คือ ประตูชัย (Arch of Triumph) สร้างขึ้นเพื่อสรรเสริญ และฉลองชัยของทหารโรมัน โดยสร้าง เป็นประตูโค้งขนาดใหญ่สำหรับให้ทหารเดินทัพผ่านเมื่อออกสงครามหรือภายหลังได้รับชัยชนะ ประดับด้วยภาพ ประติมากรรมนูนสูงอย่างสง่างาม

ภาพท่ี 5 วิหารแพนเธออน (Pantheon) ทมี่ า : https://www.ancient.eu/Pantheon/ ภาพท่ี 6 Arch of Triumph ท่มี า : https://www.britannica.com/topic/Arc-de-Triomphe

งานประติมากรรมของโรมันมีไม่มาก ส่วนใหญ่ขนย้ายมาจากกรีก มีการสร้างสรรค์ขึน้ เองบ้างแต่เป็นสว่ น น้อยนอกนั้นทำเลียนแบบกรีกทั้งหมด ผลงานที่พบในกรุงโรมได้แก่ ภาพเลาคูนกับบุตรชายกำลังถูกงูกัด เป็น ผลงานที่นำมาจากกรีก นอกนั้นได้แก่ภาพประติมากรรมของบุคคลสำคัญในยุคนั้น เช่น รูปจูเลียสซีซาร์ รูป จักรพรรดอิ อกสั ตัส รูปจักรพรรดคิ าราคลั ลา รูปจกั รพรรดิเนโร เปน็ ตน้ งานจิตรกรรมของโรมัน มีการค้นพบภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังที่ยังอยู่ในสภาพดีมากมาย ส่วนใหญ่เป็น ภาพที่แสดงถึงเรื่องราวในชีวิตประจำวันของชาวโรมันนอกนั้นเป็นภาพในเทพนิยาย เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ ลักษณะของภาพยังมีความงามท่สี มบรู ณ์ เปน็ ภาพเขยี นสแี ละประดบั ดว้ ยหนิ สี (Mosaic) อย่างประณีต สวยงาม ภาพที่ 7 เลาคนู กับบุตรชายกำลงั ถกู งูกดั ทม่ี า : https://writer.dek-d.com

ศลิ ปะไบแซนไทน์ (Byzantine Art) ประมาณ ค.ศ. 455 ศิลปะไบแซนไทน์เป็นศิลปะที่มีลักษณะเช่ือมโยงความคิด และรูปแบบระหว่างตะวันตกกับตะวันออกเข้า ด้วยกัน มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติโนเปิล ศิลปะมีลักษณะใหญ่โต คงทนถาวร ประดับตกแต่งด้วยการใช้ พื้นผิว (Texture) อย่างหลากหลาย งานสถาปัตยกรรมที่โดดเด่นที่สุดของไบแซนไทน์ คือการทำหลังคาเป็นรูป กลม (Cupula) ต่างจากหลังคาของศิลปะโรมัน ที่ทำเป็นรูปโค้ง (Arch) หลังคากลมแบบไบแซนไทน์ ภายนอก เรียกว่าโดม (Dome) หลังคากลมช่วยให้สามารถสร้างอาคารได้ใหญ่โตมากขึ้น สิ่งก่อสร้างที่เป็นแบบฉบับของ ศลิ ปะดังกลา่ ว ได้แก่ โบสถเ์ ซนต์โซเฟีย ในกรงุ คอนสแตนตโิ นเปิล โบสถ์เซนตม์ าร์โค ทีเ่ มืองเวนสิ ประเทศอติ าลี ภาพที่ 8 ฮาเกีย โซเฟยี (Hagia Sophia) แห่งนครอสิ ตันบูล ประเทศตรุ กี ที่มา : https://travel.mthai.com/world-travel/65594.html ศิลปะโกธคิ ( Gothic ) ศิลปะโกทิคเป็นศิลปะที่เกิดในยุโรปช่วงระหว่างคริสต์ศตวรรษที่12-15 มีศูนย์กลางที่ฝรั่งเศส คำว่า” โกธคิ ” เร่ิมใช้ครั้งแรกโดยนกั วจิ ารณ์ศิลปะสมัยสมยั ฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนปลายของอติ าลี เรียกรปู แบบของศลิ ปะ ท่ี เกิดในยุโรปในช่วงเวลาดังกล่าวข้างต้น ที่เป็นผลงานของพวกกอท แฟรงก์ ลอมบาร์ค สลาฟ และแซกซัน ซึ่งต่าง เป็นชนเผ่าป่าเถื่อน ไร้ความเจริญทางศิลปวิทยาการ ประการสำคัญ เป็นชนเผ่าที่ทำลายจักรวรรดิโรมันและถึง พรอ้ มดา้ นศิลปวิทยาการ ศลิ ปะโกธคิ ( Gothic ) คริสตศ์ ตวรรษท่ี 12-15 ในประเทศฝรง่ั เศสเปน็ หลกั ลกั ษณะเดน่ ของสถาปัตยกรรมสมยั โกธิค คอื มลี ักษณะสงู ชลดู และส่วนทส่ี งู ทสี่ ุดของโบสถจ์ ะเป็นทต่ี ัง้ ของกางเขนอันศักดิ์สิทธิ์ เพ่ือจะเป็นทตี่ ิดต่อกบั พระเจ้าบนสรวงสวรรค์

ศิลปะในสมยั ฟ้นื ฟูศลิ ปะและวทิ ยาการ เป็นยุคสมยั ที่มีคุณค่าย่ิงตอ่ ววิ ฒั นาการทางจติ รกรรมของโลกคอื ความมอี สิ ระในการสร้างสรรค์ศิลปะของ มนุษย์ ความมีลักษณะเฉพาะตัวของศิลปิน กล้าที่จะคิดและแสดงออกตามแนวความคิดท่ีตนเองชอบและตอ้ งการ แสวงหา นับเป็นบันไดก้าวแรกท่ีจะนำทางไปสู่การสร้าง สรรค์งานจิตรกรรมสมัยใหม่ในเวลาต่อมา งานจิตรกรรม มีความตื่นตัวและเจริญก้าวหน้าทางเทคนิควิธีการเป็นอย่างมาก ได้มีการคิดค้นการเขียนภาพลายเส้นทัศนียภาพ ( Linear Perspective ) ซง่ึ นำไปส่กู ารเขียนภาพทวิ ทศั นท์ ี่งดงาม นอกจากน้ศี ลิ ปนิ ไดพ้ ยายามศึกษากายวภิ าคดว้ ย การผ่าตัดศพ พร้อมฝึกวาดเส้น สรีระและร่างกายมนุษย์อย่างละเอียด แสดงกระดูกและกล้ามเนื้อที่ ถูกตอ้ ง ความเจรญิ ก้าวหนา้ ในงานจิตรกรรมสีนำ้ มนั ประสบความสำเร็จอย่างสูงในยคุ นด้ี ว้ ย สถาปัตยกรรม ใช้โครงสร้งประตูและหลังคาโค้ง แผนผังเป็นแบบไม้กางเขน เพดานโค้ง โครงสร้างหลังคาแบบ กรอยด์ โวลท์(Groined) วัสดุอิฐ หิน ผนังหนา ช่วยรับน้ำหนักเมืองปิซา ใช้ประตูโค้งโรมันนิยมทำหอระฆัง หน้าต่างวงกลมประติมากรรม ภาพนูนต่ำนูนสูง ตกแต่งสถาปัตยกรรมรูปคนค่อนข้างยาว สูงชลูด ท่าทาง เคลอ่ื นไหว บดิ เอียงกาย ภาพท่ี 9 สำนักแหง่ เอเธนส์ ท่มี า : http://teachers.saschina.org/

ศิลปะบารอกและรอกโกโก (Baroque and Rococo Art) คำว่า Baroque และ Rococo ในปัจจุบัน หมายถึง สิ่งที่มีการตกแต่งประดับประดาด้วยเครื่องอลังการ วิจิตรพสิ ดารจนเกินงาม เปน็ ศลิ ปะตอนปลายสมัยฟน้ื ฟศู ลิ ปวิทยาเช่ือมต่อกับศิลปะยุคใหม่ ศิลปะแบบบารอกและ รอกโกโก เป็นลักษณะการจัดองค์ประกอบของศิลปะที่เน้นรายละเอียดส่วนย่อยอย่างฟุ่มเฟือย โดยเฉพาะการใช้ ส่วนโค้ง ส่วนเว้า งานจิตรกรรม และประติมากรรม ยังคงเน้นรูปร่าง รูปทรงธรรมชาติ (Realistic) แต่ใช้สีรุนแรง ขึ้น งานสถาปัตยกรรมประกอบด้วยเส้นโค้งมนตกแต่งโครงสร้างเดิม มีลวดลายอ่อนช้อย งดงาม อาคารที่ถือเป็น แบบฉบับของศิลปะบารอก และรอกโกโก ได้แก่ โบสถ์เซนต์แอกเนส (Church of St. Agnese) โบสถ์เซนต์คารโ์ ล (Church of St. Carlo) ทกี่ รุงโรม พระราชวงั แวร์ซาย (Versailes palace) ในประเทศฝรงั่ เศส โบสถ์ทว่ั ไปในยโุ รป ตอนเหนือ เชน่ ในประเทศเนเธอรแ์ ลนดแ์ ละประเทศเยอรมนี เป็นตน้ ภาพที่ 9 Church of St. Agnese ทม่ี า : https://th.tripadvisor.com

ภาพท่ี 10 Versailes palace ที่มา : https://www.britannica.com/topic/Palace-of-Versailles ศิลปะโรโคโค ( Rococo ) ค.ศ. 1700 – 1789เป็นผลงานศิลปะที่สะท้อนความโอ่อ่า หรูหราประดับประดาตกแต่งที่วิจิตร ละเอียดลออสง่ เสริมความรื่นเริง ยินดี ความรกั กามารมณ์ ศิลปะสมยั ใหม่ ( Modern Art ) ศิลปะจินตนิยม ( Romanticism ) ประมาณ ค.ศ.1800 - 1900 ก่อเกิดในอังกฤษและฝรั่งเศสช่วง ระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน มีทรรศนคติที่ต้องการความเป็นอิสระในการแสดงออกที่ศิลปินต้องการมากกว่าการเดิน ตามกฏเกณฑ์และแบบแผนทางศิลปะ ดังที่ศิลปินลัทธิคลาสสิกใหม่ยังยึดถืออยู่เป็นศิลปะที่เน้นอารมณ์อยู่เหนือ เหตุผล มุง่ สร้างสรรคง์ านท่ตี นื่ เตน้ เรา้ ใจ กอ่ ใหเ้ กิดอารมณส์ ะเทอื นใจแก่ผู้ชม ศิลปะลทั ธิสจั นิยม ศิลปะสัจนิยมเริ่มต้นขึ้นในฝรั่งเศสราวศตวรรษที่ 18 มีความหมายถึง งานศิลปะทุกแขนงที่มีความ “เหมือนจริง” สามารถเกิดขึ้นไดจ้ ริง หรือมีอยูจ่ ริง โดยทั่วไปแล้วศิลปนิ มกั สร้างสรรค์ผลงานเพื่อสะทอ้ นความจริง ในสงั คม ใชผ้ ลงานของพวกเขาบอกเล่าเรื่องราวตา่ งๆ ท่ีเกิดขึน้ ในสมยั น้ัน โดยเฉพาะเรือ่ งราวของชนช้ันกรรมาชีพ คนงาน หรอื ชาวบา้ นทั่วไป ไม่เนน้ เพียงเรือ่ งราวของศาสนา กษัตริย์ หรือชนชัน้ สงู เพียงอยา่ งเดยี วเหมอื นแต่กอ่ น

ภาพท่ี 11 “สวสั ดมี งซิเออรค์ รู เ์ บต์” โดย กุสตาฟ ครู เ์ บต์ ค.ศ. 1854 ทีม่ า : https://th.wikipedia.org ภาพท่ี 12 ภาพเหมอื นตนเองกับสนุ ัขดำ ค.ศ. 1842 ที่มา : https://th.wikipedia.org

ลทั ธโิ ฟวสิ ต์ (Fourism) ลทั ธนิ ี้ ศิลปินมีการสรา้ งผลงานทแี่ สดงถึงความปา่ เถื่อน ความรุนแรงของสงั คมมนษุ ย์ คนอยู่ในสภาวะเก็บ กด เลือกเอาสัตว์มาเป็นเรื่องราวในการเขียนรูป แสดงความรู้สึกของคนที่มีต่อสัตว์ มีความเอ็นดูสงสารสัตว์คำว่า “โฟวสิ ม์” Fauvist เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลว่า “สตั ว์ป่า” ลกั ษณะงานศลิ ปะแบบโฟวสิ ม์นี้ สร้างงานจิตรกรรมแนว ใหม่ ใช้รูปทรงอสิ ระ ใช้สีสดใสตดั กนั อย่างรุนแรง เนน้ การสร้างงานตามสญั ชาตญาณแห่งการแสดงออกอย่างเต็มท่ี ผลงานที่เกิดขึ้นจะแสดงให้เห็นถึงความสนุกสนาน อันเกิดจากลีลาของรอยแปรงและจังหวะของสิ่งต่าง ๆ นอกจากนี้ จะนำลีลาของเส้นมาใช้ใหม่ เช่น การตัดเส้นรอบนอกของสิ่งต่าง ๆ เพื่อสร้างความโดดเด่น ศิลปิน สําคัญ เช่น อัลแบร์ต มาร์เกต์ (Albert Marquet, ค.ศ. 1875-1947) อองรี มาตีสส์ (Henri Matisse, ค.ศ. 1869- 1954) เป็นต้น ภาพที่ 13 Still life with bottles and apples 1890-1894 ท่มี า : https://th.wikipedia.org

ภาพที่ 14 Tahitian Women on the Beach, (1891) ทมี่ า : https://th.wikipedia.org ลทั ธิเอก๊ ซเ์ พรสช่นั นิสม์ (Expressionism) ศิลปินมีการสร้างสรรค์ผลงานที่แสดงความรู้สึกต่างๆและความประทับใจในธรามชาติลงฉับพลัน ทั้ง ความรสู้ ึกรนุ แรง บา้ ระห่ำ เกลียดชัง ทารุณ ความเจบ็ ปวดทางร่างกาย ทรมาน นา่ เกลยี ดนา่ กลัว เป็นการมองโลก ในแง่ร้าย มีความเชื่อมั่น แสงสี การรับรโู้ ลกภายนอก ตอบสนองด้วยความรูส้ ึกของตนเอง ศลิ ปินทมี่ ชี ่ือเสยี ง เช่น รู โอล (Rioalt) โดคอซกา (Kokoschka) เดยี โก ริเวรา (Diego Rivera)และ บลมู (Blume) ภาพที่ 15 Murnau with Church ของ Wassily Kandinsky 1910 ทม่ี า : https://angiegroup.wordpress.com

ภาพท่ี 15 The Scream โดย Edvard Munch (1893) ที่มา : https://angiegroup.wordpress.com ภาพท่ี 16 The Fate of the Animals โดย Franz Marc, 1913 ท่มี า : https://angiegroup.wordpress.com

ลทั ธอิ ิมเพชรชั่นนิสม์ คำวา่ อิมเพชรช่นั นิสม์ รัฐ จันทรเ์ ดช (๒๕๒๒,๕๓) ได้ใหค้ วามหมายวา่ ความร้สู กึ ประทบั ใจของมนุษย์จาก สิ่งแวดล้อมที่เป็นสิ่งเร้าใจ คำนี้เพิ่งจะมีผู้ยอมรับและเห็นด้วยว่า มีความหมายแจ่มแจ้งก็ต่อเมื่อ มาเนท์ แสดง ผลงานกับพวก ๓๐ คน ครั้งแรกในปี ๑๘๔๗ โดยเฉพาะภาพเขียนของมาเนท์ ที่ชื่อว่า ดวงอาทิตย์ขึ้น ให้ ความหมายชัดเจนที่สุด วิวัฒนาการของทัศนศิลป์กลุ่มนี้ เนื่องจากเบื่อหน่ายต่อการเลียนแบบกรีกโรมัน และ กลุ่มเรียลิสม์ที่เขียนในสิ่งที่เหมือนจริง ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ทางจิตวิทยา จนการค้นคว้าเรื่องสี สำเร็จ จึงเป็นแรงบันดาลใจให้ศิลปินกลุ่มนี้ใช้สี และแสงเงาอย่างอิสระ ส่วนเรื่องราวนิยมวาด เกี่ยวกับมนุษย์กับ สิ่งแวดล้อมที่มองเห็นแล้วเกิดความประทับใจ ละทิ้งเรื่องราวทางศาสนาและนิยายโบราณ ศิลปินในลัทธินี้ริเร่ิม ออกไปวาดนอกสถานที่เพื่อให้เรื่องสี และแสงเงา ในขณะนั้นจึงเป็นจุดเริ่มต้นในแนวทางทัศนศิลป์สากลในเวลา ต่อมา สาเหตุการสรา้ งงานทศั นศิลปล์ ัทธอิ ิมเพรสชั่นนสิ ม์ 1. สนองจติ ใจของผสู้ รา้ งและผชู้ มในขณะนั้น 2.ความเชื่อเร่ืองความประทับใจ ต่อสงิ่ ที่ได้พบเหน็ จากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม สุนทรียภาพและรูปแบบงานจติ รกรรมลัทน่ั นิสม์ 1. แสดงรูปทรงธรรมชาตแิ ละเรขาคณิตธิอมิ เพรสช สี แสงเงา เสน้ และจดุ 2. เรอื่ งราวเกดิ จากความประทบั ใจในธรรมชาตลิ ะสิ่งแวดล้อมไมแ่ สดงเรอื่ งนยิ ายโบราณ และศาสนา ประจำชาติใดชาตหิ นึง่ 3. วาดภาพอย่างอสิ ระตามความรู้สึกของศิลปนิ ทีป่ ระทับใจในส่ิงท่ตี นเองเห็นและผชู้ มทวั่ ไป เข้าใจภาพได้ เพราะเป็นเร่ืองของสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี หมอื นๆ กัน 4. ใชแ้ สง เงา และสี อย่างจริงจงั เพราะวา่ นอกสถานท่ี 5. บางครั้งใช้ฝีแปลงหยาบๆ เป็นรอยแปลงให้แสงผสมกับสี มองดูใกล้และจะเป็นภาพไม่สวย ถ้ามองดู ไกล จะเหน็ รูปทรงและเร่ืองราวของภาพชดั เจน 6. ระยะหลังระบายสี ด้วยการขีดเป็นเส้น และจุดสีเล็กๆ แสดงแสงและเงาให้เกิดความรู้สึกตื่นเต้น หนา บางเกิดมติ ิ เรยี กวา่ กลุ่มโพสต์อมิ เพรสชนั่ นสิ ม์ 7. รูปแบบเปน็ รูปธรรมมีตัวตน สามารถมองเหน็ รูปทรงแต่ละประประเภทได้ ศลิ ปินท่มี ีช่ือ 1. มอเนท์ (Monet) ค.ศ. 1840 – 1962 ได้คลุกคลีอยู่กับมาเนท์ และภาพดวงอาทิตย์ของเขาก็เป็นอีก ภาพหนึ่งที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นภาพท่ีแสดงความรู้สึกประทับใจได้ดีในเรื่องสีแสงเงา ตรงกับความหวายของอมิ เพรสชั่นนิสม์มาก เพราะคำว่า Impressionism หมายถึง ความรู้สึกประทับใจของมนุษย์จากสิ่งแวดล้อมที่เป็นสิง่ เร้าใจ

ภาพที่ 17 \"ม้ือเทย่ี งบนสนามหญา้ \" ท่ีมา : https://th.wikipedia.org ภาพที่ 18 “Bäuerin” ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ที่มา : https://th.wikipedia.org

2.ปิซาโร (Pissaro) ค.ศ. 1830 – 1903 จิตรกรอาวุโสแสดงความประทับใจของภาพได้นุ่มนวลในแสงสี ชอบวาดถนนรอบ ๆ กรงุ ปารีส 3. ซิลล่ี (Sisley) ค.ศ. 1839 – 1899 จิตรกรที่วาดภาพแบบอิมเพรสชั่นนิสม์อย่างแท้จริงมากกว่ามาเนท์ และมอเนท์ ผลงานแสดงรอยแปรงที่รวดเร็วและแน่นนอน เต็มไปด้วยอารมณ์ของผู้สร้างในความประทับใจ 4. เดอกาส์ (Degas) ค.ศ. 1834 – 1917 จิตรกรผู้มีฐานะดีภาพแสดงความประทับใจในทันทีทันใดเก็บ ความละเอยี ดในภาพ เป็นจติ รกรฝมี ือสงู 5. เรอนัวร์ (Renoir) ค.ศ. 1814 – 1919 จิตรกรชาวฝรั่งเศสที่ชอบสนุก วาดภาพเกี่ยวกับผู้หญิงไว้มาก โดยถ่ายทอดความเปน็ ผู้หญงิ ไว้ในภาพ เชน่ มีความอาย ความนุ่มนวล ความหวาดกลัว และเป็นภาพวาดกลางแจ้ง ในสวนดอกไม้ อีกหลายภาพ ภาพที่ 19 Luncheon of the Boating Party, 1880–1881 ทม่ี า : https://th.wikipedia.org

ลัทธคิ ิวบสิ ม์ (Cubism) ลัทธินี้ ศิลปินต้องการแสดงถึงความยุ่งเหยิง ภาพส่วนใหญ่มีรูปทรงเรขาคณิต และ มักเป็นทรงสี่เหลี่ยม ลูกบาศก์ ศิลปินที่มีชื่อเสียงที่สดุ คือ ปิกาสโซ (Picasso) เขาเกิดท่ีสเปน แต่ย้ายมาอยูฝ่ ร่ังเศสในภายหลัง เขาชอบ วาดภาพแบบเซซานและโลเทรค นิยมใช้สีชมพูและสีฟ้าเป็นหลัก ต่อมาเขาเริ่มมีผลงานที่เป็นแนวคิวบิสม์เด่นชัด มากขึ้น เรม่ิ วาดภาพคน ชายหรือหญิงทตี่ วั ใหญ่ๆ มเี รอื นรา่ งผดิ ปกติ มีรปู ทรงแบบเรขาคณติ มตี า จมกู ปากสลับท่ี กัน ปิกาสโซได้รับการยกย่องว่าเป็นศิลปินที่ยิ่งใหญ่ และเป็นผู้บุกเบิกแนวศิลปะสมัยใหม่ได้อย่างยอดเยี่ยม ทัศนศิลปล์ ัทธิคิวบิสม์ (Cubism Visual Art) เป็นลทั ธทิ ่ีปฏิรปู ทัศนศิลป์ใหแ้ ตกต่างจากสิง่ ทเ่ี คยมีมา จากคำพูดของ เซซานที่ว่า ถ้าจะเข้าใจรูปทรงภายนอก จงมองรูปทรงเหล่านั้นเป็นเหลี่ยมเป็นลูกบาศก์ง่าย ๆ คำกล่าวและการ กระทำของเซซาน จงึ เปน็ แรงบันดาลใจให้เกิดสร้างสรรค์งานเก่ยี วกับรูปทรงใหม่ในกลุ่มน้ี ผู้ท่รี เิ ร่ิมนำแนวความคิด นีม้ าใช้ในงานจติ รกรรมอย่างจริงจัง คือ ปคิ ัสโซ (Picasso) และบรา๊ ค (Braque) สนุ ทรีภาพและรปู แบบงานจติ รกรรมลัทธิคิวบสิ ม์ ได้แก่ 1. สว่ นใหญเ่ ป็นรูปทรงเรขาคณิต 2. เป็นภาพทีเ่ กิดจากการตัดทอน 3. รปู ทรงสว่ นใหญเ่ ปน็ แบบเรขาคณิต เปน็ ลูกบาศก์ จงึ เป็นช่ือของคิวบิสม์ 4. แสดงเรอ่ื งราวของชวี ิตย่งุ เหยิงดว้ ย รปู ทรง สี และรปู ร่าง 5. แสดงมิติ ดว้ ยรปู ทรง ขนาด การซอ้ นกัน บงั กัน โปร่งใส คล้ายภาพเอกซเรย์ 6. รปู แบบกง่ึ นามธรรม คือ มตี วั ตนและไมม่ ตี ัวตนให้ชดั เจน สาเหตุการสรา้ งงานทัศนศลิ ปล์ ัทธคิ ิวบิสม์ คือ 1. ตอบสนองด้านจิตใจและอารมณ์ ของผู้สร้างและผู้ชมโดยเปิดโอกาสให้ผู้ชมคิดอย่างเสรีภาพและใช้ ปัณณาพนิ ิจพิจารณาด้วยตนเอ 2. เช่ือในสิ่งทเี่ ห็นทุกอย่างของรปู ทรงสามารถมองได้หลายๆดา้ นเป็นเหลยี่ มปรมิ าตร ศิลปินกลุ่มคิวบิสม์มีอยู่มากมาย แต่จะกล่าวเพียง 2 คน เพราะมีผลงานเป็นเครื่องยืนยันมากว่าผู้อ่ืน 1. ปิคัสโซ (Picasso) ค.ศ. 1881 – 1973 เป็นผู้นำกลุ่มชาวสเปนที่ได้แนวทางจากกลุ่มโพสต์อิมเพรสช่ัน นิสม์ จึงได้นำมาปรับปรุงตัดทอนจนได้แนวความคิดที่ว่า จงมองสิ่งต่าง ๆ ให้เป็นเหลี่ยมหรือลูกบาศก์ 2. บร๊าค (Braque) จิตรกรชาวฝรั่งเศส รู้จักปิคัสโซ ปี ค.ศ. 1908 และเริ่มต้นศิลปะในแนวทางเดียวกัน กบั ปิคัสโซ

ภาพที่ 19 The Weeping Woman 1937 By Pablo Picasso ทม่ี า : https://www.pinterest.com ภาพที่ 20 Pablo Picasso – Girl Before a Mirror ท่ีมา : https://www.pinterest.com

ลทั ธิอนาคตนิยม อนาคตนิยม ขบวนการปฏิวัติรูปแบบทางด้านศิลปะเริ่มขึ้นในประเทศอิตาลี ในค.ศ. 1909 โดย กวีมาริ เนตติ แถลงการณ์ของกล่มุ ตอ่ สาธารณะชน และหนึง่ ปตี ่อมาก็มี การแถลงแนวคิดและลงนามในช่ือ จิตรกรอนาคต นิยมคาร์โล คาร์รา (ค.ศ. 1881 – 1966) อุมแบร์โต บอชโชนี (ค.ศ. 1882 – 1916) ลุยจิ รอสโซโล (ค.ศ. 1885 – 1947) จาโคโม บัลลา (ค.ศ. 1871 – 1958) และ จีโน เซเวรีนี (ค.ศ. 1883 – 1966) ขบวนการอนาคตนิยมตอ่ ตา้ น แนวคิดดัง้ เดิมของศิลปะที่เคยมีมาก่อนแม้แต่ศิลปินในลัทธิบาศกนิยมซึ่งอยู่ในช่วงเวลานั้นในแง่ที่ว่าเป็นงานศลิ ปะ ที่มีคุณสมบัติหยุดนิ่งอยู่กับที่ ล้าสมัย แม้ว่าที่จริงแล้วศิลปะอนาคตนิยมจะมีความคล้ายคลึงกับบาศกนิยมก็ตาม ศิลปะอนาคตนิยมเต็มไปด้วยพลังที่กร้างแกร่ง แสดงออกถึงการเคลื่อนไหวทั้งในมิติแห่งเวลาและระนาบพื้นที่ จุดประสงค์นี้แสดงออกด้วยเส้นและพลัง ภาพของสัตว์ที่เคลื่อนไหวถ่ายทอดด้วยเส้นดูประหนึ่งว่ามีขาเป็นจำนวน มากมาย ใช้สีที่เข้มสดแจ่มจ้า แม้ว่าขบวนการที่จะค่อยๆสลายตัวลงหลังระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 แต่ก็เป็น ขบวนการด้านศิลปะท่ีมสี ว่ นสง่ อิทธิพลไปยังศลิ ปะแห่งคริสต์ศตวรรษท่ยี ่สี บิ ลทั ธอิ ื่นๆ เช่น คติดาดาและลัทธิเหนือ จริง คตวิ ัฏฏารมณ์ และบาศกนยิ ม เองกม็ ีสว่ นได้รบั อทิ ธิพลน้ี ภาพท่ี 21 The Yorck Project (พ.ศ. 2545) ทีม่ า : https://www.pinterest.com

ลทั ธฟิ ิวเจอรร์ สิ ม์ (Futurism) ลทั ธินม้ี ีความเช่อื ว่า ชวี ิตปจั จุบันเก่ียวขอ้ งกบั ความเรว็ เครอ่ื งจักร เครือ่ งทนุ่ แรงต่างๆ ศิลปินมักมีการวาด ภาพที่แสดงความเร็วของคนหรือสัตว์ เครื่องจักร โดยพยายามเน้นความหมายของอนาคตเป็นศิลปะที่เกิดขึ้นใน ประเทศอติ าลี โดยศลิ ปนิ ชาวอิตาเลยี น แนวคิดของศิลปะไมเ่ กี่ยวกบั เรือ่ งสตรีเพศ ไม่สนใจภาพเปลือย ความงามท่ี ถือว่าเป็นแนวทางการทํางานของลัทธินี้ คือ เรื่องของความเร็ว วิทยาศาสตร์ เทคนิควิชาการต่างๆ ศิลปินลัทธิ ฟิวเจอร์ริสม์นี้ ไม่เห็นด้วยกับความคิดเฟ้อฝัน หรือการหยุดนิ่งอยู่กับที่ จะมีแรงบันดาลใจเกี่ยวกับความงามจาก เครื่องไฟฟ้า รถยนต์ หรือเครื่องบิน นอกจากนี้ยังยึดหลัก 2 ประการ คือ ความเคลื่อนไหวของร่างกายในอวกาศ และความเคลื่อนไหวของวิญญานในร่างกาย หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นศิลปะที่ยึดเอาทฤษฎี เกี่ยวกับพลังความ เคลื่อนไหวทรี่ นุ แรง โดยไดแ้ สดงออกมาดว้ ยวิธีเขยี นภาพที่เต็มไปด้วยความเคลอ่ื นไหว ความอึกทกึ ครกึ โครม ความ สับสน อลหมา่ น ศิลปินที่สำคัญ เช่น คาร์โล คาร์รา (Carlo Carra, ค.ศ. 1881-1966) อุมแบร์โต บ็อคโชนี (Umberto Boccioni, ค.ศ. 1882-1916) จอิ าโคโม แบลลา (Giacomo Balla July 18, 1871 – March 1, 1958) เปน็ ต้น ภาพท่ี 22 \"Horse and Rider or Red Rider (Il cavaliere rosso)\", 1913 ทมี่ า : https://www.pinterest.com

ภาพที่ 23 Dynamism of a Dog on a Leash. C 1912. Oil on canvas ที่มา : https://www.pinterest.com ภาพท่ี 24 Unique Forms of Continuity in Space, 1913. ทีม่ า : https://www.pinterest.com

ศิลปะลทั ธิรูปทรงแนวใหม่ Neo-Plasticism ศิลปะลัทธิรูปทรงแนวใหม่ หรือ นีโอ-พลาสติซึสม์ เป็นศิลปะแบบนามธรรมของชาวดัทช์ ประเทศ เนเธอร์แลนด์ ซึ่งเริ่มต้นเมื่อปี ค.ศ.1920 โดยทั่วไปแล้วจะเรียกศิลปะกลุ่มนี้ว่า ศิลปะกระบวนแบบนิยม ซึ่งนำ ความหมายมาจากคำวา่ เดอ สไตล์ แต่มอนดริอัน ศิลปินผู้มีบทบาทนิยม ใช้คำว่า ศิลปะลัทธิรูปทรงใหม่ อันเป็น คำจากช่ือบทความของเขาทเ่ี ขยี น ในปี ค.ศ.1920 (วิรุณ ตง้ั เจริญ.2539:46) ศลิ ปะแบบดาดาอิสม์ (Dadaism) ศิลปินกลุ่มดาดามีแนวคิดและปฎิกริยาต่อต้านงานศิลปกรรมเก่าๆ ในอดีต มีแนวคิดว่า สิ่งเหล่านั้น เกิดจากการสร้างของศิลปินที่มีจิตใจคับแคบ ด้วยเหตุนี้ จึงต้องสร้างผลงานแนวใหม่ด้วยการหันเหไปสู่ความเป็น ปฏิปักษ์ต่อศิลปะแบบเก่า (Anti-Art) การแสดงออกของศิลปินกลุ่มนี้ จะเน้นการสร้างผลงานที่แสดงถึงการมอง โลกในแง่ร้าย รวมทั้งเน้นอารมณ์แดกดัน เยาะเย้ย ถากถาง (Irony and Cynicism) และนอกจากที่กล่าว มาแล้ว กลุ่มดาดายังเน้นการสร้างงานที่ผิดหลักความจริง แต่อย่างไรก็ตาม ลัทธิดาดาอิสม์ได้ให้แนวคิดหลาย ประการทม่ี คี ุณประโยชน์ต่อวงการศลิ ปะ เช่น แนวคิดทีว่ ่า ศิลปะไม่ควรยึดติดกบั หลักตรรกวิทยา และเม่อื ต้องการ ปลดปล่อยจิตไร้สำนึกต้องแสดงพฤติกรรมอย่างอิสระและอย่างเต็มที่ แม้ว่าจิตสํานึกจะมีแนวโน้มที่จะแสดง ออกแบบแปลกๆ ก็ตาม ภาพท่ี 25 Fountain ทมี่ า : https://www.pinterest.com

ภาพท่ี 26 L.H.O.O.Q ท่มี า : https://www.pinterest.com ศลิ ปะเหนือจริง Surrealism ลัทธิศิลปะเหนอื จริง เริ่มขึ้นตอนต้นของศตวรรษที่ 20 ในประเทศฝรั่งเศส มีรูปแบบรากฐาน มาจากกลุ่มดาด้า (Dada) โดยนักทฤษฎีหลักประจำกลุ่มก็คือ อองเดร เบรตง มีจุดหมายอยู่ ที่การคลี่คลายสภาพ อนั ขัดแยง้ ระหว่างระยะห่างของความฝันและความเปน็ จริง โดยถ่ายทอดออกมาในงานศิลปะด้วยวิธีต่างๆ กัน เช่น สร้างภาพซึ่งดูเหนือจริงหรือถึงขั้นหลอน หรือพัฒนาเทคนิคด้านภาพที่จะช่วยถ่ายทอดความฝันหรือจิตใต้สำนึก ออกมา งานของกลุ่มนี้จึงมักเกี่ยวข้องกับทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของซิกมันต์ ฟรอยด์ที่ว่า มนุษย์ทุกคนอยู่ภายใต้ อิทธิพลของจิตไร้สำนึก ซึ่งเราฝังความอยากอันมิได้ขัดเกลาเอาไว้ จนทำให้รู้สึกว่าความป่าเถื่อนยงั มิได้หายไปจาก มนษุ ย์ หากแตห่ ลบอย่ใู นส่วนลึกของจิตใจ

ภาพท่ี 26 Salvador Dalí: The Persistence of Memory ทมี่ า : https://www.pinterest.com ภาพท่ี 27 Salvador Dalì, The Temptation of Saint Anthony, 1946 ท่มี า : https://www.pinterest.com

ภาพที่ 28 Glenn Brown, You take My Place In This Showdown, 1993 ทม่ี า : https://www.pinterest.com ภาพท่ี 29 Rene Magritte, “The Son of Man,” 1964 ที่มา : https://www.pinterest.com

ศิลปะแสดงอารมณ์นามธรรม แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ เป็นกระแสศิลปะแรกในอเมริกาที่เกิดจากเหล่าศิลปินชาวยุโรปที่อพยพ มาสหรัฐอเมริกา พวกเขาเหล่านี้หนีภัยเผด็จการของพวกนาซีจากเยอรมนี แอ็บสแตรค เอ็กซ์เพรสชันนิสม์ คือผล จากการสังเคราะห์ศิลปะหลากหลายรูปแบบ ตั้งแต่งานแนว เอ็กซ์เพรสชั่นนิสม์ (Expressionism) โดย วินเซนต์ แวนโก๊ะ (Vincent van Gogh) งานนามธรรมโดย คานดินสกี้ งานที่เน้นสีสันในพื้นที่ใหญ่ๆ ของ อองรี มาติสส์ (Henri Matisse) ไปจนถึงงานที่เป็นรูปทรงอิสระแบบธรรมชาติ “ออแกนิค” (organic) และงานจากจิตไร้สำนึก ของพวก เซอร์เรียลลสิ ม์ อย่าง โจน มิโร (Joan Miro) มีเพียงงานแนวเรขาคณติ และแนวเหมือนจริงเท่านั้นที่ไมไ่ ด้ ถูกรวมเขา้ ไปในรปู แบบอนั หลากหลายของแอบ็ สแตรค เอ็กซเ์ พรสชันนสิ ม์ ภาพที่ 30 จิตรกรรมสำแดงพลังอารมณ์แนวนามธรรมของฟรานซ์ ไคลน์ ทม่ี า : https://www.pinterest.com

ภาพท่ี 31 กมั มนั ตจติ รกรรมของพอลล็อก ท่มี า : https://www.pinterest.com

ศลิ ปะลัทธปิ ระชานยิ ม Pop Art พ็อพ อาร์ต คืองานศิลปะของคนเมือง เป็นวัฒนธรรมเมืองโดยแท้ หากลองเปรียบเทียบ “เรื่อง” หรือ “หัวเรื่อง” ที่ศิลปินในโบราณชอบนำไปเขียนภาพ ศาสนา ตำนาน และประวัติศาสตร์คงเป็นหัวเรื่องยอดนิยมใน อดตี ในคริสต์คริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้น 20 ธรรมชาตแิ ละทวิ ทศั นค์ ือแรงบันดาลใจอันยง่ิ ใหญ่ เร่ืองราวเก่ียวกับ คนและวถิ ชี วี ติ ของคนก็เชน่ กนั จิตรกรกลุม่ อมิ เพรสชนั นิสม์ (Impressionism) เขียนภาพชวี ติ คนในเมือง ปกิ าสโซ (Picasso) และ มาติสส์ (Matisse) ต่างก็ทำเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติและคนมาตลอดชีวิต มีแต่ พ็อพ อาร์ต นี่ แหละที่มีวัฒนธรรมพ็อพในเมืองและสินค้าข้าวของต่างๆ เป็นแรงบันดาลใจ และเป็นครั้งแรกที่ศิลปินสนใจ แสดงออกถงึ ปรชั ญาของทุนนิยม บรโิ ภคนยิ มอยา่ งเอาจริงเอาจัง ภาพท่ี 31 เจมส์ โรเซนควสิ ต์ : ภาพการคดั เลอื กประธานาธบิ ดี (President Elect) ทีม่ า : https://www.pinterest.com

ภาพที่ 32 แอนดี้ วอรฮ์ อล : วนั ท่ี 5 เมษายน 2008 (April 5, 2008) ทม่ี า : https://www.pinterest.com ภาพท่ี 33 รอย ลิชเชนสไตน์ : ภาพศรีษะ (The Head) ทีม่ า : https://www.pinterest.com

ภาพท่ี 34 รอย ลชิ เชนสไตน์ : ในรถยนต.์ สแี มคนา, กรุงเอเดนสเบริ ์ก ทีม่ า : https://www.pinterest.com ศิลปะลัทธลิ วงตา Op Art จิตรกรรมแบบ อ็อพ อาร์ต (Op Art) จะเด่นมากในการสร้างภาพนามธรรมที่เน้นรูปทรงเรขาคณิต ที่มี ขอบและเส้นรอบนอกท่ีคมชัด ทิศทางของรูปทรงและเสน้ รอบนอกมักจะหักเห ยกั เย้อื ง ทำใหต้ าของเราเห็นว่ามัน เคลื่อนไหววูบวาบ โดยเฉพาะเมื่อเราจ้องมองมันนิ่งๆ สักพัก แล้วเหลือบสายตาให้เคลื่อนไปจากเดิมเล็กน้อย รูปทรงและเส้นที่ศิลปินวางไว้อย่างเหมาะเจาะจะทำปฏิกริยากับการมอง ทำให้เห็นว่ามันเคลื่อนไหววูบวาบนิดๆ หรือในบางกรณรี ปู ทรงที่จติ รกรสรา้ งขน้ึ จะดนู ูนสูงขึ้น เว้าต่ำลงหรอื ปดู ออกอย่างสมจรงิ ทั้งๆ ท่ีมันเป็นภาพแบนๆ เท่านั้น จุดสำคัญที่สุดของภาพแบบนี้คือ เป็นภาพที่มีผลต่อการมอง ทำให้เกิดการลวงตา ชื่อ อ็อพ อาร์ต (เป็นที่ นิยมในยุโรปและสหรัฐฯ) เป็นชื่อที่ย่อมาจากคำว่า อ็อพติเคิล อาร์ต (optical art) บางทีก็มีการเรียกว่า เรทินัล อาร์ต (retinal art) หรือ เพอร์เซ็ปชวล แอ็บสแตรคชัน (perceptual abstraction) หรือศิลปะที่เกี่ยวกับสายตา และการมองน่ันเอง

ภาพท่ี 35 Movement in Squares, บรดิ เจท็ ไรลยี 1์ 961 ทีม่ า : https://www.pinterest.com ภาพท่ี 36 vega-nor-1969 ที่มา : https://www.pinterest.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook