รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี น การดำเนนิ โครงการโรงเรยี นสุจรติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 038 397 501 www.spm18.go.th สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
2 คำนำ รายงานสรุปผลการดำเนินกิจกรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กลมุ่ นเิ ทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาสาํ นักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ กจิ กรรมท่ีโรงเรยี นดำเนนิ การในโครงการโรงเรียนสจุ ริต ได้ศึกษาและใช้เป็นแนวทาง ใน การพัฒนานวัตกรรมการปฏิบัตทิ ี่เป็นเลิศ ด้านการบริหาร ด้านกระบวนการ การจัดการเรียนรู้และการจัด กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนเพ่ือให้ผู้เรียนเกดิ คุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรยี นสุจรติ คือ ทักษะกระบวนการคดิ มี วินัยซื่อสตั ยส์ ุจรติ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง และจิตสาธารณะ นำามาแลกเปล่ียน เรียนรู้และนำไปพฒั นาโรงเรียนสจุ รติ ต่อไป ผจู้ ัดทำหวงั เป็นอยา่ งยิง่ ว่ารายงานสรปุ ผลการดำเนนิ กิจกรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 จะเปน็ ประโยชน์ต่อผู้บริหาร และครู ของสถานศึกษาในสงั กัด และบคุ ลากรท่ี เกี่ยวข้องในการนำผลรายงานไปวางแผนปรับปรงุ หรือพัฒนาการดำเนินงานโครงการโรงเรยี นสุจริตตอ่ ไป ขอขอบคุณสถานศึกษาในสงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 ที่มสี ว่ นรว่ มในการดำเนนิ โครงการโรงเรียนสจุ รติ จนบรรลุวัตถุประสงค์ ไว้ ณ โอกาสนี้ ผูจ้ ัดทำ นายณรงค์ศักดิ์ สาลี ศกึ ษานิเทศก์ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสุจรติ
สารบญั 3 คำนำ หน้า สารบญั ส่วนท่ี 1 บทนำ 1 3 ความเป็นมา 3 สว่ นที่ 2 หลักการและเหตุผล 6 6 แนวทางการถอดบทเรียนโครงการโรงเรียนสจุ ริต 7 ความหมายของการถอดบทเรียน 8 ส่วนท่ี 3 วธิ ดี ำเนินการ 9 แนวทางการดำเนนิ การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ 10 เกณฑ์การคดั เลอื กผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน 13 รูปแบบรายงานกจิ กรรมการถอดบทเรยี น รายละเอียดการนำเสนอ บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน การดำเนนิ โครงการของสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนนิ งาน สรุปผลการคัดเลือกกจิ กรรมโรงเรียนสจุ รติ ภาคผนวก รายงานสรุปโครงการ
หน้าที่ 1 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมา ด้วยยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560–2564) ได้ กำหนดวิสยั ทศั น์ว่า “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยท้งั ชาตติ ้านทุจรติ (Zero tolerance & Clean Thailand)” มี พันธกิจในการสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนแบบ บูรณาการและปฏิรูปกระบวนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งระบบให้มีมาตรฐานสากล โดยมี เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ คือ ประเทศไทยได้รับการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 นอกจากนี้ ทิศทางการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการ ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต ระยะที่ 3 ยังมีความสอดคล้องกับทิศทางของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ยุทธศาสตร์ที่ 6ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ) และทิศทาง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์ การปลูกฝงั “คนไทยไม่โกง” และยทุ ธศาสตร์การป้องกันดว้ ยการเสริมสร้าง สงั คมธรรมาภิบาล) อกี ดว้ ย จากการที่ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต(สำนักงาน ป.ป.ช.)ได้ทำ ข้อตกลงความรว่ มมือต่อต้านการทจุ รติ รว่ มกับกระทรวงศกึ ษาธิการ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 เพื่อประสาน ความร่วมมือในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน โดยอาศัยกลไกทางการศึกษา เป็นเครื่องมือในการปลูก จิตสำนึกให้แก่เยาวชน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการดำเนินโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิ บาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต)ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน โดยให้ความสำคัญกับการเตรียมการด้านการป้องกันแปราบปรามการทุจริตของประเทศชาติมาอยา่ ง ต่อเนือ่ ง สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 ได้ดำเนินการขบั เคลื่อนโครงการเสริมสรา้ ง คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “ป้องกันการทจุ รติ ” (โครงการโรงเรียนสจุ ริต) ได้ ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาตวิ า่ ด้วยการปอ้ งกันปราบปรามการทจุ ริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 สร้างสังคมท่ีไม่ทนต่อการทุจริต และยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พัฒนาระบบป้องกันการทจุ ริตเชิงรุก เพื่อพัฒนานกั เรียน ครู ผบู้ ริหาร และบุคลากรทางการศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน พนื้ ฐาน ใหเ้ กิดคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจรติ ไดแ้ ก่ ทักษะกระบวนการคดิ มวี นิ ัย ซื่อสตั ย์สุจรติ อยอู่ ย่างพอเพียง และจติ สาธารณะโดยดำเนินการตามแนวทางของปฏิญญาโรงเรยี นสุจริตทั้ง 3 ดา้ น คือ ดา้ น การปอ้ งกนั ดา้ นการปลูกฝัง และด้านการสร้างเครือข่ายเพื่อให้บรรลตุ ามเป้าหมายตวั ช้ีวัดของแผนบูรณาการ ป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ รายงานสรุปผลการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการโรงเรียนสุจรติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18
หนา้ ที่ 2 การจัดทำผลงาน/นวตั กรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) เปน็ หนง่ึ ในกจิ กรรมของโครงการ โรงเรยี นสุจริต เป็นกระบวนการปฏบิ ตั งิ านท่ีเปน็ ระบบ มีการบรู ณาการและมคี วามเชื่อมโยงกนั ซ่ึงใน กระบวนการอาจมีผลงานนวัตกรรม วธิ ีการเฉพาะกรณหี รือคุณลักษณะเฉพาะหรือสื่อเป็นส่วนประกอบแต่ตอ้ ง เป็นส่วนทม่ี ีความสำคัญในการสนบั สนุนและส่งผลสำเรจ็ ท่เี ปน็ เลศิ ตามคุณลักษณะ 5ประการของโรงเรียนสจุ ริต ซึง่ โรงเรยี นที่เขา้ รว่ มโครงการตอ้ งจดั กิจกรรมตามที่กำหนดและจัดกิจกรรมที่โรงเรยี นคิดข้นึ เพื่อปลูกฝังให้ ผเู้ รยี นเกิดคุณลักษณะดงั กล่าวเมอ่ื ดำเนินการเสรจ็ เรยี บร้อยและประสบความสำเร็จบคุ ลากรในโรงเรยี นนำ กิจกรรมทีป่ ระสบความสำเรจ็ มาจัดทำเปน็ ผลงาน นวัตกรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) และนำมา แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธใ์ ห้ผเู้ ก่ยี วข้องและผู้สนใจไดร้ บั ทราบต่อไป รายงานสรุปผลการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18
หน้าที่ 3 สว่ นท่ี 2 หลักการและเหตุผล แนวทางการถอดบทเรียนโครงการโรงเรียนสุจริตประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การจัดทำผลงาน/นวัตกรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) เป็นกระบวนการปฏิบัติงานที่เป็น ระบบ มีการบูรณาการและมีความเช่ือมโยงกัน ซ่ึงในกระบวนการอาจมีผลงานนวัตกรรม วิธีการเฉพาะกรณี หรือคุณลักษณะ เฉพาะหรือสื่อเป็นส่วนประกอบแต่ต้องเป็นส่วนที่มีความสำคัญในการสนับสนุน และส่งผล สำเร็จที่เป็นเลิศ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการโรงเรยี นสจุ ริต) กำหนดคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจรติ ประกอบด้วย 1. ทกั ษะกระบวนการคิด 2. มวี นิ ยั 3. ซ่ือสัตยส์ จุ รติ 4. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 5. จิตสาธารณะ ซ่ึงโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการต้องจัดกิจกรรมตามท่ีกำหนดและจัดกิจกรรมท่ีโรงเรียนคิดขึ้นเพ่ือ ปลูกฝังให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะดังกล่าว เมื่อดำเนินการเสร็จเรียบร้อยและประสบความสำเร็จบุคลากรใน โรงเรียน นำกิจกรรมท่ีประสบความสำเร็จมาจัดทำเป็นผลงาน นวัตกรรมการถอดบทเรียน (Best Practice) และนำมาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธใ์ ห้ผู้เกยี่ วขอ้ งและสนใจได้รับทราบต่อไป ความหมายของการถอดบทเรยี น (Best Practice) นักการศึกษาและนักวิชาการทั้งต่างประเทศและในประเทศให้ ความหมายของ Best Practice ไว้ดังนี สถาบันเพม่ิ ผลผลิตแหง่ ชาติ 2545 : ) ไดใ้ ห้ความหมายของ Best Practice คอื การปฏบิ ตั ิทีทำให้องค์กร ประสบความสำเร็จหรืออาจกลา่ ว ได้ว่า การปฏิบัตทิ ี่ทำให้องค์กรสูค่ วามเปน็ เลศิ อนั ท่ีจริงแล้วคำวา่ ดีทส่ี ุดคือ (Best) ของคำาว่า Best Practice น้เี ปน็ คำาทใ่ี ห้ความหมายในเชิงเทียบเคยี ง คอื ขนึ้ อยู่กบั สถานการณแ์ ละ เป้าหมายเป็นหลัก คำาว่าดีท่ีสุดอาจจะไม่ได้ หมายถงึ ดีที่สุดจรงิ ๆ ขององค์กรท้ังหมด แตอ่ าจจะเฉพาะสำหรับ องค์กรใด องคก์ รหน่ึงเท่าน้ัน เพราะแต่ละองค์กรมีวัฒนธรรม วิสยั ทัศน์ สภาพ ธรุ กิจ และปัจจัยภายในของ องค์กรทแี ตกต่างกนั ไป ดังน้นั Best Practice จึงไมไ่ ดจ้ ำกัดอยเู่ พยี งเร่ืองๆเดยี ว หรือกระบวนการใด กระบวนการหน่ึง เพยี งอย่างเดยี วแตข่ ้ึนอยู่กบั ส่ิงทดี่ ีที่สุดที่แตล่ ะองค์กรมองหา และสถาบนั เพิ่มผลผลิต แห่งชาติ ไดก้ ลา่ วถึงความหมายของ Best Practice อกี วา่ เป็นแนวทางหรือวิธีการปฏิบตั ิในเร่ืองตา่ งๆ ที่นำ องค์กรไปสูค่ วามสำเร็จ และบรรลจุ ุดมุ่งหมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล Best Practice ชว่ ยให้ ผู้ประกอบการสามารถลดเวลาในการปรบั ปรงุ ประสทิ ธิภาพองค์กร ได้โดยการศึกษาจาก Best Practice ของ องค์กรต่างๆ แล้วนำไปประยุกต์ ใช้ให้เหมาะสม วรภัทร์ ภู่เจริญ (2545 : 99 – 102) ได้กล่าวถึง Best Practice ไว้ว่า Best Practice เป็นส่วนหน่ึง ของ Benchmark ซ่งึ หมายถึง การเป็นเลิศด้านใดดา้ นหน่ึงในชว่ งระยะเวลาใดเวลาหน่ึง รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนนิ โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
หน้าท่ี 4 บูรชัย ศิริมหาสาคร (2548) Best Practice คือ วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ในการทำสิ่งใดส่ิงหน่ึงให้สำเร็จ ซ่ึงเป็นผลมาจากการนำความรู้ไปปฏิบัติจริง แล้วสรุปความรู้และประสบการณ์นัน้ เป็นแนวปฏิบัตทิ ี่ดีที่สุดของ ตนเอง วิจารณ์ พานิช (อ้างถึงใน วันทนา เมืองจันทร์ และเต็มจิต จันทคา 2548 : 2) กล่าวว่า วิธีการจัดการ ความรู้อย่างง่าย คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้จากวิธีการทำงานแบบ Best Practice องค์ประกอบ สำคัญ ประการหน่ึงของการจัดการความรู้ คือ การมีฐานข้อมูลเกี่ยวกับ วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศของหน่วยงานต่างๆ ท่ีมี ผลงานดีเด่นเป็นท่ียอมรับใน ด้านต่างๆ (เช่น ด้านแนวคิด กระบวนการวางแผน การดำเนินงานตามแผน การ ประเมินผล และการมีส่วนร่วมของชุมชน) โดยมีการเผยแพร่วิธีปฏิบัติงาน ท่ีเป็นเลิศ เพ่ือให้หน่วยงานอื่นได้ นำไปปรับใช้ซ่ึงเป็นไปตาม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ในมาตรา 11 ระบุว่า “ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ใน ส่วนราชการ เพ่ือให้มีลักษณะเป็นองค์กร แหง่ การเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ” สำนักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา (2551 : 9 - 10) American Productivity and Quality Center ไดใ้ ห้คำจำกดั ความ Best Practice วา่ เป็นการปฏบิ ตั ิการทง้ั หลายท่ีสามารถกอ่ ให้เกิดผลที่เป็นเลศิ หรอื การปฏิบตั ทิ ที่ ำให้องค์กรกา้ วเขาส่คู วามเปน็ เลิศ (อ้างถงึ ใน บุญดี บญุ ญากิจและกมลวรรณ สิรพิ านชิ ) (2545) สถาบนั วิจยั และพัฒนาการ เรียนรู้ไดก้ ล่าวถึง Best Practice ว่าเปน็ วิธกี ารใหมๆ่ ท่ีสถานศกึ ษาเรยี นรู้ จากการ ปฏิบตั จิ รงิ ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ซ่ึงนำไปส่ผู ลลัพธ์ ท่ีนำไปตอบสนองความคาดหวังของชุมชน ผู้ปกครองละเป้าหมายของ สถานศึกษาอย่างมีประสิทธภิ าพทำให้สถานศกึ ษาพัฒนาคุณภาพจนประสบ ความ สำเรจและกา้ วสู่ความเปน็ เลิศ (อ้างถึงใน สถาบันวจิ ัยและพัฒนา การเรยี นรู้มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนสนุ ันทา 2549) นอกจากนอ้ี าจพิจารณาความหมายได้ 2 ลกั ษณะ คอื 1. วิธกี ารหรอื วธิ ีปฏิบัตทิ ่ีองคก์ รไดท้ ดลองนำไปใช้จนประสบ ความสำเร็จ 2. วิธกี ารหรือวธิ ีปฏิบตั ทิ ีส่งผลตอ่ การดำเนนิ การทขี่ ึน้ ขององคก์ รมีนวัตกรรมมีกระบวนการทีเป็นระบบ ยอมรับได้ (จากการตรวจสอบประเมิน หรือรางวัล ฯลฯ) และทดลองนำไปใช้จนประสบความสำเร็จซ่ึงได้รับ การยอมรับจากผูรับบริการ (บรรยาย Best Practice โดย รศ.รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม ในการ ประชุมสัมมนา Roving Team โครงการโรงเรยี นในฝน วันที 17 – 19 พ.ย. 2550 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต จ.ปทุมธาน)ี Best Practice จึงเป็นบทสรุปของวิธีการปฏิบัติท่ีเป็น Tacit Knowledge (ความรู้ในตัวคน) ซ่ึง เผยแพร่เป็น Explicit Knowledge (ความรู้ที่ปรากฏให้เห็นชัดแจ้งในรูปแบบต่างๆ) เพ่ือให้ผู้อื่นได้นำไป ทดลองปฏิบตั ิ สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา (2551 : 8) กล่าวถึง แนวคิดพื้นฐานที่มีส่วนสำคัญในการนำ แนวคิด เรื่อง Best Practice ไปใช้ ดังน้ี รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนินโครงการโรงเรยี นสุจรติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18
หน้าที่ 5 1. ความต้องการในการแสวงหาข้อมูลหรือความรู้ เพ่ือนำสู่ การพัฒนางานให้เกิดประโยชน์สูงสุดหรอื การนำความรู้ไปใช้เพอ่ื การสร้าง ประโยชน์ (Knowledge Application) 2. ความเชื่อว่าความรู้หรือแหล่งขอมูลไม่มีเฉพาะในเอกสาร ในตำรา หรือจากการเรียนรู้ตามรูป แบบเดิม เช่น การอบรมด้วยการฟังจากวิทยากร เท่าน้ัน หากแต่ขอมูลหรือความรู้ อยู่ในตัวบุคคลที่ประสบ ความสำเร็จในการทำางานหรือการใช้ชีวิต หรือในองค์กรท่ีปฏิบัติงานท่ีประสบผลสำเร็จ (Knowledge Generation) 3. ความเช่ือในวิธีการเรียนรู้ทีเป็นกระบวนการจัดการกับความรู้ (Knowledge Management) หรือ Knowledge Integration สรุปได้ว่า Best Practice เป็นวิธีการทำงานท่ีดีที่สุดในแต่ละเรื่องซ่ึงสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกงาน/ หน่วยงาน เกิดจากหลายช่องทาง ทั้งตัวผู้นำ ผู้ร่วมงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือภาวะปัญหาและการริเร่ิม สร้างสรรค์พัฒนาท่ีขั้นตอน ในหน่วยงานทางการศึกษาอาจจะมี Best Practice อยู่แล้ว ทั้งด้านบริหาร ด้าน การจัดการเรยี นการสอน ด้านคณุ ภาพ หรือด้านอนื่ ๆ การจะพิจารณาว่าเป็นวิธปี ฏบิ ัติทีดีหรือไม่ มขี ้อควรคำนึง เช่น ภารกิจท่ีแท้จริง การลดเวลา ค่าใช้จ่าย ได้ผลผลิตเท่าเดิมหรือเพิ่มข้ึน ใช้เป็นมาตรฐานการปฏิบัติ เกิด ความพึงพอใจของผู้รับบริการ มีการบันทึก เขียนรายงาน เพื่อการศึกษาพัฒนาและเผยแพร่ ซึงจะเป็น ประโยชน์ใน การบริหารจัดการ การเรียนการสอน และอาจนำไปสู่การตอบแทนหรือ ให้รางวัล ในลักษณะ ต่างๆ ได้ รายงานสรปุ ผลการถอดบทเรยี นการดำเนินโครงการโรงเรยี นสุจรติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 18
หนา้ ท่ี 6 ส่วนที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การ แนวทางการดำเนนิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การดำเนนิ การแลกเปล่ียนเรียนรขู้ องโรงเรียนท่ีเขา้ รว่ มโครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกนั การทุจรติ ” (โครงการโรงเรยี นสจุ รติ )มีแนวทางการดำเนินงานดงั นี้ ระดับสำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา ดำเนนิ การจดั กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูผ้ ลงาน/นวัตกรรมถอด บทเรยี น (Best Practice) ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และนักเรียน ทเ่ี ป็นตวั แทนของสถานศึกษาโดย ดำเนนิ การจัดกิจกรรมแลกเปล่ยี นเรียนร้ใู นระดับเขตพืน้ ที่การศึกษาท่มี ลี ักษณะของการจัดประชมุ สมั มนา (workshop/symposium) การจดั นิทรรศการแสดงผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) เกณฑ์การคดั เลือกผลงาน/นวตั กรรมถอดบทเรียน (Best Practice) การคัดเลือกผลงาน/นวตั กรรมถอดบทเรียน (Best Practice) มีรายการพจิ ารณาจำนวน 8 รายการ มี คะแนนรวม 100 คะแนน ดงั นี้ 1. ความสำคญั ของผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) 9 คะแนน 2. จดุ ประสงค์และเปา้ หมายของผลงาน/นวตั กรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) 6 คะแนน 3. กระบวนการผลติ ผลงาน หรอื ข้นั ตอนการดำเนินงาน 30 คะแนน 4. ผลการดำเนนิ การ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชนท์ ่ีได้รบั 30 คะแนน 5. ปจั จยั ความสำเรจ็ 6 คะแนน 6. บทเรยี นทีไ่ ดร้ บั (Lesson Learned) 9 คะแนน 7. การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรับ/รางวลั ท่ไี ดร้ บั 6 คะแนน 8. การนำ เสนอผลงาน 4 คะแนน เกณฑ์คณุ ภาพผลงานการพจิ ารณาคะแนนรวมทุกรายการ มีเกณฑ์คณุ ภาพผลงาน ดังน้ี - ผลงานท่มี คี ุณภาพดเี ยยี่ ม ได้คะแนน ต้ังแต่ 81 - 100 คะแนน - ผลงานทม่ี คี ุณภาพดี ไดค้ ะแนน ตั้งแต่ 60 - 80 คะแนน - ผลงานท่ีมคี ณุ ภาพพอใช้ ได้คะแนน น้อยกว่า 60 คะแนน รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนนิ โครงการโรงเรียนสจุ รติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18
หนา้ ที่ 7 รูปแบบรายงานกจิ กรรมการถอดบทเรียน การถอดบทเรยี น (Best Practice) และแลกเปลีย่ นเรยี นรผู้ ลการปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ สำหรบั โรงเรยี นสจุ รติ ชอื่ ผลงาน ................................................................................................................................ ชือ่ เจา้ ของผลงาน โรงเรียน ..................................................................................................................... สงั กัด ...................................................................................................................... ... โทรศัพท์ ...................................................โทรสาร ................................................... โทรศัพท์มือถอื ...........................................E-mail ……………………………………………. ประเภทผลงาน ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู นกั เรียน สอดคลอ้ งกับคุณลกั ษณะโรงเรียนสจุ ริต ทกั ษะกระบวนการคิด มีวินัย ซือ่ สตั ย์สจรติ อยู่อยา่ งพอเพียง จิตสาธารณะ รายงานสรุปผลการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18
หน้าท่ี 8 รายละเอียดเอกสารการนำเสนอผลงาน/นวตั กรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) 1. ความสำคัญของผลงานหรือนวตั กรรมท่นี ำเสนอ .......................................................... (เหตุผลแรงบันดาลใจ ความจำเปน็ เพื่อแก้ไขปญั หา แนวคดิ หลกั การความสำคัญ) 2. จดุ ประสงค์และเป้าหมาย ............................................................................................. (วัตถปุ ระสงค์ เขยี นใหส้ อดคล้องกบั ความสำคัญของผลงาน/นวัตกรรมนน้ั มเี ปา้ หมายอยา่ งไร เพื่ออะไร) 3. กระบวนการผลิตผลงาน ............................................................................................... (วิธีการ ขน้ั ตอนในการผลติ ผลงาน หรือนวตั กรรมน้นั เปน็ Plow Chart คือ แผนภาพแสดงลำดับขน้ั ตอนการ ทำงาน เป็นเครื่องมือในการรวบรวมจัดลำดับความคดิ เพื่อใหเ้ ห็นขนั้ ตอนการีทำงานที่ชดั เจนและใช้วาง แผนการทำงานขั้นแรก โดยสัญลักษณ์ Flowchart แสดงถงึ การทำงานลกั ษณะตา่ ง ๆ เช่ือมต่อกัน) 4. ผลการดำเนินงาน/ผลสัมฤทธ์ิ/ประโยชนท์ ่ีได้รับ ........................................................... (รวมสิ่งทีเ่ กิดข้นึ /ผลท่เี กิดข้นึ ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากผลวานหรอื นวัตกรรมท่ีทำ) 5. ปัจจยั สู่ความสำเรจ็ ....................................................................................................... (ระบบุ คุ คล/หนว่ ยงาน/องคก์ รหรอื วธิ กี ารทีทำให้ผลงาน/นวตั กรรมน้ันเกดิ ความสำเร็จ) 6. บทเรยี นทไี่ ด้รบั (Lesson Learned) .......................................................................... (คน้ พบอะไร มีวธิ กี ารขน้ั ตอน รปู แบบทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม่) 7. การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรับ ................................................................................ (มขี ้อมลู รอ่ งรอยหลกั ฐาน ช่องทางเผยแพรก่ ารได้รบั การยอมรบั รางวลั ) 8. เง่ือนไขความสำเรจ็ ..........................................บ...ท..ท...ี่..4................................................... (สงิ่ ที่ขาดไม่ได้ในการทำผลงผาลนก/านรวปตั รกะรเมรนิมคถณุ า้ ธขรารดมสแง่ิ ลนะ้ีจคะวทามำใโหปร้งาง่ ในสหในรือกนารวตั กรรมนนั้ ไม่ประสบผลสำเรจ็ ) รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนนิ โครงการโรงเรียนสุจรติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18
หนา้ ที่ 9 ส่วนที่ 4 ผลการดำเนินโครงการ การดำเนินงานของสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18 โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการ ทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) ทุกโรงเรียนมีกิจกรรมหนึ่งที่โครงการได้กำหนดให้โรงเรียนดำเนินการจัดทำ ผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน (BestPractice) ซึ่งผู้จัดทำ ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา ครูและนักเรียน ในโรงเรียนทุกคน ผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) ที่จัดทำข้ึนน้ันมาจากการดำเนินงานตาม กิจกรรมของโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ป้องกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) หรือกิจกรรมท่โี รงเรียนคิดข้ึนเองแลว้ ประสบความสำเรจ็ และเกดิ ความภาคภูมิใจแล้ว นำมาเขยี นเป็นผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) ตามรปู แบบที่ สพฐ.กำหนด จากนน้ั นำผลงาน/ นวตั กรรมถอดบทเรียน(Best Practice) มาแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ในระดับโรงเรียน ซึ่งมีลกั ษณะของการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทห่ี ลากหลาย เชน่ การจับค่กู ันแลกเปล่ียนเรียนรู้การแลกเปลย่ี นเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย 5-10 คน หรือการ แลกเปล่ียนเรียนรู้เป็นกลุ่มใหญ่ เช่น การจัดประชุม สัมมนา (workshop/symposium) ภายในโรงเรียนหรือ เป็นกลุ่มโรงเรียน ตลาดนัดความรู้การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) ท่ี โรงเรียนของตนเองแล้วเชิญโรงเรยี นต่างๆ ภายในกลุ่มโรงเรียนหรอื อำเภอ ผู้ปกครองชุมชน มาเย่ียมชม รวมถึง มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรีย นรู้อื่นตามที่โรงเรียนเห็นสมควรแล้ว พิจารณาคัดเลือกผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) ที่ดีที่สุดของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และ นักเรียน ตามที่ สพฐ.กำหนดจากนั้นดำเนินการส่งผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) ไปยัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พร้อมแนบเอกสารหลักฐานประกอบเพื่อเข้ารับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ พจิ ารณาคดั เลือกจากสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาต่อไป ในส่วนของเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา ดำเนินการจัดกจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรียนรผู้ ลงาน/นวตั กรรมถอด บทเรยี น (Best Practice) ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครแู ละนักเรยี นทีเ่ ปน็ ตวั แทนของโรงเรียนโดยดำเนินการ จัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในระดบั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาที่มลี กั ษณะของการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ คัดเลอื กผลงาน/นวตั กรรม การถอดบทเรียน (Best Practice) ที่ดที ่ีสดุ ของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และ นกั เรยี นตามท่สี พฐ.กำหนดจากน้ันดำเนนิ การส่งผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรยี น (Best Practice) ไปยังสพฐ. พรอ้ มแนบเอกสารหลกั ฐานประกอบเพ่ือเข้ารบั การแลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละพจิ ารณาคัดเลือกจาก สพฐ. ต่อไป สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18 ไดด้ ำเนินกจิ กรรมโดยแจ้งให้โรงเรียนดำเนินการถอด บทเรยี นตามรปู แบบท่ีกำหนด ในใบงานเพ่ือให้โรงเรียนนำเสนอในการประชมุ เชิงปฏิบตั ิการถอดบทเรยี น (Best Practice) ในปีการศึกษา 2562 ต่อเน่ืองจนปัจจบุ นั เพือ่ ดำเนินโครงการโรงเรยี นสุจริต ดงั นี้ รายงานสรปุ ผลการถอดบทเรียนการดำเนนิ โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 18
หน้าท่ี 10 สว่ นที่ 5 สรุปผลการดำเนินงาน สรปุ ผลการคัดเลือกกจิ กรรมโรงเรยี นสจุ ริต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กจิ กรรมท่ี 1 บริษัทสร้างการดี ผู้รับผดิ ชอบ คะแนน ลำดบั ท่ี 1. นายสาธิต สกลุ วงษ์ 83 ลำดบั ที่ 2 ที่ กิจกรรมบริษัทสร้างการดี 1 โครงการสนิ ค้าเกษตร/ แกลง “วิทย 1. นายเตชติ แผลงอาวุธ 72 ลำดับที่ 3 2. นางสาวนลินี ทับวเิ ชยี ร สถาวร” โรงเรยี นบอ่ ทองวงษ์จนั ทรว์ ทิ ยา 70 ลำดับที่ 4 2 บงึ มนูญ แฮนดเ์ มด/ บา้ นบึง “มนูญ 1. นางสาวสวรรณญา บุญฤทธ์ิ 89 ลำดับท่ี 1 ตัวแทน 2. นายวิทยา เกาะสกุล วทิ ยาคาร สำนกั งาน 3 จดั การขยะ 4 ขา้ วเกษตร / ทุง่ เหยี งพิทยาคม กิจกรรมที่ 2 ถอดบทเรยี น ศึกษานเิ ทศกห์ รือผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ที่ รายชื่อ ผ้นู ำเสนอ คะแนน ลำดับท่ี 1 การนเิ ทศโครงการโรงเรียนสจุ ริต/ นายณรงคศ์ ักดิ์ สาลี 80 ลำดบั ท่ี 1 ตัวแทน สพม.18 สำนกั งาน กจิ กรรมที่ 3 ถอดบทเรยี น ผู้อำนวยการโรงเรียน ที่ รายชอ่ื ผู้นำเสนอ คะแนน ลำดบั ที่ 1 NMS โมเดลสโู่ รงเรียนสจุ รติ / หนองรมี งคล นายวิชาญ ทองดา 80 ลำดับท่ี 1 ตัวแทน สขุ สวัสดิ์ สำนกั งาน รายงานสรปุ ผลการถอดบทเรยี นการดำเนินโครงการโรงเรียนสุจรติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18
กจิ กรรมท่ี 4 ถอดบทเรยี นข้าราชการครู ชอื่ ผู้รับผดิ ชอบ คะแนน หน้าท่ี 11 ที่ ช่อื กจิ กรรม/โรงเรยี น นายอภชิ าต กังวาล 90 ลำดบั ท่ี 1 การสรา้ งนวัตกรรมด้านคณุ ธรรม / สิงห์ ลำดับท่ี 1 ตัวแทน นายสาธิต สกุลวงษ์ 80 สมทุ ร นายกฤษณา สุวรรณชยั 84 สำนักงาน 2 สภานักเรยี น/ บา้ นบึง “มนูญวิทยาคาร รบ 81 ลำดบั ที่ 5 3 นักเรยี นแกนนำ/ แกลง “วิทยสถาวร” นางสาวนธิ ิมา นสิ ยั กล้า ลำดบั ท่ี 2 4 การพฒั นาพฤติกรรม/ หนองรีมงคลสขุ 83 ลำดบั ที่ 4 สวัสด์ิ นางสาวทิพวรรณ วภิ าต 70 ลำดับท่ี 3 5 การจัดการเรียนรู้ ตาม ศพพ/ สตั หีบ ผลิน 70 ลำดบั ที่ 6 วทิ ยาคม 6 Paperless/ บ่อทองวงษจ์ นั ทร์วิทยา ลำดับท่ี 6 7. กิจกรรม “ชาว จภ.รว่ มใจของหายไดค้ นื ช่ืนชมคนดี”วทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราช วทิ ยาลยั ชลบุรี กจิ กรรมท่ี 5 นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรต้านทจุ ริตศกึ ษา (1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรม) ท่ี 1 โรงเรยี น 1 นวตั กรรม / ช่อื ผรู้ บั ผิดชอบ คะแนน ลำดับที่ ผูร้ บั ผิดชอบ 74 นายเตชติ แผลงอาวุธ ลำดับท่ี 6 1 การพฒั นาคุณลกั ษณะ/ บ้านบงึ 84 โรงเรยี นห้วยยางศกึ ษา 76 ลำดบั ท่ี 2 “มนญู วิทยาคาร นางสาวสิรินนาถ พนิ ิจการ 76 ลำดบั ที่ 5 นายกติ ตชิ ยั คล้ายชม 88 ลำดับท่ี 5 2 ห.ศ.ร่วมใจ / หว้ ยยางศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ ลำดับท่ี 1ตัวแทน 80 สำนกั งาน 3 บรู ณาการวิถชี วี ติ / แสนสขุ ลำดับที่ 4 82 4 RESIST / บอ่ ทองวงษ์จนั ทรว์ ิทยา ลำดับที่ 3 5 รำวง / สิงหส์ มุทร 6 ส่อื บรู ณาการ / มกุฎเมืองราช นางสาวกันยกานต์ ขวัญคำ วิทยาลยั นายสภุ ยศ สิริโชคดีกุล 7 การจัดการเรียนการสอน / ชล กนั ยานกุ ูล รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนินโครงการโรงเรยี นสุจรติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 18
หนา้ ท่ี 12 ภาคผนวก รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนินโครงการโรงเรียนสุจรติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18
หนา้ ท่ี 13 รายงานโครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา (กจิ กรรมขับเคล่อื นโครงการโรงเรียนสจุ ริต) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. หลักการและเหตุผล ยุทธศาสตร์ว่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 “สร้าง สังคมไม่ทนต่อการทุจริต” ได้มุ่งเน้นให้ความสำคัญในกระบวนการปรับสภาพให้เกิดภาวะที่ “ไม่ทนต่อการ ทุจริต” โดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัยเพื่อสร้างวัฒนธรรม ต่อต้านการทุจริต และปลูกฝังความพอพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ดำเนินการผ่านสถาบันหรือกลุ่มตัวแทนทำ หน้าที่ในการกล่อมเกลาทางสังคม ได้กำหนดกลยุทธ์ 4 กลยุทธ์ คือกลยุทธ์ที่ 1 ปรับฐานความคิดทุกช่วงวัย ต้ังแต่ปฐมวัยใหส้ ามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชนส์ ่วนรวม กลยุทธท์ ่ี 2 ส่งเสริมให้ มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต กลยุทธ์ที่ 3 ประยุกต์หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งเปน็ เครื่องมือต้านทจุ ริต กลยทุ ธ์ที่ 4 เสรมิ พลังการมสี ่วนร่วมของชุมชน (Community) และบูรณาการ ทกุ ภาคส่วนเพอื่ ตอ่ ตา้ นทุจรติ โดยมี 3 กลยทุ ธ์ท่ีกำหนดใหต้ ้องดำเนินการจัดทำหลกั สูตรบทเรยี น การเรยี นการสอน การนำเสนอ และรปู แบบการป้องกนั การทุจรติ รว่ มท้ังการพัฒนานวตั กรรมและสอื่ การเรยี นรสู้ ำหรับทุกช่วงวัย ไดแ้ ก่ กลยุทธ์ ท่ี 1 ,2 และ 3 เน่ืองจากตอ้ งปลกู ฝงั ให้นกั เรยี นมจี ติ สำนึกทดี่ ี ไม่ยอมรับการทุจริตคอรปั ชัน่ ทกุ รปู แบบ ให้ สถานศกึ ษาหรือหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งในด้านการศกึ ษา นำหลักสูตรต้านทจุ รติ ศึกษาไปปรับใชใ้ นการจดั การ เรยี นการสอนให้กับนักเรียนในทกุ ระดับช้นั ทงั้ นีใ้ นการจัดการเรียนการสอนหลักสตู รดงั กลา่ วใหม้ ุง่ เน้นการสร้าง ความรคู้ วามเข้าใจท่ีถกู ต้องเก่ียวกบั ความหมายและขอบเขตของการกระทำทุจรติ ในลกั ษณะตา่ งๆ ทง้ั ทางตรง และทางอ้อม ความเสยี หายท่ีเกิดจากการทุจรติ ความสำคญั ของการตอ่ ต้านการทุจรติ รวมท้ังจดั ใหม้ ีการ ประเมินผลสมั ฤทธขิ์ องการจัดการเรยี นรู้ตามหลกั สูตรในแต่ละชว่ งวยั ของผูเ้ รียนดว้ ย สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 ไดต้ ระหนกั ถึงความสำคญั ของการปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่ไี มท่ นการทจุ ริตทุกรปู แบบและต้องการใหส้ ถานศึกษานำแนวคดิ หลักสูตรตา้ นทจุ ริต ศึกษา และกจิ กรรมของโครงการโรงเรยี นสจุ ริตไปใชใ้ นกจิ กรรมการเรียนการสอนเพ่ือให้ผู้เรยี นเข้าใจและคดิ วิเคราะห์แยกแยะผิดชอบชั่วดีมีคณุ ธรรมในใจ สามารถปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดีของสงั คม ตรงตามวัตถุของ โครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษาได้ 2. วตั ถุประสงค์ 1. สถานศกึ ษาในสงั กดั มีวิธปี ฏบิ ตั ิในขบั เคล่อื นโครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและธรร มาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการสุจรติ ) นิเทศ ติดตามการบรหิ ารจัดการหลักสตู รตา้ นทุจรติ ศกึ ษาไปใชใ้ น สถานศกึ ษา 2. สถานศึกษาในสังกดั มีการถอดบทเรียน (Best Practice) ด้านการบรหิ าร การสอน รายงานสรุปผลการถอดบทเรียนการดำเนนิ โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 18
หนา้ ที่ 14 3. สถานศึกษาในสังกดั มีกิจกรรมบรษิ ัทสรา้ งการดี 4. สถานศึกษาในสงั กดั มีการดำเนินกิจกรรม ป.ป.ช. สพฐ ,น้อย 5. สถานศึกษาในสงั กัดมีการสรปุ ผลการดำเนินงานขบั เคลอ่ื นหลักสตู รต้านทจุ รติ 6. สถานศกึ ษาสุจรติ ตน้ แบบ และ สถานศกึ ษาเครอื ข่ายโรงเรียนสจุ รติ 10 % มคี วามรเู้ ขา้ ใจ การประเมินความซ่ือสตั ยส์ จุ ริตของนักเรียน 7. สถานศึกษาในสงั กัดมีกจิ กรรม 1 โรงเรยี น 1 นวัตกรรมต่อต้านการทจุ รติ 8. สถานศึกษาในสังกดั ส่งผลงานการผลติ สือ่ สร้างสรรคต์ ้านทจุ ริต (สอ่ื ภาพยนตร์ส้ัน) 3. เปา้ หมาย 3.1 เชิงปริมาณ 1. สถานศึกษา 50 แห่ง มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิในขบั เคลื่อนโครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรมและ ธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา (โครงการสจุ รติ ) 2. สถานศกึ ษา 50 แห่ง มรี ายงานการถอดบทเรียน (Best Practice) ดา้ นการบรหิ าร การ สอน 3. สถานศึกษา 50 แห่ง มรี ายงานโครงการกจิ กรรมบริษัทสร้างการดี 4. สถานศึกษา 50 แห่ง มกี ารดำเนนิ การ แตง่ ตั้งคณะกรรมการ ปปช. สพฐ,น้อย 5. สถานศึกษา 50 แห่ง มีการสรปุ ผลการดำเนนิ งานขับเคลื่อนหลกั สูตรต้านทจุ ริต 6. สถานศึกษาสุจริตตน้ แบบ และ สถานศึกษาเครอื ข่ายโรงเรยี นสจุ รติ 10 % มีความรู้เข้าใจ การประเมนิ ความซื่อสัตย์สจุ ริตของนักเรยี น 7. สถานศึกษา 50 แห่ง มีกจิ กรรม 1 โรงเรียน 1 นวตั กรรมตอ่ ต้านการทจุ รติ 8. สถานศกึ ษา 50 แหง่ ส่งผลงานการผลติ สือ่ สร้างสรรคต์ า้ นทจุ ริต (สอ่ื ภาพยนตร์สน้ั ) 3.2 เชิงคุณภาพ 3.1 ผู้บรหิ ารสถานศึกษา และครูมีความรู้ และสามารถรายงานผลการดำเนนิ โครงการ เสริมสร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการสุจรติ ) 3.2 ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา และครู มีความรู้ และความสามารถดำเนนิ การถอดบทเรียน (Best Practice) ดา้ นการบรหิ าร การสอน 3.3 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และครูมีกิจกรรมบริษทั สรา้ งการดี 3.4 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และครมู ีการดำเนินกิจกรรม ป.ป.ช. สพฐ ,นอ้ ย 3.5 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา และครมู ีผลการดำเนินงานขับเคลอื่ นหลกั สูตรต้านทจุ ริต 3.6 สถานศึกษาสุจรติ ต้นแบบ และ สถานศึกษาเครอื ข่ายโรงเรยี นสุจรติ 10 % มีรายงานผล การประเมนิ ความซ่ือสัตยส์ ุจริตของนักเรียน 3.7 ครูและผู้บรหิ ารสถานศึกษามีกิจกรรม 1 โรงเรียน 1 นวตั กรรมต่อตา้ นการทุจรติ รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนนิ โครงการโรงเรียนสุจรติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 18
หน้าท่ี 15 3.8 ครแู ละผู้บริหารสถานศึกษาเข้าใจการผลิตสือ่ สรา้ งสรรค์ต้านทุจริต (ส่ือภาพยนตร์สั้น) 4. ระยะเวลาดำเนนิ การ ( ) ไตรมาสที่ 1 ( ) ไตรมาสที่ 2 ( ) ไตรมาสที่ 3 ( ✓ ) ไตรมาสที่ 4 วนั ท่ี 1 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2563 - วันที่ 30 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2563 5. งบประมาณ 5.1 แหลง่ ทีม่ าของงบประมาณ สพฐ. 5.2 ไดร้ บั จัดสรร จำนวน 107,000 บาท เบกิ จา่ ยไป จำนวน 10,000 บาท คงเหลือ จำนวน 7,000 บาท 5.3 สาเหตุท่ไี มเ่ บิกจา่ ยงบประมาณตามแผน ผู้เขา้ อบรมไม่ครบถามจำนวนทีก่ ำหนด 6. ผลการดำเนินงานตามโครงการ 6.1 ผลผลติ (Output) 1. สถานศกึ ษา 50 แห่ง มวี ธิ ปี ฏิบัตใิ นขับเคล่ือนโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรมจริยธรรมและธรรมาภิ บาลในสถานศกึ ษา (โครงการสุจรติ ) 2. สถานศึกษา 50 แห่ง มรี ายงานการถอดบทเรยี น (Best Practice) ด้านการบริหาร การสอน 3. สถานศึกษา 50 แห่ง มีรายงานโครงการกจิ กรรมบริษทั สรา้ งการดี 4. สถานศึกษา 50 แห่ง มกี ารดำเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการ ปปช. สพฐ,นอ้ ย 5. สถานศกึ ษา 50 แห่ง มีการสรุปผลการดำเนนิ งานขบั เคลอ่ื นหลักสตู รต้านทจุ ริต 6. สถานศกึ ษาสุจรติ ต้นแบบ และ สถานศึกษาเครือข่ายโรงเรยี นสจุ รติ 10 % มรี ายงานผลการ ประเมนิ ความซอ่ื สตั ย์สุจรติ ของนักเรียน 7. สถานศกึ ษา 50 แหง่ มีกจิ กรรม 1 โรงเรยี น 1 นวตั กรรมตอ่ ตา้ นการทุจรติ 8. สถานศกึ ษา 50 แห่ง สง่ ผลงานการผลติ สือ่ สรา้ งสรรคต์ ้านทจุ รติ (ส่ือภาพยนตรส์ ัน้ ) 6.2 ผลลัพธ์ (Outcome) ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสจุ ริตสามารถนำความรู้ไปใช้ดำเนนิ กิจกรรมโรงเรียนสุจรติ ใน สถานศกึ ษาได้ครบทุกโรงเรยี น 6.3 ผลการดำเนนิ งานตามตวั ช้ีวัด 1. สถานศึกษา 50 แหง่ มวี ธิ ปี ฏบิ ตั ิในขับเคลื่อนโครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและธรรมาภิ บาลในสถานศกึ ษา (โครงการสจุ ริต) 2. สถานศึกษา 50 แห่ง มรี ายงานการถอดบทเรียน (Best Practice) ดา้ นการบรหิ าร การสอน 3. สถานศึกษา 50 แหง่ มรี ายงานโครงการกิจกรรมบริษัทสรา้ งการดี 4. สถานศึกษา 50 แหง่ มกี ารดำเนินการ แตง่ ตั้งคณะกรรมการ ปปช. สพฐ,น้อย 5. สถานศกึ ษา 50 แหง่ มีการสรปุ ผลการดำเนนิ งานขับเคลอื่ นหลักสูตรต้านทจุ ริต รายงานสรปุ ผลการถอดบทเรียนการดำเนนิ โครงการโรงเรียนสจุ รติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18
หนา้ ที่ 16 6. สถานศึกษาสุจริตต้นแบบ และ สถานศึกษาเครือข่ายโรงเรียนสจุ รติ 10 % มรี ายงานผลการ ประเมนิ ความซ่ือสตั ยส์ จุ ริตของนักเรยี น 7. สถานศึกษา 50 แหง่ มีกจิ กรรม 1 โรงเรียน 1 นวัตกรรมต่อตา้ นการทจุ ริต 8. สถานศึกษา 50 แห่ง ส่งผลงานการผลิตสื่อสร้างสรรคต์ ้านทจุ ริต (สื่อภาพยนตร์ส้นั ) 7. ปญั หาอปุ สรรคท่ไี มส่ ามารถดำเนนิ กิจกรรมตามแผนในไตรมาส ได้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ข้อเสนอแนะของโครงการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชอ่ื ).......................................................ผู้รายงาน ( นายณรงค์ศกั ด์ิ สาลี ) ตำแหน่ง ศกึ ษานิเทศก์ รายงานสรปุ ผลการถอดบทเรียนการดำเนนิ โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 18
หน้าท่ี 17 ภาพกิจกรรมการประชุมเชงิ ปฎิบัติการสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรยี นสุจริต) วนั ท่ี 27 สิงหาคม 2563 เวลา 08.30 น.-16.30 น. ณ หอ้ งประชุมบัวขาวโรงเรยี นชลกนั ยานุกูล รายงานสรุปผลการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 18
หนา้ ท่ี 18 รายงานสรปุ ผลการถอดบทเรียนการดำเนินโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18
หนา้ ที่ 19 รายงานสรุปผลการถอดบทเรยี นการดำเนนิ โครงการโรงเรยี นสุจริต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตราพยน้ืงาทนีก่สารปุรศผลกึ กษาารถมอธั ดยบมทศเรกึ ียษนากาเรขดตำเน1ิน8โครงการโรงเรยี นสุจรติ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: