ค่มู อื ปฏบิ ตั งิ าน กล่มุ นเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา นายณรงค์ศักดิ์ สาลี ตำแหน่ง ศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18 ก สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คูม่ อื ปฏิบัติงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18
คำนำ พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 5 มาตรา 39 และพระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 และทีแ่ ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2553 มาตรา 8 มาตรา 34 วรรคสอง ไดก้ ำหนดให้มีการแบ่ง เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศ กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้มีสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จำนวน 183 เขต และ สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา จำนวน 42 เขต และได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการ แบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยแบ่งส่วนราชการภายใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ออกเป็น 8 กลุ่ม และออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบ่งส่วนราชการภายในสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา ออกเป็น 7 กลุ่ม สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานขึ้น เพื่อให้การปฏิบัติงานของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาเป็นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพ มกี ารพฒั นาระบบการปฏิบตั งิ านเพ่อื ยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน สำหรับ คมู่ ือปฏิบตั งิ าน กลมุ่ งานนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ฉบบั นี้ มรี ายละเอียดของกระบวนงานและคู่มือขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิงานตามภารกจิ ประจำกลุ่มงานตาม มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน กลุ่มงานนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา และภารกิจงาน ทีไ่ ดร้ ับมอบหมายจากนโยบาย ภารกจิ งานที่ได้รับมอบหมายตามจุดเน้นสำนักงาน/จุดเน้น สำนกั งาน เขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 18 ขอขอบคุณกลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา ตลอดจนผมู้ สี ่วนเกยี่ วข้องท่ี ทุกท่านท่ีมสี ว่ นรว่ มในการจดั ทำเอกสารเลม่ นี้ ใหส้ มบูรณ์ สามารถนำไปปฏิบัตงิ านได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ และเกดิ ประสทิ ธิผล ณรงคศ์ ักด์ิ สาลี กลุม่ งานนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 18 คู่มือปฏิบตั ิงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 ข
สารบัญ คำนำ หนา้ สารบญั ภารกิจงานประจำตามกลุ่มงานตามมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน 1 1 กลุ่มงานนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา 1 ภารกิจงานทไี่ ด้รับมอบหมายตามนโยบาย 1 ภารกิจงานที่ไดร้ ับมอบหมายตามจดุ เนน้ สำนักงาน/จุดเน้น สำนกั งานเขตพนื้ ที่ฯ ภารกิจงานปฏิบัตงิ านรว่ มกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนทเ่ี กี่ยวขอ้ งหรอื ที่ไดร้ บั 1 มอบหมาย 2 แนวคิด กลุ่มงานนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา 2 วัตถปุ ระสงค์ 2 ขอบข่ายภารกจิ 3 กรอบแนวทางการปฏิบตั งิ าน 4 งานนโยบายและโครงการทรี่ ับผิดชอบ 39 บรรณานกุ รม ภาคผนวก คำสง่ั แตง่ ตัง้ การปฏิบตั งิ าน คำสง่ั อืน่ ที่ได้รับมอบหมาย คมู่ อื ปฏิบัติงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 ค
ภารกจิ งานประจำตามกลมุ่ งาน ตามมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน กลมุ่ งานนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา 1. กลุ่มงานนิเทศติดตามและประเมนิ ผลระบบบริหารและจัดการศกึ ษา 2. หวั หน้ากลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3. หวั หนา้ โครงการท่เี กี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และโครงการพฒั นาคุณธรรม และจรยิ ธรรม(โครงการพฒั นาวชิ าหน้าท่ีพลเมอื งและค่านิยมหลัก 12 ประการ) 4. ปฏบิ ตั ิหน้าที่หัวหน้าโครงงานโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธ 5. ปฏบิ ัติหน้าท่ีงาน ประสาน ส่งเสริม สนบั สนุนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ภารกจิ งานท่ีไดร้ ับมอบหมายตามนโยบาย 1. รับผดิ ชอบหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ศกึ ษา วิชาเพ่ิมเตมิ “การป้องกนั การทจุ รติ ” 2. ปฏบิ ัติหนา้ ท่ี ประสาน สง่ เสริม สนับสนุน โครงการ Stem Education 3. รับผิดชอบโครงการโรงเรียนส่ิงแวดล้อมศึกษา 4. รับผดิ ชอบโครงการสหกรณโ์ รงเรียน 5. ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีโ่ ครงการลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ 6. รบั ผิดชอบโรงเรียนดีประจำตำบล 7. รับผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสุจริต คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 1
แนวคดิ กลุ่มงานนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา กลุ่มงานนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา เป็นกลมุ่ งานท่ีดำเนินการเกีย่ วกับ กระบวนการนิเทศ ตดิ ตาม ศกึ ษา คน้ คว้า วิเคราะห์ วิจัย และ ประเมินผลการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด ดำเนินไปอย่าง มีประสทิ ธิภาพ เกิดประสทิ ธิผลทุกภาคส่วนมีความพงึ พอใจ โดยยดึ การมีส่วนรว่ มของทุกฝา่ ย วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ เปน็ แนวทางในการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ของกล่มุ นเิ ทศตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา 2. เพ่อื เป็นคู่มือในการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ขอบขา่ ยภารกิจ กลุ่มงานนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา มธั ยมศึกษา เขต 18 มีขอบข่ายภาคกิจ ดงั น้ี 1. งานส่งเสรมิ และพฒั นาระบบการนิเทศและการจดั กระบวนการเรยี นรู้ 2. งานส่งเสรมิ สนับสนุนเครือขา่ ยการนิเทศของเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา สถานศึกษา หนว่ ยงานที่ เกีย่ วขอ้ งและชุมชน 3. งานนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา 4. งานศกึ ษาค้นคว้า วิเคราะห์ วจิ ยั การพฒั นาการนิเทศการบริหารและการจัดการศกึ ษา คู่มอื ปฏิบตั ิงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 2
กรอบแนวทางการปฏิบตั งิ าน กลุม่ งานนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมลิ ผลการจดั การศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 18 กลมุ่ งานนิเทศ ติดตาม งานสง่ เสรมิ และพัฒนาระบบการนิเทศและ และประเมินผลการจัด การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การศกึ ษา งานส่งเสรมิ สนับสนนุ เครอื ขา่ ยการนิเทศ ของเขตพื้นท่กี ารศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและชมุ ชน งานนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา คู่มือปฏบิ ัติงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 3
โครงการและงานนโยบายทร่ี ับผดิ ชอบ 1. โครงการ Stem Education 2. โครงการท่เี กี่ยวกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. โครงการโรงเรียนสจุ ริต 4. หลกั สูตรตา้ นทจุ รติ ศึกษา วิชาเพม่ิ เติม “การปอ้ งกันการทุจริต” 5. โครงงานโรงเรยี นวถิ พี ุทธ 6. โครงการโรงเรียนสิง่ แวดล้อมศึกษ คมู่ ือปฏบิ ตั ิงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 4
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา (STEM Education) คำว่า “สะเต็ม” หรือ “STEM” เป็นคำย่อจากภาษาอังกฤษของศาสตร์ 4 สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาศาสตร์ (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร์(Engineering) และ คณิตศาสตร์ (Mathematics) หมายถึงองค์ความรู้ วิชาการของศาสตร์ทั้งสี่ที่มีความเชื่อมโยงกันใน โลกของความเปน็ จริงที่ต้องอาศัยองคค์ วามรตู้ ่างๆ มาบูรณาการเข้าดว้ ยกันในการดำเนนิ ชีวิตและการ ทำงาน คำว่า STEM ถูกใช้ครั้งแรกโดยสถาบันวิทยาศาสตร์แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (the National Science Foundation: NSF) ซึ่งใช้คำนี้เพื่ออ้างถึงโครงการหรือโปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ตามสถาบันวิทยาศาสตร์แห่ง ประเทศสหรัฐอเมริกาไม่ได้ให้นิยามที่ชัดเจนของคำว่า STEM มีผลให้มีการใช้และให้ความหมายของ คำนี้แตกต่างกันไป (Hanover Research, 2011, p.5) เช่น มีการใช้คำว่า STEM ในการอ้างอิงถึง กลุ่มอาชีพท่ีมคี วามเก่ยี วขอ้ งกับวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ สะเต็มศึกษา คือ แนวทางการจัดการศึกษาที่บูรณาการความรู้ใน 4 สหวิทยาการ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรม เทคโนโลยี และคณิตศาสตร์ โดยเน้นการนำความรู้ไปใช้แก้ปญั หาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต และการทำงาน ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง 4 สหวิทยาการ กับชีวิตจริงและการทำงาน การจัดการ เรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นการจัดการเรยี นรู้ท่ีไม่เน้นเพยี งการท่องจำทฤษฎหี รือกฏทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ แต่เป็นการสร้างความเข้าใจทฤษฎีหรือกฏเหล่านั้นผ่านการปฏิบัติให้เห็นจริงควบคู่ กับการพัฒนาทักษะการคิด ตั้งคำถาม แก้ปัญหาและการหาข้อมูลและวิเคราะห์ข้อค้นพบใหม่ๆ พรอ้ มท้ังสามารถนำขอ้ ค้นพบน้นั ไปใช้หรือบรู ณาการกับชีวิตประจำวันได้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มมีลักษณะ 5 ประการได้แก่ (1) เป็นการสอนที่เน้น การบูรณาการ (2) ช่วยนักเรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างเนื้อหาวิชาทั้ง 4 กับชีวิตประจำวันและ การทำอาชพี (3) เนน้ การพฒั นาทักษะในศตวรรษที่ 21 (4) ท้าทายความคดิ ของนักเรยี น และ (5) เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น และความเข้าใจที่สอดคล้องกับเนื้อหาทั้ง 4 วิชา จุดประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา คือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรักและเห็นคุณค่า ของการเรียนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และเห็นว่าวิชาเหล่าน้ัน เป็นเรือ่ งใกลต้ ัวท่ีสามารถนำมาใชไ้ ดท้ ุกวนั สะเต็มศึกษา (STEM Education) เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่บูรณาการ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร์เข้าด้วยกัน ให้ผู้เรียนนำความรู้ไปใช้ แก้ปัญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหม่ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนิน ชีวิตและประกอบอาชีพ ผ่านประสบการณ์ในการทำกิจกรรมการเรียนรู้แบบบโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) หรือ กิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) หลักสตู รนจี้ งึ สรา้ งเพื่อให้ครผู สู้ อนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี และ ผสู้ นใจใฝ่รู้ ด้านสะเต็มศึกษา ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษาในโรงเรียน และสามารถ พัฒนากิจกรรมการเรยี นรูต้ ามแนวทางสะเต็มศกึ ษาเพิ่มขึน้ และมีความสอดคล้องกบั บริบทและอาชีพ ของทอ้ งถิ่นต่อไป คู่มือปฏบิ ตั ิงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 5
การจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการสอนแบบ STEM เป็นแนวทางการสอนที่กำลังถูก พูดถงึ กนั มากที่สุดในยุคน้ี STEM เป็นการบูรณาการ ระหว่าง วิชาวิทยาศาสตร์ (S) เทคโนโลยี (T) คณิตศาสตร์ (M) เพื่อพัฒนานวัตกรรมผ่านกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์ (E) โดยส่วนใหญ่จะบูรณาการท้ัง 4 วิชา ผ่านกระบวนการเรียนรู้ผ่านโครงงาน (Project-Based Learning) หรือ กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ ปญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) เปน็ เครอ่ื งมือในการจัดกระบวนการเรยี นของผู้เรียนใน การจัดกระบวนการเรยี นรคู้ วรคำนงึ ถงึ ลำดบั ขัน้ การเรยี นรขู้ องผู้เรยี นของบลูม คือ 1) การจำ 2) ความเข้าใจ 3) การประยุกต์ใช้ 4) การวิเคราะห์ 5) การประเมนิ ค่า 6) การสร้างสรรค์ โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนทง้ั หมดต้องสอดคล้องกับคุณลักษณะของผเู้ รียนใน ศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงเปน็ ทักษะที่สำคญั 3 ประการ คือ 1. ทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (Information Skill Media and Technology) 2. ทกั ษะการเรียนร้แู ละนวตั กรรม (Learning and Innovation Skills) 3. ทักษะชวี ติ และการทำงาน (Life and Career Skills) คู่มือปฏิบัติงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 6
แบบนิเทศ ติดตาม การจดั กิจกรรมการเรียนร้สู ะเต็มศึกษา (STEM Education) โรงเรยี น.................................................................สหวทิ ยาเขต.............................. แบบสัมภาษณส์ ำหรับครทู ร่ี ับผดิ ชอบกจิ กรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษา 1. โรงเรยี นมีการดำเนนิ งานเพ่อื ขับเคล่ือนโครงการสะเต็มศกึ ษาหรือไม่อยา่ งไรบ้าง ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .................................................................. 2. โรงเรยี นมคี รผู ู้สอนเขา้ รับการอบรมตามท่โี ครงการสะเตม็ ศกึ ษากำหนดหรือไม่ อบรมอยา่ งไร / ได้นำไปใช้ หรือไม่ อยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................................................. ................................................. 3. ท่านไดข้ ยายผลใหบ้ ุคลากรในโรงเรียนหรอื ไม่ กับใครบ้าง ................................................................................................................................. ............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................ 4. ทา่ นพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้สะเต็มศึกษาหรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... 5. ทา่ นพบวา่ มีอุปสรรคอะไรบ้าง อยา่ งไร และทา่ นแกป้ ญั หาอย่างไร ............................................................................................................................................... ............................... .................................................................................................... .......................................................................... 6. ท่านมขี ้อเสนอแนะต่อการดำเนินงานของโครงการสะเต็มศึกษาอย่างไรบา้ ง .................................................................................................................. ............................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................. ............................................. 7. ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18 7
แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการประเมนิ ความยั่งยนื ในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียน..........................................................สหวิทยาเขต.................................... ความย่ังยนื ในการขับเคล่ือนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รายการประเมิน ดำเนินการ ไมด่ ำเนินการ (บอกเหตุผลประกอบ) (บอกเหตผุ ลประกอบ) ด้านการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา 1. นโยบาย 2. วชิ าการ 3. งบประมาณ 4. บริหารท่ัวไป ด้านหลกั สูตรและการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. หน่วยการเรยี นรูห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารเรยี นรู้ 3. ส่อื และแหล่งเรียนรูเ้ กย่ี วกับหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4. การวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดา้ นการจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 1. การแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น 2. กิจกรรมนกั เรยี น 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ดา้ นการพัฒนาบคุ ลากรของสถานศึกษา 1. การพัฒนาบคุ ลากรตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. การติดตามและขยายผล ดา้ นผลลพั ธ์/ภาพความสำเร็จ 1. สถานศกึ ษา 2. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา 3. บุคลากรของสถานศึกษา 4. ผู้เรยี น คู่มอื ปฏิบตั ิงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 8
ระบกุ จิ กรรม/โครงการเดน่ ของโรงเรียน ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ...............................................................ผู้ใหม้ ูล (...................................................................) ตำแหน่ง.......................................................... คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 9
ขอ้ มูลสถานศึกษาพอเพยี งและสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 18 ที่ โรงเรียน ไดร้ บั การประเมิน สถานศกึ ษาพอเพยี ง ศนู ยการเรียนรฯู้ (ปกี ารศึกษา) (ปกี ารศึกษา) 1 ชลบุรี (สุขบท) 2556 2 ชลราษฎรอำรงุ 2559 3 ชลกันยานกุ ลู 2556 4 แสนสุข 2559 5 บา้ นสวน(จ่นั อนสุ รณ์) 2556 6 อา่ งศิลาพิทยาคม 2556 7 หนองรีมงคลสุขสวัสด์ิ 2556 สปล 2559 8 บา้ นบงึ (อุตสาหกรรมนเุ คราะห์) 2556 9 บา้ นบงึ (มนูญวทิ ยาคาร) 2556 10 วิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลยั ชลบรุ ี 2558 11 คลองกว่ิ ย่ิงวิทยา 2552 12 หนองใหญ่ศริ วิ รวาทวทิ ยา 2556 13 พานทองสภาชนูปถัมภ์ 2556 14 พานทอง 2552 15 พนัสพิทยาคาร 2557 16 ท่งุ เหียงพิทยาคม 2556 17 อุทกวทิ ยาคม 2557 18 บอ่ ทองวงษจ์ ันทร์วิทยา 2556 19 เกาะโพธ์ิถ้วยงามวิทยา 2556 20 เกาะจนั ทร์พทิ ยาคาร 2558 21 บางละมงุ 2555 22 โพธสิ มั พนั ธ์พิทยาคาร 2556 23 ผนิ แจ่มวิชาสอน 2558 24 ศรีราชา 2558 25 ทุ่งศขุ ลาพิทยา(กรุงไทยอนุเคราะห์) 2557 26 บึงศรีราชาพิทยาคม 2557 27 สุรศักดิ์วทิ ยาคม 2556 28 สวนกุหลาบวทิ ยาลยั ชลบุรี 2559 29 เกาะสีชัง 2557 30 สัตหบี วทิ ยาคม 2559 ค่มู ือปฏบิ ัติงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 10
ที่ โรงเรียน ไดร้ บั การประเมนิ สถานศึกษาพอเพยี ง ศูนยการเรียนรฯู้ (ปีการศึกษา) (ปีการศึกษา) 31 สงิ ห์สมุทร 2559 32 วัดปา่ ประดู่ 2556 33 ระยองวิทยาคม 2556 34 บา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา 2559 35 เพรกั ษมาตาวทิ ยา 2556 36 มาบตาพุดพันพทิ ยาคาร 2555 37 ระยองวทิ ยาคม นิคมอุตสาหกรรม 2556 38 ระยองวิทยาคมปากนำ้ 2559 39 เฉลิมพระเกียรตสิ มเดจ็ พระศรีนครนิ ทร์ ระยอง 2559 40 บา้ นค่าย 2556 สปล 2560 41 ปลวกแดงพิทยาคม 2556 42 นิคมวิทยา 2555 43 แกลง วิทยสถาวร 2556 44 วังจันทรว์ ทิ ยา 2555 ศรร 2559 45 เขาชะเมาวิทยา 2556 46 ชำนาญสามคั คีวิทยา 2556 47 ชำฆ้อพิทยาคม 2550 สปล 2560 48 สนุ ทรภู่พทิ ยา 2557 49 หว้ ยยางศึกษา 2555 50 มกุฎเมอื งราชวิทยาลยั 2552 การนิเทศติดตามโรงเรียนในโครงการโรงเรยี นสุจริต ตามนโยบาย สพฐ. 11 คมู่ ือปฏบิ ัติงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18
โครงการ “โรงเรยี นสุจริต” มีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสรา้ งเจตคติให้บคุ ลากรในโรงเรยี นแกนนำ โรงเรียนเครอื ข่าย รวมทั้งบคุ ลากรเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา ได้ตระหนัก รเู้ ข้าใจและคิดอยา่ งมีเหตุผลซมึ ซับคณุ คา่ ของความดี สร้างความรู้สึกผิดชอบชัว่ ดี ภูมิใจในการทำความดี และพัฒนาเป็นชมุ ชนองค์กรแห่งการป้องกัน ทุจริต รวมท้งั แสวงหาความร่วมมอื จากหนว่ ยงานอนื่ โดยการเรียนรู้ แลกเปลีย่ นประสบการณก์ ารพัฒนา กระบวนการสรา้ งเด็กดี ตามคุณลักษณะโรงเรียนสุจรติ 5 ประการ ได้แก่ 1.มที ักษะกระบวนการคิด 2.มี ความซ่ือสตั ย์สจุ ริต 3.มวี ินยั 4. อยู่อยา่ งพอเพยี ง และ 5. มีจิตสาธารณะ ซึ่งโรงเรียนสุจริตมุง่ ปลูกฝังให้ นกั เรยี นมีจติ สุจรติ คิดถกู ทาง สร้างชาติไทย พ้นภยั โกง โรงเรียนสจุ รติ กำหนดใหม้ ีการกล่าวคำปฏญิ ญา ซงึ่ ขน้ึ อยู่กับโรงเรยี นว่าจะกำหนดกลา่ วคำปฏิญญา ในชว่ งวัน เวลาใด คำปฏญิ ญาโรงเรียนสจุ ริต คณะครู บคุ ลากรทางการศึกษาและนักเรียน ของโรงเรียน ................................................... ขอให้คำมน่ั สัญญาตอ่ พันธกรณีในการต่อต้านการทจุ รติ ทุกรูปแบบ ด้วยการขบั เคลื่อนโครงการ “โรงเรียน สุจรติ ” ดงั น้ี 1. เราจะร่วมกนั ปอ้ งกนั และต่อต้านการทุจรติ ทุกรูปแบบ 2. เราจะปลกู ฝงั ค่านิยมความซ่ือสัตย์สจุ รติ ระหว่างโรงเรยี นและชุมชน 3. เราจะสร้างเครือขา่ ยความซื่อสัตยส์ ุจริตระหว่างโรงเรยี นและชุมชนใหเ้ ป็นรูปธรรมและมีความ ย่งั ยนื ทั้งหมดน้ีเพอ่ื ธำรงชาติไทยใหส้ ถติ เสถยี รสถาพรตลอดจิรัฐตกิ าล ข้อมูลสารสนเทศของสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 ณ วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2562 1. นกั เรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 จำนวน 77,479 คน 2. ครู ผบู้ รหิ าร บุคลากรทางการศกึ ษา ในสงั กัด จำนวน 2,105 คน 3. สถานศกึ ษาในสังกดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 18 จำนวน 50 โรงเรยี น ประกอบด้วย 1) โรงเรียนสุจรติ ตน้ แบบ จำนวน 1 โรง 1. โรงเรยี นสุรศกั ดวิ์ ิทยาคม 2) เครอื ขา่ ยโรงเรียนสุจริต รอ้ ยละ 10 จำนวน 5 โรง 1. โรงเรียนอ่างศลิ าพทิ ยาคม 2. โรงเรยี นนิคมวทิ ยา 3. โรงเรยี นบา้ นบึง มนญู พิทยาคาร 4. โรงเรียนแกลง วทิ ยสถาวร 5. โรงเรยี นวงั จันทร์วิทยา 3) เครอื ขา่ ยโรงเรียนสุจริต รอ้ ยละ 20 จำนวน 9 โรง 1. โรงเรยี นบ้านคา่ ย 2. โรงเรยี นห้วยยางศึกษา 3. โรงเรียนวิทยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย 4. โรงเรยี นสนุ ทรภ่พู ทิ ยา 5. โรงเรียนสวนกุหลาบวทิ ยาลยั ชลบุรี 6. โรงเรยี นเขาชะเมาวิทยา 7. โรงเรยี นชำฆอ้ พิทยาคม คมู่ ือปฏิบตั ิงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 12
8. โรงเรยี นคลองกิว่ ยง่ิ วิทยา จำนวน 15 โรง 9. โรงเรียนบา้ นสวน จัน่ อนุสรณ์ จำนวน 20 โรง 4) เครอื ข่ายโรงเรยี นสจุ ริต ร้อยละ 30 1. โรงเรยี นพานทองสภาชนปู ถัมภ์ 2. โรงเรียนระยองวทิ ยาคม ปากน้ำ 3. โรงเรยี นหนองใหญศ่ ิรวิ รวาทวทิ ยา 4. โรงเรยี นเกาะสีชัง 5. โรงเรยี นเกาะจนั ทร์พทิ ยาคาร 6. โรงเรยี นเกาะโพธถ์ิ ว้ ยงามวทิ ยา 7. โรงเรียนเฉลมิ พระเกียรติฯ 8. โรงเรยี นบางละมุง 9. โรงเรยี นพนสั พิทยาคาร 10. โรงเรยี นชลกันยานกุ ูล 11. โรงเรยี นบา้ นฉางกาญจนกลุ วทิ ยา 12. โรงเรียนศรีราชา 13. โรงเรยี นพานทอง 14. โรงเรยี นชลบุรี “ สุขบท ” 15. โรงเรยี นมาบตาพุดพนั พิทยาคาร 5) เครอื ข่ายโรงเรียนสจุ รติ ร้อยละ 40 1. โรงเรยี นเพรกั ษมาตาวิทยา 2. โรงเรยี นอุทกวทิ ยา 3. โรงเรยี นท่งุ เหยี งพทิ ยาคม 4. โรงเรยี นชำนาญสามัคคีวทิ ยา 5. โรงเรยี นสัตหบี วทิ ยาคม 6. โรงเรยี นทงุ่ ศุขลา 7. โรงเรยี นบ่อทองวงษ์จนั ทร์วิทยา 8. โรงเรียนบา้ นบงึ อตุ สาหกรรมนเุ คราะห์ 9. โรงเรยี นสงิ ห์สมทุ ร 10. โรงเรียนผินแจม่ วชิ าสอน 11. โรงเรยี นระยองวิทยาคม นคิ มฯ 12. โรงเรียนแสนสขุ 13. โรงเรียนหนองรีมงคลสุขสวัสดิ์ 14. โรงเรยี นชลราษฎรอำรุง 15. โรงเรียนระยองวิทยาคม 16. โรงเรยี นวดั ป่าประดู่ 17. โรงเรยี นมกุฎเมืองราชวทิ ยาลยั 18. โรงเรยี นโพธสิ ัมพนั ธ์วทิ ยาคาร 19. โรงเรยี นบงึ ศรรี าชา คูม่ ือปฏบิ ัติงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 13
20. โรงเรยี นปลวกแดงพิทยาคม 21. โรงเรยี นสตั หีบวิทยาคม นอกจากนี้ สพม.18 มีโรงเรียนในโครงการวิจัยนวัตกรรมโรงเรยี นสุจรติ 15 โรงเรียน ได้แก่ 1.บ่อ ทองวงั จนั ทรว์ ทิ ยา 2. สวนกุหลาบวิทยาลัย ชลบุรี 3. โรงเรียนแกลงวทิ ยสถาวร โครงการ “โรงเรียนสจุ รติ ” มวี ัตถปุ ระสงค์ เพื่อเสริมสร้างเจตคติให้บุคลากรในโรงเรยี นแกนนำ โรงเรียนเครอื ข่าย รวมทั้งบุคลากรเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ไดต้ ระหนกั ร้เู ขา้ ใจและคิดอยา่ งมีเหตุผลซึมซบั คณุ ค่า ของความดี สรา้ งความรู้สกึ ผิดชอบชั่วดี ภมู ใิ จในการทำความดี และพัฒนาเปน็ ชมุ ชนองค์กรแหง่ การป้องกัน ทุจริต รวมทง้ั แสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงานอ่ืนโดยการเรียนรู้ แลกเปลย่ี นประสบการณ์การพฒั นา กระบวนการสร้างเดก็ ดี ตามคุณลกั ษณะโรงเรยี นสจุ ริต 5 ประการ ได้แก่ 1.มที ักษะกระบวนการคดิ 2.มี ความซื่อสัตยส์ ุจรติ 3. มีวนิ ยั 4. อยอู่ ยา่ งพอเพียง และ 5. มจี ิตสาธารณะ ซ่ึงโรงเรยี นสุจรติ มงุ่ ปลูกฝังให้ นักเรยี นมจี ติ สุจรติ คดิ ถกู ทาง สรา้ งชาตไิ ทย พ้นภัยโกง แบบนเิ ทศ และรายงานผลการดำเนนิ งาน โรงเรียนสุจริต 14 ค่มู อื ปฏิบัติงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18
โรงเรยี น.............................................................................. สหวิทยาเขต..................................... รายการดำเนนิ งานของ ที่ โรงเรยี นสุจริต ผลการดำเนนิ งาน เอกสารอา้ งองิ (ตามบทบาทหนา้ ที่ ของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย) 1 การกำหนดมาตรการและ ............................................................................................. แนวทางการดำเนนิ การ ............................................................................................. สง่ เสริมปอ้ งกนั และพฒั นา ............................................................................................. ตามคณุ ลักษณะของโรงเรยี น ............................................................................................. สจุ รติ ............................................................................................. 2 การปฏิบัตติ นเปน็ แบบอยา่ ง ............................................................................................. ทด่ี ี ตาม คณุ ลักษณะของ ............................................................................................. โรงเรียนสุจริต (กระบวนการ ............................................................................................. คดิ ความซ้ือสตั ยส์ ุจรติ มี ............................................................................................. วนิ ัย อย่อู ยา่ งพอเพยี ง ............................................................................................. และมจี ิตสาธารณะ) 3 การสอดส่องดูแลพฤติกรรม ............................................................................................. ของนักเรยี นทไี่ มพ่ งึ ประสงค์ ............................................................................................. ตามคณุ ลักษณะของโรงเรยี น ...................................................................................... ....... สจุ ริต ในการดำเนนิ กจิ กรรม ............................................................................................. เพอื่ ป้องกนั การทจุ ริตตอ่ ............................................................................................. โรงเรยี นและชมุ ชน 4 การเปน็ ผู้นำในการสร้าง ............................................................................................. เครือข่ายคุณลักษณะ ............................................................................................. ของโรงเรยี นสจุ ริต ............................................................................................. ในการดำเนนิ การจดั กิจกรม ............................................................................................. เพอื่ ป้องกันการทุจริต ............................................................................................. ตอ่ โรงเรยี นและชุมชน 5 การประสานความรว่ มมือ ............................................................................................. ในการปฏิบัติงานระหว่าง ............................................................................................. นักเรียน โรงเรยี น ชมุ ชน ............................................................................................. และหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง ............................................................................................. ............................................................................................. คมู่ ือปฏบิ ัติงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 15
รายการดำเนนิ งานของ ที่ โรงเรียนสุจรติ ผลการดำเนินงาน เอกสารอ้างองิ (ตามบทบาทหน้าที่ ของ คณะกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. น้อย) 6 การสรรหา / คดั สรร ............................................................................................. ผู้ประพฤติตนเปน็ แบบอย่าง ............................................................................................. ทดี่ ตี ามคุณลกั ษณะ ............................................................................................. ของโรงเรียนสจุ รติ ............................................................................................. 7 การประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรม ............................................................................................. โรงเรียนสุจริต ............................................................................................. ในการปอ้ งกัน ............................................................................................. และต่อต้าน ............................................................................................. การทจุ รติ 8 การจัดทำรายงานผล ............................................................................................. การปฏบิ ัติงาน ............................................................................................. ต่อโรงเรียน ............................................................................................. ............................................................................................. 9 การปฏิบตั ิงานอืน่ ๆ ............................................................................................. ตามท่ีได้รับ มอบหมาย ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. 10 โรงเรียนจัดบูรณาการ ............................................................................................. หลกั สตู รโรงเรยี นสจุ รติ ............................................................................................. (กระบวนการคิด ............................................................................................. ความซ่อื สัตยส์ ุจริต มีวินัย อยู่ ............................................................................................. อยา่ งพอเพียง และมจี ติ สาธารณะ) สกู่ ารเรยี น การสอน หมายเหตุ แบบนเิ ทศ และรายงานน้ี เมอ่ื ดำเนินการแล้วใหร้ วบรวม รอ่ งรอย หลักฐาน และจดั สง่ ไปที กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา สพม.18 ภายในวนั ที่ ...................... คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 16
การนำหลกั สตู รต้านทุจริตไปปรับใช้ในการจัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้มีคำสั่ง ที่ ศธ 04008/ว918 ลงวันที่ 5 เมษายน 2562 เรื่องการนำหลักสูตรต้านทุจริตไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา นำไปใช้ในการ เรียนการสอนให้กับนักเรียน นักศึกษาในทุกระดับชั้นเรียน ทั้งในส่วนของการศึกษาตั้งแต่ระดับปฐมวั ย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกในการแยกแยะ ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม จิตพอเพียงต้านทจุ ริต และสรา้ งพฤติกรรมที่ไม่ยอมรับ และไม่ทนต่อการทุจริต โดยใช้กระบวนการนิเทศ ติดตามผล การดำเนินงานบคุ ลากรในโรงเรียนเป็นภารกิจท่ี จำเป็นตอ่ การจดั การศกึ ษา เปน็ เรอ่ื งละเอียดอ่อน จำเปน็ ต้องอาศัยความร่วมมอื จากบุคคลหลายฝา่ ยในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา จำเป็นต้องต้องใช้กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศ ในการช่วยส่งเสริมสนับสนุนการทำงานซึ่งกันและกัน ซึ่ง กระบวนการนิเทศการศึกษาจะเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยเหลือสนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และ กระบวนการเรียนการสอน มีคุณภาพถึงระดับที่พึงประสงค์ เนื่องจากการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการ ทำงานในการพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนของครูให้มีประสิทธิภาพจึงต้องมีการดำเนินการ ขับเคลื่อนการนำหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการ สอนของสถานศึกษา ซึ่งได้ใช้กระบวนการนิเทศแบบมีส่วนร่วม ซึ่งกระบวนการนิเทศ เพื่อนำหลักสูตรต้าน ทุจริตไปใช้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 จนประสบความสำเร็จ ระหว่างผู้นเิ ทศและผ้รู ับการนิเทศ ซง่ึ เปน็ กระบวนการทต่ี รงกบั ความต้องการ เทคนิคการนิเทศแบบมีส่วนร่วม เปน็ การพฒั นาบคุ ลากรโดยการใหม้ ีส่วนรว่ มคิด ร่วมทำงานตามกระบวนการใชเ้ พ่ือนคู่คดิ ทเ่ี ป็นกลั ยาณมิตรต่อ กันคิดร่วมกัน ทำงานร่วมกัน ทำงานอย่างมีความสุขและประสบผลสำเร็จ สร้างความเชื่อมั่น ความมั่นใจ เพ่ิม ความแมน่ ยำในการปฏบิ ตั ิงาน บุคลากรไดป้ รับเปลีย่ นพฤตกิ รรมหรือวิธีการทำงาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ต้องขับเคลื่อนการนำหลักสูตร ต้านทุจริตศกึ ษา (Anti-Corruption Education) ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศกึ ษา ใน การจัดการเรียนการสอนหลักสูตรให้มุ่งเน้นการสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความหมาย และ ขอบเขต ของการกระทำทุจริตในลักษณะต่างๆ ทั้งทางตรง และทางอ้อม ความเสียหายที่เกิดจากการทุจริต ความสำคญั ของการต่อตา้ นการทจุ รติ รวมทั้งจัดใหม้ กี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ของการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียนด้วย แนวปฏิบัติดังกล่าวมาปฏิบัติให้เห็นเป็นรูปธรรม โดยนำแนวทาง การใช้ หลักสูตรต้านทุจริตไปใช้ในสถานศึกษา คำสั่ง ที่ ศธ 04008/ว918 ลงวันที่ 5 เมษายน 2562 เรื่องการนำ หลักสูตรต้านทุจริตไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา นำไปใช้ในการเรียนการสอนให้กับ นกั เรียน นักศกึ ษาในทุกระดับชั้นเรยี น โรงเรยี นในสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 มีโรงเรียน ในความรับผิดชอบทั้งระดับมัธยมศึกษาจำนวน 50 โรงเรียน จากการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัด การศึกษา พบว่า สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 ได้นำรูปแบบ วิธีการ ในการนำหลักสูตรต้านทุจริตไปใช้ในสถานศึกษา บูรณาการให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะ กระบวนการ มี สมรรถนะที่สำคัญ และคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ ดังนั้น การสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักสูตรต้าน ทจุ รติ ศกึ ษา (Anti – Corruption Education) ให้กบั ครู และผู้บรหิ ารสถานศึกษา ทำให้ครสู ามารถนำความรู้ ไปใช้ในการบริหารจัดการหลักสูตรต้านทุจริต ไปปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อมุ่งเน้นการปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรม ป้องกันการทุจริตให้แก่ผู้เรียนทุกคนในสถานศึกษา เพื่อเป็นการสร้างพลเมืองที่ซื่อสัตย์ สจุ รติ ใหแ้ กป่ ระเทศชาติ คูม่ ือปฏบิ ตั ิงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18 17
แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม การดำเนินงานหลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษาไปใชใ้ นสถานศึกษา สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 18 โรงเรียน..........................................สหวทิ ยาเขต............................จังหวดั ................................ คำชี้แจง โปรดทำเคร่อื งหมาย ( / ) ในช่องปฏบิ ตั ิ หรือไม่ปฏบิ ัติ และเขยี นอธบิ ายการดำเนินการเมื่อระบวุ า่ มี การปฎบิ ตั ิใหเ้ ห็นภาพการดำเนินการของโรงเรยี นในการนำหลกั สตู รต้านทจุ รติ ศึกษาไปใช้ในสถานศกึ ษา ประเด็นการกำกับ การดำเนินงาน เอกสาร/หลกั ฐานอา้ งอิง ตดิ ตาม 1. การบรหิ าร 1) มีการวางแผนการนำหลกั สูตรต้านทจุ ริต ..................................................... จดั การหลักสตู รต้าน ศึกษาไปใช้ ..................................................... ทุจริตศึกษา 2) มกี ารแต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินงาน ..................................................... 3) มกี ารประชมุ ชีแ้ จงแนวทางการดำเนนิ งาน ..................................................... 4) มีการดำเนินการนำหลักสูตรต้านทจุ รติ ..................................................... ..................................................... ศกึ ษา ไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 5) มีการนิเทศ ตดิ ตามผลภายในสถานศึกษา ..................................................... 6) มีการรายงานผลการดำเนินงานต่อตน้ ..................................................... ..................................................... สังกัด อยา่ งต่อเนือ่ ง ..................................................... 7) อนื่ ๆ โปรดระบุ......................... 2. แนวทางการนำ 1) จัดเปน็ รายวิชาเพมิ่ เติม ช้ัน .......... หลักสูตรตา้ นทุจริต 2) บูรณาการกบั กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคม ..................................................... ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั ..................................................... ศึกษาไปใช้ ........................... ..................................................... 3) บรู ณาการกับกล่มุ สาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ ..................................................... ไดแ้ ก่ กลุ่มสาระการเรยี นร.ู้ ............................ ..................................................... ..................................................... ชน้ั ............................. 4) จดั ในกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ชนั้ ............. ..................................................... 4.1) กิจกรรมแนะแนว ..................................................... 4.2) กิจกรรมนกั เรียน ได้แก่ ..................................................... ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ..................................................... ผู้บำเพญ็ ประโยชน์ ชมุ นมุ /ชมรม 4.3) กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ สาธารณประโยชน์ 5) จดั เป็นกิจกรรมเสริมหลักสูตร หรือบรู ณา การกับวิถชี วี ติ ในสถานศึกษา ช้ัน .......... อ่นื ๆ ระบ.ุ ................................. 3. การจดั กิจกรรม 1) ครมู ีการศกึ ษาหลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษา ..................................................... การเรียนร้หู ลกั สูตร และแผนการจดั การเรียนรูก้ ่อนสอนตามระดบั ชน้ั ..................................................... ตา้ นทุจรติ ศกึ ษาของ ทส่ี อน ..................................................... ครผู ้สู อน ..................................................... คู่มือปฏบิ ตั ิงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 18
2) ครูมีการเตรียมส่ือประกอบการสอนและ ..................................................... เคร่ืองมอื วดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ..................................................... 3) ครูมกี ารบูรณาการหลกั สูตรต้านทจุ ริต ..................................................... ศึกษากบั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา ..................................................... ..................................................... และวัฒนธรรม 4) ครมู กี ารบูรณาการหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ..................................................... ศึกษากับกลมุ่ สาระการเรียนรูอ้ ่นื ๆ 5) ครูมีการนำหลักสตู รตา้ นทุจริตศึกษาไปจดั ในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 6) ครูมีการนำหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตศึกษาไป จดั เปน็ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู รหรือบรู ณาการกบั วถิ ีชวี ิตในสถานศึกษา 7) ครูมีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามที่ กำหนดในแผนการจดั การเรยี นรู้ 8) ครนู ำผลการประเมินมาใชใ้ นการสอนซ่อม เสรมิ หรือพฒั นาผเู้ รยี น 9) ครมู ีการลงบันทกึ ผลหลงั สอนในแตล่ ะ แผนการจดั การเรียนรู้ 10) ครมู ีการรายงานผลการประเมินผเู้ รียน เปน็ รายบคุ คลและสรปุ เปน็ รายชัน้ 11) อน่ื ๆ (ระบุ)...................................... 4. คุณภาพผู้เรียน 1) ผ้เู รยี นท่ีผา่ นการประเมนิ ผลการเรียนรู้ตาม เกณฑท์ ก่ี ำหนดในแผนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน ..................................................... ........คน คิดเปน็ รอ้ ยละ........... ..................................................... 2) ผู้เรียนทีผ่ ่านการประเมนิ ผลการทดสอบ ..................................................... จาก สพฐ. จำนวน.............คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ..................................................... ............ ..................................................... 3) ผูเ้ รียนมีคณุ ธรรมในการป้องกนั การทุจรติ ..................................................... ผ่านการประเมินผลตามเกณฑท์ กี่ ำหนด ดงั น้ี ..................................................... - ทักษะกระบวนการคดิ จำนวน.....คนคดิ เปน็ รอ้ ย ..................................................... ละ..... ..................................................... - อยู่อย่างพอเพยี งจำนวน....คน คดิ เปน็ ร้อยละ ..................................................... ...... - มีวนิ ัย จำนวน ........... คน เป็นรอ้ ยละ ........... - ซ่ือสัตย์สจุ ริต จำนวน ...... คน คิดเปน็ ร้อยละ .............. - มีจิตสาธารณะจำนวน ... คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ..... หมายเหตุ ข้อ 2) จะรายงานเมอ่ื สพฐ.นำ แบบทดสอบไปทดสอบผูเ้ รยี น คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 19
จุดเด่นของสถานศึกษา ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................. .............................................................................. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนนิ งาน ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................................... ................. ................................................................................................................. ............................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ........................................................................ผู้กำกับตดิ ตาม (......................................................................) ตำแหน่ง........................................................................ คมู่ ือปฏิบัติงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 20
โครงการ สง่ เสริม สนับสนุนการดำเนนิ งานตามพระราโชบายดา้ นการศกึ ษา ของสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู สูก่ ารปฏบิ ตั ิ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงตอบรับเป็นพระมหากษัตริย์ เมื่อ วันที่ 1 ธันวาคม 2559 ความว่า “เพื่อสืบสานพระราชปณิธาน และเพื่อประโยชน์ของประชาชนชาวไทย ท้ัง ปวง”กอปรกับพระราชปณิธานด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรม นาถบพิตร คือ การสร้างคนดี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จึงทรงมีพระราโชบาย เพื่อสืบสานพระราชปณิธานแหง่ องค์พระบรมชนกนาถในการสร้างคนดีให้แก่บ้านเมอื ง โดยทรงมุ่งให้การศึกษาต้องสร้างพื้นฐานแก่นักเรียน 4 ดา้ น ประกอบดว้ ย (1) การมีทศั นคตทิ ี่ถูกต้องต่อบา้ นเมือง (2) การมีพืน้ ฐานชวี ติ ท่มี ่ันคง มีคณุ ธรรม (3) การมี งานทำ-มีอาชีพ และ (4) การเป็นพลเมืองดี ดังนั้น เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทร เทพยวรางกูร เสด็จเถลิงถวัลย์สิริราชสมบัตเิ ปน็ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 แห่งพระบรม ราชจักรี วงศ์ กระทรวงศึกษาธกิ าร จึงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตน้อมนำพระราโชบายด้านการศกึ ษา มาเป็น หลักชัยในการสร้างนักเรียนเป็นคนดีและพัฒนาให้เป็นคนเก่ง สู่การปฏิบัติตามรอยพระยุคลบาท อย่างเป็น รูปธรรม ด้วยการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนประถมศึกษา และ โรงเรียนมัธยมศกึ ษา โดยมีแนวทางดำเนินกจิ กรรม ดังนี้ 2.1 จดั ทำหลกั สูตรสถานศึกษาโดยบรู ณาการระหวา่ งหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กับสภาพภูมิสังคมของโรงเรียน เพื่อมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน 4 ด้าน ตามพระราโชบายของสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู ดังน้ี 2.1.1 มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง ประกอบด้วย (1) ความรู้ความเข้าใจต่อชาติ บ้านเมือง (2) ยึดมั่นในศาสนา (3) มั่นคงในสถาบันพระมหากษัตริย์ และ (4) มีความเอื้ออาทรต่อครอบครัว และชมุ ชนของตน 2.1.2 มีพื้นฐานชีวิตที่มัน่ คง-มีคุณธรรม ประกอบด้วย (1) รู้จักแยกแยะสิ่งที่ผิด-ชอบ / ชั่ว-ดี (2) ปฏบิ ตั ิแตส่ ่งิ ทชี่ อบ สิง่ ที่ดงี าม (3) ปฏเิ สธสงิ่ ท่ผี ดิ ส่งิ ทีช่ ัว่ และ (4) ช่วยกันสรา้ งคนดใี ห้แกบ่ ้านเมอื ง 2.1.3 มงี านทำ-มีอาชพี ประกอบด้วย (1) การเลยี้ งดูลูกหลานในครอบครวั หรอื การฝกึ ฝน อบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้เด็กและเยาวชนรักงาน สู้งาน ทำจนงานสำเร็จ (2) การฝึกฝนอบรมทั้งใน หลักสูตรและนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนทำงานเป็นและมีงานทำในท่ีสุด และ (3) ต้องสนับสนนุ ผ้สู ำเรจ็ หลกั สูตรมีอาชีพ มีงานทำ จนสามารถเล้ยี งตัวเองและครอบครัว 2.1.4 เป็นพลเมืองดี ประกอบด้วย (1) การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าที่ของทุกคน (2) ครอบครัว-สถานศึกษา และสถานประกอบการ ต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทำหน้าที่เป็นพลเมืองดี (3) การเป็นพลเมืองดีคือ “เห็นอะไรที่จะทำเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทำ” เช่น งานอาสาสมัคร งานบำเพ็ญ ประโยชน์ งานสาธารณกุศล ให้ทำดว้ ยความมนี ้ำใจและความเอ้อื อาทร 2.2 สร้างการรับรู้เกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้ให้แก่บิดา มารดา ผู้ปกครอง และชุมชน เพ่ือให้มีความเข้าใจและร่วมกนั ดแู ลบตุ รหลานร่วมกบั โรงเรียนอยา่ งใกลช้ ิด 2.3 จัดระบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลให้เต็มตาม ศักยภาพ มุ่งวัดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านคุณธรรม เจตคติ และพฤติกรรม (2) ด้าน สมรรถนะและศักยภาพสำหรับอนาคต เช่น ทักษะชีวิต ทักษะชีวิต ทักษะสังคม ทักษะการเรียนรู้ ทักษะการ อาชพี และ (3) ความรเู้ ท่าทจี่ ำเป็น คู่มือปฏิบตั ิงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 21
แบบนิเทศ ติดตามการนอ้ มนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 สกู่ ารปฏิบัติ สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 โรงเรียน.................................................สหวทิ ยาเขต.................................อำเภอ....................จงั หวดั ................ คำช้ีแจง โปรดกรอก ✓ลงช่อง ปฏิบตั ิ หรอื ไม่ปฏิบตั ิ พร้อมท้งั ให้คำอธิบายการ เพื่อแสดงถึงข้อมลู ในการ นำศาสตร์พระราชาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ หน่วย/ กจิ กรรมพฒั นา โครงการ/ รายการ แผนการ ผเู้ รียน กิจกรรม ที่ เรยี นรู้ ผลการดำเนนิ งาน /หลกั ฐาน/รอ่ งรอย ไม่ ไม่ ปฏิบตั ิ ปฎบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ปฎบิ ตั ิ ปฏบิ ตั ิ ปฎิบตั ิ 1 นำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงสู่ ...................................................... การพัฒนาผู้เรียน ...................................................... 2.1 ครูผู้สอนนำ ......... ........ ......... ......... ......... ......... ...................................................... หลกั ปรัชญาของ ...................................................... เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ ...................................................... การปฏิบตั ิ ต่อไปน้ี ...................................................... -ความพอประมาณ ...................................................... -ความมีเหตผุ ล ...................................................... -การสร้างภมู คิ ุ้มกนั ...................................................... -เง่อื นไขความรู้ ...................................................... -เงื่อนไขคณุ ธรรม ...................................................... 2.2 ผ้เู รียนมี ......... ........ .......... ......... ......... ......... ...................................................... คุณลกั ษณะอยู่อยา่ ง ...................................................... พอเพยี ง ตามหลัก ...................................................... ปรชั ญาของ ...................................................... เศรษฐกจิ พอเพยี ง -ความพอประมาณ -ความมเี หตุผล -การสรา้ งภมู ิคมุ้ กนั -เงื่อนไขความรู้ -เง่ือนไขคุณธรรม 2 การนำศาสตร์ ...................................................... พระราชาพัฒนา ...................................................... สมรรถนะทีส่ ำคัญ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ...................................................... ของผู้เรียน ...................................................... ...................................................... 3 การนำหลกั ปรัชญา ...................................................... ของเศรษฐกจิ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ...................................................... คู่มือปฏบิ ตั ิงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 22
หน่วย/ กิจกรรมพัฒนา โครงการ/ รายการ แผนการ ผ้เู รียน กิจกรรม ที่ เรยี นรู้ ผลการดำเนนิ งาน /หลกั ฐาน/รอ่ งรอย ไม่ ไม่ ปฏิบตั ิ ปฎบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ัติ ปฎิบตั ิ ปฏบิ ตั ิ ปฎิบตั ิ พอเพียง ไปพัฒนา ...................................................... ผู้เรยี นใหม้ ี ...................................................... คุณลักษณะ ...................................................... อนั พงึ ประสงค์ ...................................................... 4 การน้อมนำพระบรม ...................................................... ราโชบายดา้ น ...................................................... การศึกษาของใน ...................................................... หลวงรัชกาลท่ี 10 ...................................................... ไปพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ี ...................................................... คุณลักษณะ ...................................................... อนั พงึ ประสงค์ ...................................................... 1. มที ศั นคติท่ี ....... ....... ....... ....... ....... ....... ...................................................... ถูกต้องต่อบา้ นเมือง ...................................................... 2. มพี ืน้ ฐานชวี ิตที่ ....... ....... ....... ....... ....... ....... ...................................................... ม่ันคง มีคุณธรรม ...................................................... 3. มีงานทำ-มีอาชีพ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ...................................................... 4. เปน็ พลเมืองดี ........ ........ ........ ........ ........ ........ ...................................................... (พรอ้ มแนบตวั อย่างผลการดำเนินงานกจิ กรรมของสถานศึกษา หลักฐาน ภาพกจิ กรรม ฯลฯ) ข้อค้นพบทีเ่ ปน็ จุดเด่น/วธิ ิการปฏบิ ตั ิที่ดี ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ................................................................................................. ............................................................................ ปัญหาและอุปสรรคทพ่ี บ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................... ........................................................................ . ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... .................................. ลงช่ือ..............................................................ผนู้ เิ ทศ (.....................................................................) ...................../........................./................... คมู่ อื ปฏบิ ัติงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18 23
การดำเนนิ งานโรงเรียนวิถีพุทธ ความเป็นมาโรงเรียนวิถีพุทธ สบื เน่ืองมาจากที่กระทรวงศึกษาธิการจดั การประชมุ เรื่อง “หลักสูตรใหม่เดก็ ไทยพฒั นา” ณ สถาบันราชภัฎสวนดสุ ิต เม่อื วนั ท่ี 25 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ซึ่งมี ฯพณฯ นายกรฐั มนตรี พ.ต.ท.ดร.ทกั ษณิ ชนิ วัตร ใหเ้ กยี รตเิ ป็นประธาน ที่ประชุมไดห้ ารือถึงโรงเรียนท่ีจัดการศึกษาเพอ่ื สนองตอบความสามารถที่แตกต่าง กันของบคุ คล เพอื่ นำพาเดก็ และเยาวชนไทยก้าวทนั ความเปล่ยี นแปลงของโลกอย่างไร้ขีดจำกัด โรงเรยี นวิถพี ุทธเปน็ หนึง่ ในโรงเรียนรปู แบบใหม่ ทจี่ ะชว่ ยผลักดันใหเ้ ดก็ และเยาวชนไทยสามารถพัฒนาตาม ศกั ยภาพ เปน็ คนดี คนเก่งของสังคม และสามารถดำรงชวี ิตได้อยา่ งมีความสุข กระทรวงศึกษาธิการนำ ความเห็นของทป่ี ระชุมมาหารืออีกหลายคร้งั อีกท้ัง ดร.สริ กิ ร มณรี นิ ทร์ รฐั มนตรีช่วยว่าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ และคณะได้ไปกราบขอคำแนะนำเร่ืองการจดั โรงเรียนวถิ ีพุทธ จากพระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ป ยุตโฺ ต) ณ วดั ญาณเวศกวัน เมื่อวนั ท่ี 1-6 กุมภาพนั ธ์ 2546 นอกจากนน้ั ยังมีข้าราชการระดับสูงได้ไปกราบขอ คำแนะนำในเรื่องเดยี วกันนจี้ ากพระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลยั รวมท้ังนิมนต์ท่านมาใหข้ ้อคิดในการประชุมระดบั ความคดิ ครั้งแรก วนั ที่ 26-27 กมุ ภาพนั ธ์ 2546 เปน็ การประชุมหารือเรื่องโรงเรยี นวถิ พี ุทธ เป็นครง้ั แรกมีพระภิกษุ คฤหัสถ์ ผูท้ รงคุณวุฒิ มาประชมุ ประมาณ 50 รปู /คน ไดข้ ้อสรุปเบ้อื งต้นถงึ หลกั สำคัญของการจัดโรงเรยี นวิถี พุทธ วนั ที่ 1-4 เมษายน 2546 เป็นการประชุมหารือคร้ังท่ี 2 มพี ระภกิ ษุและคฤหสั ถ์ รวมทงั้ ผู้ทรงคณุ วุฒิ มาร่วมกำหนดแนวทางการดำเนนิ การต่อจากหลกั การท่ีไดส้ รุปไวแ้ ลว้ จากการประชมุ ใหญ่ 2 ครงั้ ทำให้ไดข้ ้อสรุปโรงเรียนวถิ ีพุทธในเรอื่ ง ภาพสรุปโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ กรอบความคิดรูปแบบโรงเรียนวิถพี ุทธ แนวทางการดำเนินงานโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ และแนวทางการบริหาร โครงการโรงเรยี นวิถพี ุทธ กรอบแนวคดิ รูปแบบโรงเรียนวถิ พี ุทธ คณะกรรมการพัฒนานวัตกรรมการศกึ ษา (2546) ได้ให้ความหมายของโรงเรยี นวิถีพทุ ธ คอื โรงเรียนระบบปกติทว่ั ไปทีน่ ำหลักธรรมพระพุทธศาสนามาใช้ หรือประยุกตใ์ ชใ้ นการบริหารและการพฒั นา ผู้เรียนโดยรวมของสถานศึกษา เน้นกรอบการพฒั นาตามหลกั ไตรสิกขา อยา่ งบูรณาการ รูปแบบของโรงเรียนวิถีพทุ ธ โรงเรยี นวถิ ีพทุ ธดำเนนิ การพัฒนาผูเ้ รยี นโดยใช้หลกั ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญั ญา อย่างบูรณา การ ผู้เรียนไดเ้ รยี นรผู้ ่านการพฒั นา “การกนิ อยู่ ดู ฟัง เป็น” คือ มีปัญญารเู้ ขา้ ใจในคุณค่าแทใ้ ช้กระบวนการ ทางวัฒนธรรมแสวงหาปัญญา และมวี ฒั นธรรมเมตตาเป็นฐานการดำเนนิ ชวี ติ โดยมผี บู้ ริหาร และคณะครูเป็น กลั ยาณมิตร ชว่ ยกนั พัฒนาดำเนนิ การจัดการศึกษาใหผ้ เู้ รียนมวี ถิ กี ารทำงาน วิถีชวี ิต วถิ ีการเรยี นรู้ วิถี วฒั นธรรมต่าง ๆ ตามหลัก “ไตรสกิ ขา” ท่ีนำไปสู่ “ปัญญา” วถิ ชี ีวติ ที่ดงี ามตามหลักไตรสิกขาท้ัง ๓ ดา้ น ศีล (พฤติกรรม) มีกิรยิ ามารยาท กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น รจู้ ักพิจารณาเลอื กเสพสง่ิ บริโภค และส่ือตา่ ง ๆ ให้เกดิ ประโยชน์ดว้ ยปญั ญา รู้จักความพอดี พอประมาณ ในการแสวงหา บรโิ ภค สะสมส่ิงตา่ ง ๆ ปฏบิ ัติตาม ระเบียบ กฎเกณฑภ์ ายนอกท่ีถูกต้องเพื่อให้เกิดวินัยในตนเองไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง และผู้อืน่ โดยมศี ลี 5 เป็น พืน้ ฐานในการดำเนินชวี ติ มชี ีวติ ที่สัมพันธ์ดว้ ยดกี ับบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน สังคมและสิ่งแวดล้อมจติ ใจ (สมาธ)ิ คู่มอื ปฏบิ ัติงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18 24
มสี มรรถภาวะท่ดี ี คอื มีสมาธิ มีความต้งั ม่ัน เข้มแขง็ มุ่งม่นั ทำดี ดว้ ยจติ ใจกล้าหาญ อดทน สสู้ ิง่ ยาก ขยนั หมัน่ เพียร ไมย่ ่อท้อสามารถฟนั ฝ่าอุปสรรคผ่านความยากลำบากไปได้ พงึ่ ตนเองได้มีคุณภาวะ คือ มีความ กตญั ญูรู้คุณ มีจิตใจเมตตา กรุณาโอบอ้อมอารีมีน้ำใจ ละอายชวั่ กลัวบาป ซ่อื สตั ย์ รบั ผิดชอบ กลา้ รับผิด เกิดจติ ทีเ่ ป็นบุญกศุ ลอยา่ งสม่ำเสมอมสี ขุ ภาวะทดี่ ี คือ มคี วามสขุ ความร่าเรงิ เบกิ บาน มองโลกในแง่ดี มี กำลังใจ เกิดแรงบนั ดาลใจในการเรียนรู้ ในการรว่ มกจิ กรรมงานต่าง ๆปัญญา มศี รัทธาเล่ือมใสและมีความ เขา้ ใจในพระรตั นตรยั ในกฎแห่งกรรม และในหลกั บาปบญุ คณุ โทษ มีทกั ษะและอุปนิสยั ในการเรยี นรูท้ ีดี จูงใจ ใฝร่ ู้ ร้จู กั การค้นคว้า การจดบันทึกใหเ้ กดิ การเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั จิ รงิ การคดิ วเิ คราะห์ประมวลผล สามารถ นำเสนอถา่ ยทอดได้ทั้งแบบกลมุ่ และรายบุคคล มีทักษะชีวิตเทา่ ทันต่อสงิ่ เรา้ ภายนอก และกเิ ลสภายในตน สามารถแก้ปัญหาชวี ิตได้ สามารถนำหลกั ธรรมไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในการดำเนนิ ชวี ติ ไดม้ ีฐานชวี ติ ที่ดีมี ทศั นคติทดี่ ีตอ่ การปฏิบตั ธิ รรม เกิดปญั ญาเขา้ ใจในสัจธรรมในชวี ิตไดต้ ามวฒุ ภิ าวะของตน สามารถต่อยอด พฒั นาไปสปู่ การปฏิบตั ธิ รรมใหเ้ กดิ ความเจริญงอกงามในธรรมท่ีสูงย่ิงขน้ึ ไป ลกั ษณะโรงเรยี นวิถพี ทุ ธ เนน้ การจัดสภาพทกุ ๆ ด้าน เพื่อสนับสนนุ ให้ผู้เรียนพฒั นาตามหลกั พุทธธรรมอย่าง บูรณาการ โดยส่งเสรมิ ให้เกิดความเจรญิ งอกงามตามลกั ษณะแห่งปญั ญาวฒุ ธิ รรม 4 ประการ คือ 1) สปั ปุรสิ สงั เสวะ หมายถึงการอยใู่ กล้คนดี ใกลผ้ ู้รู้ มคี รู อาจารยด์ ี มีข้อมูล มีสือ่ ที่ดี 2) สัทธมั มสั สวนะ หมายถึง เอาใจใสศ่ ึกษาโดยมีหลกั สูตร การเรยี นการสอนท่ีดี 3) โยนิโสมนสกิ าร หมายถึง มีกระบวนการคดิ วเิ คราะห์พจิ ารณาหาเหตุผลท่ีดแี ละถูกวิธี 4) ธัมมานธุ มั มปฏิปตั ติ หมายถึง ความสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตได้ถูกต้องเหมาะสม รายชอ่ื โรงเรียนทเ่ี ขา้ โครงการ จังหวัด ท่ี รายช่อื โรงเรียน ชลบุรี 1 โรงเรยี นอุทกวิทยาคม ระยอง 2 โรงเรยี นวังจนั ทรว์ ทิ ยา ชลบุรี 3 โรงเรียนทุ่งเหียงพิทยาคม ชลบุรี 4 โรงเรยี นชลบุร\"ี สขุ บท\" ระยอง 5 โรงเรยี นสนุ ทรภ่พู ทิ ยา ระยอง 6 โรงเรียนนคิ มวทิ ยา ชลบรุ ี 7 โรงเรียนบ่อทองวงษจ์ นั ทร์วิทยา ชลบุรี 8 โรงเรยี นสรุ ศกั ดิว์ ทิ ยาคม ระยอง 9 โรงเรยี นบ้านค่าย ชลบุรี 10 โรงเรียนท่งุ ศุขลาพทิ ยา ระยอง 11 โรงเรยี นระยองวิทยาคมปากน้ำ ระยอง 12 โรงเรยี นแกลง\"วทิ ยสถาวร\" คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 25
แบบนเิ ทศ ตดิ ตามการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในสถานศึกษา สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 18 โรงเรียน.................................................สหวิทยาเขต.................................อำเภอ....................จังหวดั ................ เปน็ โรงเรยี น วิถีพทุ ธ โรงเรยี นวถิ พี ทุ ธชัน้ นำ โรงเรียนวถิ ีพุทธพระราชทาน แนวทางดำเนนิ การตามอัตลกั ษณ์ 29 ประการสูค่ วามเปน็ โรงเรยี นวถิ พี ุทธ ประกอบดว้ ย ที่ แนวทางดำเนนิ การการตามอตั ลักษณ์ 29 ประการ การปฏบิ ัติ เอกสารอา้ งอิง/ มี ไมม่ ี หลกั ฐาน 1 ดา้ นกายภาพ (7 ตวั ชว้ี ัด) 1.1 มปี ้ายโรงเรยี นวิถพี ุทธ 1.2 มพี ระพทุ ธรูปหนา้ โรงเรยี น 1.3 มพี ระพุทธรูปประจำหอ้ งเรยี น 1.4 มีพระพุทธศาสนสภุ าษิต วาทะธรรม พระราชดำรัสตดิ ตามทต่ี ่างๆ 1.5 มคี วามสะอาด สงบ ร่มรื่น 1.6 มหี อ้ งพระพทุ ธศาสนาหรือลานธรรม 1.7 ไม่มสี ่งิ เสพติด เหลา้ บุหรี่ 100 % 2 ดา้ นกิจกรรมวันพระ (4 ตัวช้ีวัด) 2.1 บรหิ ารจิต เจริญปญั ญา ก่อนเข้าเรียน เช้า บา่ ย ทัง้ ครู และ นกั เรียน 2.2 บูรณาการวถิ ีพทุ ธ ทุกกลุ่มสาระ และในวันสำคัญทาง พระพทุ ธศาสนา 2.3 ครู พานักเรียนทำโครงงานคุณธรรม กิจกรรมจิตอาสา สัปดาห์ละ 1 ครงั้ 2.4 ครู ผบู้ รหิ าร และ นักเรยี น ทุกคน ไปปฏบิ ตั ิศาสนกจิ ที่วัด เดอื นละ 1 ครั้ง มีวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ 2.5 ครู ผ้บู ริหาร และ นักเรียนทุกคน เข้าคา่ ยปฏบิ ตั ิธรรม อยา่ งน้อยปีละ 1 ครัง้ 3 ดา้ นพฤติกรรม ครู ผบู้ รหิ ารโรงเรียนและนักเรียน (5 ตวั ช้ีวดั ) 3.1 รกั ษาศีล 5 3.2 ย้มิ งา่ ย ไหว้สวย กราบงาม 3.3 ก่อนรบั ประทานอาหารจะมีการพจิ ารณาอาหาร รบั ประทานอาหาร ไมด่ ัง ไม่หก ไมเ่ หลือ 3.4 ประหยดั ออม ถนอมใช้ เงนิ และ สง่ิ ของ 3.5 มีนิสัยใฝ่รู้ ส้สู ่ิงยาก คู่มอื ปฏบิ ตั ิงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 26
ที่ แนวทางดำเนินการการตามอัตลักษณ์ 29 ประการ การปฏบิ ตั ิ เอกสารอ้างอิง/ มี ไมม่ ี หลักฐาน 4 ดา้ นการสง่ เสริมวิถีพุทธ (8 ตัวชีว้ ัด) 4.1. ไม่มีอาหารขยะขายในโรงเรียน 4.2 ไม่ดุ ดา่ นกั เรียน 4.3 ชืน่ ชมคุณความดี หนา้ เสาธงทุกวนั 4.4 โฮมรมู เพื่อสะทอ้ นความรสู้ กึ เช่นความร้สู กึ ทไ่ี ด้ทำความดี 4.5 ครู ผบู้ ริหาร และนกั เรียน มีสมดุ บนั ทกึ ความดี 4.6 ครู ผูบ้ ริหาร และนกั เรยี น สอบไดธ้ รรมศึกษาตรีเป็นอย่าง น้อย 4.7 บริหารจติ เจรญิ ปัญญา กอ่ นการประชมุ ทกุ ครั้ง 4.8 มีพระมาสอนอย่างสม่ำเสมอ 5 ด้านกิจกรรมประจำวันพระ 4 ประการ 5.1.ใสเ่ ส้ือขาวทุกคน 5.2.ทำบญุ ใส่บาตร ฟงั เทศน์ 5.3. รบั ประทานอาหารมังสวิรัติในม้อื กลางวัน 5.4 สวดมนตแ์ ปล ขอ้ ค้นพบท่ีเป็นจุดเดน่ /วธิ ีการปฏิบตั ิทีด่ ี ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ....................................................................................................................... ....................................................... ปญั หาและอุปสรรคที่พบ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................... ..................... ลงชอื่ ..............................................................ผู้นิเทศ (.....................................................................) ................................................................. วัน/เดอื น/ปี ท่นี เิ ทศ คูม่ อื ปฏิบตั ิงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 27
โครงการส่ิงแวดลอ้ มศึกษาเพ่อื การพัฒนาท่ีย่ังยืน เป้าหมายของส่ิงแวดล้อมศึกษาเพอ่ื การพฒั นาทยี่ ่ังยนื คือ การที่บคุ ลคลและประชาชนมีส่วนร่วมที่ ปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หาส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั รว่ มมือกันพฒั นาคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม โดยอาศัยวิธีการอยา่ ง สรา้ งสรรค์ทั้งน้ีเพื่อก่อใหเ้ กิดซง่ึ ความความเขา้ ใจจนเป็นท่ีประจกั ษช์ ดั ในเร่ืองระบบนิเวศ ธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหวา่ งมนุษย์กับสง่ิ แวดลอ้ มผลกระทบท่ีเกิดจากกากระทำของคนรา และการพฒั นาดา้ นตง่ ๆ รวมทง้ั แนวทางในการแกไ้ ขปัญหาสาเหตุของปัญหาสงิ่ แวดล้อมคือ การพฒั นานักเรยี นเป้าหมายสูงสุดของ โรงเรียนส่งิ แวดลอ้ มศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาทีย่ ั่งยืนให้เติบโตข้ึนเป็น \"พลมอื ง\" ทใี่ ชช้ ีวิตอยา่ ง \"พอเพยี ง\" เพ่ือสังคม และส่งิ แวดล้อม \"ยั่งยนื \" มาตรฐานโรงเรียนสง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาทย่ี ่ังยืน มาตรฐานโรงเรียนสิง่ แวดล้อมศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื หมายถงึ ข้อกำหนดคุณลักษณะของ โรงเรยี นท่กี ารดำเนินการจดั การเรยี นรสู้ งิ่ แวดล้อมศึกษาเพื่อการพฒั นาทีย่ ัง่ ยืน ประกอบดว้ ยดา้ นการบรหิ าร จัดการดา้ นหลักสตู รและการจัดการเรียนรู้ ด้านการมสี ว่ นร่วมและการสรา้ งเครอื ข่ายและ ดา้ นผลท่ีเกิดข้ึนจก การดำเนินงานด้านส่ิงแวดล้อมศกึ ษาของโรงเรียนชีว้ ัดของโรงเรยี นสงิ่ แวดล้อมศึกษาเพื่อการพฒั นาท่ยี ่งั ยนื คู่มอื ปฏิบัติงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 28
แบบรายงานผลการดำเนนิ การโรงเรยี นมาตรฐานสิง่ แวดลอ้ มศึกษาเพือ่ การพัฒนาที่ย่ังยืน (EESD SCHOOL) ด้านการจดั การขยะ พลังงาน และการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม คำชแ้ี จง ขอให้โรงเรียนกรอกแบบรายงานผลการดำเนินการโรงเรียนมาตรฐานสงิ่ แวดลอ้ มศึกษา เพื่อการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน (EESD SCHOOL) ดา้ นการจดั การขยะ พลังงาน และการอนรุ กั ษ์รพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ระดบั สถานศึกษา ใหค้ รบทง้ั 10 มาตรฐาน ส่งสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 18 หรอื ทาง E-filing ภายในวันที่ 15 กนั ยายน 2563 เพือ่ รายงานสำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานทราบต่อไป ตดิ ต่อสอบถามเพ่ิมเตมิ ได้ที่ มอื ถือ 0826504344 หรือคน้ หาไลน์ด้วยเบอร์ โทร เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพ ชว่ งการปรบั เกณฑ์การให้คะแนน +/- 10 หน่วย ต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้ คะแนน ดงั น้ี ระดบั 1 ระดบั 2 ระดบั 3 ระดบั 4 ระดบั 5 60 70 80 90 100 เง่อื นไข : โรงเรยี นมาตรฐานสงิ่ แวดล้อมศกึ ษาเพ่ือการพัฒนาที่ยัง่ ยนื ด้านการจัดการขยะ น้ำเสยี มลพษิ ทางอากาศ ต้องผา่ นระดับ 3 ขนึ้ ไป ทั้งน้ี โรงเรียนที่ผา่ นในระดับ 4 จะได้เป็นโรงเรียนมาตรฐานสิ่งแวดล้อม ศึกษาดา้ นการจัดการขยะ ระดบั ดีมาก และโรงเรียนท่ผี า่ นในระดบั 5 จะได้เปน็ โรงเรียนมาตรฐานสงิ่ แวดล้อม ศกึ ษาด้านการจดั การขยะระดับยอดเยี่ยม คูม่ อื ปฏบิ ัติงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 29
แบบรายงานผลการดำเนนิ การโรงเรยี นมาตรฐานสิง่ แวดลอ้ มศกึ ษาเพ่อื การพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน (EESD SCHOOL) ด้านการจดั การขยะ พลังงาน และการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ระดบั สถานศกึ ษา โรงเรียน............................................................สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา................................. ลำดบั กจิ กรรม ดำเนนิ ไมไ่ ด้ หลักฐาน ระดับ การ ดำเนนิ การ คุณภาพ 1 ดา้ นการบริหารจัดการ (2 มาตรฐาน 6 ตัวชว้ี ัด) มาตรฐานที่ 1 สถานศึกษามีระบบการบริหาร จดั การด้าน ส่งิ แวดลอ้ มศึกษา (ขยะ พลังงาน และการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม) ท่มี ีประสทิ ธิภาพ ตวั ช้วี ดั ที่ 1.1 มีการกำหนดนโยบาย /วสิ ยั ทัศน์ /พนั ธ กจิ /เปา้ ประสงค์ และแผนงาน/โครงการดา้ น สงิ่ แวดล้อมศึกษา (ขยะพลงั งานและการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม) ตวั ช้ีวดั ท่ี 1.2 มกี ารดำเนนิ งานตามแผนงานโครงการ และนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลอย่างเป็นระบบ ตัวชีว้ ดั ที่ 1.3 มกี ารส่งเสริม สนับสนุน งบประมาณ และทรพั ยากรดา้ นสง่ิ แวดล้อมศกึ ษา ตัวช้ีวดั ท่ี 1.4 มกี ารเผยแพร่ประชาสมั พนั ธง์ าน ด้าน ส่ิงแวดล้อมศกึ ษา มาตรฐานท่ี 2 ครูและบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ได้รบั การ พัฒนาด้านสิง่ แวดลอ้ มศกึ ษาอยา่ งสมำ่ เสมอ ตัวชว้ี ัดที่ 2.1 มีการส่งเสรมิ ให้ครแู ละบคุ ลากร ในสถานศึกษาไดร้ บั การพัฒนาด้านสง่ิ แวดล้อมศึกษา ตัวชว้ี ดั ที่ 2.2 มกี ารกำกบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและ นิเทศการปฏบิ ัตงิ านดา้ นสิง่ แวดล้อมศกึ ษาอยา่ งตอ่ ตอ่ เนอ่ื ง รวม คิดเป็นรอ้ ยละ 2 มาตรฐานดา้ นหลกั สตู รและการจดั การเรียนร(ู้ 2มาตรฐาน5 ตัวชวี้ ัด) มาตรฐานท่ี 3 สถานศกึ ษามีหลกั สตู รและจัดการ เรียนรู้ ดา้ นสงิ่ แวดล้อมศึกษาทสี่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ ทอ้ งถิ่น ตวั ชว้ี ดั ที่ 3.1 มีการพัฒนาหลักสตู รเพิม่ เตมิ / สาระ การเรยี นร้ทู ้องถ่นิ ด้านสง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษาที่ สอดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ทของชุมชน (การจัดการขยะพลังงาน และ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม) คมู่ ือปฏิบตั ิงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18 30
ลำดับ กจิ กรรม ดำเนิน ไม่ได้ หลกั ฐาน ระดับ การ ดำเนนิ การ คณุ ภาพ ตวั ชี้วดั ท่ี 3.2 มีการจดั การเรยี นรู้ตามหน่วย/ แผนการ เรียนรู้สงิ่ แวดลอ้ มศกึ ษาดา้ นการจดั การขยะ น้ำเสีย มลพษิ ทางอากาศ และพลงั งาน ตัวชว้ี ัดที่ 3.3 มีสือ่ นวตั กรรมการจดั การเรียนรแู้ หลง่ เรยี นรแู้ ละภมู ิปัญญาท้องถ่นิ อยา่ งหลากหลาย มาตรฐานที่ 4 สถานศึกษามีการส่งเสริมการจัดกิจรรม ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน (การจัดการขยะพลงั งาน และการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม) ตวั ช้วี ัดที่ 4. 1 มโี ครงการ/กิจกรรม ดา้ นการจัดการขยะ พลงั งาน และการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ตวั ช้ีวดั ที่ 4.2 มีฐานขอ้ มลู ดา้ น ทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดล้อมและสขุ อนามยั รวม คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3 มาตรฐานดา้ นการมสี ่วนรว่ มและการสร้างเครือขา่ ย (2 มาตรฐาน 4 ตวั ชี้วัด) มาตรฐานท่ี 5 สถานศึกษามีการสรา้ งเครือข่ายการมี สว่ นร่วมภายในสถานศึกษา ตัวชวี้ ัดที่ 5.1 มีการจดั ตงั้ ชมุ นุม/ชมรม/สภา นักเรยี น ทด่ี ำเนนิ งาน สิ่งแวดลอ้ มศึกษาภายในโรงเรียน อย่างชดั เจน ตัวชว้ี ัดท่ี 5.2 มกี ารขยายเครอื ข่ายชมรม ชมุ นุม กิจกรรม สิ่งแวดลอ้ มศึกษาภายในสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 6 สถานศึกษามีสรา้ งเครอื ขา่ ยการมสี ่วนรว่ ม จากบคุ คลและหน่วยงานภายนอก ตวั ชว้ี ัดที่ 6.1 จัดกิจกรรมดา้ นส่ิงแวดล้อมศึกษาโดยให้ ภาคเี ครือขา่ ย ที่เกย่ี วขอ้ งมสี ว่ นร่วม ตัวชี้วดั ท่ี 6.2 มีภาคเี ครอื ข่ายสนับสนนุ การดำเนนิ งาน ของสถานศกึ ษา 4 มาตรฐานด้านผลท่ีเกดิ ขน้ึ จากการดำเนนิ งานดา้ น ส่งิ แวดล้อมศึกษา (4 มาตรฐาน 6 ตัวชีว้ ดั ) มาตรฐานที่ 7 สถานศกึ ษามสี ภาพแวดล้อมที่สวยงาม สะอาด ร่มร่ืน ปลอดภัย และเอื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ สิ่งแวดล้อม ศึกษา (Green School / EESD school) ตวั ชี้วดั ที่ 7.1 มีสภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้อื ต่อการ จดั การเรยี นรู้ สง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษา ตวั ช้ีวัดที่ 7.2 มีห้องเรยี นท่สี ะอาด สวยงามเอือ้ ตอ่ การ จัดการเรียนรแู้ ละเป็นมติ รกับ สงิ่ แวดล้อม คู่มือปฏบิ ัติงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 31
ลำดบั กจิ กรรม ดำเนนิ ไม่ได้ หลักฐาน ระดบั การ ดำเนนิ การ คุณภาพ มาตรฐานที่ 8 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเปน็ แบบอยา่ ง ทดี่ ดี ้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศึกษา ตวั ช้วี ัดท่ี 8.1 มพี ฤตกิ รรมท่แี สดงถึงความ รับผิดชอบต่อ สง่ิ แวดลอ้ มและเปน็ แบบอย่างดแี กน่ กั เรียน และชุมชน ตัวชวี้ ัดท่ี 8.2 มีสอื่ /นวตั กรรม/ผลงาน สิ่งแวดล้อมศกึ ษา ที่ ไดร้ บั การยอมรับ มาตรฐานที่ 9 ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมทรี่ บั ผิดชอบตอ่ สิ่งแวดล้อม ตวั ช้ีวดั ท่ี 9.1 ผเู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะตาม วตั ถุประสงคข์ อง สง่ิ แวดล้อมศึกษา มาตรฐานท่ี 10 ชุมชน/เครือข่าย มสี ภาพแวดล้อม ท่สี ะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและมลพษิ ตวั ชีว้ ดั ท่ี 10.1 สภาพแวดลอ้ มชุมชน/ เครือขา่ ย สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและมลพษิ รวม คิดเปน็ ร้อยละ สรุปผลการดำเนนิ การ 1.ดา้ นการบรหิ ารจัดการ (2 มาตรฐาน 6 ตัวชวี้ ัด) ดำเนนิ การได้ .................... ตัวชวี้ ัด คิดเป็นรอ้ ยละ................................ 2.ด้านมาตรฐานดา้ นหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (2 มาตรฐาน 5 ตวั ชวี้ ัด) ดำเนินการได้ .................... ตวั ชีว้ ดั คิดเปน็ รอ้ ยละ................................ 3.ดา้ นมาตรฐานดา้ นมีการสว่ นรว่ มและการสรา้ งเครอื ข่าย (2 มาตรฐาน 4 ตัวชว้ี ดั ) ดำเนินการได้ .................... ตวั ชี้วดั คิดเปน็ รอ้ ยละ................................ 4.ด้านมาตรฐานดา้ นผลท่ีเกิดขน้ึ จากการดำเนนิ งานดา้ นส่งิ แวดล้อมศึกษา (4มาตรฐาน 6 ตัวชี้วดั ) ดำเนนิ การได้ .................... ตัวช้ีวัด คดิ เป็นร้อยละ................................ ลงชื่อ........................................................ผู้รายงาน ลงชื่อ...........................................................ผู้รับรอง () () ตำแหน่ง ....................................................... ตำแหนง่ ....................................................... วนั ที่.............................................................. วนั ท่.ี ............................................................ คมู่ ือปฏิบตั ิงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 32
เครอ่ื งนเิ ทศตดิ ตามโรงเรียนประชารัฐ ข้อมูลโรงเรียนในโครงการโรงเรียนประชารฐั ตามนโยบาย สพฐ. สพม. 18 มโี รงเรียนในโครงการโรงเรียนประชารัฐ 2 โรงเรียน คือ หว้ ยยางศกึ ษา และชำฆ้อพิทยาคม เนือ่ งจาก สพฐ. กำหนดใหท้ กุ เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาคัดเลือกโรงเรยี นเขา้ ร่วมโครงการ โดยระบคุ ุณสมบตั โิ รงเรยี น ระดบั มัธยมศึกษา ต้องมนี กั เรียน จำนวน 120 – 600 คน โดยใหค้ ัดเลอื กตั้งแตเ่ ดือนมกราคม 2559 ซง่ึ โรงเรยี นระยองวิทยาคม นคิ มอุตสาหกรรม สพฐ.ไดพ้ ฒั นาผู้รับผิดชอบ ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ได้แก่ รอง ผอ.สพม. 18 ศึกษานเิ ทศก์ และเจา้ หน้าที่ ICT ส่วนระดบั โรงเรียน ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหาร และครู โรงเรียนประชารฐั จะไดร้ ับการสนับสนนุ งบประมาณจากองค์กรเอกชน เชน่ บรษิ ทั TRUE ,ธนาคาร กรงุ เทพ , ธนาคารไทยพาณิชย์ , ปตท. เปน็ ตน้ ขณะนีท้ ้ังสองโรงเรยี นไดแ้ ตง่ ต้ังคณะกรรมการรบั ผิดชอบและ เปิดบัญชีกองทุนโรงเรียนประชารัฐ รวมทั้งจัดทำแผนงาน/โครงการที่เป็นไปตามความต้องการของโรงเรียน และชุมชนภายในวงเงนิ ไม่เกนิ 1 ล้านบาท ข้อมูลสถานศกึ ษาโรงเรยี นประชารฐั โรงเรียนประชารฐั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18 2559 ท่ี สถานศึกษา 2559 1 โรงเรียนห้วยยางศึกษา 2559 2 โรงเรยี นชำฆอ้ พิทยาคม 3 โรงเรยี นระยองวิทยาคม นิคมอตุ สาหกรรม ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 33
แบบแบบนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ โรงเรยี นประชารฐั โรงเรยี น.............................................................................. สพม. 18 รายการดำเนินงานของ ประเด็นรายการ ดำเนนิ การ ท่ี โรงเรียนประชารัฐ แลว้ / ยังไม่ ดำเนนิ การ 1 การพฒั นาโครงสร้าง 1.1 บรษิ ัทเอกชนลงพนื้ ท่สี ำรวจโรงเรียน ......................... พ้นื ฐานดา้ นดิจทิ ัลภายใน 1.2 บรษิ ทั เอกชนตดิ ต้งั ......................... โรงเรยี นโดย บริษัท TRUE 1.3 ติดตั้งเป็นท่ีเรียบร้อยแลว้ และใช้งานได้จริง ......................... (อนิ เตอร์เน็ตความเรว็ สูง / ปัญหาทพี่ บ จากการดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน โทรทศั น์ / คอมพิวเตอร์ ดา้ นดิจทิ ัลภายในโรงเรยี น คือ............................................ / หอ้ งถ่ายทอดสัญญาณ .............................................................................................. ............................................................................................ 2 การจัดทำฐานข้อมลู ของ 2.1 โรงเรยี นจัดทำฐานขอ้ มลู . ในระบบ DMC ......................... โรงเรียน อยา่ งครบถ้วน และเป็นปจั จุบนั ........................ ......................... 2.2 โรงเรียนจัดทำฐานข้อมูลและวางแผน ในระบบ SMSS ......................... อยา่ งครบถว้ น ......................... 2.3 โรงเรยี นจดั ทำฐานขอ้ มูลการเงนิ และบญั ชี ในระบบ SMSS อย่างครบถ้วน 2.4 โรงเรียนจัดทำฐานข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ในระบบ SMSS อย่างครบถ้วน 2.5 โรงเรียน Upgrade ระบบ SMSS ในการบริหารจัดการ ทเ่ี ปน็ ปัจจบุ นั ปญั หาท่ีพบ จากการดำเนนิ การจดั ทำฐานข้อมูลของโรงเรยี น .คอื ...................................................................................... ............................................................................................. ............................................................................................. 3 การจดั การเรยี นการสอน 3.1 ครทู ผี่ า่ นการอบรมนำความร้ไู ปขยายผลในโรงเรียน ......................... ตามหลักสูตร 3.2 ครจู ดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามหลักสตู รสาธิตจุฬาฯ ......................... 3.3 ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นสนบั สนนุ สอ่ื การเรียนการสอนที่ ......................... สอดคลอ้ งกับหลักสตู รสาธิตจุฬาฯ ......................... 3.4 ครดู ำเนนิ การขยายผลสโู่ รงเรยี นอ่นื 3.5 โรงเรียนพฒั นาแหลง่ เรียนรูท้ ี่สอดคล้องกับหลักสูตร ......................... สาธติ จุฬาฯ คู่มอื ปฏิบตั ิงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 34
รายการดำเนินงานของ ประเด็นรายการ ดำเนนิ การ ที่ โรงเรยี นประชารัฐ แลว้ / ยงั ไม่ ดำเนนิ การ ปญั หาที่พบจากการจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตรสาธิต ......................... จุฬาฯ ......................... ......................... ........................................................................................... ......................... ............................................................................................. ......................... ......................... ............................................................................................. ......................... 4 การจดั การเรยี นการสอน 4.1 ครทู ผ่ี า่ นการอบรมจดั กิจกรรมจัดการเรียนการสอน ......................... ในรปู แบบ STEM ในรูปแบบ STEM Education .... Education 4.2 ครูทีผ่ า่ นการอบรมนำความรไู้ ปขยายผลในโรงเรียน 5 4 3 2 1. 54321 (ตอบเฉพาะโรงเรยี นท่เี ขา้ 4.3 ครดู ำเนนิ การขยายผลสูโ่ รงเรียนอ่นื 54321 รว่ มโครงการ ) 54321 ปญั หาทีพ่ บจาก การดำเนินการจัดการเรียนการสอน 54321 ในรูปแบบ STEM Education ............................................................................................. ............................................................................................. 5 การพฒั นาภาษาอังกฤษ 5.1 โรงเรยี นได้รับส่ือการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ จากสถาบนั ภาษา จำนวน 14 แผ่น 5.2 โรงเรยี นจัดทำแผนการใช้ส่ือการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ 5.3 ครนู ำส่ือไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอนจรงิ ปญั หาท่ีพบจากการพัฒนาภาษาอังกฤษ ............................................................................................. ............................................................................................. 6 การพฒั นาส่ือการเรยี นรู้ 6.1 โรงเรยี นทราบข้อมลู การสนับสนุนสือ่ การเรยี นรู้ จากภาคเอกชน เช่น TRUE ปลูกปญั ญา 6.2 ผู้บรหิ ารใหค้ รพู ฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้ 6.3 โรงเรียนวางแผนการจดั หาและสนบั สนุนส่อื การเรยี นรู้ ปญั หาทพี่ บจากการพัฒนาส่ือการเรียนรู้ ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. 7 ระดับความต้องการ 7.1 การบรหิ ารสถานศึกษายุคดจิ ิทัล หลักสตู รการอบรมและ 7.2 ภาวะผู้นำเชงิ นวตั กรรม พฒั นาสำหรับผู้บริหาร 7.3 กลยุทธก์ ารตลาดสำหรบั สถานศกึ ษา 7 หลักสตู ร 7.4 กลยทุ ธ์การพัฒนาสถานศึกษา 7.5 การบรหิ ารความเสย่ี งสำหรับสถานศกึ ษา คู่มือปฏบิ ตั ิงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 35
รายการดำเนนิ งานของ ประเด็นรายการ ดำเนินการ ที่ โรงเรียนประชารฐั แลว้ / ยังไม่ 7.6 การบริหารการเปลย่ี นแปลงสู่วฒั นธรรมคณุ ภาพ ดำเนินการ 8 ระดบั ความต้องการ 7.7 กลยทุ ธก์ ารพัฒนาความสัมพันธ์ระหวา่ งโรงเรียนกบั 54321 หลกั สูตรการอบรมและ ชมุ ชน 54321 พฒั นาสำหรบั ครู เขียนวงกลมบนตวั เลข ระบุความตอ้ งการจากมากไปหานอ้ ย 6 หลกั สูตร 5 , 4 , 3 , 2 , 1 ในชอ่ งขวามอื 5 4 3 2 1. 54321 9 การดำเนนิ งานกองทนุ 8.1 ครบเครอื่ งเร่อื งการศึกษา 54321 โรงเรียนประชารฐั 8.2 การบริหารจัดการชน้ั เรยี นยคุ ดิจทิ ลั 54321 8.3 GURU ครูมืออาชพี 54321 8.4 จากครูสผู่ อู้ ำนวยการเรียนรู้ 54321 8.5 สรา้ งคุณค่าในการประเมินการเรียนรู้ 8.6 การสรา้ งจติ สำนกึ ของการเปน็ พลเมอื งโลกมี่ดี มี / ไมม่ ี เขยี นวงกลมบนตัวเลข ระบคุ วามต้องการ มี / ไม่มี จากมากไปหาน้อย 5 , 4 , 3 , 2 , 1 ในช่องขวามอื 9.1 โรงเรียนมคี ่มู ือ และระเบียบกองทนุ โรงเรียนประชารัฐ มี / ไมม่ ี 9.2 โรงเรยี นมีคณะกรรมการบรหิ ารกองทนุ มี / ไมม่ ี โรงเรยี นประชารัฐ 9.3 โรงเรียนเปิดบัญชีกองทนุ ของโรงเรยี น 9.4 คณะกรรมการบริหารกองทุนวางแผนการจดั หาเงนิ เข้ากองทุน เขยี นวงกลมบน มี / ไมม่ ี ในช่องขวามือ 10 โรงเรยี นมีแนวทาง 10.1 SCHOOL SPONSORS โดยการวางแผนร่วมกบั SCHOOL มี / ไมม่ ี . การจัดหาเงินเข้ากองทนุ PARTNERS 10.2 หนว่ ยงานภาคเอกชนในท้องถ่นิ มี / ไม่มี จากแหล่งต่อไปนี้ 10.3 หน่วยงานภาครัฐในท้องถ่นิ มี / ไมม่ ี 10.4 ภาคประชาสงั คมในท้องถิน่ เช่น ผู้ปกครอง ศิษยเ์ กา่ มี / ไม่มี กลุ่มบุคคลต่างๆ เขยี นวงกลมบน มี / ไมม่ ี ในช่องขวามือ 11 ระดบั ความเหมาะสม 11.1 แหลง่ การเรียนรเู้ คลอื่ นท่ี 5 4 3 2 1. ของกิจกรรมของกจิ กรรม 11.2 คา่ ยพฒั นาการเรยี นรู้ 54321 ทจี่ ะนำไปใชใ้ นการพฒั นา 11.3 การทศั นศึกษานอกสถานที่ 54321 โรงเรียนของท่าน 11.4 การจดั กจิ กรรมแขง่ ขันทักษะทางวชิ าการ 54321 เขียนวงกลมบนตวั เลข ระบุความตอ้ งการ จากมากไปหาน้อย 5 , 4 , 3 , 2 , 1 ในชอ่ งขวามือ คมู่ อื ปฏบิ ตั ิงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 36
รายการดำเนนิ งานของ ประเด็นรายการ ดำเนนิ การ ที่ โรงเรียนประชารฐั แล้ว/ ยงั ไม่ ดำเนินการ 12 โรงเรียนดำเนินการจัดทำ โรงเรียนดำเนินการแล้ว หรอื SWOT ANALYSIS ของ โรงเรยี นยังไมด่ ำเนนิ การ โรงเรียนเพ่อื เตรียมรับการ พฒั นา 13 โรงเรยี นเสนอแผนงาน/ ดำเนนิ การแล้ว จำนวน ................ โครงการ สง่ ให้ SCHOOL . โครงการให้กบั SPONSORS วงเงินงบประมาณ จำนวน ................................. บาท เมอื่ วันที่ ...... SCHOOL SPONSORS เดือน ........ ปี................ ปัญหาท่ีพบในภาพรวม ............................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ความต้องการในการแก้ปัญหา ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ข้อเสนอแนะของศกึ ษานิเทศก์ ............................................................................................................................. ..................................... .......................................................................................................................................................................... .... หมายเหตุ แบบนิเทศ และรายงานนี้ เมอื่ ดำเนินการแล้วให้รวบรวม ร่องรอย หลักฐาน และจดั ส่งไปที กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา สพม.18 ภายในวันท่ี ..… เดือน................พ.ศ. ………. ค่มู ือปฏบิ ัติงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18 37
บรรณานกุ รม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว,2551. กระทรวงศึกษาธกิ าร. กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2553. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนที่ 23 ก. ชยันต์ วรรธนะภูติ . ทิศทางการพฒั นาเครือข่ายการเรียนรู้ : แนวทางการวิจัยด้านเครือข่ายการ เรียนรู้. (เอกสารวิชาการ)เชียงใหม่ สถาบนั วิจยั สังคม มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่.(ม.ป.ป.). นิศา ชโู ต. การประเมนิ โครงการ. กรุงเทพมหานคร : ธรรมศาสตรก์ ารพิมพ์. 2527. ภรณี กรี ต์ บิ ุตร. การประสานงานระหว่างองค์กร. โอเดยี นสโตร์, กรงุ เทพฯ : 2522. ธงชัย สันตวิ งษ.์ องคก์ ารและการจดั การทนั สมัยยุคโลกาภิวฒั น์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ , 2540. สงดั อุทรานนั ท์. การสังเคราะห์งานวิจยั ทางการนเิ ทศการศกึ ษาในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์และทำปกเจรญิ ผล, 2533. สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ. แนวทางการประกนั คณุ ภาพการศึกษา. บรษิ ัท พิมพด์ ี จำกดั , 2541. สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. แนวดำเนินการของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษาของสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2551. สำนกั นายกรฐั มนตร.ี พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ ฉบับ2 (พ.ศ. 2545). 2545. สำนักนายกรฐั มนตร.ี ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เร่ือง การแบง่ ส่วนราชการภายในสำนกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา พ.ศ. 2553. 2553. สำนกั นวตั กรรมการศกึ ษา. คู่มือโรงเรยี นมาตรฐานสิง่ แวดลอมศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนาทย่ี ั่งยนื . 2560. (Environmental Education Sustainable Development School : EESD School) คู่มือปฏบิ ัติงานศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.18 38
ภาคผนวก คู่มือปฏิบัติงานศึกษานิเทศก์ สพม.18 39
คำส่งั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 18 เร่อื ง กำหนดหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ขอบให้ขา้ ราชการและลูกจา้ งปฏิบัติ ท่ี 186/2562 (แนบเอกสารคำสัง่ ) คมู่ อื ปฏิบัติงานศึกษานเิ ทศก์ สพม.18 40
คู่มือปฏิบัติงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 41
คู่มือปฏิบัติงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 42
คู่มือปฏิบัติงานศกึ ษานิเทศก์ สพม.18 43
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: