49 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 คาใช้จายในการสำารวจและพฒนาเหมืองรอตัดบัญชีจะเริมตัดจาหน่ายเมอเริมผลตถานหินในเชิงพาณิชย์ คาตัดจาหน่าย ่ ่ ั ่ ำ ื ่ ่ ิ ่ ่ ำ ส่วนใหญ่คำานวณโดยใช้วิธีจำานวนหน่วยถ่านหินที่ขุดได้ จ) ต้นทุนการขุดเพ่อการเปิดหน้าดิน (Stripping Costs/Overburden Costs) ื กลุ่มกิจการรับรู้ต้นทุนการเปิดหน้าดินสำาหรับการผลิตเป็นสินทรัพย์ได้ก็ต่อเมื่อเข้าเกณฑ์ทุกข้อต่อไปนี้ ก) มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตที่จะเกิดจากกิจกรรมการเปิดหน้าดิน ข) กิจการสามารถระบุส่วนประกอบของมวลสินแร่ที่สามารถเข้าถึงได้ดีขึ้น ค) ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมการเปิดหน้าดินที่เกี่ยวข้องกับส่วนประกอบดังกล่าวสามารถวัดมูลค่าได้อย่างน่าเชื่อถือ ค่าใช้จ่ายในการเปิดหน้าดินรอตัดบัญชีรับรู้เริ่มแรกตามราคาทุน และแสดงด้วยราคาทุนหักค่าตัดจาหน่ายสะสม และค่าเผื่อ ำ การด้อยค่า (ถ้ามี) โดยค่าตัดจำาหน่ายคำานวณโดยใช้วิธีจำานวนหน่วยที่ผลิตได้ (Unit of Production) ฉ) สิทธิในการประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้า สิทธิในการประกอบธุรกิจโรงไฟฟ้าซ่งได้มาจากการซ้อเงินลงทุนจะต้องตัดจาหน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุการให้ ึ ื ำ ประโยชน์ของโรงไฟฟ้า ช) สิทธิในสิทธิบัตร สิทธิในสิทธิบัตรซ่งได้มาจากการซ้อเงินลงทุนจะต้องตัดจาหน่ายโดยใช้วิธีเส้นตรงตลอดอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ ึ ื ำ 4.13 การด้อยค่าของสินทรัพย์ สินทรัพย์ที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่ชัด เช่น ค่าความนิยม ซ่งไม่มีการตัดจาหน่ายจะถูกทดสอบการด้อยค่าเป็นประจาทุกป ึ ำ ำ ี สินทรัพย์อ่นท่มีการตัดจาหน่ายจะมีการทบทวนการด้อยค่าเม่อมีเหตุการณ์หรือสถานการณ์บ่งชี้ว่าราคาตามบัญชีอาจสูงกว่า ื ี ำ ื มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน รายการขาดทุนจากการด้อยค่าจะรับรู้เม่อราคาตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าสุทธิท่คาดว่า ื ี จะได้รับคืน ซ่งหมายถึงจานวนที่สูงกว่าระหว่างมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายเทียบกับมูลค่าจากการใช้สินทรัพย์ซ่งถูกจัด ึ ำ ึ เป็นหน่วยท่เล็กที่สุดที่สามารถแยกออกมาได้ เพ่อวัตถุประสงค์ของการประเมินการด้อยค่า สินทรัพย์ที่ไม่ใช่สินทรัพย์ทางการเงิน ี ื นอกเหนือจากค่าความนิยมซึ่งรับรู้รายการขาดทุนจากการด้อยค่าไปแล้ว จะถูกประเมินความเป็นไปได้ที่จะกลับรายการขาดทุน จากการด้อยค่า ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน 4.14 สัญญาเช่า กรณีท่กลุ่มกิจการเป็นผู้เช่า ี กล่มกิจการรับรูสัญญาเช่าเม่อกล่มกิจการสามารถเข้าถึงสินทรัพย์ตามสัญญาเช่า เปนสินทรัพย์สิทธิการใช้และหนี้สินตามสัญญาเช่า ุ ้ ื ุ ็ โดยค่าเช่าที่ชำาระจะปันส่วนเป็นการจ่ายชำาระหนี้สินและต้นทุนทางการเงิน โดยต้นทุนทางการเงินจะรับรู้ในกำาไรหรือขาดทุนตลอด ระยะเวลาสัญญาเช่าด้วยอัตราดอกเบ้ยคงที่จากยอดหนี้สินตามสัญญาเช่าที่คงเหลืออยู่ กล่มกิจการคิดค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์สิทธิ ี ุ การใช้ตามวิธีเส้นตรงตามอายุที่สั้นกว่าระหว่างอายุสินทรัพย์และระยะเวลาการเช่า
14 50 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 กล่มกิจการปันส่วนสิ่งตอบแทนในสัญญาไปยังส่วนประกอบของสัญญาท่เป็นการเช่าและส่วนประกอบของสัญญาท่ไม่เป็นการเช่า ุ ี ี ตามราคาเอกเทศเปรียบเทียบของแต่ละส่วนประกอบ สำาหรับสัญญาท่ประกอบด้วยส่วนประกอบของสัญญาที่เป็นการเช่าและ ี ส่วนประกอบของสัญญาที่ไม่เป็นการเช่า ยกเว้นสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์ซ่งกล่มกิจการเป็นผู้เช่า โดยกล่มกิจการเลือกที ึ ุ ุ ่ จะไม่แยกส่วนประกอบของสัญญา และรวมแต่ละส่วนประกอบเป็นส่วนประกอบที่เป็นการเช่าเท่านั้น สินทรัพย์และหน้สินตามสัญญาเช่ารับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าปัจจุบัน หน้สินตามสัญญาเช่าประกอบด้วยมูลค่าปัจจุบันของ ี ี การจ่ายชำาระตามสัญญาเช่า ดังนี้ - ค่าเช่าคงที่ (รวมถึงการจ่ายชำาระคงที่โดยเนื้อหา) สุทธิด้วยเงินจูงใจค้างรับ - ค่าเช่าผันแปรที่อ้างอิงจากอัตราหรือดัชนี - มูลค่าที่คาดว่าจะต้องจ่ายจากการรับประกันมูลค่าคงเหลือ - ราคาสิทธิเลือกซื้อหากมีความแน่นอนอย่างสมเหตุสมผลที่กลุ่มกิจการจะใช้สิทธิ และ - ค่าปรับจากการยกเลิกสัญญา หากอายุของสัญญาเช่าสะท้อนถึงการที่กลุ่มกิจการคาดว่าจะยกเลิกสัญญานั้น การจ่ายชำาระตามสัญญาเช่าในช่วงการต่ออายุสัญญาเช่าได้รวมอยู่ในการคานวณหนี้สินตามสัญญาเช่า หากกล่มกิจการม ำ ุ ี ความแน่นอนอย่างสมเหตุสมผลในการใช้สิทธิต่ออายุสัญญาเช่า กลมกิจการจะคดลดคาเช่าจายข้างต้นดวยอตราดอกเบียโดยนัยตามสัญญา หากไมสามารถหาอตราดอกเบยโดยนัยได ุ ่ ิ ่ ่ ้ ั ้ ่ ั ี ้ ้ กล่มกิจการจะคิดลดด้วยอัตราการก้ยืมส่วนเพ่มของผู้เช่า ซ่งก็คืออัตราที่สะท้อนถึงการกู้ยืมเพ่อให้ได้มาซ่งสินทรัพย์ที่มีมูลค่า ุ ู ิ ึ ื ึ ใกล้เคียงกันในสภาวะเศรษฐกิจ อายุสัญญา และเงื่อนไขที่ใกล้เคียงกัน กล่มกิจการมีสัญญาเช่าซ่งกำาหนดค่าเช่าจ่ายผันแปรตามดัชนีหรืออัตรา ซ่งยังไม่รวมอยู่ในการวัดมูลค่าหนี้สินตามสัญญาเช่า ุ ึ ึ จนกระทั่งดัชนีหรืออัตรานั้นมีผลต่อการจ่ายชำาระ กล่มกิจการปรับปรุงหนี้สินตามสัญญาเช่าไปยังสินทรัพย์สิทธิการใช้ที่เกี่ยวข้อง ุ เมื่อการจ่ายชำาระค่าเช่าดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไป สินทรัพย์สิทธิการใช้จะรับรู้ด้วยราคาทุน ซึ่งประกอบด้วย - จำานวนที่รับรู้เริ่มแรกของหนี้สินตามสัญญาเช่า - ค่าเช่าจ่ายที่ได้ชำาระก่อนเริ่ม หรือ ณ วันทำาสัญญา สุทธิจากเงินจูงใจที่ได้รับตามสัญญาเช่า - ต้นทุนทางตรงเริ่มแรก - ต้นทุนการปรับสภาพสินทรัพย์ คาเช่าทีจายตามสัญญาเช่าระยะสันและสัญญาเช่าสินทรัพย์ทีมมลคาต่าจะรับรูเปนคาใช้จายตามวธีเส้นตรง สัญญาเช่าระยะสัน ่ ่ ่ ้ ่ ี ู ่ ำ ้ ็ ่ ่ ิ ้ คือสัญญาเช่าที่มีอายุสัญญาเช่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 เดือน สินทรัพย์ที่มีมูลค่าต่าประกอบด้วย อุปกรณ์ไอที และอุปกรณ์ ำ สำานักงานขนาดเล็ก กรณีท่กลุ่มกิจการเป็นผู้ให้เช่า ี สินทรัพย์ท่ให้เช่าตามสัญญาเช่าทางการเงินบันทึกเป็นลูกหนี้สัญญาเช่าทางการเงินด้วยมูลค่าปัจจุบันของจานวนเงินท่จ่ายตาม ี ำ ี สัญญาเช่า ผลต่างระหว่างยอดรวมของลูกหนี้ที่ยังไม่ได้คิดลดกับมูลค่าปัจจุบันของลูกหน้จะทยอยรับรู้เป็นรายได้ทางการเงิน ี โดยใช้วิธีเงินลงทุนสุทธิซ่งสะท้อนอัตราผลตอบแทนคงท่ ต้นทุนทางตรงเริมแรกท่รวมอยู่ในการวดมูลคาลูกหน้สัญญาเช่าทาง ึ ี ่ ี ั ่ ี การเงินเริ่มแรกและจะทยอยรับรู้โดยลดจากรายได้ตลอดอายุของสัญญาเช่า
51 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 รายได้ค่าเช่าตามสัญญาเช่าดาเนินงาน (สุทธิจากสิ่งตอบแทนจูงใจที่ได้จ่ายให้แก่ผู้เช่า) รับรู้ด้วยวิธีเส้นตรงตลอดช่วงเวลาการให้เช่า ำ กล่มกิจการต้องรวมต้นทุนทางตรงเริ่มแรกท่เกิดขึ้นจากการได้มาซ่งสัญญาเช่าดาเนินงานในมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์อ้างอิง ุ ี ึ ำ และรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายตลอดอายุสัญญาเช่า โดยใช้เกณฑ์เดียวกันกับรายได้จากสัญญาเช่า สินทรัพย์ท่ให้เช่าได้รวมอยู ี ่ ในงบแสดงฐานะการเงินตามลักษณะของสินทรัพย์ 4.15 หน้สินทางการเงิน ี ก) การจัดประเภท กล่มกิจการจะพิจารณาจัดประเภทเครื่องมือทางการเงินท่กล่มกิจการเป็นผู้ออกเป็นหนี้สินทางการเงินหรือตราสารทุน ุ ี ุ โดยพิจารณาภาระผูกพันตามสัญญา ดังนี้ - หากกล่มกิจการมีภาระผูกพันตามสัญญาที่จะต้องส่งมอบเงินสดหรือสินทรัพย์ทางการเงินอ่นให้กับกิจการอ่น ุ ื ื โดยไม่สามารถปฏิเสธการชำาระหรือเล่อนการชำาระออกไปอย่างไม่มีกำาหนดได้นั้น เครื่องมือทางการเงินนั้นจะจัดประเภท ื เป็นหนี้สินทางการเงิน เว้นแต่ว่าการชำาระนั้นสามารถชำาระโดยการออกตราสารทุนของกล่มกิจการเองด้วยจานวน ุ ำ ตราสารทุนที่คงที่ เพื่อแลกเปลี่ยนกับจำานวนเงินที่คงที่ - หากกล่มกิจการไม่มีภาระผูกพันตามสัญญาหรือสามารถเล่อนการชำาระภาระผูกพันตามสัญญาไปได้ เครื่องมือทางการเงิน ุ ื ดังกล่าวจะจัดประเภทเป็นตราสารทุน เงินกู้ยืมจัดประเภทเป็นหนี้สินหมุนเวียนเม่อกล่มกิจการไม่มีสิทธิอันปราศจากเง่อนไขให้เล่อนชำาระหนี้ออกไปอีกเป็นเวลา ื ุ ื ื ไม่น้อยกว่า 12 เดือน นับจากวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน ข) การวัดมูลค่า ในการรับรู้รายการเม่อเริ่มแรก กล่มกิจการต้องวัดมูลค่าหนี้สินทางการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรม และวัดมูลค่าหนี้สิน ื ุ ทางการเงินทั้งหมดภายหลังการรับรู้รายการด้วยราคาทุนตัดจำาหน่าย ค) การตัดรายการและการเปล่ยนแปลงเง่อนไขของสัญญา ี ื กล่มกิจการตัดรายการหนี้สินทางการเงินออกเม่อภาระผูกพันท่ระบุในสัญญาได้มีการปฏิบัติตามแล้ว หรือได้มีการยกเลิกไป ุ ื ี หรือสิ้นสุดลงแล้ว หากกล่มกิจการมีการเจรจาต่อรองหรือเปล่ยนแปลงเง่อนไขของหนี้สินทางการเงิน กล่มกิจการจะต้องพิจารณาว่า ุ ี ื ุ รายการดังกล่าวเข้าเงื่อนไขของการตัดรายการหรือไม่ หากเข้าเงื่อนไขของการตัดรายการ กลุ่มกิจการจะต้องรับรู้หนี้สิน ทางการเงินใหม่ด้วยมูลค่ายุติธรรมของหนี้สินใหม่นั้น และตัดรายการหนี้สินทางการเงินนั้นด้วยมูลค่าตามบัญชีที่เหลืออยู่ และรับรู้ส่วนต่างในรายการกำาไรหรือขาดทุนอื่นในกำาไรหรือขาดทุน หากกล่มกิจการพิจารณาแล้วว่าการต่อรองเง่อนไขดงกล่าวไม่เข้าเง่อนไขของการตัดรายการ กล่มกิจการจะปรับปรุงมูลค่า ุ ื ั ื ุ ของหนี้สินทางการเงินโดยการคิดลดกระแสเงินสดใหม่ตามสัญญาด้วยอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงเดิม (Original Effective Interest Rate) ของหนี้สินทางการเงินนั้น และรับรู้ส่วนต่างในรายการกำาไรหรือขาดทุนอื่นในกำาไรหรือขาดทุน
14 52 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 4.16 ต้นทุนการกู้ยืม ต้นทุนการกู้ยืมของเงินกู้ยืมที่ก้มาโดยทั่วไปและที่กู้มาเป็นการเฉพาะท่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการได้มา การก่อสร้าง หรือการผลิต ู ี สินทรัพย์ที่เข้าเง่อนไข (สินทรัพย์ที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการทำาให้พร้อมใช้หรือพร้อมขายได้ตามประสงค์) ต้องนำามารวม ื เปนส่วนหนึ่งของราคาทุนของสินทรัพย์ หักดวยรายได้จากการลงทุนท่เกิดจากการนำาเงนกูยืมที่ก้มาโดยเฉพาะ การรวมต้นทุน ็ ้ ี ิ ้ ู การก้ยืมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์สิ้นสุดลงเม่อการดาเนินการที่จาเป็นในการเตรียมสินทรัพย์ที่เข้าเงอนไขให้อยู่ในสภาพ ู ื ำ ำ ื ่ พร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์หรือพร้อมที่จะขายได้เสร็จสิ้นลง ต้นทุนการกู้ยืมอื่นๆ รับรู้เป็นค่าใช้จ่ายในงวดที่เกิดขึ้น 4.17 ภาษีเงินได้งวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอตัดบัญช ี ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้สำาหรับปีประกอบด้วย ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันและภาษีเงินได้รอตัดบัญชี ภาษีเงินได้จะรับรู้ในกำาไรหรือ ขาดทุน ยกเว้นส่วนภาษีเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับรายการท่รับรู้ในกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่นหรือรายการท่รับรู้โดยตรงไปยังส่วนของเจ้าของ ี ื ี ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันคานวณจากอัตราภาษีตามกฎหมายภาษีท่มีผลบังคับใช้อยู่หรือที่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับ ำ ี ใช้ภายในสิ้นรอบระยะเวลาท่รายงาน ผู้บริหารจะประเมินสถานะของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเป็นงวดๆ ในกรณีท่การนำา ี ี กฎหมายภาษีไปปฏิบัติขึ้นอยู่กับการตีความ กลุ่มกิจการจะตั้งประมาณการค่าใช้จ่ายภาษีที่เหมาะสมจากจำานวนที่คาดว่าจะต้อง จ่ายชำาระแก่หน่วยงานจัดเก็บภาษี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญช ี ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีรับรู้เม่อเกิดผลต่างชั่วคราวระหว่างฐานภาษีของสินทรัพย์และหนี้สิน และราคาตามบัญชีที่แสดง ื อยู่ในงบการเงิน อย่างไรก็ตาม กล่มกิจการจะไม่รับรู้ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีสำาหรับผลต่างชั่วคราวที่เกิดจากเหตุการณ์ต่อไปนี ุ ้ - การรับรู้เริ่มแรกของรายการสินทรัพย์หรือรายการหนี้สินที่เกิดจากรายการท่ไม่ใช่การรวมธุรกิจ และไม่มีผลกระทบ ี ต่อกำาไรหรือขาดทุนทั้งทางบัญชีและทางภาษี - ผลต่างชั่วคราวของเงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม และส่วนได้เสียในการร่วมค้าที่กล่มกิจการสามารถควบคุมจังหวะ ุ เวลาของการกลับรายการผลต่างชั่วคราวและการกลับรายการผลต่างชั่วคราวมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะไม่เกิดขึ้น ภายในระยะเวลาที่คาดการณ์ได้ในอนาคต ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีคานวณจากอัตราภาษีที่มีผลบังคับใช้อยู่หรือท่คาดได้ค่อนข้างแน่ว่าจะมีผลบังคับใช้ภายในสิ้นรอบ ำ ี ระยะเวลาที่รายงาน และคาดว่าอัตราภาษีดังกล่าวจะนาไปใช้เม่อสินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีที่เก่ยวข้องได้ใช้ประโยชน์ ำ ื ี หรือหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีได้มีการจ่ายชำาระ สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะรับรู้หากมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่ากล่มกิจการจะมีกำาไรทางภาษีเพียงพอท่จะนำาจานวน ุ ี ำ ผลต่างชั่วคราวนั้นมาใช้ประโยชน์
53 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจะแสดงหักกลบกันก็ต่อเม่อกิจการมีสิทธิตามกฎหมาย ื ที่จะนำาสินทรัพย์ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันมาหักกลบกับหนี้สินภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบัน และท้งสินทรัพย์และหนี้สินภาษีเงินได ั ้ ของงวดปัจจุบันเกี่ยวข้องกับภาษีเงินได้ที่ประเมินโดยหน่วยงานจัดเก็บภาษีหน่วยงานเดียวกันซ่งตั้งใจจะจ่ายหนี้สินและสินทรัพย์ ึ ภาษีเงินได้ของงวดปัจจุบันด้วยยอดสุทธิ 4.18 ผลประโยชน์พนักงาน กลุ่มกิจการได้จัดให้มีโครงการผลประโยชน์พนักงานซึ่งประกอบด้วยโครงการสมทบเงินและโครงการผลประโยชน์ ดังนี้ ผลประโยชน์พนักงานระยะส้น ั ผลประโยชน์พนักงานระยะสั้น คือ ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะต้องจ่ายชำาระภายใน 12 เดือนหลังจากวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี เช่น ค่าจ้าง เงินเดือน ลาประจำาปีและลาป่วยที่มีการจ่ายค่าแรง ส่วนแบ่งกำาไรและโบนัส และค่ารักษาพยาบาล ของพนักงานปัจจุบัน รับรู้ตามช่วงเวลาการให้บริการของพนักงานไปจนถึงวันสิ้นสุดรอบระยะเวลารายงาน กล่มกิจการจะบันทึกหนี้สินด้วยจานวน ุ ำ ที่คาดว่าจะต้องจ่าย โครงการสมทบเงิน กล่มกิจการจัดให้มีกองทุนสำารองเล้ยงชีพซ่งกำาหนดให้มีการจ่ายสมทบเข้ากองทุนโดยพนักงานและกล่มกิจการ และถูกบริหาร ุ ี ึ ุ โดยผู้จัดการกองทุนภายนอก กล่มกิจการไม่มีภาระผูกพันทางกฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะต้องจ่ายเงินเพ่ม ุ ิ เม่อได้จ่ายเงินสมทบไปแล้ว ถึงแม้กองทุนไม่มีสินทรัพย์เพียงพอท่จะจ่ายให้พนักงานท้งหมดสำาหรับการให้บริการจากพนักงาน ื ี ั ทั้งในอดีตและปัจจุบัน กล่มกิจการรับรู้เงินสมทบดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานในกำาไรหรือขาดทุนเม่อถึงกำาหนดชำาระ ุ ื นอกจากนี้ กล่มกิจการจัดให้มีการสมทบเงินตามโครงการผลประโยชน์พนักงานจากการเกษียณอายุตามท่กำาหนดโดยรัฐบาลจีน ุ ี โดยหน่วยงานของภาครัฐจะเป็นผู้รับผิดชอบในภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานตามโครงการดังกล่าว ดังนั้น กลุ่มกิจการไม่มี ภาระผูกพันตามกฎหมายหรือภาระผูกพันจากการอนุมานที่จะต้องจ่ายผลประโยชน์เหล่านั้นในอนาคต กล่มกิจการรับรู้เงินสมทบ ุ ดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายผลประโยชน์พนักงานในกำาไรหรือขาดทุนเมื่อภาระที่จะจ่ายสมทบให้กับหน่วยงานของภาครัฐเกิดขึ้น ผลประโยชน์เม่อเกษียณอาย ื ุ กลมกิจการจดให้มผลประโยชน์พนักงานหลงการเลกจางหรือเกษียณอายุเพอจายให้แก่พนักงานตามกฎหมายแรงงานของประเทศไทย ุ ่ ั ี ั ิ ้ ื ่ ่ และของประเทศทีกลมกจการมการดาเนินงานหรือเม่ออยูครบวาระการทำางานตามข้อตกลงระหวางกลมกิจการและพนักงาน ่ ุ ่ ิ ี ำ ื ่ ่ ุ ่ โดยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุ จำานวนปีที่ให้บริการ และค่าตอบแทน หน้สินสำาหรับโครงการผลประโยชน์เม่อเกษียณอายุจะรับรู้ในงบแสดงฐานะการเงินดวยมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพัน ณ วันที ี ื ้ ่ สิ้นรอบระยะเวลารายงาน หนี้สินผลประโยชน์พนักงานเมื่อเกษียณอายุคำานวณโดยนักคณิตศาสตร์ประกันภยอิสระด้วยวิธีคิดลด ั แต่ละหน่วยที่ประมาณการไว้ ซึ่งมูลค่าปัจจุบันของโครงการผลประโยชน์จะประมาณโดยการคิดลดกระแสเงินสดออกในอนาคต โดยใช้อัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์รัฐบาลซ่งเป็นสกุลเงินเดียวกับสกุลเงินท่จะจ่ายภาระผูกพัน และวันครบกาหนดของ ึ ี ำ หลักทรัพย์ใกล้เคียงกับระยะเวลาที่ต้องชำาระภาระผูกพันโครงการผลประโยชน์เมื่อเกษียณอายุ
14 54 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 กำาไรและขาดทุนจากการวัดมูลค่าใหม่ที่เกิดขึ้นจากการปรับปรุงจากประสบการณ์หรือการเปล่ยนแปลงในข้อสมมติฐานจะรับรู ี ้ ในส่วนของเจ้าของผ่านกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่นในงวดที่เกิดขึ้น และรวมอยู่ในกำาไรสะสมในงบแสดงการเปล่ยนแปลงใน ื ี ส่วนของเจ้าของ ต้นทุนบริการในอดีตจะรับรู้ทันทีในกำาไรหรือขาดทุน ผลประโยชน์พนักงานอ่น ื ผลประโยชน์พนักงานอื่นของบริษัทย่อยในอินโดนีเซีย อันได้แก่ Long Service Reward และ Long Leave Benefit ได้บันทึก ในงบแสดงฐานะการเงินรวมด้วยมูลค่าปัจจุบันของภาระผูกพันตามโครงการผลประโยชน์ กำาไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปล่ยนแปลง ี ข้อสมมติฐาน และ ต้นทุนบริหารในอดีตจะบันทึกในกำาไรหรือขาดทุนทันที ผลประโยชน์พนักงานอื่นของบริษัทย่อยในออสเตรเลีย อันได้แก่ การลาหยุดประจำาปี การลาป่วย และ Long Service Leave ซ่งจ่ายทุกเดือนตามข้อกำาหนดของ Coal Mining Industry (Long Service Leave Funding Corporation) จะบันทึกเป็น ึ ค่าใช้จ่ายในกำาไรหรือขาดทุน 4.19 การจ่ายโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ กล่มกิจการดาเนินโครงการผลตอบแทนพนักงานโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ท่ชำาระด้วยตราสารทุน โดยที่กล่มกิจการได้รับบริการ ุ ำ ี ุ จากพนักงานเป็นสิ่งตอบแทนสำาหรับตราสารทุน (สิทธิซ้อหุ้น) ที่กล่มกิจการออกให้ มูลค่ายุติธรรมของบริการของพนักงาน ื ุ เพื่อแลกเปลี่ยนกับการให้สิทธิซื้อหุ้นจะรับรู้เป็นค่าใช้จ่าย จำานวนรวมที่บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายจะอ้างอิงจากมูลค่าของยุติธรรมของ สิทธิซื้อหุ้นที่ออกให้โดย - รวมเงื่อนไขทางการตลาด - ไม่รวมผลกระทบของการบริการและเง่อนไขการได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เง่อนไขการตลาด (ตัวอย่างเช่น ความสามารถทำากำาไร ื ื การเติบโตของกำาไรตามที่กำาหนดไว้ และพนักงานจะยังเป็นพนักงานของกิจการในช่วงเวลาที่กำาหนด) และ - ไม่รวมผลกระทบของเง่อนไขการได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เง่อนไขการบริการหรือผลงาน (ตัวอย่างเช่น ข้อกำาหนดในเรื่อง ื ื การออมของพนักงานหรือการถือหุ้นในช่วงระยะเวลาที่กำาหนด) เง่อนไขผลงานที่ไม่ใช่เง่อนไขทางตลาดและเง่อนไขการบริการ จะรวมอยู่ในข้อสมมติฐานเกี่ยวกับจานวนของสิทธิซ้อหุ้นท่คาดว่า ื ื ื ำ ื ี จะได้รับสิทธิ ค่าใช้จ่ายท้งหมดจะรับรู้ตลอดระยะเวลาได้รับสิทธิ ซ่งเป็นไปตามเง่อนไขการได้รับสิทธิที่กำาหนดไว้ กล่มกิจการ ั ึ ื ุ จะทบทวนการประเมินจำานวนของสิทธิซื้อหุ้นที่คาดว่าจะได้รับสิทธิ ซึ่งขึ้นกับเงื่อนไขการได้รับสิทธิที่ไม่ใช่เงื่อนไขการตลาด และ จะรับรู้ผลกระทบของการปรับปรุงประมาณการเริ่มแรกในกำาไรหรือขาดทุนพร้อมกับการปรับปรุงรายการไปยังส่วนของเจ้าของ ณ วันที่สิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน เม่อมการใช้สิทธิ กลมกิจการจะออกหุ้นใหมโดยสิงตอบแทนทีได้รับสุทธิดวยต้นทุนในการทำารายการทางตรงจะบันทึกไปยัง ื ี ุ ่ ่ ่ ่ ้ ทุนเรือนหุ้น (มูลค่าตามบัญชี) และส่วนเกินมูลค่าหุ้น สำาหรับโครงการผลตอบแทนพนักงานโดยใช้หุ้นเป็นเกณฑ์ที่มีเงื่อนไขของข้อตกลงให้กล่มกิจการสามารถเลือกได้ว่าจะชำาระด้วย ุ เงินสด กล่มกิจการต้องพิจารณาว่ามีภาระผูกพันในปัจจุบันที่จะต้องชำาระเงินสดหรือไม่ โดยการพิจารณาจากความเป็นไปได้ในการที ุ ่
55 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 จะใช้สิทธิ รวมถึงแนวปฏิบัติในอดีตทีเคยมีกรณีท่ชำาระดวยเงินสดมาเป็นเงอนไขประกอบการจัดประเภทโครงการว่าจะรับรู ่ ี ้ ื ่ ้ เปนส่วนของเจาของหรือหนี้สิน ทงนี กล่มกิจการจะรับรู้การจ่ายโดยใช้หุนเป็นเกณฑ์ในกรณีทีมีองค์ประกอบเปนหนีสินโดยวด ็ ้ ั ้ ้ ุ ้ ่ ็ ้ ั มูลค่าของบริการที่ได้รับจากพนักงานและหนี้สินที่เกิดขึ้นด้วยมูลค่ายุติธรรมของราคาหุ้น ณ วันท่กล่มกิจการให้หรือจาหน่ายสิทธิ ี ุ ำ ให้แก่พนักงาน และวัดมูลค่ายุติธรรมทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน และวันที่มีการชำาระจนกว่าจะชำาระหนี้สินเสร็จสิ้น โดยการ เปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมให้รับรู้ในกำาไรหรือขาดทุนสำาหรับงวด กรณีท่กล่มกิจการให้สิทธิซ้อตราสารทุนแก่พนักงานของบริษัทย่อยในกล่มกิจการ จะปฏิบัติเหมือนเป็นเงินอุดหนุนจากบริษัทใหญ่ ี ุ ื ุ กล่มกิจการต้องวัดมูลค่ายุติธรรมของบริการของพนักงาน โดยอ้างอิงกับมูลค่ายุติธรรมของตราสารทุนที่ออกให้ มูลค่าของตราสารทุน ุ เหล่านันต้องวัด ณ วันท่ให้สิทธิ ซงจะรับรู้ตลอดระยะเวลาท่ได้รับสิทธิ ในงบการเงินเฉพาะกิจการจะบันทึกเสมือนกับเป็น ้ ี ึ ่ ี การเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนในบริษัทย่อยและเพิ่มส่วนของเจ้าของ 4.20 ประมาณการหน้สิน ี กล่มกิจการจะบันทึกประมาณการหนี้สิน อันเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลงที่จัดทำาไว้อันเป็นผลสืบเน่อง ุ ื มาจากเหตุการณ์ในอดีต ซ่งการชำาระภาระผูกพันนั้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้กล่มกิจการต้องสูญเสียทรัพยากร ึ ุ ออกไปและตามประมาณการที่น่าเชื่อถือของจำานวนที่ต้องจ่าย กล่มกิจการบันทึกสำารองค่าฟ้นฟูสภาพเหมือง โดยคานวณจากจานวนถ่านหินที่ขายได้คูณด้วยอัตราสำารองค่าฟ้นฟูสภาพเหมือง ุ ื ำ ำ ื ซ่งคานวณโดยนักธรณีวิทยาของกล่มกิจการ โดยอัตราสำารองนี้คานวณจากประมาณการค่าใช้จ่ายในการฟ้นฟูสภาพเหมืองทั้งหมด ึ ำ ุ ำ ื ตลอดอายุของเหมือง กล่มกิจการจะทบทวนอัตราสำารองอย่างสมาเสมอและจะมีการปรับอัตราสำารองให้เหมาะสมกับค่าใช้จ่าย ุ ่ ำ จริงที่จะเกิดขึ้น กล่มกิจการบันทึกประมาณการหนี้สินค่ารื้อถอนอุปกรณ์การผลิตก๊าซธรรมชาติ เม่อมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะเกิดภาระผูกพัน ุ ื อนเปนผลเนืองมาจากเหตุการณ์ในอดตและสามารถประมาณการจานวนเงนทต้องจายไดอย่างสมเหตุสมผล กลมบริษัทรับรู ั ็ ่ ี ำ ิ ี ่ ่ ้ ุ ่ ้ ประมาณการหนี้สินดังกล่าวโดยใช้มูลค่าปัจจุบันจานวนประมาณการของต้นทุนค่ารื้อถอนอุปกรณ์การผลิตท่สร้างเสร็จพร้อม ำ ี ใช้งาน ซ่งต้นทุนดังกล่าวได้รวมเป็นส่วนหนึ่งของสินทรัพย์เพ่อการสำารวจและผลิตก๊าซธรรมชาติ และตัดจาหน่ายโดยวิธีสัดส่วน ึ ื ำ ของผลผลิตของปริมาณสำารองที่พิสูจน์แล้ว หรือปริมาณสำารองที่พิสูจน์และพัฒนาสำาเร็จ ส่วนประมาณการหนี้สินที่เพ่มขึ้นที่สะท้อน ิ ถึงระยะเวลาท่ผ่านไปซ่งเกิดจากส่วนคิดลดที่ทยอยลดลงในแต่ละงวด กล่มกิจการรับรูเป็นต้นทุนทางการเงินในกำาไรขาดทุน ี ึ ุ ้ ในงวดที่เกิดขึ้นการประมาณการหนี้สินขึ้นอยู่กับสถานการณ์ในปัจจุบัน ได้แก่ ข้อบังคับต่างๆ เทคโนโลยี และระดับราคา ดังนั้น ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกต่างไปจากที่ประมาณการและตั้งข้อสมมติฐานไว้ 4.21 ทุนเรือนหุ้น หุ้นสามัญที่สามารถกำาหนดการจ่ายเงินปันผลได้อย่างอิสระจัดประเภทไว้เป็นส่วนของเจ้าของ ต้นทุนส่วนเพ่มที่เกี่ยวกับการออกหุ้นใหม่แสดงเป็นรายการหักในส่วนของเจ้าของด้วยจานวนเงินสุทธิจากภาษี โดยนาไปหักจาก ิ ำ ำ สิ่งตอบแทนที่ได้รับจากการออกหุ้นดังกล่าว
14 56 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 หุ้นทุนซ้อคืน ื กรณีที่บริษัทในกล่มกิจการซ้อหุ้นสามัญของบริษัทกลับคืน สิ่งตอบแทนที่จ่ายไปรวมถึงต้นทุนเพ่มเติมที่เกี่ยวข้องโดยตรง ุ ื ิ (สุทธิจากภาษีเงินได) จะรับรู้เปนหุนทุนซ้อคืนและแสดงเป็นรายการหักจากยอดรวมของส่วนของเจาของของบริษัทจนกว่า ้ ็ ้ ื ้ หุ้นทุนซื้อคืนดังกล่าวจะถูกยกเลิกไปหรือจำาหน่ายออกไปใหม่ เมื่อมีการจำาหน่ายหุ้นทุนซื้อคืนออกไปใหม่ สิ่งตอบแทนใดๆ ที่ได้ รับจากการนำาหุนทุนซ้อคืนออกจาหน่ายใหมสุทธิจากต้นทุนเพ่มเติมท่เกี่ยวข้องโดยตรงสุทธิจากภาษีเงินไดทีเกียวข้องจะแสดง ้ ื ำ ่ ิ ี ้ ่ ่ รวมไว้ในส่วนของเจ้าของ 4.22 การรับรู้รายได้ กล่มกิจการรับรู้รายได้สุทธิจากภาษีมูลค่าเพ่มซ่งกล่มกิจการจะรับรู้รายได้เม่อคาดว่ามีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะได้รับชำาระ ุ ิ ึ ุ ื เมื่อส่งมอบสินค้าหรือให้บริการ สำาหรับสัญญาที่มีหลายองค์ประกอบที่กล่มกิจการจะต้องส่งมอบสินค้าหรือให้บริการหลายประเภท กล่มกิจการต้องแยกเป็น ุ ุ แต่ละภาระท่ต้องปฏิบัติที่แยกต่างหากจากกัน และต้องปันส่วนราคาของรายการของสัญญาดังกล่าวไปยังแต่ละภาระที่ต้องปฏิบัติ ี ตามสัดส่วนของราคาขายแบบเอกเทศหรือประมาณการราคาขายแบบเอกเทศ กลมกิจการจะรับรูรายไดของแต่ละภาระทีต้อง ุ ่ ้ ้ ่ ปฏิบัติแยกต่างหากจากกันเมื่อกลุ่มกิจการได้ปฏิบัติตามภาระนั้นแล้ว ดังรายละเอียดต่อไปนี้ รายได้จากการขายถ่านหิน กล่มกิจการรับรู้รายได้ค่าขายถ่านหิน ณ จุดใดจุดหนึ่งของเวลาเม่อได้โอนการควบคุมในสินค้าให้แก่ลูกค้า ณ จุดส่งมอบ ซ่งการโอน ุ ื ึ การควบคุมในสินค้าเกิดขึ้นเม่อกล่มกิจการได้นำาส่งสินค้าไปยังจุดหมายท่ลูกค้าได้ระบุไว้ตามสัญญา โดยรายได้จากการขายสินค้า ื ุ ี ในลักษณะดังกล่าวจะรับรู้ตามราคาของรายการซึ่งคาดว่าจะมีสิทธิได้รับ สุทธิจากภาษีขาย เงินคืนและส่วนลด รายได้จากสัญญาซ้อขายไฟฟ้าและไอนาท่ไม่ได้จัดประเภทเป็นสัญญาเช่า ื � ้ ี กลุ่มกิจการรับรู้รายได้จากการขายกระแสไฟฟ้าและไอน้ำาที่เกี่ยวเนื่องกับสัญญาซื้อขายไฟฟ้าและไอน้ำา ณ จุดใดจุดหนึ่งของเวลา เมื่อได้โอนการควบคุมในสินค้าให้แก่ลูกค้า ณ จุดส่งมอบ ซึ่งการโอนการควบคุมในสินค้าเกิดขึ้นเมื่อกลุ่มกิจการได้นำาส่งสินค้า ไปยังจุดหมายที่ลูกค้าได้ระบุไว้ตามสัญญา โดยรายได้จากการขายสินค้าในลักษณะดังกล่าวจะรับรู้ตามราคาของรายการซ่งคาดว่า ึ จะมีสิทธิได้รับ สุทธิจากภาษีขาย เงินคืนและส่วนลด รายได้จากสัญญาซ้อขายไฟฟ้าท่จัดประเภทเป็นสัญญาเช่า ื ี รายได้จากสัญญาเช่าการเงินภายใต้สัญญาซื้อขายไฟฟ้ารับรู้โดยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงตามระยะเวลาของสัญญา รายได้จากการให้บริการภายใต้สัญญาเช่าการเงินที่เก่ยวเนื่องกับสัญญาซ้อขายไฟฟ้าบางสัญญารับรู้เป็นรายได้เม่อได้ให้บริการ ี ื ื แก่ลูกค้าแล้วตามสัญญา โดยรายได้ค่าบริการประกอบด้วยรายได้สำาหรับการดำาเนินการในการรักษาระดับความพร้อมจ่ายไฟฟ้า ของโรงไฟฟ้า รายได้ค่าบริการอ่นและรายได้ค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้รับจากลูกหนี้สัญญาเช่าการเงินและเกี่ยวเนื่องกับการใช้สินทรัพย์ ื
57 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ภายใต้สัญญาเช่าดงกลาว ในกรณีท่กลมกิจการไดรับสิงตอบแทนเกินกว่าบริการทีให้ กลมกิจการจะรับรูสิงตอบแทนส่วนเกิน ั ่ ี ุ ่ ้ ่ ่ ุ ่ ้ ่ ดังกล่าวเป็นหนี้สินที่เกิดจากสัญญากับลูกค้า ในทางกลับกัน ถ้ากลุ่มกิจการได้รับสิ่งตอบแทนน้อยกว่าบริการที่ให้ กลุ่มกิจการ จะรับรู้สิ่งตอบแทนส่วนต่ำาดังกล่าวเป็นสินทรัพย์ที่เกิดจากสัญญากับลูกค้า รายได้จากการขายก๊าซธรรมชาต ิ รายได้จากการขายก๊าซธรรมชาติรับรู้ตามการโอนกรรมสิทธิ์ซ่งเป็นไปตามเง่อนไขในสัญญาที่เก่ยวข้องและตามปริมาณการขายจริง ึ ื ี ซึ่งรวมค่าภาคหลวงและภาษีแล้ว รายได้จากการบริการท่อขนส่งก๊าซรับรู้เมื่อมีการให้บริการตามปริมาณที่ขนส่งและวัดมูลค่าตามสัญญาที่เกี่ยวข้อง รายได้จากการขนส่ง รายได้จากการขนส่งรับรู้เม่อกล่มกิจการปฏิบัติตามภาระที่ต้องปฏิบัติเสร็จสิ้น ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง (Point in Time) โดยท่วไปเม่อม ื ุ ั ื ี การดาเนินการทีสำาคัญเสร็จสินและเมอมีการโอนการควบคมหรือบริการทเป็นรายการทไมมนัยสำาคญและรายไดจะรับรูเมอให้ ำ ่ ้ ื ่ ุ ี ่ ี ่ ่ ี ั ้ ้ ื ่ บริการแล้ว รายได้จากการให้บริการ กล่มกิจการรับรู้รายได้จากสัญญาให้บริการท่มีลักษณะการให้บริการแบบต่อเนื่องตามวิธีเส้นตรงตลอดระยะเวลาของสัญญา ุ ี โดยที่ไม่ได้คำานึงถึงรอบระยะเวลาการชำาระเงินตามสัญญา รายได้เงินปันผล กลุ่มกิจการรับรู้รายได้เงินปันผลเมื่อเกิดสิทธิที่จะได้รับเงินปันผลนั้น รายได้ดอกเบ้ยรับ ี กลุ่มกิจการรับรู้รายได้ดอกเบี้ยตามเกณฑ์อัตราผลตอบแทนที่แท้จริง 4.23 การจ่ายเงินปันผล เงินปันผลที่จ่ายไปยังผู้ถือหุ้นของกล่มกิจการจะรับรู้เป็นหน้สินในงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการในรอบระยะเวลาบัญชี ุ ี ซึ่งที่ประชุมผู้ถือหุ้นได้อนุมัติการจ่ายเงินปันผล เงินปันผลระหว่างกาลจะรับรู้เมื่อได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ
14 58 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 4.24 อนุพันธ์และการบัญชีป้องกันความเส่ยง ี ก) อนุพันธ์แฝงและอนุพันธ์ท่ไม่เข้าเง่อนไขของการบัญชีป้องกันความเส่ยง ี ื ี อนุพันธ์แฝงที่กล่มกิจการแยกรับรู้รายการ และอนุพันธ์ที่ไม่เข้าเง่อนไขของการบัญชีป้องกันความเสี่ยงจะรับรู้เริ่มแรกด้วย ุ ื มูลค่ายุติธรรม และจะรับรู้การเปล่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมในรายการกำาไร (ขาดทุน) สุทธิจากการวัดมูลค่าเครื่องมือ ี ทางการเงิน กล่มกิจการแสดงมูลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์เป็นรายการหมุนเวียนหรือไม่หมุนเวียนตามวันครบกำาหนดของสัญญา ุ อนุพันธ์นั้น ข) การบัญชีป้องกันความเส่ยง ี กล่มกิจการรับรู้รายการสัญญาอนุพันธ์เม่อเริ่มแรกด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่เข้าทำาสัญญาและวัดมูลค่าต่อมาในภายหลัง ุ ื ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กล่มกิจการกำาหนดให้สัญญาอนุพันธ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ุ ดังต่อไปนี้ - การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์หรือหนี้สินที่รับรู้รายการแล้ว หรือสัญญาผูกมัดท่ยังไม่ได้รับรู ี ้ รายการ (การป้องกันความเสี่ยงในมูลค่ายุติธรรม) หรือ - การป้องกันความเสี่ยงท่เกี่ยวกับกระแสเงินสดของรายการสินทรัพย์หรือหนี้สินท่รับรู้รายการแล้ว หรือรายการท่คาดการณ์ ี ี ี ที่มีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ในระดับสูงมาก (การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด) - การป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในการดำาเนินงานต่างประเทศ (การป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิ) ณ วันที่รับรู้ความสัมพันธ์ของการป้องกันความเสี่ยง กล่มกิจการมีการจัดทาเอกสาร 1) ท่ระบุความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ ุ ำ ี ระหว่างเครื่องมือท่ใช้ป้องกันความเสี่ยงและรายการท่มีการป้องกันความเสี่ยง ซ่งรวมถึงการเปล่ยนแปลงในกระแสเงินสด ี ี ึ ี ของเครื่องมือท่ใช้ป้องกันความเสี่ยงที่คาดว่าจะชดเชยการเปล่ยนแปลงในกระแสเงินสดของรายการท่มีการป้องกัน ี ี ี ความเสี่ยง 2) เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงและกลยุทธ์ท่นำามาใช้ในการจัดการกับรายการท่มีความเสี่ยง ี ี กล่มกิจการแสดงมลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์ท่ใช้ป้องกันความเสียงทั้งจานวนเป็นรายการหมนเวยนหรือไม่หมุนเวียน ุ ู ี ่ ำ ุ ี ตามวันครบกำาหนดของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด กล่มกิจการรับรูส่วนท่มีประสิทธิผลของการเปล่ยนแปลงในมลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์ซ่งมการกำาหนดและเข้าเง่อนไขของ ุ ้ ี ี ู ึ ี ื การป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดในสำารองการบัญชีป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด ซึ่งรวมอยู่ในส่วนของเจ้าของ และ รับรู้กำาไรหรือขาดทุนที่เกี่ยวข้องกับส่วนที่ไม่มีประสิทธิผลในกำาไรหรือขาดทุนทันทีที่เกิดขึ้น กลุ่มกิจการใช้สัญญาอนุพันธ์ เช่น สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตรา ดอกเบี้ย เป็นต้น ในการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่คาดการณ์ (Forecast Transaction) โดยกลุ่มกิจการเลือกกำาหนดให้ เฉพาะการเปลี่ยนแปลงในมูลค่าขององค์ประกอบราคาปัจจุบัน (Spot Component) เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง กำาไร หรือขาดทุนจากการเปล่ยนแปลงในมูลค่าขององค์ประกอบราคาปัจจุบัน (Spot Component) สำาหรับส่วนที่มีประสิทธิผลจะรับรู ี ้
59 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ในรายการการป้องกันความเสี่ยงกระแสเงินสดในกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่น ซ่งรวมอยู่ในส่วนของเจ้าของ การเปล่ยนแปลงใน ำ ื ึ ี มูลค่าองค์ประกอบของราคาล่วงหน้า (Forward Element) ที่เกี่ยวกับรายการท่ป้องกันความเสี่ยงจะรับรู้ในรายการต้นทุนใน ี การป้องกันความเสี่ยงในกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ซึ่งรวมอยู่ในส่วนของเจ้าของ ในบางกรณี กล่มกิจการอาจกำาหนดให้การเปล่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์ (รวมถึงค่าสะท้อนส่วนต่างของอัตรา ุ ี ดอกเบี้ยในสองสกุล (Forward Points) เป็นเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยง ในกรณีนี้ รายการกำาไรหรือขาดทุนที่เกี่ยวข้องกับ ส่วนทีมประสิทธิผลของการเปลยนแปลงในมลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพนธ์จะรับรูในรายการการปองกันความเสียงกระแสเงนสด ่ ี ี ่ ู ั ้ ้ ่ ิ ในกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ซึ่งรวมอยู่ในส่วนของเจ้าของ กลมกิจการจะโอนจานวนทีรับรูสะสมในส่วนของเจาของดงกลาวมายังกาไรหรือขาดทุนในรอบระยะเวลาเดยวกับทีกลมกิจการรับรู ุ ่ ำ ่ ้ ้ ั ่ ำ ี ่ ุ ่ ้ รายการที่ป้องกันความเสี่ยงในกำาไรหรือขาดทุน เม่อเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงนั้นสิ้นสุดอายุ หรือยกเลิก หรือเม่อการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าวไม่เข้าเง่อนไข กล่มกิจการ ื ื ื ุ จะจัดประเภทรายการกำาไรหรือขาดทุนและต้นทุนในการป้องกันความเสี่ยงท่สะสมและแสดงรวมไว้ในส่วนของเจ้าของตามเดิม ี จนกระทั่งเกิดรายการที่คาดการณ์ หรือเมื่อรายการที่คาดการณ์ไม่คาดว่าจะเกิดอีกต่อไป กลุ่มกิจการจะจัดประเภทรายการกำาไร หรือขาดทุนและต้นทุนในการป้องกันความเสี่ยงที่สะสมและเคยแสดงรวมไว้ในส่วนของเจ้าของเป็นกำาไรหรือขาดทุนทันที การป้องกันความเส่ยงในเงินลงทุนสุทธ ี ิ การป้องกันความเสี่ยงในเงินลงทุนสุทธิในการดาเนินงานต่างประเทศมีลักษณะคล้ายกับการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสด ำ กำาไรหรือขาดทุนจากเครื่องมือท่ใช้ป้องกันความเสี่ยงในส่วนท่มีประสิทธิผลจะรับรู้ในกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่นและรับรู้ผลสะสม ี ี ื ในส่วนของเจ้าของ สำาหรับกำาไรหรือขาดทุนท่เกี่ยวข้องกับส่วนที่ไม่มีประสิทธิผลจะรับรู้ในกำาไรหรือขาดทุนทันทีและแสดงรวม ี อยู่ในรายการกำาไร (ขาดทุน) สุทธิจากการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงิน ผลสะสมของกำาไรหรือขาดทุนที่รับรู้ในส่วนของเจ้าของ จะถูกโอนไปยังกำาไรหรือขาดทุนเมื่อกลุ่มกิจการจำาหน่ายส่วนงานต่างประเทศ (ทั้งหมดหรือบางส่วน) ออกไป 4.25 สัญญาคาประกันทางการเงิน � ้ กล่มกิจการรับรู้หน้สินทางการเงินจากสัญญาคาประกันเม่อกล่มกิจการให้การคาประกันทางการเงินท่มูลค่ายุติธรรม ณ วันที ุ ี ้ ำ ื ุ ้ ำ ี ่ รับรู้เริ่มแรก และรับรู้มูลค่าในภายหลังด้วยจำานวนที่สูงกว่าระหว่าง - จานวนผลขาดทุนด้านเครดิตท่คาดว่าจะเกิดข้นท่คานวณตามข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับท่ 9 ำ ี ึ ี ำ ำ ี เรื่อง เครื่องมือทางการเงิน และ - จานวนท่รับรู้เริ่มแรกหักด้วยรายได้ที่รับรู้ตามการรับรู้รายได้ภายใต้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 15 ำ ี เรื่อง รายได้จากสัญญาที่ทำากับลูกค้า มูลค่ายุติธรรมของสัญญาค้ำาประกันทางการเงินกำาหนดจากมูลค่าปัจจุบันของผลต่างในกระแสเงินสดระหว่าง ก) กระแสเงินสด ตามสัญญาของหนี้สินที่เกี่ยวข้อง และ ข) กระแสเงินสดที่จะต้องจ่ายชำาระในกรณีที่ไม่มีการค้ำาประกันดังกล่าว หรือการประมาณ จำานวนเงินที่ต้องจ่ายให้แก่บุคคลภายนอกสำาหรับเพื่อโอนภาระผูกพันดังกล่าวออกไป สัญญาคาประกันที่เกี่ยวข้องกับเงินก้ยืมหรือค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอ่นๆ ที่ไม่ได้รับผลตอบแทน มูลค่ายุติธรรมจะแสดงรวมเป็นส่วนหนึ่ง ้ ำ ู ื ของต้นทุนของเงินลงทุน
14 60 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 4.26 ข้อมูลจาแนกตามส่วนงาน � ส่วนงานดาเนินงานได้รายงานในลักษณะเดียวกับรายงานภายในท่นำาเสนอให้ผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดาเนินงาน ำ ี ำ ำ ผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดาเนินงานหมายถึงบุคคลที่มีหน้าที่ในการจัดสรรทรัพยากรและประเมินผลการปฏิบัติงาน ำ ำ ของส่วนงานดำาเนินงาน ซึ่งพิจารณาว่าคือ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารที่ทำาการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ 5. การจัดการความเส่ยงทางการเงิน ี 5.1 ปัจจัยความเส่ยงทางการเงิน ี กิจกรรมของกล่มกิจการอาจมความเสี่ยงทางการเงน ไดแก่ ความเสี่ยงจากตลาด (รวมถึงผลกระทบของการเปลยนแปลงของอัตรา ุ ี ิ ้ ี ่ แลกเปล่ยนเงินตราต่างประเทศ การเปล่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย และการเปล่ยนแปลงด้านราคา) ความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ ี ี ี และความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง แผนการจัดการความเสี่ยงโดยรวมของกล่มกิจการจึงม่งเน้นความผันผวนของตลาดการเงิน ุ ุ และบริหารจัดการเพ่อลดผลกระทบต่อการดาเนินงานให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ รวมถึงการใช้อนุพันธ์เพ่อป้องกันความเสี่ยง ื ำ ื บางประการที่จะเกิดขึ้น การบริหารความเสียงดาเนินงานโดยฝ่ายบริหารการเงินส่วนกลางภายใต้นโยบายท่อนุมติโดยคณะกรรมการของบริษัท ส่วนงาน ่ ำ ี ั บริหารการเงินของกล่มกิจการจะทำาการระบุ ประเมินและป้องกันความเสี่ยงทางการเงินโดยการร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดกับ ุ หน่วยปฏิบัติงานต่างๆ ภายในกลุ่มกิจการ 5.1.1 ความเส่ยงจากตลาด ี ก) ความเส่ยงจากอัตราแลกเปล่ยน ี ี กล่มกิจการมีการดาเนินงานระหว่างประเทศจึงย่อมมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปล่ยนเงินตราต่างประเทศโดยเกิดจากสกุลเงิน ุ ำ ี ที่หลากหลาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสกุลเงินบาท สกุลเงินเหรียญสหรัฐ สกุลเงินอินโดนีเซียรูเปีย สกุลเงินเหรียญออสเตรเลีย และสกุลเงินหยวน อันเกี่ยวเนื่องมาจากธุรกรรมการค้า เงินลงทุนสุทธิในการดาเนินงานในต่างประเทศ และสินทรัพย์ ำ และหนี้สินสุทธิซึ่งเป็นสกุลเงินที่ไม่ใช่สกุลเงินที่ใช้ในการดำาเนินงานของแต่ละบริษัทในกลุ่มกิจการ เคร่องมือทางการเงินท่กลุ่มกิจการใช้เพ่อบริหารความเส่ยง ื ี ื ี กล่มกิจการใช้สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้าและสัญญาแลกเปล่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบ้ยเพ่อป้องกัน ุ ื ี ี ื ความเสียงจากอตราแลกเปลยนเงนตราต่างประเทศ กลมกิจการกำาหนดนโยบายวาเงอนไขของสัญญาอนพนธ์ทีใช้เปนเครืองมอ ่ ั ี ่ ิ ุ ่ ่ ื ่ ุ ั ่ ็ ่ ื ป้องกันความเสี่ยงเงินตราต่างประเทศจะต้องเป็นไปในแนวทางเดียวกับความเสี่ยงของรายการที่ถูกป้องกันความเสี่ยงนั้น
61 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 การป้องกันความเส่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศ ี กล่มกิจการใช้นโยบายการบัญชีป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหน่วยงานต่างประเทศโดยการนารายการหุ้นกู้และ ุ ำ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินในสกุลเงินบาทมาใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในบริษัทย่อย ท่มีสกุลเงินบาทเป็นสกุลเงินท่ใช้ดาเนินงาน โดยอัตราแลกเปล่ยนเงินตราต่างประเทศท่เกิดจากหุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะสั้น ี ี ำ ี ี ณ วันเริ่มต้นการป้องกันความเสี่ยงถูกกำาหนดให้เป็นการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในบริษัทย่อยดังกล่าว กำาไรหรือขาดทุนในส่วนท่มีประสิทธิผลของเครื่องมือที่ใช้ป้องกันความเสี่ยงรับรู้ในกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอ่น และสะสมในส่วน ี ื ของเจาของ กำาไรหรือขาดทุนในส่วนทีไมมประสิทธิผลรับรูในกำาไรหรือขาดทุนทันที ผลสะสมของผลกำาไรหรือขาดทุนในส่วน ้ ่ ่ ี ้ ของเจ้าของต้องจัดประเภทรายการใหม่ไปยังกำาไรหรือขาดทุนเมื่อมีการจำาหน่ายหน่วยงานต่างประเทศนั้น บรษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ิ ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 53 การปองกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธิในหนวยงานตางประเทศ ้ ่ ่ กลุมกิจการใช้นโยบายการบัญชป้องกันความเสยงของเงนลงทุนสุทธในหนวยงานตางประเทศโดยการน ารายการหุ้นกู้และ ่ ี ี ่ ิ ิ ่ ่ เงนกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงนในสกุลเงนบาทมาใช้เปนเครื่องมือในการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธในบริษัทย่อย ิ ิ ิ ็ ิ ทมีสกุลเงินบาทเปนสกุลเงินทใช้ด าเนนงาน โดยอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศทเกิดจากหุ้นกู้และเงินกู้ยมระยะสั้น ี่ ็ ี่ ิ ี่ ื ณ วันเริ่มต้นการป้องกันความเสี่ยงถูกก าหนดให้เปนการป้องกันความเสี่ยงของเงินลงทุนสุทธในบริษัทย่อยดังกล่าว ็ ิ ก าไรหรือขาดทุนในส่วนที่มีประสิทธผลของเครื่องมือทใช้ป้องกันความเสี่ยงรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และสะสมในส่วนของ ิ ี่ ู เจ้าของ ก าไรหรือขาดทุนในสวนทไมมประสทธผลรับร้ในก าไรหรือขาดทุนทันท ผลสะสมของผลก าไรหรือขาดทุนในสวนของ ่ ี ่ ่ ี ิ ิ ู ี ่ เจ้าของต้องจัดประเภทรายการใหม่ไปยังก าไรหรือขาดทุนเมือมีการจ าหน่ายหนวยงานต่างประเทศนั้น ่ ่ งบการเงินรวม ณ วนที่ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2563 มูลค่าตามบัญชีของหุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะสั้น ณ วันเริ่มต้น การป้องกันความเสี่ยง 801 ล้านเหรียญสหรัฐ 801 ล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าของหุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะสั้นในสกุลเงินบาท 26,400 ล้านบาท 26,400 ล้านบาท การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชีของหุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะสั้น ที่เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนตั้งแต่วันเริ่มต้น ็ การป้องกันความเสี่ยง - 78 ล้านเหรียญสหรัฐ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่าตามบัญชีของหุ้นกู้และเงินกู้ยืมระยะสั้น ที่เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนตั้งแต่ ็ วันที 1 มกราคม ่ (89) ล้านเหรียญสหรัฐ - การเปลี่ยนแปลงในรายการป้องกันความเสี่ยงส่วนที่มีประสิทธผล ิ ซึ่งรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ู 89 ล้านเหรียญสหรัฐ (78) ล้านเหรียญสหรัฐ
14 62 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ความเส่ยง ี กลมกิจการและบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปล่ยนซงเป็นสกุลเงินท่มใช่สกุลเงินทีใช้ในการดาเนินงานของแต่ละบริษัท ุ ่ ี ึ ่ ี ิ ่ ำ ในกลุ่มกิจการที่เป็นสาระสำาคัญต่องบการเงิน ซึ่งสรุปเป็นสกุลเงินเหรียญสหรัฐ ดังนี้ บริษท บานปู จํากัด มหาชน ั ( ) บ อ ก ะ ร ป ุ ต ห เ ย า ม ห งบ ร ร า ก จ ิ ก ะ า พ ฉ เ น ิ ง เ ร า ก บ ง ะ ล แ ม ว ร น ิ ง เ าก สําหรบปสนสุดวนที ั ี ิ ั 31 . . ศพ ม ค า ว น ั ธ 2564 54 ความเสียง ม ว ร น ิ ง เ ร า ก บ ง หนวย น : ฐ ั ร ห ส ญ ย ี ร ห เ ั พ หนวย พนบาท : ั ฐ ั ร ห ส ญ ย ี ร ห เ บาท ย ี ซ เ ี น ด โ น ิ อ รูเปย เ ี ฐ ั ร ห ส ญ ย ี ร ห บาท ย ี ซ เ ี น ด โ น ิ อ รูเปย ี ณ วนที ั 31 ธนวาคม พ.ศ ั . 2564 น ง เ ร า ก ง า ท ย พ ั ร ท น ิ สิ ด ส น ิ ง เ า ท เ บ ย ี ท เ ร า ก ย า ร ะ ล แ ด ส น ิ ง เ 10,413 113,883 - 347,997 3,805,943 - 12,973 7,250 73,528 433,546 242,287 2,457,297 16,908 137,435 - 565,048 4,593,068 - 175,959 9,124 - 5,880,520 304,930 - 252,970 784,859 - 8,454,232 26,229,926 - หนสนทางการเงิน ี ิ 174,491 592,461 - 5,831,459 19,800,000 - 49,550 - - 1,655,956 - - 7,065 - 85,262 236,107 - 2,849,436 3,807 - - 127,238 - - 8,310 147,299 - 277,707 4,922,720 - ว า ย ะ ย ะ ร ม ื ย ู ก น ิ ง เ น ิ ง เ ร า ก น ั บ า ถ ส ก า จ ิ ธ ท ุ ส 60,000 158,588 - 2,005,194 5,300,000 - ิ ธ ท ุ ส ู ก น ุ ห - 1,833,339 - - 61,270,000 - 81,070 455,363 - 2,709,351 15,218,198 - ธ น ั พ ุ น อ ย พ ั ร ท น ิ ส - 120,000 - - 4,010,388 - - - - 253,153 - - 8,460,350 -
63 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 55 งบการเงินรวม หนวย พันเหรียญสหรฐ ่ : ั หนวย พันบาท ่ : เหรยญสหรฐ ี ั บาท อินโดนเซีย ี รูเปย เหรียญสหรฐ ี ั บาท อินโดนเซีย ี รูเปย ี ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 สินทรพย์ทางการเงิน ั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 5,190 85,400 34,605 155,887 2,565,158 1,039,423 ลูกหน้การค้า สุทธ ี ิ 3,822 20,043 33,647 114,813 602,022 1,010,661 ลูกหน้กจการทเกยวข้องกัน ี ิ ี ่ ี ่ 5,653 121,481 - 169,792 3,648,923 - เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กจการทีเกยวข้องกัน ิ ่ ี ่ 45,950 - - 1,380,205 - - เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กจการทีเกยวข้องกัน ิ ่ ี ่ 82,335 645,399 - 2,473,105 19,385,924 - หน้สนทางการเงิน ี ิ เงนกู้ยมระยะสั้นจากสถาบันการเงน ิ ื ิ - 503,045 - - 15,110,000 - เจ้าหน้การค้า ี 2,060 2,265 62,342 61,888 68,028 1,872,559 ดอกเบ้ยค้างจ่าย ี 5,644 135,824 - 169,543 4,079,767 - เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธ ิ 222,897 175,583 - 6,695,169 5,274,008 - หุ้นกู้ สุทธ ิ - 1,450,290 - - 43,562,504 - เงนกู้ยมระยะยาวจากกจการทเกยวข้องกัน ิ ื ิ ี ่ ี ่ 126,528 490,956 - 3,800,533 14,746,900 - สินทรพย์อนพันธ์ ั ุ ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับการบัญชป้องกัน ่ ี ความเสี่ยงกระแสเงินสด - สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 130,000 - - 3,904,823 - - - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และอัตราดอกเบี้ย - 348,248 - - 10,460,350 - หน้สนอนพนธ์ ี ิ ุ ั หน้สินอนุพันธ์การเงินทรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรม ี ี ่ ู ผ่านก าไรหรือขาดทุน - สัญญาซ้อขายเงนตรา ต่างประเทศล่วงหน้า ื ิ - 65,809 - - 1,976,707 -
14 64 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 56 งบการเงินเฉพาะกิจการ หน่วย พนเหรยญสหรฐ : ั ี ั หนวย พันบาท ่ : บาท บาท ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 สินทรพย์ทางการเงิน ั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 101,031 3,376,449 ลูกหน้การค้า สุทธ ี ิ 7,250 242,287 ลูกหน้กจการทีเกยวข้องกัน ี ิ ่ ี ่ 137,435 4,593,068 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการทเกยวข้องกัน ี ่ ี ่ 9,124 304,930 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กจการทีเกยวข้องกัน ิ ่ ี ่ 784,859 26,229,926 หน้สนทางการเงิน ี ิ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 592,461 19,800,000 ดอกเบี้ยค้างจ่าย 20,665 690,625 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธ ิ 158,588 5,300,000 หุ้นกู้ สุทธ ิ 1,833,339 61,270,000 สินทรพย์อนพันธ์ ั ุ ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับการบัญชีป้องกันความเสยงกระแสเงินสด ี ่ ี ่ - สัญญาแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ่ 253,153 8,460,350 ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 สินทรพย์ทางการเงิน ั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 74,531 2,238,686 ลูกหน้การค้า สุทธ ี ิ 16,111 483,927 ลูกหน้กจการทีเกยวข้องกัน ี ิ ่ ี ่ 121,478 3,648,839 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กจการทีเกยวข้องกัน ิ ่ ี ่ 644,401 19,355,924 หน้สนทางการเงิน ี ิ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 503,045 15,110,000 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธ ิ 175,583 5,274,008 หุ้นกู้ สุทธ ิ 1,450,290 43,562,504 สินทรพย์อนพันธ์ ั ุ ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับการบัญชีป้องกันความเสยงกระแสเงินสด ี ่ ี ่ - สัญญาแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ่ 348,248 10,460,350 หน้สนอนพันธ์ ี ิ ุ หน้สินอนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ี ่ ู - สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 65,809 1,976,707 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 56 งบการเงินเฉพาะกิจการ หน่วย พนเหรยญสหรฐ : ั ี ั หนวย พันบาท ่ : บาท บาท ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 สินทรพย์ทางการเงิน ั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 101,031 3,376,449 ลูกหน้การค้า สุทธ ี ิ 7,250 242,287 ลูกหน้กจการทีเกยวข้องกัน ี ิ ่ ี ่ 137,435 4,593,068 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการทเกยวข้องกัน ี ่ ี ่ 9,124 304,930 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กจการทีเกยวข้องกัน ิ ่ ี ่ 784,859 26,229,926 หน้สนทางการเงิน ี ิ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 592,461 19,800,000 ดอกเบี้ยค้างจ่าย 20,665 690,625 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธ ิ 158,588 5,300,000 หุ้นกู้ สุทธ ิ 1,833,339 61,270,000 สินทรพย์อนพันธ์ ั ุ ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับการบัญชีป้องกันความเสยงกระแสเงินสด ี ่ ี ่ - สัญญาแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ่ 253,153 8,460,350 ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 สินทรพย์ทางการเงิน ั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 74,531 2,238,686 ลูกหน้การค้า สุทธ ี ิ 16,111 483,927 ลูกหน้กจการทีเกยวข้องกัน ี ิ ่ ี ่ 121,478 3,648,839 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กจการทีเกยวข้องกัน ิ ่ ี ่ 644,401 19,355,924 หน้สนทางการเงิน ี ิ เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 503,045 15,110,000 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน สุทธ ิ 175,583 5,274,008 หุ้นกู้ สุทธ ิ 1,450,290 43,562,504 สินทรพย์อนพันธ์ ั ุ ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับการบัญชีป้องกันความเสยงกระแสเงินสด ี ่ ี ่ - สัญญาแลกเปลียนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย ่ 348,248 10,460,350 หน้สนอนพันธ์ ี ิ ุ หน้สินอนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ี ่ ู - สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 65,809 1,976,707
65 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ผลกระทบจากเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนต่อฐานะการเงินและผลการดำาเนินงานของกลุ่มกิจการ มีดังนี้ บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ( ) ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่้นสดวนที่ ั ีส ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ผลกระทบจากเครื่องมือป้องกันความเสียงจากอัตราแลกเปลียนต่อฐานะการเงินและผลการด าเนินงานของกลุมกจการ มีดังน้ ่ ่ ่ ิ ี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สญญาซื้อขายเงินตราตางประเทศลวงหนา ั ส ่ ่ ้ พันเหรียญ สหรฐ ั พันบาท พันเหรียญ สหรฐ ั พันบาท ณ วนที่ ธนวาคม พ.ศ. ั วนที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 มูลค่าตามบัญช - สินทรัพย์อนุพันธ์ทางการเงิน ี 758 25,347 จ านวนเงินตามสัญญา 120,000 4,010,388 - - - - วันครบก าหนด กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ถึง กันยายน พ.ศ. 2565 - - - - การเปลียนแปลงในมูลค่า ณ ปจจุบัน (Spot value) คิดลด ่ ั ของเครื่องมือป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ี (10,807) (361,170) - - - - การเปลียนแปลงในมูลค่าของรายการทีถูกป้องกัน ่ ่ ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป้องกันความเสียง ่ 10,807 361,170 - - - - อัตราแลกเปลียนทีใช้ป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ่ ่ ี (รวมค่าสะท้อนส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยในสองสกุล (Forward points)) 1 เหรียญออสเตรเลีย ต่อ 0.7203 เหรียญสหรัฐ - - - - ณ วนที่่ ั วนที 31 ธนวาคม พ.ศ. ั ธ 2563 มูลค่าตามบัญช - สินทรัพย์อนุพันธ์ทางการเงิน ี 11,020 330,996 - - - - จ านวนเงินตามสัญญา 130,000 3,904,823 - - - - วันครบก าหนด มกราคม พ.ศ. 2564 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2564 - - การเปลียนแปลงในมูลค่า ณ ปจจุบัน (Spot value) คิดลด ่ ั ของเครื่องมือป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ี 10,462 314,251 - - - - การเปลียนแปลงในมูลค่าของรายการทีถูกป้องกัน ่ ่ ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป้องกันความเสียง ่ (10,462) (314,251) - - - - อัตราแลกเปลียนทีใช้ป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ่ ่ ี (รวมค่าสะท้อนส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยในสองสกุล (Forward points)) 1 เหรียญออสเตรเลีย ต่อ 0.7607 เหรียญสหรัฐ - - - - บ ร ิ ษ ั ท บ ้ า น ปู จ า ก ั ด ม ห า ช น หมาย เหตุประกอบ งบ การเ ง ิ นรวม และงบการ เง ิ นเฉพ า ะก ิ จการ ส าหรบป ั ี ิ ุ ั 3 1 ธ ันวาค ม พ.ศ. 2 5 6 4 ผลกระทบจากเคร ื ่องมือ ป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยงจากอ ั ตร าแลกเป ลี ่ ยนต่อฐานะการเงินและผลก ารด าเนินงานของกล ุ ่ มก ิ จการ มีด ั งน ี ้ งบการเงินรวม งบการเงินเฉ พา ะก ิจ การ ั ญ ญ า ซ้ ื อ ข า ย เ ง ิ น ต ร า ต ่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ล ่ ว ง ห น ้ า พัน เ ห รีย ญ สห ร ั ฐ พันบ าท พัน เ ห รีย ญ สห ร ั ฐ พันบ าท ณ ั 3 1 ั 2 5 6 4 ม ู ลค่า ตา มบ ั ญช ี - สินทร ั พย ์ อน ุ พ ั นธ ์ ทางการ เงิน 7 5 8 2 5 , 3 4 7 จ านว นเงินตา มส ั ญญา 1 2 0 , 0 0 0 4 , 0 1 0 , 3 8 8 ว ั นคร บก าหนด ก ุ มภ าพ ั นธ ์ พ.ศ. 2 5 6 5 ถึง ก ั นยายน พ.ศ . 2 5 6 5 การเปลี ่ ยนแป ลงในม ู ลค่า ณ ป ั จจ ุ บ ั น ( S p o t v a l u e ) คิด ลด ขอ งเครื่องมือป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยง ส าหร ั บป ี ( 1 0 , 8 0 7 ) ( 3 6 1 , 1 7 0 ) การเปลี ่ ยนแป ลงในม ู ลค่า ขอ งรายการ ที ่ ถ ู กป ้ องก ั น คว ามเสี ่ ยงส าหร ั บการก าหนด คว ามม ีประสิทธ ิ ผลขอ ง การป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยง 1 0 , 8 0 7 3 6 1 , 1 7 0 อ ั ตร าแลกเป ลี ่ ยนที ่ ใช ้ ป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยงส าหร ั บป ี (รว มค่ าสะท ้ อนส ่ วนต่ างขอ งอ ั ตร าด อก เบี ้ ยในสองสก ุ ล ( For ward p oints)) 1 เหร ี ยญ ออสเตร เลีย ต่อ 0 . 7 2 0 3 เหร ี ย ญสหร ั ฐ ณ ั 3 1 ั นวาคม พ. ศ. 2 5 6 3 ม ู ลค่า ตา มบ ั ญช ี - สินทร ั พย ์ อน ุ พ ั นธ ์ ทางการ เงิน 1 1 , 0 2 0 3 3 0 , 9 9 6 จ านว นเงินตา มส ั ญญา 1 3 0 , 0 0 0 3 , 9 0 4 , 8 2 3 ว ั นคร บก าหนด มกราค ม พ.ศ. 2 5 6 4 ถึง มีนาค ม พ.ศ . 2 5 6 4 การเปลี ่ ยนแป ลงในม ู ลค่า ณ ป ั จจ ุ บ ั น ( S p o t v a l u e ) คิด ลด ขอ งเครื่องมือป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยง ส าหร ั บป ี 1 0 , 4 6 2 3 1 4 , 2 5 1 การเปลี ่ ยนแป ลงในม ู ลค่า ขอ งรายการ ที ่ ถ ู กป ้ องก ั น ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยง ( 1 0 , 4 6 2 ) ( 3 1 4 , 2 5 1 ) อ ั ตร าแลกเป ลี ่ ยนที ่ ใช ้ ป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยงส าหร ั บป ี (รวมค่าสะท้อนส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยในสองสกุล ( For ward p oints)) 1 เหร ี ยญ ออสเตร เลีย ต่อ 0 . 7 6 0 7 เหร ี ย ญสหร ั ฐ
14 66 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ สญญาแลกเปล่ยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบี้ย ั ี ่ พันเหรียญ สหรฐ ั พันบาท พันเหรียญ สหรฐ ั พันบาท ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 มูลค่าตามบัญช - หน้สินอนุพันธ์ทางการเงิน ี ี 19,366 647,205 19,366 647,205 จ านวนเงินตามสัญญา 253,153 8,460,350 253,153 8,460,350 วันครบก าหนด มีนาคม พ.ศ. 2565 ถึง กันยายน พ.ศ. 2569 มีนาคม พ.ศ. 2565 ถึง กันยายน พ.ศ. 2569 การเปลียนแปลงในมูลค่า ณ ปจจุบัน (Spot value) คิดลด ่ ั ของเครื่องมือป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ี (30,628) (1,023,571) (30,628) (1,023,571) การเปลียนแปลงในมูลค่าของรายการทีถูกป้องกัน ่ ่ ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป้องกันความเสียง ่ 30,628 1,023,571 30,628 1,023,571 อัตราแลกเปลียนทีใช้ป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ่ ่ ี (รวมค่าสะท้อนส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยในสองสกุล (Forward points)) 1 เหรียญสหรัฐ ต่อ 31.2500 บาท 1 เหรียญสหรัฐ ต่อ 31.2500 บาท อัตราดอกเบี้ยทีป้องกันความเสียงส าหรับป (SWAP rate) ่ ่ ี ร้อยละ 1.595 - ร้อยละ 6.390 ร้อยละ 1.595 - ร้อยละ 6.390 ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 มูลค่าตามบัญช - สินทรัพย์อนุพันธ์ทางการเงิน สุทธ ี ิ 4,971 149,313 4,971 149,313 จ านวนเงินตามสัญญา 348,248 10,460,350 348,248 10,460,350 วันครบก าหนด เมษายน พ.ศ. 2564 ถึง เมษายน พ.ศ. 2569 เมษายน พ.ศ. 2564 ถึง เมษายน พ.ศ. 2569 การเปลียนแปลงในมูลค่า ณ ปจจุบัน (Spot value) คิดลด ่ ั ของเครื่องมือป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ี (17,575) (527,910) (17,575) (527,910) การเปลียนแปลงในมูลค่าของรายการทีถูกป้องกัน ่ ่ ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป้องกันความเสียง ่ 17,575 527,910 17,575 527,910 อัตราแลกเปลียนทีใช้ป้องกันความเสียงส าหรับป ่ ่ ่ ี (รวมค่าสะท้อนส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ยในสองสกุล (Forward points)) 1 เหรียญสหรัฐ ต่อ 30.6318 บาท 1 เหรียญสหรัฐ ต่อ 30.6318 บาท อัตราดอกเบี้ยทีป้องกันความเสียงส าหรับป (SWAP rate) ่ ่ ี ร้อยละ 4.82 ร้อยละ 4.82
67 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 การวิเคราะห์ความอ่อนไหว ดังท่แสดงในตารางข้างต้น กล่มกิจการมีความเสี่ยงหลักจากการเปล่ยนแปลงในอัตราแลกเปล่ยนระหว่างเงินเหรียญสหรัฐ ี ุ ี ี และเงินบาท และระหว่างเงินเหรียญออสเตรเลียและเหรียญสหรัฐ ความอ่อนไหวในกาไรหรือขาดทุนต่อการเปล่ยนแปลงในอัตรา ำ ี แลกเปล่ยนส่วนใหญ่มาจากสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงิน และผลกระทบที่มีต่อองค์ประกอบอ่นในส่วนของเจ้าของที่เกิดมาจาก ี ื สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า และรายการหนี้สินทางการเงินบางรายการที่ถูกกำาหนดไว้เพ่อป้องกันความเสี่ยง ื ื ด้านกระแสเงินสด ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินอื่นไม่มีสาระสำาคัญต่อกลุ่มกิจการ บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ( ) ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 59 การวิเคราะห์ความอ่อนไหว ดังทแสดงในตารางข้างต้น กลุมกจการมความเสียงหลักจากการเปลยนแปลงในอัตราแลกเปลยนระหว่างเงินเหรียญสหรัฐและ ี ่ ่ ิ ี ่ ี ่ ี ่ เงินบาท และระหว่างเงินเหรียญออสเตรเลียและเหรียญสหรัฐ ความออนไหวในก าไรหรือขาดทุนตอการเปลยนแปลงในอัตรา ่ ่ ี ่ แลกเปลียนส่วนใหญมาจากสินทรัพย์และหน้สินทางการเงิน และผลกระทบทีมีต่อองค์ประกอบอืนในส่วนของเจ้าของทเกดมาจาก ่ ่ ี ่ ่ ี ่ ิ สัญญาซ้อขายเงินตราตางประเทศล่วงหน้า และรายการหน้สินทางการเงินบางรายการทถูกก าหนดไว้เพือป้องกันความเสยง ื ่ ี ี ่ ่ ี ่ ด้านกระแสเงินสด ความเสียงจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลียนสกุลเงินอืนไม่มีสาระส าคัญต่อกลุมกจการ ่ ่ ่ ่ ิ งบการเงินรวม หนวย: พันเหรียญสหรัฐ ่ หนวย: พันบาท ่ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื ในส่วนของ เจ้าของก่อน ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ณ วันที่่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั ธ 2564 อัตราแลกเปลี่ยนเหรียญสหรัฐต่อบาท - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ 69,250 - - 2,314,317 - - - ลดลงร้อยละ 5* (74,782) - - (2,499,210) - - อัตราแลกเปลี่ยนเหรียญออสเตรเลียต่อเหรียญสหรัฐ - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ 7,515 5,714 251,134 190,955 - ลดลงร้อยละ 5* (8,306) (6,315) (277,570) (211,055) ณ วันที่่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั ธ 2563 อัตราแลกเปลี่ยนเหรียญสหรัฐต่อบาท - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ 35,447 - - 1,064,737 - - - ลดลงร้อยละ 5* (38,627) - - (1,160,249) - - อัตราแลกเปลี่ยนเหรียญออสเตรเลียต่อเหรียญสหรัฐ - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ 1,721 17,790 51,706 534,359 - ลดลงร้อยละ 5* (1,903) (19,663) (57,148) (590,607) บ ร ิ ษ ั ท บ ้ า น ปู จ า ก ั ด ม ห า ช น หมาย เหตุประกอบ งบ การเ ง ิ นรวม และงบการ เง ิ นเฉพ า ะก ิ จการ ส าหรบปส ั ี ิ ุ ั 3 1 ธ ันวาค ม พ.ศ. 2 5 6 4 5 9 การว ิ เครา ะห ์ คว า มอ่อ นไหว ด ั ง ท ี ่ แ ส ดง ใน ตาราง ข ้ าง ต ้ น ก ล ุ ่ ม ก ิ จ กา ร ม ี ค ว า ม เส ี ่ ยงห ล ั กจ า กกา ร เปล ี ่ ยน แ ปลง ใ น อ ั ต ร า แ ลก เปล ี ่ ยน ร ะ ห ว ่ า งเ ง ิน เห ร ี ย ญสห ร ั ฐแ ละ เง ิน บา ท แ ละร ะห ว ่ า งเง ิน เห ร ี ยญอ อ สเต ร เล ียแ ละเห ร ี ยญสห ร ั ฐ ค ว า ม อ ่ อ น ไ ห ว ใ น ก า ไ ร ห ร ื อ ข า ด ท ุ น ต ่ อ กา ร เปล ี ่ ยน แ ปลงใ น อ ั ต ร า แล ก เ ป ลี ่ ย น ส ่ว น ใ ห ญ ่ มา จาก สิ นท ร ั พ ย ์ และห น ี ้ สิ น ทาง การ เ งิ น แล ะ ผ ล ก ร ะ ท บ ที ่ มี ต่อองค ์ ปร ะ ก อบอื ่ นใ น ส่ ว น ข อ งเจ ้ า ข อ งท ี ่ เก ิ ด ม า จ า ก ส ั ญญา ซ ื ้ อ ข า ยเง ิน ต ร า ต ่ า งป ร ะเท ศ ล ่ ว ง ห น ้ า แ ละร า ยกา ร ห น ี ้ ส ิน ท า งกา ร เ ง ิน บ า งร า ยก า ร ท ี ่ ถ ู กก า ห น ด ไ ว ้ เพ ื ่ อ ป ้ อ งก ั น ค ว า ม เ ส ี ่ ย ง ด ้ านกระแสเงินสด ควา มเสี ่ ยงจากการเปลี่ยนแ ปลงในอ ั ตร าแลกเป ลี ่ ยนสก ุ ลเงินอ ื ่ นไม ่มีสาร ะส าค ั ญต่อกล ุ ่ มก ิ จก าร งบการเง ิ นร วม หน ่ วย: พัน เห รีย ญสหรั ฐ หน ่ วย: พัน บา ท ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ อ่ ื น ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ อ่ ื น ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ณ วันที 3 1 ั นว า คม พ. ศ. 25 6 4 อตรา ั แลกเปลี่ยนเ หร ี ยญสหร ั ฐต่ อบาท - เพิ ่ มข ึ ้ นร ้ อยละ 5 * 69 , 2 5 0 2, 3 1 4 , 3 1 7 - ลดลงร ้ อยละ 5 * (7 4 , 7 8 2 ) (2 , 4 9 9 , 2 1 0 ) อตรา ั แลกเปลี่ย น เห ร ี ยญอ อสเต รเ ลียต ่ อเหร ี ยญสหร ั ฐ - เพิ ่ มข ึ ้ นร ้ อยละ 5 * 7, 5 1 5 5, 7 1 4 25 1 , 1 3 4 19 0 , 9 5 5 - ลดลงร ้ อยละ 5 * (8 , 3 0 6 ) (6 , 3 1 5 ) (2 7 7 , 5 7 0 ) (2 1 1 , 0 5 5 ) ณ วันที 3 1 ั นว า คม พ. ศ. 25 6 3 อตรา ั แลกเปลี่ยนเ หร ี ยญสหร ั ฐต่ อบาท - เพิ ่ มข ึ ้ นร ้ อยละ 5 * 35 , 4 4 7 1, 0 6 4 , 7 3 7 - ลดลงร ้ อยละ 5 * (3 8 , 6 2 7 ) (1 , 1 6 0 , 2 4 9 ) อตรา ั แลกเปลี่ย น เห ร ี ยญอ อสเต รเ ลียต ่ อเหร ี ยญสหร ั ฐ - เพิ ่ มข ึ ้ นร ้ อยละ 5 * 1, 7 2 1 17 , 7 9 0 51 , 7 0 6 53 4 , 3 5 9 - ลดลงร ้ อยละ 5 * (1 , 9 0 3 ) (1 9 , 6 6 3 ) (5 7 , 1 4 8 ) (5 9 0 , 6 0 7 )
14 68 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ข) ความเส่ยงจากกระแสเงินสดและอัตราดอกเบ้ย ี ี กล่มกิจการบริหารความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย โดยติดตามแนวโน้มของอัตราดอกเบ้ยในตลาดโลกและประเทศไทย จัดสรร ุ ี เงินกู้ยืมทั้งระยะสั้นและระยะยาว ทั้งในส่วนที่เป็นอัตราดอกเบี้ยคงที่และอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ในสัดส่วนที่สอดคล้องกับประเภท การลงทุนของกล่มกิจการ รวมถึงมีการใช้เครื่องมือทางการเงินเพ่อสร้างทางเลือกในการจัดหาแหล่งเงินทุน และการบริหาร ุ ื โครงสร้างหนี้ท่ไปลงทุนให้เหมาะสม เช่น สัญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบี้ยเพ่อป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบ้ย ซ่งใช้ใน ี ี ื ี ึ การบริหารสัดส่วนของอัตราดอกเบี้ยคงที่ให้สอดคล้องต่อแนวโน้มของสถานการณ์ สืบเนื่องจากการปฏิรูปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ทาให้จะมีการยุติการใช้อัตราดอกเบ้ยอ้างอิงหลายอัตรารวมถึงอัตราดอกเบ้ย LIBOR ำ ี ี ซ่งส่งผลต่อกล่มกิจการท่มีการนำาอัตราดอกเบี้ยดังกล่าวมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการคานวณอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ท้งนี้ ผู้บริหาร ึ ุ ี ำ ั อยู่ระหว่างการหารือกับสถาบันการเงินสำาหรับสัญญาเงินกู้ยืมและเครื่องมือทางการเงินที่เกี่ยวข้องเพ่อเปล่ยนแปลงไปใช้ ื ี อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่มีผลกระทบอย่าง มีสาระสำาคัญต่อกลุ่มกิจการ ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ของกลุ่มกิจการ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานได้เปิดเผย ไว้ในหมายเหตุข้อ 24 และหมายเหตุข้อ 25 ตามลำาดับ บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 60 งบการเงินเฉพาะกิจการ หนวย: พันเหรียญสหรัฐ ่ หนวย: พันบาท ่ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 อัตราแลกเปลี่ยนเหรียญสหรัฐต่อบาท - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ 62,819 - 2,099,404 - - ลดลงร้อยละ 5* (69,432) - (2,320,394) - ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 อัตราแลกเปลี่ยนเหรียญสหรัฐต่อบาท - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ 48,576 - 1,459,079 - - ลดลงร้อยละ 5* (53,138) - (1,596,108) - * โดยก าหนดให้ปจจัยอื่นคงที่ ั ข) ความเส่ยงจากกระแสเงินสดและอัตราดอกเบี้ย ี กลุมกจการบริหารความเสยงจากอัตราดอกเบ้ย โดยตดตามแนวโน้มของอัตราดอกเบ้ยในตลาดโลกและประเทศไทย จัดสรรเงินกู้ยืม ่ ิ ี ่ ี ิ ี ทั้งระยะสั้นและระยะยาว ทั้งในส่วนทเปนอัตราดอกเบ้ยคงทและอัตราดอกเบ้ยลอยตัว ในสัดส่วนทสอดคล้องกับประเภท ี ่ ็ ี ี ่ ี ี ่ การลงทุนของกลุ่มกจการ รวมถงมีการใช้เครืองมือทางการเงนเพอสร้างทางเลอกในการจัดหาแหล่งเงินทุน และการบริหาร ิ ึ ่ ิ ื ่ ื โครงสร้างหน้ทไปลงทุนให้เหมาะสม เช่น สัญญาแลกเปลยนอัตราดอกเบ้ยเพอป้องกันความเสยงจากอัตราดอกเบ้ย ซึงใช้ใน ี ี ่ ี ่ ี ื ่ ี ่ ี ่ การบริหารสัดส่วนของอัตราดอกเบี้ยคงทีให้สอดคล้องต่อแนวโน้มของสถานการณ์ ่ สืบเนองจากการปฏิรปอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ท าให้จะมีการยุติการใช้อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงหลายอัตรารวมถึงอัตราดอกเบี้ย LIBOR ื ่ ู ซึงส่งผลตอกลุมกจการทมการน าอัตราดอกเบ้ยดังกล่าวมาใช้เปนส่วนหนึงในการค านวณอัตราดอกเบ้ยลอยตัว ทั้งน้ผู้บริหาร ่ ่ ่ ิ ี ่ ี ี ็ ่ ี ี อยูระหว่างการหารือกับสถาบันการเงินส าหรับสัญญาเงินกู้ยมและเครืองมอทางการเงินทีเกยวข้องเพอเปลยนแปลงไปใช้ ่ ื ่ ื ่ ี ่ ื ่ ี ่ อัตราดอกเบี้ยอ้างอิงอื่น อย่างไรก็ตาม ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 การเปลยนแปลงดังกล่าวไมมผลกระทบอยางมสาระส าคัญ ่ ี่ ่ ี ่ ี ต่อกลุมกจการ ่ ิ ความเสยงจากอัตราดอกเบ้ยของเงินกู้ยมระยะยาวและหุ้นกู้ของกลุมกจการ ณ วันส้นรอบระยะเวลารายงานได้เปดเผยไว้ใน ี ่ ี ื ่ ิ ิ ิ หมายเหตุข้อ 24 และหมายเหตุข้อ 25 ตามล าดับ
69 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 เคร่องมือทางการเงินท่กลุ่มกิจการใช้เพ่อบริหารความเส่ยง ื ี ื ี กล่มกิจการเข้าทาสัญญาอนุพันธ์ โดยครอบคลุมร้อยละ 15 ของเงินต้นของเงินก้ยืมระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยผันแปร ุ ำ ู (พ.ศ. 2563 ร้อยละ 35) โดยอัตราดอกเบี้ยคงท่ของสัญญาอนุพันธ์ดังกล่าวมีอัตราร้อยละ 1.17 ถึงร้อยละ 3.42 ต่อปี (พ.ศ. 2563 ี ร้อยละ 2.62 ถึงร้อยละ 2.78 ต่อปี) และ ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 อัตราดอกเบี้ยผันแปรของเงินกู้ยืมระยะยาวมีอัตรา ร้อยละ 1.55 ถึงร้อยละ 5.85 (พ.ศ. 2563 ร้อยละ 1.25 ถึงร้อยละ 5.36 ต่อปี) สัญญาอนุพันธ์จะมีการชำาระยอดสุทธิของดอกเบี้ยค้างรับหรือค้างจ่ายระหว่าง 90 ถึง 180 วัน ทั้งนี้ วันที่ถึงกำาหนดชำาระตาม สัญญาอนุพันธ์เป็นวันเดียวกับวันที่ถึงกำาหนดชำาระของดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ ผลกระทบจากเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยต่อฐานะการเงินและผลการดำาเนินงานของกลุ่มกิจการ มีดังนี้ บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ( ) ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่้นสดวนที่ ัิ ี ิ ุ ั ธันวาคม พ.ศ. 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 61 เคร่องมือทางการเงินที่กลุมกิจการใช้เพื่อบรหารความเสี่ยง ื ่ ิ กลุมกจการเข้าท าสัญญาอนุพันธ์ โดยครอบคลุมร้อยละ 15 ของเงินต้นของเงินกู้ยืมระยะยาวทีมีอัตราดอกเบี้ยผันแปร (พ.ศ. 2563 ่ ิ ่ ร้อยละ 35) โดยอัตราดอกเบี้ยคงทีของสัญญาอนุพันธ์ดังกล่าวมีอัตราร้อยละ 1.17 ถึงร้อยละ 3.42 ต่อป (พ.ศ. 2563 ร้อยละ 2.62 ่ ี ถึงร้อยละ 2.78 ตอปี) และ ณ วันท 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 อัตราดอกเบ้ยผันแปรของเงินกู้ยืมระยะยาวมอัตราร้อยละ 1.55 ถึง ่ ี ่ ี ี ร้อยละ 5.85 (พ.ศ. 2563 ร้อยละ 1.25 ถึงร้อยละ 5.36 ต่อป) ี สัญญาอนุพันธ์จะมการช าระยอดสุทธของดอกเบ้ยค้างรับหรือค้างจ่ายระหว่าง 90 ถึง 180 วัน ทั้งน้ วันทถงก าหนดช าระตาม ี ิ ี ี ี ่ ึ สัญญาอนุพันธ์เปนวันเดียวกับวันทีถึงก าหนดช าระของดอกเบี้ยของเงินกู้ยืมระยะยาวและหุ้นกู้ ็ ่ ผลกระทบจากเครื่องมือป้องกันความเสียงจากอัตราดอกเบี้ยต่อฐานะการเงินและผลการด าเนินงานของกลุมกจการ มีดังน้ ่ ่ ิ ี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งบการเงินเฉพาะกิจการ สญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบี้ย ั ี พันเหรียญ สหรฐ พันบาท ั พันบาท พันเหรียญ สหรฐ พันบาท ั พันบาท ณ วนที่่ 31 ั ธนวาคม พ.ศ. 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 มูลค่าตามบัญช - หน้สินอนุพันธ์ทางการเงิน สุทธ ี ี ิ 6,495 217,068 217,068 6,430 214,879 214,879 จ านวนเงินตามสัญญา 407,557 13,620,510 376,100 376,100 12,569,224 วันครบก าหนด มีนาคม พ.ศ. 2565 ถึง กันยายน พ.ศ. 2570 ถึง กันยายน พ.ศ. 2570 ถึง กันยายน พ.ศ. 2570 มีนาคม พ.ศ. 2565 ถึง กันยายน พ.ศ. 2570 การเปลียนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ่ ป้องกันความเสี่ยงระหว่างป ี 19,432 649,411 649,411 19,496 19,496 651,601 651,601 การเปลียนแปลงในมูลค่าของรายการทีถูกป้องกัน ่ ่ ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป้องกันความเสียง ่ (19,432) (649,411) (649,411) (19,496) (19,496) (651,601) (651,601) อัตราดอกเบี้ยทีป้องกันความเสียงส าหรับป (SWAP rate) ร้อยละ 1.17 - ร้อยละ 3.42 ่ ่ ี ร้อยละ 1.17 - ร้อยละ 3.42 ร้อยละ 1.17 - ร้อยละ 3.42 ณ วนที่่ 31 ั ธนวาคม พ.ศ. 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 มูลค่าตามบัญช - หน้สินอนุพันธ์ทางการเงิน ี ี 28,318 850,601 850,601 25,927 25,927 778,773 778,773 จ านวนเงินตามสัญญา 918,560 27,590,879 827,000 827,000 24,840,682 วันครบก าหนด มิถุนายน พ.ศ. 2564 มิถุนายน พ.ศ. 2564 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2568 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2568 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2568 มิถุนายน พ.ศ. 2564 ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2568 การเปลียนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือ ่ ป้องกันความเสียงระหว่างป ่ ี (8,433) (253,297) (253,297) (7,307) (7,307) (219,474) (219,474) การเปลียนแปลงในมูลค่าของรายการทีถูกป้องกัน ่ ่ ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป้องกันความเสียง ่ 8,433 253,297 253,297 7,307 219,474 219,474 อัตราดอกเบี้ยทีป้องกันความเสียงส าหรับป (Swap rate) ร้อยละ 2.62 - ร้อยละ 2.78 ่ ่ ี ร้อยละ 2.62 - ร้อยละ 2.78 ร้อยละ 2.78 ผลกระทบจากเครื่องมือป้องกันความเสียงจากอัตราดอกเบี้ยต่อฐานะการเงินและผลการด าเนินงานของกลุมกจการจากการเข้าท า ่ ่ ิ สัญญาแลกเปลยนเงินตราตางประเทศและอัตราดอกเบ้ยได้เปดเผยรวมไว้ในการป้องกันความเสยงจากอัตราแลกเปลยน ี ่ ่ ี ิ ี ่ ี ่ ดังหมายเหตุข้อ 5.1.1 ก) บริษท ั บ ้ า น ปู จ า ก ั ด ม ห า ช น หมาย เหตุประกอบ งบ การเ ง ิ นรวม และงบการ เง ิ นเฉพ า ะก ิ จการ ส าหรบปส ั ี ุ ั 31 2564 61 เคร่อง ื ม ื อ ท า ง ก า ร เ ง ิ น ท่ ี ก ล ุ ่ ม ก ิ จ ก า ร ใ ช ้ เ พ ื ่ อ บ ร ิ ห า ร ค ว า ม เ ส่ ี ย ง กลุมก ่ ิ จการเข ้ าท าส ั ญญาอน ุ พ ั นธ ์ โด ยครอบคล ุ มร ้ อย ละ 1 5 ขอ งเงินต ้ นขอ งเงินก ู ้ ยืมระยะยาวที ่ มีอ ั ตร าด อก เบี ้ ยผ ั นแปร (พ .ศ. 2 5 6 3 ร้อยละ 3 5 ) โ ดย อ ั ตร า ดอ กเ บี ้ ยค ง ที ่ ขอ ง ส ั ญญ าอน ุ พ ั นธ ์ ด ั งก ล ่ า วมีอ ั ตร า ร ้ อย ละ 1 . 1 7 ถึ ง ร ้ อ ย ละ 3 . 4 2 ต่อ ป ี ( พ. ศ. 2 5 6 3 ร ้ อ ย ละ 2 . 6 2 ถึงร้อยละ 2 . 7 8 ต ่ อ ปี ) แ ละ ณ ว ั น ท ี ่ 3 1 ธ ั น ว า คม พ. ศ. 2 5 6 4 อ ั ต ร า ด อ กเบ ี ้ ยผ ั น แ ปร ข อ งเง ิน กู ้ ย ืม ร ะยะย า ว ม ี อ ั ต ร า ร ้ อ ยละ 1 . 5 5 ถึ ง ร้อยละ 5 . 8 5 (พ .ศ. 2 5 6 3 ร ้ อย ละ 1 . 2 5 ถึงร ้ อย ละ 5 . 3 6 ต่อป ี ) สัญญา อ น ุ พ ั น ธ์ จะม ี กา ร ช า ร ะยอ ด สุ ท ธ ิ ข อ งด อ กเบ ี ้ ยค ้ า งร ั บห ร ื อ ค ้ า งจ ่า ยร ะห ว ่ า ง 9 0 ถ ึง 1 8 0 วั น ท ั ้ ง น ี ้ วั น ท ี ่ ถ ึ ง ก าห น ด ช าระ ต า ม สัญญาอน ุ พ ั นธ ์ เป ็ นว ั นเดียวก ั บว ั นที ่ ถึงก าหนด ช าระของดอก เบี ้ ยขอ งเงินก ู ้ ยืมระยะยาวและห ุ ้ นก ู ้ ผลกระทบจากเคร ื ่องมือ ป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยงจากอ ั ตร าด อก เบี ้ ย ต่อฐานะการเงินและผลการด าเนินงานของกล ุ ่ มก ิ จการ มีด ั งน ี ้ งบการเงินรวม สญญ ั า แ ล ก เ ป ล่ ี ย น อ ั ต ร า ด อ ก เ บ้ ี ย พันเหรียญ สหรฐ ั พันเหรียญ สหรฐ ั ณ วนที ั ั 2564 มูลค่า ตา มบ ั ญช ี - หน ี ้ สิน อน ุ พ ั นธ ์ ทา งการเงิน ส ุท ธ ิ 6,495 6,430 จ านว นเงินตา มส ั ญญา 407,5 5 7 1 3 , 6 2 0 , 5 1 0 1 2 , 5 6 9 , 2 2 4 วันคร บก าหนด มีนาคม พ.ศ. 2565 มีนาค ม พ.ศ. 2 5 6 5 การเปลี ่ ยน แปลง ในม ู ลค่า ย ุ ติธร รมข องเค ร ื ่องมือ ป้องก ั นคว ามเสี ่ยง ระหว่า งป ี 19,43 2 การเปลี ่ ยนแป ลงในม ู ลค่า ขอ งรายการ ที ่ ถ ู กป ้ องก ั น ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยง (19,4 3 2 ) อัตราด อก เบี ้ ยที ่ ป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยงส าหร ั บป ี (SWAP rate) ร ้ อย ละ 1 . 1 7 - ร ้ อยละ 3 . 4 2 ณ วนที ั ั 2563 มูลค่า ตา มบ ั ญช ี - หน ี ้ สินอน ุ พ ั นธ ์ ทางการ เงิน 28,31 8 จ านว นเงินตา มส ั ญญา 918,5 6 0 2 7 , 5 9 0 , 8 7 9 2 4 , 8 4 0 , 6 8 2 วันคร บก าหนด การเปลี ่ ยนแป ลงในม ู ลค่า ย ุ ติธร รมของเ ครื ่องมือ ป้องก ั นคว ามเสี ่ ยง ระหว่า งป ี (8,43 3 ) การเปลี ่ ยนแป ลงในม ู ลค่า ขอ งรายการ ที ่ ถ ู กป ้ องก ั น ความเสียงส าหรับการก าหนดความมีประสิทธผลของ ่ ิ การป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยง 8,433 7,307 อัตราด อก เบี ้ ยที ่ ป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยงส าหร ั บป ี (Swap rate) ร้อยละ 2 . 7 8 ผลกระทบจากเคร ื ่องมือ ป ้ องก ั นคว ามเสี ่ ยงจากอ ั ตร าด อก เบี ้ ยต ่ อฐานะการเงินและผลก ารด าเนินงานของกล ุ ่ มก ิ จ การจากการ เข ้ า ท า สัญญา แ ลก เป ล ี ่ ย น เง ิน ต ร า ต ่ า งป ร ะ เท ศ แ ละอ ั ต ร า ด อ ก เบ ี ้ ย ไ ด ้ เป ิ ด เผย ร ว ม ไ ว ้ ใ น ก า ร ป ้ อ งก ั น ค ว า ม เส ี ่ ย งจ า ก อ ั ต ร า แ ลก เ ป ล ี ่ ย น ดังหมายเหต ุ ข ้อ 5 . 1 . 1 ก) ผลกระทบจากเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยต่อฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของกล่มกิจการจากการ ำ ุ เข้าทำาสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ยได้เปิดเผยรวมไว้ในการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ดังหมายเหตุข้อ 5.1.1 ก)
14 70 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 การวิเคราะห์ความอ่อนไหว รายการกำาไรหรือขาดทุนจะมีความอ่อนไหวต่อการเพ่มขึ้นหรือลดลงในค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยจากเงินกู้ยืมท่มีลักษณะเป็นอัตราดอกเบี้ย ิ ี ลอยตัว ซ่งเป็นผลมาจากการเปล่ยนแปลงในอัตราดอกเบี้ย องค์ประกอบอ่นในส่วนของเจ้าของจะเปล่ยนแปลงไปซ่งเป็นผลมาจาก ึ ี ื ี ึ การเพ่มขึ้นหรือลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบ้ยที่ถูกกาหนดไว้เพ่อป้องกันความเสี่ยงด้านกระแสเงินสด ิ ี ี ำ ื บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ( ( ) ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่้นสดวนที่้นสดวนที่ ับปส ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 62 62 การวิเคราะห์ความอ่อนไหว รายการก าไรหรือขาดทุนจะมีความออนไหวตอการเพมขึ้นหรือลดลงในคาใช้จายดอกเบ้ยจากเงนกู้ยมทมลักษณะเปนอัตรา ่ ่ ิ ่ ่ ่ ี ิ ื ี ่ ี ็ ดอกเบ้ยลอยตัว ซึงเปนผลมาจากการเปลยนแปลงในอัตราดอกเบ้ย องค์ประกอบอืนในส่วนของเจ้าของจะเปลยนแปลงไปซึงเปน ี ่ ็ ี ่ ี ่ ี่ ่ ็ ผลมาจากการเพิมขึ้นหรือลดลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปลียนอัตราดอกเบี้ยทีถูกก าหนดไว้เพอป้องกันความเสยงด้าน ่ ่ ่ ื ่ ี ่ กระแสเงินสด งบการเงินรวม หนวย: พันเหรียญสหรัฐ ่ หน หนวย: พันบาท ่ หน ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื่ ในส่วนของ ผลกระทบต่อ เจ้าของก่อน ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื่ ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ณ วนที่่ 31 ั วนท ธนวาคม พ.ศ. 31 ธนวาคม พ.ศ. ั ธ 2564 - อัตราดอกเบี้ยเพมขึ้นร้อยละ 0.1* ิ ่ (2,269) 645 (81,079) 21,546 - อัตราดอกเบี้ยลดลงร้อยละ 0.1* 2,186 (624) 81,079 (20,867) ณ วนที่่ 31 ั วนท ธนวาคม พ.ศ. 31 ธนวาคม พ.ศ. ั ธ 2563 - อัตราดอกเบี้ยเพมขึ้นร้อยละ 0.1* ิ ่ (2,727) 1,064 (81,914) 31,960 - อัตราดอกเบี้ยลดลงร้อยละ 0.1* 2,730 (1,067) 82,009 (32,048) งบการเงินเฉพาะกิจการ หนวย: พันเหรียญสหรัฐ ่ หน หนวย: พันบาท ่ หน ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื่ ในส่วนของ ผลกระทบต่อ เจ้าของก่อน ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื่ ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ณ วนที่่ 31 ั วนท ธนวาคม พ.ศ. 31 ธนวาคม พ.ศ. ั ธ 2564 - อัตราดอกเบี้ยเพมขึ้นร้อยละ 0.1* ิ ่ (1,871) 645 (62,515) 21,546 - อัตราดอกเบี้ยลดลงร้อยละ 0.1* 1,871 (624) 62,515 (20,867) ณ วนที่่ 31 ั วนท ธนวาคม พ.ศ. 31 ธนวาคม พ.ศ. ั ธ 2563 - อัตราดอกเบี้ยเพมขึ้นร้อยละ 0.1* ิ ่ (2,058) 989 (61,813) 29,713 - อัตราดอกเบี้ยลดลงร้อยละ 0.1* 2,061 (992) 61,908 (29,807) * * โดยก าหนดให้ปจจัยอื่นคงที่่ ัจจัยอื่นคงท บ ร ิ ษ ั ท บ ้ าู น ปู จ า ก ั ด ม ห า ช น หมาย เหตุประกอบ งบ การเ ง ิ นรวม และงบการ เง ิ นเฉพ า ะก ิ จการ ส าหรป ั ี ิ ุ ั 3 1 ธ ันวาค ม พ.ศ. 2 5 6 4 การว ิ เครา ะห ์ คว า มอ่อ นไหว ราย ก ารก าไ รห ร ื อ ข าด ท ุ น จ ะ ม ีค วามอ ่ อ น ไ ห วต ่ อ ก ารเ พ ิ ่ มข ึ ้ น ห ร ื อ ล ด ล ง ใน ค ่ าใช ้ จ ่ าย ด อ ก เ บ ี ้ ย จ าก เ ง ิ น ก ู ้ ย ื มท ี ่ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ เ ป ็ น อ ั ต ร า ด อ ก เบ ี ้ ย ลอ ย ต ั ว ซ ึ ่ งเป ็ น ผลม า จา ก ก า ร เป ล ี ่ ย น แ ป ลงใ น อ ั ต ร า ด อ ก เบ ี ้ ย อ งค ์ ป ร ะก อ บ อ ื ่ น ใ น ส่ ว น ข อ งเจ ้ า ข อ งจะ เปล ี่ ยน แ ป ลงไ ปซ ึ ่ งเ ป ็ น ผลม า จา ก ก า ร เ พิ ่ ม ข ึ ้ น ห ร ื อ ล ดล ง ใ น ม ู ล ค่ า ย ุ ติ ธ ร ร ม ข อง ส ั ญ ญ า แล ก เ ปลี ่ ยน อ ั ตร า ดอ ก เ บี ้ ย ที ่ ถ ู กก า ห น ดไ ว ้ เ พ ื ่ อป ้ อ ง ก ั น ความ เ ส ี ่ ย ง ด ้ า น กระแสเ งินสด งบการเงินรวม ่ วย: พัน เห รีย ญสหรั ฐ ่ วย: พัน บา ท ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ่ บ อ ื น ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ่ บ อ ื น ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ณ วนท ั ี ่ 3 1 ั นว าคม พ.ศ. 2 5 6 4 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * ( 2 , 2 6 9 ) 6 4 5 ( 8 1 , 0 7 9 ) 2 1 , 5 4 6 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 2 , 1 8 6 ( 6 2 4 ) 8 1 , 0 7 9 ( 2 0 , 8 6 7 ) ณ วนท ั ี ่ 3 1 ั นว าคม พ.ศ. 2 5 6 3 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * ( 2 , 7 2 7 ) 1 , 0 6 4 ( 8 1 , 9 1 4 ) 3 1 , 9 6 0 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 2 , 7 3 0 ( 1 , 0 6 7 ) 8 2 , 0 0 9 ( 3 2 , 0 4 8 ) งบการเงินเฉ พา ะก ิจ การ ่ วย: พัน เห รีย ญสหรั ฐ ่ วย: พัน บา ท ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ่ บ อ ื น ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ่ บ อ ื น ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ณ วนท ั ี ่ 3 1 ั นว าคม พ.ศ. 2 5 6 4 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * ( 1 , 8 7 1 ) 6 4 5 ( 6 2 , 5 1 5 ) 2 1 , 5 4 6 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 1 , 8 7 1 ( 6 2 4 ) 6 2 , 5 1 5 ( 2 0 , 8 6 7 ) ณ วนท ั ี ่ 3 1 ั นว าคม พ.ศ. 2 5 6 3 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * ( 2 , 0 5 8 ) 9 8 9 ( 6 1 , 8 1 3 ) 2 9 , 7 1 3 - อ ั ตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 2 , 0 6 1 ( 9 9 2 ) 6 1 , 9 0 8 ( 2 9 , 8 0 7 ) โดยก าหนดให้ปย ั ี ่ บริษ ั ท บ ้ า น ป จ า ก ั ด ม ห า ช น ) หมาย เหตุประกอบ งบ การเ ง ิ นรวม และงบการ เง ิ นเฉพ า ะก ิ จการ ส าห ร ั บ ี ส ิ ุ ั 31 ธันวาค ม พ.ศ. 256 4 62 การว ิ เครา ะห ์ คว า มอ่อ นไหว ราย ก ารก าไ รห ร ื อ ข าด ท ุ น จ ะ ม ีค วามอ ่ อ น ไ ห วต ่ อ ก ารเ พ ิ ่ มข ึ ้ น ห ร ื อ ล ด ล ง ใน ค ่ าใช ้ จ ่ าย ด อ ก เ บ ี ้ ย จ าก เ ง ิ น ก ู ้ ย ื มท ี ่ ม ี ล ั ก ษ ณ ะ เ ป ็ น อ ั ต ร า ดอก เบ ี ้ ย ลอ ย ต ั ว ซ ึ ่ งเป ็ น ผลม า จา ก ก า ร เป ล ี ่ ย น แ ป ลงใ น อ ั ต ร า ด อ ก เบ ี ้ ย อ งค ์ ป ร ะก อ บ อ ื ่ น ใ น ส่ ว น ข อ งเจ ้ า ข อ งจะ เปล ี่ ยน แ ป ลงไ ปซ ึ ่ งเ ป ็ น ผลม า จา ก ก า ร เ พิ ่ ม ข ึ ้ น ห ร ื อ ล ดล ง ใ น ม ู ล ค่ า ย ุ ติ ธ ร ร ม ข อง ส ั ญ ญ า แล ก เ ปลี ่ ยน อ ั ตร า ดอ ก เ บี ้ ย ที ่ ถ ู กก า ห น ดไ ว ้ เ พ ื ่ อป ้ อ ง ก ั น ความ เ ส ี ่ ย ง ด ้ า น กระแสเ งินสด งบการเงินรวม หนวย: พัน ่ เห รีย ญสหรั ฐ หนวย: พัน ่ บา ท ผลกระทบต่อ ก าไรสุท ธิ ก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ องค ์ ป ร ะ ก อ บ อ ื น ในส่วนของ ภาษีเง ิ นได ้ ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ องค ์ ป ร ะ ก อ บ อ ื น ในส่วนของ ภาษีเง ิ นได ้ ณ ั ี ั 256 4 - อัตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * (2,2 6 9 ) 645 (81 , 0 7 9 ) 21, 5 4 6 - อัตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 2,1 8 6 (62 4 ) 81, 0 7 9 (20 , 8 6 7 ) ณ ั ี ั 256 3 - อัตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * (2,7 2 7 ) 1,0 6 4 (81 , 9 1 4 ) 31, 9 6 0 - อัตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 2,7 3 0 (1,0 6 7 ) 82, 0 0 9 (32 , 0 4 8 ) งบการเงินเฉ พา ะก ิจ การ หนวย: พัน ่ เห รีย ญสหรั ฐ หนวย: พัน ่ บา ท ผลกระทบต่อ ก าไรสุท ธิ ก่อน ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ องค ์ ป ร ะ ก อ บ อ ื น ในส่วนของ ภาษีเง ิ นได ้ ภาษีเง ิ นได ้ ผลกระทบต่อ องค ์ ป ร ะ ก อ บ อ ื น ในส่วนของ ภาษีเง ิ นได ้ ณ ั ี ั 256 4 - อัตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * (1,8 7 1 ) 645 (62 , 5 1 5 ) 21, 5 4 6 - อัตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 1,8 7 1 (62 4 ) 62, 5 1 5 (20 , 8 6 7 ) ณ ั ี ั 256 3 - อัตร าด อก เบี ้ ยเพ ิ ่ มข ึ ้ นร ้ อย ล ะ 0 . 1 * (2,0 5 8 ) 989 (61 , 8 1 3 ) 29, 7 1 3 - อัตร าด อก เบี ้ ยล ดลงร ้ อย ละ 0 . 1 * 2,0 6 1 (99 2 ) 61, 9 0 8 (29 , 8 0 7 ) * โดย ก า ห น ด ใ ห ้ ป ั จ จ ั อ ื ่ น ค ง ท ี
71 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ค) ความเส่ยงด้านราคา ี กล่มกิจการมีความเสี่ยงจากการผันผวนของราคาถ่านหิน ราคาน้ามันและราคาก๊าซธรรมชาติซ่งเกิดจากการเคล่อนไหวของ ุ ำ ึ ื ราคาในตลาดโลก ในการบริหารความเสี่ยงดังกล่าว กล่มกิจการใช้สัญญาแลกราคาซ้อขายถ่านหิน สัญญาแลกราคาซ้อนามัน ุ ื ื ้ ำ และสัญญาแลกราคาซ้อขายก๊าซธรรมชาติ สิทธิที่จะซ้อและขายก๊าซธรรมชาติ และสัญญาแลกราคาซ้อขายก๊าซธรรมชาติเหลว ื ื ื เพื่อป้องกันความผันผวนจากการดำาเนินธุรกิจของกลุ่มกิจการ นอกจากนี กลมกิจการมความเสียงจากการผันผวนของราคาขายไฟฟาในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศออสเตรเลย เนืองจาก ้ ุ ่ ี ่ ้ ี ่ ราคาตลาดของค่าไฟฟ้า (Spot Price) ขึ้นกับอุปสงค์และอุปทานในตลาดและปัจจัยอ่น เช่น ราคาของแหล่งเชื้อเพลิงที่ใช้ใน ื การผลิตไฟฟ้า กล่มกิจการได้เข้าทาสัญญาซ้อขายไฟฟ้าล่วงหน้าและสัญญากาหนดราคาค่าไฟฟ้าคงท่เพ่อคงความสามารถ ุ ำ ื ำ ี ื ในการสร้างรายได้ของกลุ่มกิจการ สัญญาท่สาคัญ ี � สัญญาแลกราคาซ้อขายถ่านหิน ื ณ วันท่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 กล่มกิจการมีสัญญาแลกราคาซ้อขายถ่านหินซ่งไม่มีการส่งมอบจริง โดยมีสัญญา ี ุ ื ึ แลกราคาซื้อขายถ่านหินที่เปิดสถานะไว้จำานวน 105,000 ตัน ซึ่งมีราคาขายเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 134.29 เหรียญสหรัฐต่อตัน สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลาครบกำาหนดภายใน 1 ปี สัญญาแลกราคาซื้อขายก๊าซธรรมชาติ สิทธิที่จะซื้อและขายก๊าซธรรมชาติ และสัญญาแลกราคาซื้อขายก๊าซธรรมชาติเหลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 กล่มกิจการมีสัญญาแลกราคาซ้อขายก๊าซธรรมชาติและสิทธิที่จะซ้อและขายก๊าซธรรมชาติ ุ ื ื ที่เปิดสถานะไว้จานวน 208,050,000 MMBTU ซ่งมีราคาเฉล่ยที่ 3.20 เหรียญสหรัฐต่อ MMBTU และมีสัญญาแลกราคา ำ ึ ี ซื้อขายก๊าซธรรมชาติเหลวที่เปิดสถานะไว้จำานวน 3,741,000 บาร์เรล ซึ่งมีราคาเฉลี่ยที่ 25.05 เหรียญสหรัฐต่อบาร์เรล สัญญาดังกล่าวมีระยะเวลาครบกำาหนดระหว่าง 1 ถึง 2 ปี
14 72 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 การวิเคราะห์ความอ่อนไหว บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 64 การวิเคราะห์ความอ่อนไหว งบการเงินรวม หนวย: พันเหรียญสหรัฐ ่ หนวย: พันบาท ่ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ ก าไรสุทธิก่อน ภาษีเงินได้ ผลกระทบต่อ องค์ประกอบอ่น ื ในส่วนของ เจ้าของก่อน ภาษีเงินได้ ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 ดัชนราคาถ่านหิน ี - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ - (661) - (22,076) - ลดลงร้อยละ 5* - 661 - 22,076 ดัชนราคาน ามันและกาซธรรมชาติ ี ้ ๊ - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ (314) (15,169) (10,496) (506,930) - ลดลงร้อยละ 5* 314 15,169 10,496 506,930 ราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ (3,009) (1,657) (100,570) (55,368) - ลดลงร้อยละ 5* 2,998 1,656 100,206 55,344 ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 ดัชนราคาถ่านหิน ี - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ - (356) - (10,694) - ลดลงร้อยละ 5* - 356 - 10,694 ดัชนราคาน ามันและกาซธรรมชาติ ี ้ ๊ - เพิมขึ้นร้อยละ 5* ่ (13,075) (502) (392,747) (15,083) - ลดลงร้อยละ 5* 13,264 502 398,420 15,083 * โดยก าหนดให้ปจจัยอื่นคงที่ ั
73 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 5.1.2 ความเส่ยงด้านการให้สินเช่อ ี ื ก) การบริหารความเส่ยง ี กล่มกิจการไม่มีการกระจุกตัวอย่างมีนัยสำาคัญของความเสี่ยงด้านการให้สินเชื่อ กล่มกิจการมีนโยบายที่ทาให้ม่นใจได้ว่า ุ ุ ำ ั การขายสินค้าและการให้บริการนั้นเป็นการขายสินค้าและการให้บริการแก่ลูกค้าที่มีประวัติสินเชื่ออยู่ในระดับที่ม ี ความเหมาะสม กลมกจการจะทาสัญญาอนุพนธ์ทางการเงนและฝากเงนสดกับสถาบันการเงนทีมคณภาพและความนาเชือถือ ุ ่ ิ ำ ั ิ ิ ิ ่ ี ุ ่ ่ ที่อยู่ในระดับสูง กลุ่มกิจการมีนโยบายจำากัดวงเงินของธุรกรรมการให้สินเชื่อกับสถาบันการเงินแต่ละราย ข) การด้อยค่าของสินทรัพย์ทางการเงิน กล่มกิจการและบริษัทมีสินทรัพย์ทางการเงินท่เข้าเง่อนไขท่ต้องพิจารณาตามโมเดลการวัดมูลค่าผลขาดทุนด้านเครดิต ุ ี ื ี ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ดังนี้ - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด - ลูกหนี้การค้า - ลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกันและบริษัทอื่น - เงินปันผลค้างรับจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน - เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่เกี่ยวข้องกัน - สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจำาหน่ายและด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ค่าเผื่อผลขาดทุนท่คาดว่าจะเกิดขึ้นของลูกหนี้การค้าแสดงในหมายเหตุข้อ 11 ส่วนผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ ี ทางการเงินอื่นเป็นจำานวนเงินที่ไม่มีสาระสำาคัญ 5.1.3 ความเส่ยงด้านสภาพคล่อง ี การจัดการความเสี่ยงด้านสภาพคล่องอย่างรอบคอบหมายถึงการดารงไว้ซ่งเงินสดและหลักทรัพย์ที่มีตลาดรองรับอย่างเพียงพอ ำ ึ ความสามารถในการหาแหล่งเงินทุนท่เพียงพอและความสามารถในการปิดฐานะความเสี่ยง ส่วนงานบริหารการเงินของกล่มกิจการ ี ุ ตั้งเป้าหมายจะดารงความยืดหยุ่นในการระดมเงินทุนโดยการรักษาวงเงินสินเชื่อให้มีความเพียงพอ เน่องจากลักษณะทางธุรกิจ ำ ื ที่มีการเปลี่ยนแปลงได้อยู่ตลอดเวลา
14 74 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 66 ตารางตอไปน้แสดงหน้สนทางการเงน และหน้สนอนุพันธ์ทางการเงนสุทธ ของกลุมกจการตามระยะเวลาการครบก าหนดตามสัญญา ่ ี ี ิ ิ ี ิ ิ ิ ่ ิ ซึงแสดงด้วยจ านวนเงินตามสัญญาและดอกเบี้ยทีไม่ได้มีการคิดลดกระแสเงินสด ่ ่ งบการเงินรวม หน่วย พันเหรียญสหรฐ : ั หน่วย พันบาท : ภายใน ปี 1 1 - 5 ปี มากกวา ปี ่ 5 รวม ภายใน ปี 1 1 - 5 ปี มากกวา ปี ่ 5 รวม ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 หน้สินทางการเงินที่มิใชอนพนธ์ ี ่ ุ ั เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 1,376,200 - - 1,376,200 45,992,478 - - 45,992,478 เจ้าหน้การค้า ี 98,547 - - 98,547 3,293,416 - - 3,293,416 หน้สินหมุนเวียนอน ี ื ่ 455,149 - - 455,149 15,211,044 - - 15,211,044 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 560,676 1,737,171 828,592 3,126,439 18,737,720 58,056,091 27,691,461 104,485,272 หุ้นกู้ 128,132 843,518 1,479,663 2,451,313 4,282,163 28,190,291 49,450,204 81,922,658 หน้สินตามสัญญาเช่า ี 26,483 13,341 4,363 44,187 885,073 445,871 145,795 1,476,739 หน้สินไม่หมุนเวียนอน ี ื ่ - 235,036 - 235,036 - 7,854,889 - 7,854,889 รวมหนี้สินทางการเงินทมิใช่อนุพันธ์ ี ่ 2,645,187 2,829,066 2,312,618 7,786,871 88,401,894 94,547,142 77,287,460 260,236,496 หน้สินอนพนธ์ ี ุ ั อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 4,303 9,110 - 13,413 143,817 304,441 - 448,258 - สัญญาซ้อขายไฟฟ้าล่วงหน้า ื 4,412 - - 4,412 147,448 - - 147,448 - สัญญาแลกราคาซื้อขายน ามันและกาซธรรมชาติ ้ ๊ - 6,281 - 6,281 - 209,921 - 209,921 ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับการบัญชีป้องกัน ่ ความเสี่ยงกระแสเงินสด - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 3,230 3,532 - 6,762 107,943 118,034 - 225,977 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย 2,817 16,286 - 19,103 94,156 544,292 - 638,448 - สัญญาแลกราคาซื้อขายถ่านหิน 25,374 - - 25,374 847,963 - - 847,963 - สัญญาแลกราคาซื้อขายน ามันและกาซธรรมชาติ ้ ๊ 91,156 17,381 - 108,537 3,046,435 580,866 - 3,627,301 รวมหนี้สินอนุพันธ์ 131,292 52,590 - 183,882 4,387,762 1,757,554 - 6,145,316 ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 หน้สินทางการเงินที่มิใชอนพนธ์ ี ่ ุ ั เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 832,231 - - 832,231 24,997,816 - - 24,997,816 เจ้าหน้การค้า ี 67,425 - - 67,425 2,025,238 - - 2,025,238 หน้สินหมุนเวียนอน ี ื ่ 231,382 - - 231,382 6,950,049 - - 6,950,049 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 720,268 1,967,303 501,602 3,189,173 21,634,753 59,092,090 15,066,665 95,793,508 หุ้นกู้ 152,791 691,845 1,159,511 2,004,147 4,589,411 20,781,024 35,828,362 61,198,797 หน้สินตามสัญญาเช่า ี 34,381 10,668 7,036 52,085 1,032,871 320,439 211,338 1,564,648 หน้สินไม่หมุนเวียนอน ี ื ่ - 66,300 152 66,452 - 1,991,462 4,572 1,996,034 รวมหนี้สินทางการเงินทมิใช่อนุพันธ์ ี ่ 2,038,478 2,736,116 1,668,301 6,442,895 61,230,138 82,185,015 51,110,937 194,526,090 หน้สินอนพนธ์ ี ุ ั อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื (296) - - (296) (8,891) - - (8,891) - สัญญาแลกราคาซื้อขายน ามันและกาซธรรมชาติ ้ ๊ (15,499) 5,170 - (10,329) (465,539) 155,297 - (310,242) - สัญญาซ้อขายไฟฟ้าล่วงหน้า ื (3,074) - - (3,074) (92,335) - - (92,335) ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับการบัญชีป้องกัน ่ ความเสี่ยงกระแสเงินสด - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื (5,888) (5,131) - (11,019) (176,867) (154,128) - (330,995) - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 9,750 18,503 - 28,253 292,862 555,790 - 848,652 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย (2,541) (2,577) (1,140) (6,258) (76,325) (77,400) (34,237) (187,962) - สัญญาแลกราคาซื้อขายถ่านหิน 10,374 - - 10,374 311,597 - - 311,597 - สัญญาแลกราคาซื้อขายน ามัน ้ (1,618) - - (1,618) (48,601) - - (48,601) รวมหนี้สินอนุพันธ์ (8,792) 15,965 (1,140) 6,033 (264,099) 479,559 (34,237) 181,223 ตารางต่อไปนี้แสดงหน้สินทางการเงิน และหนี้สินอนุพันธ์ทางการเงินสุทธิ ของกล่มกิจการตามระยะเวลาการครบกำาหนด ี ุ ตามสัญญาซึ่งแสดงด้วยจำานวนเงินตามสัญญาและดอกเบี้ยที่ไม่ได้มีการคิดลดกระแสเงินสด
75 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 67 งบการเงินเฉพาะกิจการ หน่วย พันเหรียญสหรฐ : ั หน่วย พันบาท : ภายใน ปี 1 1 - 5 ปี มากกวา ปี ่ 5 รวม ภายใน ปี 1 1 - 5 ปี มากกวา ปี ่ 5 รวม ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 หน้สินทางการเงินที่มิใชอนพนธ์ ี ่ ุ ั เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 818,730 - - 818,730 27,361,863 - - 27,361,863 เจ้าหน้การค้า ี 2,746 - - 2,746 91,758 - - 91,758 หน้สินหมุนเวียนอน ี ื ่ 9,529 - - 9,529 318,442 - - 318,442 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 365,528 1,436,906 197,433 1,999,867 12,215,920 48,021,269 6,598,202 66,835,391 หุ้นกู้ 128,132 843,518 1,479,663 2,451,313 4,282,163 28,190,291 49,450,204 81,922,658 หน้สินตามสัญญาเช่า ี 1,160 1,070 - 2,230 38,793 35,748 - 74,541 หน้สินไม่หมุนเวียนอน ี ื่ - 14,377 - 14,377 - 480,476 - 480,476 รวมหนี้สินทางการเงินทมิใช่อนุพันธ์ ี ่ 1,325,825 2,295,871 1,677,096 5,298,792 44,308,939 76,727,784 56,048,406 177,085,129 หน้สินอนพนธ์ ี ุ ั ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับการบัญชีป้องกัน ่ ความเสี่ยงกระแสเงินสด - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 3,164 3,532 - 6,696 105,753 118,034 - 223,787 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย 2,817 16,286 - 19,103 94,156 544,292 - 638,448 รวมหนี้สินอนุพันธ์ 5,981 19,818 - 25,799 199,909 662,326 - 862,235 ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 หน้สินทางการเงินที่มิใชอนพนธ์ ี ่ ุ ั เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 783,758 - - 783,758 23,541,814 - - 23,541,814 เจ้าหน้การค้า ี 6,378 - - 6,378 191,570 - - 191,570 หน้สินหมุนเวียนอน ี ื ่ 4,254 - - 4,254 127,575 - - 127,575 เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 448,244 1,283,225 400,321 2,131,790 13,463,960 38,544,359 12,024,491 64,032,810 หุ้นกู้ 201,201 691,845 1,159,511 2,052,557 6,043,501 20,781,024 34,828,362 61,652,887 หน้สินตามสัญญาเช่า ี 1,136 2,512 - 3,648 34,110 75,463 - 109,573 หน้สินไม่หมุนเวียนอน ี ื่ - - 152 152 - - 4,572 4,572 รวมหนี้สินทางการเงินทมิใช่อนุพันธ์ ี ่ 1,444,971 1,977,582 1,559,984 4,982,537 43,402,530 59,400,846 46,857,425 149,660,801 หน้สินอนพนธ์ ี ุ ั อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื 603 - - 603 18,129 - - 18,129 ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับการบัญชีป้องกัน ่ ความเสี่ยงกระแสเงินสด - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 7,424 18,503 - 25,927 222,983 555,790 - 778,773 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย (2,541) (2,577) (1,140) (6,258) (76,325) (77,400) (34,237) (187,962) รวมหนี้สินอนุพันธ์ 5,486 15,926 (1,140) 20,272 164,787 478,390 (34,237) 608,940 ฝายบริหารได้พจารณาประมาณการกระแสเงนสดของกลุมกจการอยางสม าเสมอโดยพจารณาจากเงนสดและรายการเทยบเทาเงนสด ่ ิ ิ ่ ิ ่ ่ ิ ิ ี ่ ิ และวงเงนสนเชอทยังไมได้เบกใช้ นอกเหนอจากน้ กลุมกจการยังได้ท าการประมาณการกระแสเงนสดในสกุลเงนหลักตาง ๆ พิจารณา ิ ิ ื ่ ี ่ ่ ิ ื ี ่ ิ ิ ิ ่ สินทรัพย์ทีมีสภาพคล่องสูงและคงไว้ซึงแผนการจัดหาเงน ่ ่ ิ ฝ่ายบริหารได้พิจารณาประมาณการกระแสเงินสดของกล่มกิจการอย่างสมาเสมอโดยพิจารณาจากเงินสดและรายการเทียบเท่า ุ ่ ำ เงินสดและวงเงินสินเชื่อที่ยังไม่ได้เบิกใช้ นอกเหนือจากนี้ กล่มกิจการยังได้ทาการประมาณการกระแสเงินสดในสกุลเงินหลักต่างๆ ุ ำ พิจารณาสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงและคงไว้ซึ่งแผนการจัดหาเงิน
14 76 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 68 5.1.4 อนพันธ์ทางการเงิน ุ กลุมกจการมีอนุพันธ์ทางการเงินทีแสดงเปนเครื่องมือทางการเงินในงบแสดงฐานะทางการเงินดังน้ ่ ิ ่ ็ ี งบการเงินรวม ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม ั 2564 ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม ั 2563 หนวย พันเหรียญสหรฐ ่ : ั หนวย พันบาท ่ : หนวย พันเหรียญสหรัฐ ่ : หนวย พันบาท ่ : สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สวนที่หมนเวยน ่ ุ ี อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรม ่ ู ผ่านก าไรหรือขาดทุน สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ 4,038 - 134,999 - - - - - สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 300 - 10,029 - 926 603 27,802 18,129 สัญญาแลกราคาซื้อขายกาซธรรมชาติ ๊ 1,549 - 51,778 - 15,484 - 465,102 - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบ้ย ี - 3,124 - 104,411 - - - - สัญญาซื้อขายไฟฟ้าล่วงหน้า - 4,412 - 147,448 3,074 - 92,335 - ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ป้องกันความเสี่ยง ่ สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ 2,844 - 95,038 - - - - - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบ้ย ี - 3,199 - 106,928 - 9,750 - 292,861 สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และอัตราดอกเบี้ย - 855 - 28,571 2,971 - 89,225 - สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า 758 - 25,347 - 5,889 - 176,868 - สัญญาแลกราคาซื้อขายถ่านหิน 1,513 25,374 50,566 847,963 - 10,374 - 311,597 สัญญาแลกราคาซื้อขายกาซธรรมชาติ ๊ 9,988 91,156 333,737 3,046,434 - - - - สัญญาแลกราคาซื้อขายน ามัน ้ - - - - 1,617 - 48,601 - รวมสวนที่หมนเวยน ่ ุ ี 20,990 128,120 701,494 4,281,755 29,961 20,727 899,933 622,587 สวนที่ไม่หมุนเวียน ่ อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรม ่ ู ผ่านก าไรหรือขาดทุน ใบส าคัญแสดงสิทธ์การซื้อหุ้นสามัญ 120 - 4,012 - - - - - สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ 37,550 - 1,254,882 - - - - - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบ้ย ี - 6,614 - 221,024 - - 4 - สัญญาแลกราคาซื้อขายกาซธรรมชาติ ๊ - 6,281 - 209,921 15 5,170 437 155,297 ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ป้องกันความเสี่ยง ่ สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ 25,356 - 847,404 - - - - - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบ้ย ี 693 3,989 23,169 133,309 - 18,568 - 557,740 สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า - - - - 5,131 - 154,128 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และอัตราดอกเบี้ย - 18,511 - 618,634 4,245 2,245 127,509 67,421 สัญญาแลกราคาซื้อขายกาซธรรมชาติ ๊ - 17,381 - 580,866 - - - - รวมสวนที่ไม่หมุนเวียน ่ 63,719 52,776 2,129,467 1,763,754 9,391 25,983 282,078 780,458 รวมอนพันธ์ทางการเงิน ุ 84,709 180,896 2,830,961 6,045,509 39,352 46,710 1,182,011 1,403,045 5.1.4 อนุพันธ์ทางการเงิน กลุ่มกิจการมีอนุพันธ์ทางการเงินที่แสดงเป็นเครื่องมือทางการเงินในงบแสดงฐานะทางการเงิน ดังนี้
77 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ก) การจัดประเภทสัญญาอนุพันธ์ สัญญาอนุพันธ์มีไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการป้องกันความเสี่ยงเชิงเศรษฐกิจ ไม่ใช่เพื่อการลงทุนหวังผลกำาไร กลุ่มกิจการ นำาการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาถือปฏิบัติสำาหรับสัญญาอนุพันธ์บางสัญญา ซ่งเข้าเง่อนไขการเป็นเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ึ ื ในกระแสเงินสดและกำาหนดอัตราส่วนการป้องกันความเสี่ยง (Hedge Ratio) โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ของรายการ อางองหรือตัวแปรความเสียงระหวางรายการทีมการปองกันความเสียงกับเครืองมอปองกันความเสียง อย่างไรก็ตาม ้ ิ ่ ่ ่ ี ้ ่ ่ ื ้ ่ หากสัญญาอนุพันธ์ใดไม่เข้าเง่อนไขของการบัญชีป้องกันความเสี่ยง สัญญาอนุพันธ์นั้นจะถูกจัดประเภทเป็นรายการถือไว ื ้ เพื่อค้าสำาหรับการบันทึกบัญชี และวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำาไรหรือขาดทุน กล่มกิจการแสดงมูลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์เป็นรายการหมุนเวียนหรือไม่หมุนเวียนตามวันครบกำาหนดของรายการ ุ ที่มีการป้องกันความเสี่ยง นโยบายทางบัญชีของกล่มกิจการสำาหรับการป้องกันความเสี่ยงกระแสเงินสดเปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 4.24 และ ุ ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับอนุพันธ์ทางการเงินของกลุ่มกิจการเปิดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 6 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 69 งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม ั 2564 ณ วนที่ ั 31 ธนวาคม ั 2563 หนวย พันเหรียญสหรฐ ่ : ั หนวย พันบาท หนวย พันเหรียญสหรฐ ่ : ่ : ั หนวย พันบาท ่ : สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สินทรพย์ ั หน้สน ี ิ สวนที่หมนเวยน ่ ุ ี อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน ่ ู ก าไรหรือขาดทุน สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - - - - 26 603 782 18,129 ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ป้องกันความเสี่ยง ่ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 3,134 - 104,739 - 7,424 - 222,982 สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และอัตราดอกเบี้ย - 855 - 28,571 2,971 - 89,226 - รวมสวนที่หมนเวยน ่ ุ ี - 3,989 - 133,310 2,997 8,027 90,008 241,111 สวนที่ไมหมนเวยน ่ ่ ุ ี อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่าน ่ ู ก าไรหรือขาดทุน ใบส าคัญแสดงสิทธการซื้อหุ้นสามัญ ิ 120 - 4,012 - - - - - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - - - - - - 4 - ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ป้องกันความเสี่ยง ่ สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 693 3,989 23,169 133,309 - 18,503 - 555,791 สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และอัตราดอกเบี้ย - 18,511 - 618,634 4,245 2,245 127,508 67,420 รวมสวนที่ไมหมนเวยน ่ ่ ุ ี 813 22,500 27,181 751,943 4,245 20,748 127,512 623,211 รวมอนพันธ์ทางการเงิน ุ 813 26,489 27,181 885,253 7,242 28,775 217,520 864,322 ก) การจัดประเภทสญญาอนพันธ์ ั ุ สัญญาอนุพันธ์มไว้เพอวัตถุประสงค์ในการป้องกันความเสยงเชงเศรษฐกจ ไมใชเพอการลงทุนหวังผลก าไร กลุมกจการน าการบัญช ี ื ่ ี ่ ิ ิ ่ ่ ื ่ ่ ิ ี ป้องกันความเสยงมาถอปฏบัตส าหรับสัญญาอนุพันธ์บางสัญญา ซึงเข้าเงอนไขการเปนเครืองมอป้องกันความเสยงในกระแสเงนสด ี ่ ื ิ ิ ่ ื ่ ็ ่ ื ี ่ ิ และก าหนดอัตราส่วนการป้องกันความเสยง (Hedge ratio) โดยพจารณาจากความสัมพันธ์ของรายการอ้างองหรือตัวแปรความเสยง ี ่ ิ ิ ี ่ ระหว่างรายการทีมีการป้องกันความเสยงกับเครืองมือป้องกันความเสยง อยางไรกตามหากสัญญาอนุพันธ์ใดไม่เข้าเงอนไขของ ่ ี ่ ่ ี ่ ่ ็ ื ่ การบัญชป้องกันความเสียง สัญญาอนุพันธ์นั้นจะถูกจัดประเภทเปนรายการถอไว้เพือค้าส าหรับการบันทึกบัญชี และวัดมูลค่าด้วย ี ่ ็ ื ่ มูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน กลุมกจการแสดงมูลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์เปนรายการหมุนเวียนหรือไม่หมุนเวียนตามวันครบก าหนดของรายการทม ่ ิ ็ ี ่ ี การป้องกันความเสียง ่ นโยบายทางบัญชของกลุมกจการส าหรับการป้องกันความเสยงกระแสเงนสดเปดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 4.24 และข้อมูลเพมเตม ี ่ ิ ี ่ ิ ิ ิ ่ ิ เกยวกับอนุพันธ์ทางการเงินของกลุมกจการเปดเผยไว้ในหมายเหตุข้อ 6 ี ่ ่ ิ ิ
14 78 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ข) การวัดมูลค่ายุติธรรม สำาหรับข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการและข้อสมมติฐานที่ใช้ในการประเมินมูลค่ายุติธรรมของอนุพันธ์ทางการเงินนั้น ได้เปิดเผย ไว้ในหมายเหตุข้อ 6 ค) ความมีประสิทธิผลของการป้องกันความเส่ยง ี กล่มกิจการพิจารณาความมีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยง ณ วันเริ่มต้นของความสัมพันธ์ป้องกันความเสี่ยงและ ุ ตลอดระยะเวลาท่เหลืออยู่ เพ่อพิจารณาถึงความคงอยู่ในความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจของรายการท่มีการป้องกันความเสี่ยง ี ื ี และเครื่องมือป้องกันความเสี่ยง ความเส่ยงจากอัตราแลกเปล่ยน ี ี สำาหรับการป้องกันความเสี่ยงของรายการท่เป็นเงินตราต่างประเทศ กล่มกิจการเข้าทารายการป้องกันความเสี่ยง เม่อข้อกาหนด ี ุ ำ ื ำ ที่สำาคัญของเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงและรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงมีความสอดคล้องเข้าค่กัน และทำาการประเมิน ู เชิงคุณภาพถึงความมีประสิทธิผลของการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าว ในกรณีที่มีความเปล่ยนแปลงในสถานการณ์ที่กระทบ ี ต่อข้อกาหนดของรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยง ซ่งทำาให้ข้อกำาหนดที่สำาคัญของเครื่องมือป้องกันความเสี่ยงและรายการ ำ ึ ที่มีการป้องกันความเสี่ยงไม่มีความสอดคล้องเข้าคู่กันอีกต่อไป กลุ่มกิจการจะใช้วิธีการอนุพันธ์เสมือน (Hypothetical Derivative) ในการพิจารณาความมีประสิทธิผล ในการป้องกันความเสี่ยงของรายการที่เป็นเงินตราต่างประเทศ ความไม่มีประสิทธิผลอาจเกิดจากระยะเวลาการเกิดของ รายการท่คาดการณ์ที่คลาดเคล่อนไปจากที่คาดการณ์ไว้ หรืออาจเกิดจากการเปล่ยนแปลงในความเสี่ยงด้านเครดิตของ ี ื ี คู่สัญญา ความเส่ยงจากอัตราดอกเบ้ย ี ี กล่มกิจการเข้าทำาสัญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบ้ยซ่งมีข้อกำาหนดที่สำาคัญคล้ายคลึงกับข้อกำาหนดที่สำาคัญของรายการท่ม ุ ี ี ึ ี ี การป้องกันความเสี่ยง เช่น อัตราอ้างอิง วันที่กำาหนดอัตราใหม่ วันท่ถึงกาหนดชำาระ วันสิ้นสุดสัญญา และจานวนเงินท่กำาหนดไว ี ำ ำ ี ้ เนื่องจากกล่มกิจการไม่ได้ทำาการป้องกันความเสี่ยงของเงินกู้ยืมทั้งหมด ดังนั้นรายการที่มีการป้องกันความเสี่ยงจึงได้กำาหนด ุ เป็นสัดส่วนของรายการเงินกู้ยืมคงค้าง เทียบกับจานวนเงินที่กำาหนดไว้ของสัญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบี้ย และเน่องจาก ำ ี ื ข้อกำาหนดที่สำาคญของรายการท่มีการป้องกันความเสี่ยงและเครื่องมอปองกันความเสี่ยงความสอดคล้องเข้าค่กันตลอด ั ี ื ้ ู ปีจึงสรุปได้ว่ารายการป้องกันความเสี่ยงดังกล่าวมีความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจ กล่มกิจการพิจารณาความไม่มีประสิทธิผลของสัญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบ้ย โดยใช้วิธีการเดียวกับการพิจารณาความไม่ม ุ ี ี ี ประสิทธิผลของการปองกันความเสียงของรายการทีเปนเงินตราต่างประเทศ ซงความไม่มประสิทธิผลอาจเกิดจากมูลคา ้ ่ ่ ็ ึ ่ ี ่ เครดิตของค่สัญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบี้ยซ่งไม่สอดคล้องกับเงินกู้ยืม และความต่างในข้อกำาหนดท่สำาคัญของสัญญา ู ี ึ ี แลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยและเงินกู้ยืม
79 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 ง) สำารองการป้องกันความเส่ยง ี สำารองการป้องกันความเสี่ยงในกระแสเงินสดใช้สำาหรับรับรู้รายการกำาไรหรือขาดทุนที่เกี่ยวข้องกับส่วนท่มีประสิทธิผล ี ของการเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์ที่นำาการบัญชีป้องกันความเสี่ยงมาถือปฏิบัติ รายการสำารองการป้องกันความเสี่ยงท่แสดงอยู่ในองค์ประกอบอ่นของส่วนของเจ้าของ ประกอบด้วยเครื่องมือป้องกัน ี ื ความเสี่ยง ดังนี้ บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 71 ง) ส ารองการปองกันความเส่ยง ้ ี ส ารองการป้องกันความเสยงในกระแสเงนสดใช้ส าหรับรับร้รายการก าไรหรือขาดทุนทเกยวข้องกับส่วนทมประสทธผลของ ี ่ ิ ู ี ่ ี ่ ี ่ ี ิ ิ การเปลียนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญาอนุพันธ์ทีน าการบัญชป้องกันความเสียงมาถอปฏิบัติ ่ ่ ี ่ ื รายการส ารองการป้องกันความเสยงทแสดงอยูในองค์ประกอบอนของส่วนของเจ้าของ ประกอบด้วยเครืองมอป้องกันความเสยง ดังน้ ี ่ ี ่ ่ ื ่ ่ ื ี ่ ี งบการเงินรวม หนวย พันเหรียญสหรัฐ ่ : ส ารองการปองกันความเส่ยงในกระแสเงินสด ้ ี สัญญา ก าหนดราคา ค่าไฟฟาคงที่ ้ สัญญา แลกเปล่ยน ี ราคาซื้อ ก๊าซธรรมชาติ สัญญา แลกเปล่ยน ต่างประเทศและ ี ราคาถ่านหิน สัญญา แลกเปล่ยน ี เงินตรา อตราดอกเบี้ย ั สัญญา แลกเปล่ยน ี อตราดอกเบี้ย ั รวม ส ารองปองกัน ้ ความเส่ยง ี ยอดคงเหลือต้นป ณ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ี ่ - - (102) (48,468) (2,232) (50,802) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา อนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ู ่ - - (11,918) (3,731) 9,395 (6,254) หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไปยัง ก าไรหรือขาดทุน - - 1,264 14,398 (16,197) (535) หัก: ภาษเงนได้รอการตัดบัญช ี ิ ี - - 2,445 (5,082) 1,618 (1,019) ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ี ่ - - (8,311) (42,883) (7,416) (58,610) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา อนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ู ่ 7,729 (389,473) (212,340) (2,996) 30,557 (566,523) หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไปยัง ก าไรหรือขาดทุน (4,043) 244,781 199,251 15,182 19,337 474,508 หัก: ภาษเงนได้รอการตัดบัญช ี ิ ี (1,106) 32,998 2,600 2,633 (5,358) 31,767 ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ี ่ 2,580 (111,694) (18,800) (28,064) 37,120 (118,858) งบการเงินรวม หนวย พันบาท ่ : ส ารองการปองกันความเส่ยงในกระแสเงินสด ้ ี สัญญา ก าหนดราคา ค่าไฟฟาคงที่ ้ สัญญา แลกเปล่ยน ี ราคาซื้อ ก๊าซธรรมชาติ สัญญา แลกเปล่ยน ต่างประเทศและ ี ราคาถ่านหิน สัญญา แลกเปล่ยน ี เงินตรา อตราดอกเบี้ย ั สัญญา แลกเปล่ยน ี อตราดอกเบี้ย ั รวม ส ารองปองกัน ้ ความเส่ยง ี ยอดคงเหลือต้นป ณ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ี ่ - - (3,086) (1,461,469) (67,287) (1,531,842) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา อนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ู ่ - - (351,274) (107,177) 281,283 (177,168) หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไปยัง ก าไรหรือขาดทุน - - 39,543 450,571 (506,856) (16,742) หัก: ภาษเงนได้รอการตัดบัญช ี ิ ี - - 71,848 (152,649) 46,082 (34,719) ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ี ่ - - (242,969) (1,270,724) (246,778) (1,760,471) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของสัญญา อนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ู ่ 253,005 (12,678,803) (6,844,939) (671,623) 1,050,620 (18,891,740) หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไปยัง ก าไรหรือขาดทุน (129,270) 7,827,390 6,371,477 915,197 618,322 15,603,116 หัก: ภาษเงนได้รอการตัดบัญช ี ิ ี (37,492) 1,118,619 88,131 89,246 (181,629) 1,076,875 ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ี ่ 86,243 (3,732,794) (628,300) (937,904) 1,240,535 (3,972,220)
14 80 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 จ) รายการท่รับรู้ในกำาไรหรือขาดทุน ี รายการที่เกี่ยวข้องกับสัญญาอนุพันธ์ที่รับรู้ในกำาไรหรือขาดทุน นอกเหนือจากจานวนท่รับรู้จากการโอนสำารองการป้องกัน ำ ี ความเสี่ยงมาจากกำาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามตารางที่แสดงไว้ในข้อ ง) มีดังนี้ บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 72 งบการเงินเฉพาะกิจการ หนวย พันเหรียญสหรัฐ ่ : หนวย พันบาท ่ : ส ารองการปองกันความเส่ยงในกระแสเงินสด ้ ี สัญญา แลกเปล่ยน ี เงินตรา ต่างประเทศและ อตราดอกเบี้ย ั สัญญา แลกเปล่ยน ี อตราดอกเบี้ย ั รวม ส ารองปองกัน ต่างประเทศและ ้ ความเส่ยง ี สัญญา แลกเปล่ยน ี เงินตรา อตราดอกเบี้ย ั สัญญา แลกเปล่ยน ี อตราดอกเบี้ย ั รวม ส ารองปองกัน ้ ความเส่ยง ี ยอดคงเหลือปลายป ี ณ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ่ 5,123 (6,792) (1,669) 154,404 (204,733) (50,329) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ สัญญาอนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุน ่ ู เบ็ดเสร็จอืน ่ (27,824) 6,376 (21,448) (856,310) 205,950 (650,360) หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไป ยังก าไรหรือขาดทุน 18,786 (13,680) 5,106 583,579 (424,968) 158,611 หัก: ภาษเงินได้รอการตัดบัญชี ี 3,490 1,623 5,113 105,547 49,098 154,645 ยอดคงเหลือปลายป ี ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ่ (425) (12,473) (12,898) (12,780) (374,653) (387,433) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ สัญญาอนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุน ่ ู เบ็ดเสร็จอืน ่ 9,354 2,418 11,772 321,675 53,130 374,805 หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไป ยังก าไรหรือขาดทุน (4,896) 17,078 12,182 (149,743) 545,352 395,609 หัก: ภาษเงินได้รอการตัดบัญชี ี 6,151 (3,698) 2,453 181,144 (112,672) 68,472 ยอดคงเหลือปลายป ี ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ่ 10,184 3,325 13,509 340,296 111,157 451,453 จ) รายการที่รบรู้ในก าไรหรือขาดทุน ั รายการทเกยวข้องกับสัญญาอนุพันธ์ทรับร้ในก าไรหรือขาดทุน นอกเหนอจากจ านวนทรับร้จากการโอนส ารองการป้องกันความเสยงมา ี ่ ี ่ ี ่ ู ื ี ่ ู ี ่ จากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามตารางทีแสดงไว้ในข้อ ง) มีดังน้ ่ ี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พันเหรียญสหรฐ ั พันบาท พันเหรียญสหรฐ ั พันบาท ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 ก าไรสุทธจากสัญญาอนุพันธ์ทีไม่ได้น า ิ ่ การบัญชป้องกันความเสี่ยงมาถอปฏิบัติซึงแสดงรวม ี ื ่ อยูในรายการก าไร (ขาดทุน) สุทธจากการวัดมูลค่า ่ ิ เครืองมอทางการเงน ่ ื ิ 29,338 938,219 697 17,427 ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 ก าไร (ขาดทุน) สุทธจากสัญญาอนุพันธ์ทีไม่ได้น า ิ ่ การบัญชป้องกันความเสี่ยงมาถอปฏิบัติซึงแสดงรวม ี ื ่ อยูในรายการก าไร (ขาดทุน) สุทธจากกวัดมูลค่า ่ ิ เครืองมอทางการเงน ่ ื ิ 23,216 727,605 (591) (19,861) บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 72 งบการเงินเฉพาะกิจการ หนวย พันเหรียญสหรัฐ ่ : หนวย พันบาท ่ : ส ารองการปองกันความเส่ยงในกระแสเงินสด ้ ี สัญญา แลกเปล่ยน ี เงินตรา ต่างประเทศและ อตราดอกเบี้ย ั สัญญา แลกเปล่ยน ี อตราดอกเบี้ย ั รวม ส ารองปองกัน ต่างประเทศและ ้ ความเส่ยง ี สัญญา แลกเปล่ยน ี เงินตรา อตราดอกเบี้ย ั สัญญา แลกเปล่ยน ี อตราดอกเบี้ย ั รวม ส ารองปองกัน ้ ความเส่ยง ี ยอดคงเหลือปลายป ี ณ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ่ 5,123 (6,792) (1,669) 154,404 (204,733) (50,329) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ สัญญาอนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุน ่ ู เบ็ดเสร็จอืน ่ (27,824) 6,376 (21,448) (856,310) 205,950 (650,360) หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไป ยังก าไรหรือขาดทุน 18,786 (13,680) 5,106 583,579 (424,968) 158,611 หัก: ภาษเงินได้รอการตัดบัญชี ี 3,490 1,623 5,113 105,547 49,098 154,645 ยอดคงเหลือปลายป ี ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ่ (425) (12,473) (12,898) (12,780) (374,653) (387,433) บวก: การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมของ สัญญาอนุพันธ์ทีรับร้ในก าไรขาดทุน ่ ู เบ็ดเสร็จอืน ่ 9,354 2,418 11,772 321,675 53,130 374,805 หัก: การโอนจากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไป ยังก าไรหรือขาดทุน (4,896) 17,078 12,182 (149,743) 545,352 395,609 หัก: ภาษเงินได้รอการตัดบัญชี ี 6,151 (3,698) 2,453 181,144 (112,672) 68,472 ยอดคงเหลือปลายป ี ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ่ 10,184 3,325 13,509 340,296 111,157 451,453 จ) รายการที่รบรู้ในก าไรหรือขาดทุน ั รายการทเกยวข้องกับสัญญาอนุพันธ์ทรับร้ในก าไรหรือขาดทุน นอกเหนอจากจ านวนทรับร้จากการโอนส ารองการป้องกันความเสยงมา ี ่ ี ่ ี ่ ู ื ี ่ ู ี ่ จากก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นตามตารางทีแสดงไว้ในข้อ ง) มีดังน้ ่ ี งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ พันเหรียญสหรฐ ั พันบาท พันเหรียญสหรฐ ั พันบาท ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 ก าไรสุทธจากสัญญาอนุพันธ์ทีไม่ได้น า ิ ่ การบัญชป้องกันความเสี่ยงมาถอปฏิบัติซึงแสดงรวม ี ื ่ อยูในรายการก าไร (ขาดทุน) สุทธจากการวัดมูลค่า ่ ิ เครืองมอทางการเงน ่ ื ิ 29,338 938,219 697 17,427 ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 ก าไร (ขาดทุน) สุทธจากสัญญาอนุพันธ์ทีไม่ได้น า ิ ่ การบัญชป้องกันความเสี่ยงมาถอปฏิบัติซึงแสดงรวม ี ื ่ อยูในรายการก าไร (ขาดทุน) สุทธจากกวัดมูลค่า ่ ิ เครืองมอทางการเงน ่ ื ิ 23,216 727,605 (591) (19,861)
81 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 5.2 การบริหารส่วนของเงินทุน วัตถุประสงค์ของกล่มกิจการในการบริหารทุนของบริษัทนั้นเพ่อดารงไว้ซ่งความสามารถในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องของ ุ ื ำ ึ ำ กล่มกิจการเพ่อสร้างผลตอบแทนต่อผู้ถือหุ้นและเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่มีส่วนไดเสียอ่น และเพอดารงไว้ซ่งโครงสร้างของทุนที่เหมาะสม ุ ื ี ้ ื ื ่ ำ ึ เพ่อลดต้นทุนของเงินทุนในการดารงไว้หรือปรับโครงสร้างของทุนกล่มกิจการอาจปรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้กับผู้ถือหุ้น ื ำ ุ การคืนทุนให้แก่ผู้ถือหุ้น การออกหุ้นใหม่หรือการขายทรัพย์สินเพื่อลดภาระหนี้สิน 6. มูลค่ายุติธรรม ตารางต่อไปนี้แสดงสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมในแต่ละระดับรวมถึงการแสดงมูลค่ายุติธรรม ของสินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินในแต่ละประเภท แต่ไม่รวมถึงรายการตามบัญชีท่วัดมูลค่าด้วยวิธีราคาทุนตัดจาหน่าย ี ำ ที่มูลค่ายุติธรรมใกล้เคียงกับราคาตามบัญชี
14 82 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 6 มูลค่ายติธรรม ุ ตารางตอไปน้แสดงสนทรัพย์และหน้สนทางการเงนทวัดมูลคาด้วยมูลคายุตธรรมในแตละระดับรวมถงการแดงมูล ่ ี ิ ี ิ ิ ี ่ ่ ่ ิ ่ ึ ราคาทุนตัดจ าหน่ายทีมูลค่ายุติธรรมใกล้เคียงกับราคาตามบัญช ่ ี ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้ สินทรพย์ทางการเงิน ั สินทรัพย์อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ - - - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื - 300 - สัญญาแลกราคาซ้อขายกาซธรรมชาติ ื ๊ - 1,549 - ใบส าคัญแสดงสิทธซื้อหุ้นสามัญ ิ 120 - ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับป้องกันความเสยง ี ่ ี ่ - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื - 758 - สัญญาแลกราคาซ้อขายถ่านหิน ื - 1,513 - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 693 - สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ - - - สัญญาแลกราคาซ้อขายกาซธรรมชาติ ื ๊ - 9,988 สินทรัพย์ทางการเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - เงินลงทุนในตราสารหน้ ี - 15,687 - เงินลงทุนในตราสารทุน - - สินทรัพย์ทางการเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ู ่ - ตัวเงินรับ ๋ - 168 - เงินลงทุนในตราสารทุน 6,400 - รวมสินทรัพย์ 6,520 30,656
83 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 74 ลคายุตธรรมของสนทรัพย์และหน้สนทางการเงนในแตละประเภท แตไม่รวมถงรายการตามบัญชทวัดมูลคาด้วยวธ ่ ิ ิ ี ิ ิ ่ ่ ึ ี ี ่ ่ ิ ี งบการเงินรวม หนวย พันเหรียญสหรฐ ่ : ั หนวย พันบาท ่ : ้อมูลระดับที่ 3 รวม ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้อมูลระดับที่ 3 รวม 41,588 41,588 - - 1,389,881 1,389,881 - 300 - 10,029 - 10,029 - 1,549 - 51,778 - 51,778 - 120 4,012 - - 4,012 - 758 - 25,347 - 25,347 - 1,513 - 50,566 - 50,566 - 693 - 23,169 - 23,169 28,200 28,200 - - 942,442 942,442 - 9,988 - 333,737 - 333,737 - 15,687 - 524,272 - 524,272 7,727 7,727 - - 258,239 258,239 - 168 - 5,600 - 5,600 158,024 164,424 213,884 - 5,281,157 5,495,041 235,539 272,715 217,896 1,024,498 7,871,719 9,114,113
14 84 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้ หน้สินทางการเงิน ี หน้สินอนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ี ่ ู - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 9,738 - สัญญาแลกราคาซ้อขายกาซธรรมชาติ ื ๊ - 6,281 - สัญญาซ้อขายไฟฟ้าล่วงหน้า ื - 4,412 ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับป้องกันความเสยง ี ่ ี ่ - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 7,188 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบี้ย - 19,366 - สัญญาแลกราคาซ้อขายกาซธรรมชาติ ื ๊ - 108,537 - สัญญาแลกราคาซ้อขายถ่านหิน ื - 25,374 หน้สินทางการเงินอืน ี ่ - หน้สินผลตอบแทนพนักงาน ี (แสดงไว้เปนส่วนหนึ่งของหน้สินหมุนเวียนอืน) ็ ี ่ - - - หน้สินผลตอบแทนพนักงาน ี (แสดงไว้เปนส่วนหนึ่งของหน้สินไม่หมุนเวียนอืน) ็ ี ่ - - - หน้สินทีอาจเกดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ (แสดงไว้เปนส่วนหนึ่ง ี ่ ิ ็ ของหน้สินหมุนเวียนอืนและหนี้สินไม่หมุนเวียนอืน) ี ่ ่ - - - สิทธขายคืนของส่วนได้เสียทีไม่มีอ านาจควบคุม ิ ่ (แสดงไว้เปนส่วนหนึ่งของหน้สินไม่หมุนเวียน) ็ ี - - รวมหนี้สิน - 180,896
85 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 75 งบการเงินรวม หนวย พันเหรียญสหรัฐ ่ : หนวย พันบาท ่ : ้อมูลระดับที่ 3 รวม ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้อมูลระดับที่ 3 รวม - 9,738 - 325,435 - 325,435 - 6,281 - 209,921 - 209,921 - 4,412 - 147,448 - 147,448 - 7,188 - 240,237 - 240,237 - 19,366 - 647,205 - 647,205 - 108,537 - 3,627,300 - 3,627,300 - 25,374 - 847,963 - 847,963 3,068 3,068 - - 102,540 102,540 3,375 3,375 - - 112,782 112,782 207,533 207,533 - - 6,935,743 6,935,743 46,562 46,562 - - 1,556,094 1,556,094 260,538 441,434 - 6,045,509 8,707,159 14,752,668
14 86 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้ สินทรพย์ทางการเงิน ั สินทรัพย์อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - - - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื - 926 - สัญญาแลกราคาซ้อขายกาซธรรมชาติ ื ๊ - 15,499 - สัญญาซ้อขายไฟฟ้าล่วงหน้า ื - 3,074 ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับป้องกันความเสยง ี ่ ี ่ - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื - 11,020 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบ้ย ี - 7,216 - สัญญาแลกราคาซ้อขายน ามัน ื ้ - 1,617 สินทรัพย์ทางการเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - เงินลงทุนในตราสารหน้ ี - 11,071 สนทรัพย์ทางการเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ิ ่ ู ่ - ตัวเงินรับ ๋ - 346 - เงินลงทุนในตราสารทุน 4,488 - รวมสินทรัพย์ 4,488 50,769
87 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 76 งบการเงินรวม หนวย พันเหรียญสหรฐ ่ : ั หนวย พันบาท ่ : ้อมูลระดับที่ 3 รวม ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้อมูลระดับที่ 3 รวม - - - 4 - 4 - 926 - 27,802 - 27,802 - 15,499 - 465,539 - 465,539 - 3,074 - 92,335 - 92,335 - 11,020 - 330,996 - 330,996 - 7,216 - 216,734 - 216,734 - 1,617 - 48,601 - 48,601 - 11,071 - 332,546 - 332,546 - 346 - 10,392 - 10,392 148,927 153,415 134,811 - 4,473,332 4,608,143 148,927 204,184 134,811 1,524,949 4,473,332 6,133,092
14 88 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้ หน้สินทางการเงิน ี หน้สินอนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ี ่ ู - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื - 603 - สัญญาแลกราคาซ้อขายกาซธรรมชาติ ื ๊ - 5,170 ตราสารอนุพันธ์ทใช้ส าหรับป้องกันความเสยง ี ่ ี ่ - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 28,318 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบ้ย ี - 2,245 - สัญญาแลกราคาซ้อขายถ่านหิน ื - 10,374 หน้สินทางการเงินอืน ี ่ - หน้สินทีอาจเกดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ ี ่ ิ (แสดงไว้เปนส่วนหนึ่งของหน้สินไม่หมุนเวียนอืน) ็ ี ่ - - - สิทธขายคืนของส่วนได้เสียทีไม่มีอ านาจควบคุม ิ ่ (แสดงไว้เปนส่วนหนึ่งของหน้สินไม่หมุนเวียนอืน) ็ ี ่ - - รวมหนี้สิน - 46,710
89 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 77 งบการเงินรวม หนวย พันเหรียญสหรฐ ่ : ั หนวย พันบาท ่ : ้อมูลระดับที่ 3 รวม ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้อมูลระดับที่ 3 รวม - 603 - 18,129 - 18,129 - 5,170 - 155,297 - 155,297 - 28,318 - 850,601 - 850,601 - 2,245 - 67,421 - 67,421 - 10,374 - 311,597 - 311,597 12,560 12,560 - - 377,266 377,266 42,288 42,288 - - 1,270,200 1,270,200 54,848 101,558 - 1,403,045 1,647,466 3,050,511
14 90 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2564 ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้ สินทรพย์ทางการเงิน ั สินทรัพย์อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - ใบส าคัญแสดงสิทธการซ้อหุ้นสามัญ ิ ื 120 - ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับป้องกันความเสี่ยง ่ - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 693 สินทรัพย์ทางการเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ู ่ - เงินลงทุนในตราสารทุน 4,932 - รวมสินทรัพย์ 5,052 693 หน้สินทางการเงิน ี ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับป้องกันความเสี่ยง ่ - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 7,123 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบ้ย ี - 19,366 รวมหนี้สิน - 26,489
91 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 78 งบการเงินเฉพาะกิจการ หนวย พันเหรียญสหรัฐ ่ : หนวย พันบาท ่ : ้อมูลระดับที่ 3 รวม ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้อมูลระดับที่ 3 รวม - 120 4,012 - - 4,012 - 693 - 23,169 - 23,169 2,817 7,749 164,826 - 94,141 258,967 2,817 8,562 168,838 23,169 94,141 286,148 - 7,123 - 238,048 - 238,048 - 19,366 - 647,205 - 647,205 - 26,489 - 885,253 - 885,253
14 92 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ณ วันที่ 31 ธนวาคม พ.ศ. ั 2563 ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้ สินทรพย์ทางการเงิน ั สินทรัพย์อนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ่ ู - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - - - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื - 26 ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับป้องกันความเสี่ยง ่ - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบ้ย ี - 7,216 สินทรัพย์ทางการเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ่ ู ่ - เงินลงทุนในตราสารทุน 3,658 - รวมสินทรัพย์ 3,658 7,242 หน้สินทางการเงิน ี หน้สินอนุพันธ์การเงินทีรับร้ด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านก าไรหรือขาดทุน ี ่ ู - สัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ื - 603 ตราสารอนุพันธ์ทีใช้ส าหรับป้องกันความเสี่ยง ่ - สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย - 25,927 - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศและอัตราดอกเบ้ย ี - 2,245 รวมหนี้สิน - 28,775 ไม่มีรายการโอนระหว่างระดับ 1 ระดับ 2 และระดับ 3 ของล าดับขั้นมูลค่ายุติธรรมในระหว่างป ี
93 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 79 งบการเงินเฉพาะกิจการ หนวย พันเหรียญสหรัฐ ่ : หนวย พันบาท ่ : ้อมูลระดับที่ 3 รวม ข้อมูลระดับที่ 1 ข้อมูลระดับที่ 2 ข้อมูลระดับที่ 3 รวม - - - 4 - 4 - 26 - 782 - 782 - 7,216 - 216,734 - 216,734 2,817 6,475 109,884 - 84,612 194,496 2,817 13,717 109,884 217,520 84,612 412,016 - 603 - 18,129 - 18,129 - 25,927 - 778,773 - 778,773 - 2,245 - 67,420 - 67,420 - 28,775 - 864,322 - 864,322
14 94 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 มูลค่ายุติธรรมแบ่งออกเป็นลำาดับชั้นตามข้อมูลที่ใช้ดังนี้ (ก) ข้อมูลระดับ 1 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินท่ซ้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่องอ้างอิงจากราคาเสนอซ้อขาย ณ วันที่ในงบแสดง ี ื ื ฐานะการเงิน ราคาเสนอซ้อขายที่ใช้สำาหรับสำาหรับสินทรัพย์ทางการเงินที่ถือโดยกล่มกิจการ ได้แก่ ราคาปิดที่อ้างอิงจาก ื ุ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและประเทศออสเตรเลีย เครื่องมือทางการเงินนี้รวมอยู่ในระดับ 1 (ข) ข้อมูลระดับ 2 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินท่ไม่ได้มีการซ้อขายในตลาดที่มีสภาพคล่อง ได้แก่ ตราสารอนุพันธ์ที่มีการซ้อขาย ี ื ื ในตลาดรองท่ไม่ได้มีการจัดตั้งอย่างเป็นทางการ (Over-the-Counter) วัดมูลค่าโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่า โดยเทคนิค ี การประเมินมูลค่านี้ใช้ประโยชน์สูงสุดจากข้อมูลในตลาดท่สังเกตได้ท่มีอยู่และอ้างอิงจากประมาณการของกิจการเอง ี ี มาใช้น้อยท่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ถ้าข้อมูลท่เป็นสาระสำาคัญทั้งหมดในการวัดมูลค่ายุติธรรมได้มาจากข้อมูลที่สังเกตได้ ี ี เครื่องมือนั้นจะรวมอยู่ในระดับ 2
95 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 เทคนิคเฉพาะในการประเมินมูลค่าที่ใช้ในการวัดมูลค่าเครื่องมือทางการเงินรวมถึงรายการดังต่อไปนี้ - ราคาเสนอซื้อขายของตลาด หรือราคาเสนอซื้อขายของตัวแทนสำาหรับเครื่องมือที่คล้ายคลึงกัน - มูลค่ายุติธรรมของสัญญาแลกเปล่ยนอัตราดอกเบี้ยคานวณจากมูลค่าปัจจุบันของประมาณการกระแสเงินสดในอนาคต ี ำ โดยอ้างอิงจากเส้นอัตราผลตอบแทน (Yield Curve) ที่สังเกตได้ - มูลค่ายุติธรรมของสัญญาซ้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้ากาหนดโดยอ้างอิงจากอัตราแลกเปล่ยนเงินตรา ื ำ ี ต่างประเทศล่วงหน้า ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน และคิดลดมูลค่าที่ได้กลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน - มลคายตธรรมของสัญญาแลกราคาซ้อขายถานหน สัญญาแลกราคาซ้อขายนามน สัญญาแลกราคาซ้อขายก๊าซธรรมชาต ู ่ ุ ิ ื ่ ิ ื ้ ำ ั ื ิ และสัญญาซ้อขายไฟฟ้าลวงหน้า กำาหนดโดยอางองจากราคาถานหิน ราคาน้ามน ราคากาซธรรมชาติ และราคา ื ่ ้ ิ ่ ำ ั ๊ ค่าไฟฟ้าล่วงหน้า (Forward Price) ณ วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน และคิดลดมูลค่าที่ได้กลับมาเป็นมูลค่าปัจจุบัน - มูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารหนี้และตั๋วเงินรับคานวณจากกระแสเงินสดตามสัญญา คิดลดด้วยอัตราอ้างอิง ำ จากราคาตลาดของตราสารหนี้และตั๋วเงินรับที่มีราคาที่สามารถสังเกตได้ของคู่สัญญา - เทคนิคอื่น เช่น การวิเคราะห์การคิดลดกระแสเงินสด ใช้ในการกำาหนดมูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่เหลือ
14 96 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั ( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (ค) ข้อมูลระดับ 3 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินวัดมูลค่าโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าซึงไม่ได้มาจากข้อมูลทีสังเ ่ ่ ตารางต่อไปน้แสดงการเปลียนแปลงของมูลค่ายุติธรรมทีมีสาระส าคัญทีเปนข้อมูลระดับ 3 ี ่ ่ ่ ็ เงินลงทุนในตราสารทุน พันเหรียญสหรฐ ั พันบาท พั ยอดคงเหลือต้นป ณ วันที 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ี ่ 174,169 5,251,877 ลงทุนเพิม ่ 11,487 359,476 จัดประเภทใหม่ (19,891) (622,464) การลดลงของเงินลงทุน (18,924) (592,197) การซื้อบริษทย่อย ั - - การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการลงทุนในบริษทย่อยและสิทธขายคืนของ ั ิ ส่วนได้เสียทีไม่มีอ านาจควบคุมทีเกิดจากการปรับโครงสร้างธุรกจ ่ ่ ิ - - การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมซึ่งรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ู ่ (4,419) (138,283) การเปลยนแปลงในมูลคายุตธรรมซึงรับร้เปนส่วนหนงในราคาทุนของสนทรัพย์ ี ่ ่ ิ ่ ู ็ ึ ่ ิ - - ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่าข้อมูลทางการเงิน 6,505 214,923 ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ี ่ 148,927 4,473,332 ลงทุนเพิม ่ 52,014 1,663,242 การลดลงของเงินลงทุน (2,365) (75,636) การรวมธุรกจ ิ - - หุ้นทุนซื้อคืนของบริษทย่อย ั - - การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมซึ่งรับร้ในก าไรขาดทุน ู 582 18,605 การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมซึ่งรับร้ในก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน ู ่ (17,947) (573,899) การเปลยนแปลงในมูลคายุตธรรมซึงรับร้เปนส่วนหนงในราคาทุนของสนทรัพย์ ี ่ ่ ิ ่ ู ็ ึ ่ ิ - - การเปลี่ยนแปลงในมูลค่ายุติธรรมซึ่งรับร้ในส่วนของเจ้าของ ู - - ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงค่าข้อมูลทางการเงิน (15,460) 33,752 ยอดคงเหลือปลายป ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ี ่ 165,751 5,539,396 (ค) ข้อมูลระดับ 3 มูลค่ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินวัดมูลค่าโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าซึ่งไม่ได้มาจากข้อมูลที่สังเกตได้ในตลาด ตารางต่อไปนี้แสดงการเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมที่มีสาระสำาคัญที่เป็นข้อมูลระดับ 3
97 บริษัท บ้านปู จากัด (มหาชน) � 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 81 เกตได้ในตลาด งบการเงินรวม หน้สนที่อาจเกิดข้น ี ิ ึ จากการซื้อสนทรพย์ ิ ั สิทธิขายคืนของส่วนได้เสีย ที่ไม่มีอ านาจควบคม ุ สญญาก าหนดราคาคาไฟฟาคงที่ ั ่ ้ ันเหรียญสหรฐ ั พันบาท พันเหรียญสหรฐ ั พันบาท พันเหรียญสหรฐ ั พันบาท - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - 19,700 591,731 - - - - 42,288 1,350,978 - - - - - - - - (7,140) (223,281) - - - - - 8,816 - (80,778) - - 12,560 377,266 42,288 1,270,200 - - - - - - - - - - - - - - - - - - 58,843 1,936,041 - - (2,754) (88,994) - - - - - - 8,299 277,368 - - - - 3,700 123,639 194,973 6,234,681 - - - - - - 7,028 237,013 - - - 323,796 - 137,875 (1,054) (4,725) 207,533 6,935,743 46,562 1,556,094 69,788 2,332,323
14 98 รายงานงบการเงิน 2564 4.3113 0.11 4.6193 0.114.6193 4.6193 การเปล่ยนแปลงของเงินลงทุนในตราสารทุนท่มีสาระสำาคัญ ี ี เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564 Banpu Renewable Singapore Pte. Ltd. (BRS) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของกลุ่มกิจการเข้าซื้อ โครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Goudou Kaisha Aizu Solar Energy (Nari Aizu) ในประเทศญี่ปุ่น จาก Aizu Energy Pte. Ltd. ซึ่งเป็นการร่วมค้าของกลุ่มกิจการ โดยเป็นการลงทุนรูปแบบสัญญา Tokumei Kumiai (TK) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ที่ราคา 4,200 ล้านเยน หรือเทียบเท่า 38.75 ล้านเหรียญสหรัฐ การลงทุนดังกล่าวถูกจัดประเภทเป็นสินทรัพย์ทางการเงิน เนื่องจากกลุ่มกิจการไม่ได้ควบคุมการลงทุนดังกล่าว ซึ่งเป็นไปตามข้อกำาหนดของสัญญา TK ตารางต่อไปนี้สรุปข้อมูลเชิงปริมาณเกี่ยวกับข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้ที่มีสาระสำาคัญซึ่งใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ไม่สามารถสังเกตได้กับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สามารถแสดงดังต่อไปนี้: บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชนน ั (( ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการจการ ส าหรบปส้นสดวนที่้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. ม พ.ศ. 2564 82 2 การเปลียนแปลงของเงินลงทุนในตราสารทุนทีมีสาระส าคัญ ญ ่ ่ เมือวันที 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564 Banpu Renewable Singapore Pte. Ltd. (BRS) ซึงเปนบริษทย่อยของกลุมกจการเข้าซื้อโครงการร ่ ่ ่ ็ ั ่ ิ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Goudou Kaisha Aizu Solar Energy (Nari Aizu) ในประเทศญปุน จาก Aizu Energy Pte. Ltd. ซึงเปนการการ ี ่ ่ ่ ็ ร่วมค้าของกลุมกิจการ โดยเปนการลงทุนรปแบบสัญญา Tokumei Kumiai (TK) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ทีราคา 4,200 ล้านเยน หรือหรือ ่ ็ ู ่ เทียบเท่า 38.75 ล้านเหรียญสหรัฐ การลงทุนดังกล่าวถูกจัดประเภทเปนสินทรัพย์ทางการเงินเนองจากกลุมกิจการไม่ได้ควบคุมการร ็ ื ่ ่ ลงทุนดังกล่าว ซึงเปนไปตามข้อก าหนดของสัญญา TK K ่ ็ ตารางต่อไปน้สรปข้อมูลเชิงปริมาณเกยวกับข้อมูลทีไม่สามารถสังเกตได้ทีมีสาระส าคัญซึงใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 3 ี ุ ี ่ ่ ่ ่ มูลคายุตธรรมม ่ ิ พันเหรียญสหรฐฐ ั ขอมูลที่ไม่ม่ ้ สามารถสังเกตได้ด้ ชวงของขอมูลล ่ ้ ณ วนที่ ั ณ วนที่ 31 1 ธนวาคมคม ั พ.ศ.พ.ศ. พันเหรียญสหรัฐ 2564 พ.ศ. พ.ศ. 2563 3 พ.ศ.พ.ศ. 2564 พ.ศ. พ.ศ. 2563 3 เงนลงทุนในตราสารทุนทวัดด้วยมูลคายุตธรรม ม ิ ี ่ ่ ิ ผานก าไรขาดทุนเบดเสร็จอน น ่ เงนลงทุนในตราสารทุนท่วัดด้วยมูลคายุตธรรม ็ ื ่ 165,751 1 148,927 7 อัตราคิดลด ร้อยละ 6.86 ถึง ร้อยละ 6.57 ถึง ถึง ร้อยละ 15.51 ร้อยละ 15.66 6 หน้สินทีอาจเกดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ ย์ ี ผานก าไรขาดทุนเบดเสร็จอ่น ่ ิ 207,533 3 12,560 0 อัตราคิดลด ร้อยละ 5.00 ร้อยละ 15.66 ร้อยละ 7.00 0 สิทธขายคืนของส่วนได้เสียทีไม่มีอ านาจควบคุม ม ิ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ ่ 46,452 2 42,288 8 อัตราคิดลด ร้อยละ 8.63 3 - - สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ฟ้าคงที านาจควบคุม ่ 69,788 8 - - ราคาค่าขายไฟฟ้า 51.14 เหรียญออสเตรเลย ต่อ MWh ถึง ล่วงหน้า 63.92 เหรียญออสเตรเลย ต่อ MWh h ีร้อยละ 8.63 ี - - - - ความสัมพันธ์ของข้อมูลทีไม่สามารถสังเกตได้กับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สามารถแสดงดังต่อไปน้: : ่ ่ ี การเปล่ยนแปลงมูลคายุตธรรมม ี ่ ิ พันเหรียญสหรฐฐ ัม ขอมูลที่ ้ ขอมูลที่ ไม่สามารถสังเกตได้งเกตได้ การเปล่ยนแปลงง ี การเพิ่มข้นน ึ ของข้อสมมตงข้อสมมต ิ การลดลงลง ของข้อสมมตงข้อสมมต ิ เงินลงทุนในตราสารทุนทีวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ติธรรม ่ ผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ่น อัตราคิดลด ดลด ร้อยละ 1.00 0 (11,344) ) 12,880 0 หน้สินทีอาจเกดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ ย์ ี ผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ่ ิ อัตราคิดลด ดลด ร้อยละ 1.00 0 (2,642) ) 2,702 2 สิทธขายคืนของส่วนได้เสียทีไม่มีอ านาจควบคุม ม ิ หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ ่ อัตราคิดลด ดลด ร้อยละ 1.00 0 (5,219) ) 5,653 3 สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ฟ้าคงที านาจควบคุม ่ ราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า า ร้อยละ 5.00 0 (4,666) ) 4,654 4 สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที่ ข้อมูลทไมสามารถสังเกตได้ทส าคัญของล าดับชั้นของมูลคายุตธรรมระดับ 3 คือ อัตราคดลดซึงอ้างองจากต้นทุนการเงินถัวเฉลย ี ่ ่ ี ่ ่ ิ ิ ่ ิ ี ่ ของเงินทุน (Weighted average cost of capital) ซึงเปนไปตามอัตราผลตอบแทนทคาดหวังในอุตสาหกรรมส าหรับช่วงระยะเวลาทท ่ ็ ี ่ ี ่ ก าหนด และราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า ซึงอ้างอิงจากบริษททีปรึกษาด้านพลังงาน งงาน ่ ั ่ ข้นตอนการประเมนมูลค่ายติธรรมของกลมกิจการร ั ิ ุ ุ ่ ฝายการเงนของกลุมกจการมคณะท างานทรับผดชอบเกยวกับการประเมนมูลค่ายุติธรรมของสนทรัพย์ทางการเงนทจ าเปนต่อการร ่ ิ ่ ิ ี ี ่ ิ ี ่ ิ ิ ิ ี ่ ็ รายงานในงบการเงน รวมถงมูลค่ายุตธรรมระดับท 3 คณะท างานน้ได้รายงานตรงต่อผู้อ านวยการสายการเงิน (CFO) และ ละ ิ ึ ิ ี ่ ี คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ) บ ร ิ ษ ั ท บ ้ า น ปู จ า ก ั ด ม ห า ช ) หมาย เหตุประกอบ งบ การเ ง ิ นรวม และงบการ เง ิ นเฉพ า ะก ิ ส าหรบปส ั ี ิ ุ ั 3 1 ธ ันวาค 2 5 6 4 8 การเปลี ่ ยน แปลง ขอ ง เงินลงท ุ นใน ตร าสาร ท ุ นที ่ มีสาระส าค ั เมื ่ อว ั นที ่ 2 6 สิงห าค ม พ.ศ. 2 5 6 4 Banpu Ren ewa ble Singa pore Pt e. Lt d. (BRS) ซ ึ ่ งเป ็ นบร ิ ษ ั ท ย่อย ขอ ง กล ุ ่ มก ิ จ การเ ข ้ าซื ้ อ โค ร งกา โ ร ง ไ ฟ ฟ้า พ ล ั ง ง า น แ ส ง อ า ทิต ย ์ G o u d o u K a i s h a A i z u So l a r E n e r g y ( N a r i Ai z u ) ใน ป ระ เ ท ศ ญ ี ่ ป ุ ่ น จ าก Ai z u E n e r gy Pt e . L t d. ซ ึ ่ งเป ็ น ร ่ วมค ้ าของ กล ุ ่ มก ิจการ โดยเ ป ็ นกา รลงท ุ นร ู ปแบบส ั ญญา Toku me i Kumiai (TK) ในส ั ดส่ว นร ้ อย ละ 1 0 0 ที ่ ราค า 4 , 2 0 0 ล ้ านเยน เทียบเ ท่า 3 8 . 7 5 ล ้ านเหรียญสห ร ั ฐ การลงท ุ นด ั ง กล ่ าวถ ู กจ ั ดประ เ ภทเป ็ นสินทร ั พย ์ ทางการ เงินเน ื ่ องจากกล ุ ่ มก ิจการไ ม่ได ้ คว บค ุ มกา ลงท ุ นด ั งกล ่ า ว ซ ึ ่ ง เป ็ นไปต ามข ้ อก า หนด ขอ งส ั ญญา T ตา รางต่ อไปน ี ้ สร ุ ปข ้ อม ู ลเชิงป ร ิ มาณเก ี ่ ยวก ั บข ้ อม ู ลที ่ ไม่สา มาร ถส ั งเกตได ้ ที ่ มีสาร ะส าค ั ญซ ึ ่ งใช ้ ในการ ว ั ดม ู ลค่า ย ุ ติธร รมร ะด ั บ มู ล ค ่ า ย ุ ต ิ ธ ร ร พันเหรีย ญสหร ั ข ้ อ มู ล ท่ ี ไ ส า ม ข้อมูลที่ไม่ าข้อมูลที่ไม่ ร ถ สัง เ ก ต ไ ช ่ ว ง ข อ ง ข ้ อ มู ั 3 ธ ั น วา 2 5 6 4 2 5 6 2 5 6 4 2 5 6 เง ิ น ลง ท ุ นใ นตร า สา ร ท ุ นท ี ่ ว ั ดด ้ ว ย ม ู ล ค ่ าย ุ ต ิ ธร ร เงนลงทุนในตราสารทุนท่วัดด้วยมูลคายุตธรรม ผ ่ า นก า ไ ร ข า ดท ุ นเบ ็ ด เสร ็ จ อ ื ่ 1 6 5 , 7 5 1 4 8 , 9 2 อ ั ตราค ิ ดลด ร ้ อยล ะ 6 . 8 6 ถึง ร ร้อยละ 6.86 ถึง ร้อยละ 6.57 ถึง ้ อยล ะ 1 5 . 5 1 ร้อยละ 6.57 ถึง ร ้ อยล ะ 6 . 5 7 ร ้ อยล ะ 1 5 . 6 ห ผานก าไรขาดทุนเบดเสร็จอ่น น ี ้ สิน ที ่ อ า จ เ ก ิ ด ข ึ ้ น จ า ก ก า ร ซื ้ อ สิน ท ร ั พ 2 165,751 0 165,751 7 , 5 3 1 148,927 2 , 5 6 อ อัตราคิดลด ั อัตราคิดลด ตราค ิ ดลด ร ร้อยละ 15.51 ร้อยละ 15.66 ้ ร้อยละ 15.51 อยล ะ 5 . 0 0 ร ้ อยล ะ 7 . 0 สิท ธ ิ ขาย คืน ข องส ่ ว นได ้ เส ีย ที ่ ไม ่มีอ านาจควบค ุ 4 207,533 6 , 4 5 4 12,560 2 12,560 , 2 8 อ อัตราคิดลด ั อัตราคิดลด ตราค ิ ดลด ร ร้อยละ 5.00 ้ ร้อยละ 5.00 อยล ะ 8 . 6 ส สิทธิขายคืนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ ั สิทธิขายคืนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ านาจควบคุม ญ ญา ก าห นด รา คา ค่ าไฟ ่ 6 9 , 7 8 ราคาคอัตราคิดลด ่า อัตราคิดลด ขายไฟฟ ้า ล ่ วงห น้า 51.14 เหรียญออสเตรเลย ต่อ MWh ถึง ้ า 51.14 เหรียญออสเตรเลย ต่อ MWh ถึง 5 1 . 1 4 เ หร ี ย ญ อ อ สเ ตร เลร้อยละ 8.63 ี ย ต่อ MW h ถึง 6 3 . 9 2 เหร ี ย ญ อ อ ส เตร เ ล ี ย ต่อ MW คว ามส ั มพ ั นธ ์ ขอ งข ้ อม ู ลที ่ ไม่สา มาร ถส ั งเกตได ้ ก ั บม ู ลค่า ย ุ ติธร รม ณ ว ั นที ่ 3 1 ธ ั นวา คม พ.ศ. 2 5 6 4 สามา รถแสดงด ั งต่อไปน ี ้ ก า ร เ ป ล่ ี ย น แ ป ล ง มู ล ค ่ า ย ุ ต ิ ธ ร ร พันเหรียุติธรร ญสหร ั ้ ไม่สามารถสั ข้อมูลที่ ก า ร เ ป ล่ ี ย น แ ป ล ก า ร เ พ่ ิ ม ข้ ึ ขอ การเพิ่มขึ้น ิ การลดัฐ ขอ การลดลง ิ เงินล ง ท ุ นใน ตราส าร ท ุ นท ี ่ ว ั ด ม ูล ค ่ า ด ้ว ย ม ู ลค ่า ย ุ เงินลงทุนในตราสารทุนที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ผ่าน ก าไร ขาดท ุ น เบ็ด เส ร ็ จอื อ ั ตราค ิ ร ้ อยล ะ 1 . 0 ( 1 1 , 3 4 4 1 2 , 8 8 ห ผ่านก าไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น น ี ้ สิน ที ่ อ า จ เ ก ิ ด ข ึ ้ น จ า ก ก า ร ซื ้ อ สิน ท ร ั พ อ อัตราคิดลด ั อัตราคิดลด ตราค ิ ร ร้อยละ 1.00 ้ ร้อยละ 1.00 อยล ะ 1 . 0 ( (11,344) 2 , 6 4 2 2 12,880 , 7 0 สิท ธ ิ ขาย คืน ข องส ่ ว นได ้ เส ีย ที ่ ไม ่มีอ านาจควบค ุ อ อัตราคิดลด ั อัตราคิดลด ตราค ิ ร ร้อยละ 1.00 ้ ร้อยละ 1.00 อยล ะ 1 . 0 ( (2,642) 5 (2,642) , 2 1 9 5 2,702 , 2,702 6 5 ส สิทธิขายคืนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ ั สิทธิขายคืนของส่วนได้เสียที่ไม่มีอ านาจควบคุม ญ ญา ก าห นด รา คาค ่ าไฟ ่ ราคา ค่า ขาย อัตราคิดลด ไ ฟอัตราคิดลด ฟ้า ล ่ วง หน ้ ร ร้อยละ 1.00 ้ ร้อยละ 1.00 อยล ะ 5 . 0 ( (5,219) 4 (5,219) , 6 6 6 4 5,653 , 5,653 6 5 ข ้ อ ม ู ลท ี ่ ไ ม ่ สา ม า ร ถส ั งเกต ไ ด ้ ท ี ่ ส า ค ั ญข อ งล า ด ั บช ั ้ น ข อ งม ู ลค ่ า ย ุ ต ิ ธร ร ม ร ะด ั บ 3 คื อ อ ั ต ร า ค ิ ด ลด ซ ึ ่ งอ ้ า งอ ิ งจา กต ้ น ท ุ น กา ร เง ิน ถ ั ว เฉล ี ่ ย ข อ งเง ิน ท ุ น ( W e i g h t e d a v e r a g e c o s t o f c a p i t a l ) ซึ ่ งเป ็ น ไ ปต า ม อ ั ต ร า ผลต อ บแ ท น ท ี ่ ค า ด ห ว ั งใ น อ ุ ต สา ห กร ร ม ส า ห ร ั บช ่ว งร ะยะเว ลา ี ่ ก าหนด และราคา ค่า ขา ยไฟ ฟ้า ล ่ วงหน ้ า ซ ึ ่ งอ ้ างอิงจากบร ิ ษ ั ทที ่ ปร ึ กษาด ้ านพ ล ั ข้ ั น ต อ น ก า ร ป ร ะ เ ม ิ น มู ล ค ่ า ย ุ ต ิ ธ ร ร ม ข อ ง ก ล ุ ่ ม ก ิ จ ก า ฝ ่ าย ก ารเ ง ิ น ข อ ง ก ล ุ ่ ม ก ิ จ ก ารม ี คณ ะ ท าง าน ท ี ่ ร ั บ ผ ิ ดช อ บ เ ก ี ่ ย วก ั บ ก ารป ระ เ ม ิ น ม ู ล ค ่าย ุ ต ิธ รรม ข อ ง ส ิ น ท ร ั พย ์ ท าง ก ารเ ง ิ น ท ี ่ จ าเ ป ็ น ต ่อ ก า ราย ง าน ใน ง บ ก า รเ ง ิ น รวม ถ ึ ง ม ู ล ค ่าย ุ ต ิ ธ ร รม ระ ด ั บ ท ี ่ 3 คณ ะ ท าง าน น ี ้ ไ ด ้ ราย ง า น ตร ง ต ่อ ผ ู ้ อ า น วย ก า รส าย ก ารเ ง ิ น (CFO) แ คณะกรร ม การ ตร วจสอบ (Audit C o m m i t t e e บริษท บ้านปู จ ากัด มหาชน ั บ้านปู จ ากัด มหาชน ( ( ) ) หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ธันวาคม พ.ศ. ั ี ิ ุ ั 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 82 การเปลียนแปลงของเงินลงทุนในตราสารทุนทีมีสาระส าคัญ ่ ่ เมือวันที 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564 Banpu Renewable Singapore Pte. Ltd. (BRS) ซึงเปนบริษทย่อยของกลุมกจการเข้าซื้อโครงการ ่ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564 Banpu Renewable Singapore Pte. Ltd. (BRS) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของกลุ่มกิจการเข้าซื้อโครงการ ่ ่ ็ ั ่ ิ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Goudou Kaisha Aizu Solar Energy (Nari Aizu) ในประเทศญปุน จาก Aizu Energy Pte. Ltd. ซึงเปนการ ี ่ ่ ่ ็ ร่วมค้าของกลุมกิจการ โดยเปนการลงทุนรปแบบสัญญา Tokumei Kumiai (TK) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ทีราคา 4,200 ล้านเยน หรือ ่ ็ ู ่ เทียบเท่า 38.75 ล้านเหรียญสหรัฐ การลงทุนดังกล่าวถูกจัดประเภทเปนสินทรัพย์ทางการเงินเนองจากกลุมกิจการไม่ได้ควบคุมการ ็ ื ่ ่ ลงทุนดังกล่าว ซึงเปนไปตามข้อก าหนดของสัญญา TK ่ ็ ตารางต่อไปน้สรปข้อมูลเชิงปริมาณเกยวกับข้อมูลทีไม่สามารถสังเกตได้ทีมีสาระส าคัญซึงใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 ี ุ ี ่ ่ ่ ่ มูลคายุตธรรม ่ ิ พันเหรียญสหรฐ สามารถสังเกตได้ ั สามารถสังเกตได้ ชวงของขอมูล ่ ช่วงของข้อมูล ้ ณ วนที่ ธันวาคม ั วันที่ 31 ธนวาคม ั พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2563 ิ ี ่ ิ ่ ็ ื ร้อยละ 7.00 46,452 42,288 สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ 69,788 - - ราคาค่าขายไฟฟ ล่วงหน้า 63.92 เหรียญออสเตรเลย ต่อ MWh ี ี - - ความสัมพันธ์ของข้อมูลทีไม่สามารถสังเกตได้กับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สามารถแสดงดังต่อไปน้: ่ ่ ี การเปล่ยนแปลงมูลคายุตธรรม ี ่ ิ พันเหรียญสหรฐ ั ไม่สามารถสังเกตได้ การเปล่ยนแปลง ี ของข้อสมมต ิ ของข้อสมมต ิ ราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า ร้อยละ 5.00 (4,666) 4,654 ข้อมูลทไมสามารถสังเกตได้ทส าคัญของล าดับชั้นของมูลคายุตธรรมระดับ 3 คือ อัตราคดลดซึงอ้างองจากต้นทุนการเงินถัวเฉลย ี ่ ่ ี ่ ่ ิ ิ ่ ิ ี ่ ของเงินทุน (Weighted average cost of capital) ซึงเปนไปตามอัตราผลตอบแทนทคาดหวังในอุตสาหกรรมส าหรับช่วงระยะเวลาท ่ ็ ี ่ ี ่ ก าหนด และราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า ซึงอ้างอิงจากบริษททีปรึกษาด้านพลังงาน ่ ั ่ ข้นตอนการประเมนมูลค่ายติธรรมของกลมกิจการ ั ข้นตอนการประเมินมูลค่ายุติธรรมของกลุ่มกิจการ ิ ุ ุ ่ ฝายการเงนของกลุมกจการมคณะท างานทรับผดชอบเกยวกับการประเมนมูลค่ายุติธรรมของสนทรัพย์ทางการเงนทจ าเปนต่อการ ่ ฝ่ายการเงนของกลุ่มกิจการมคณะท างานท่รับผดชอบเกี่ยวกับการประเมนมูลค่ายุติธรรมของสนทรัพย์ทางการเงนท่จ าเป็นต่อการ ิ ่ ิ ี ี ่ ิ ี ่ ิ ิ ิ ี ่ ็ รายงานในงบการเงน รวมถงมูลค่ายุตธรรมระดับท 3 คณะท างานน้ได้รายงานตรงต่อผู้อ านวยการสายการเงิน (CFO) และ ิ ึ ิ ี 3 คณะท างานนี้ได้รายงานตรงต่อผู้อ านวยการสายการเงิน (CFO) และ ่ ี คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) บริษท ั หมายเหตุประกอบงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ ส าหรบปส้นสดวนที่ ั ี ิ ุ ั 31 2564 82 การเปลียนแปลงของเงินลงทุนในตราสารทุนทีมีสาระส าคัญ ่ ่ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ Goudou Kaisha Aizu Solar Energy (Nari Aizu) ในประเทศญปุน จาก Aizu Energy Pte. Ltd. ซึงเปนการ ี ่ ่ ่ ็ ร่วมค้าของกลุมกิจการ โดยเปนการลงทุนรปแบบสัญญา Tokumei Kumiai (TK) ในสัดส่วนร้อยละ 100 ทีราคา 4,200 ล้านเยน หรือ ่ ็ ู ่ เทียบเท่า 38.75 ล้านเหรียญสหรัฐ การลงทุนดังกล่าวถูกจัดประเภทเปนสินทรัพย์ทางการเงินเนองจากกลุมกิจการไม่ได้ควบคุมการ ็ ื ่ ่ ลงทุนดังกล่าว ซึงเปนไปตามข้อก าหนดของสัญญา TK ่ ็ ตารางต่อไปน้สรปข้อมูลเชิงปริมาณเกยวกับข้อมูลทีไม่สามารถสังเกตได้ทีมีสาระส าคัญซึงใช้ในการวัดมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 ี ุ ี ่ ่ ่ ่ มูลคายุตธรรม ่ ิ ณ 31 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2563 พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2563 ิ ี ่ ิ ่ ็ ื 148,927 ร้อยละ 6.86 ถึง หน้สินทีอาจเกดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ ี ่ ิ 207,533 ร้อยละ 7.00 46,452 42,288 สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ 69,788 ราคาค่าขายไฟฟ้า ล่วงหน้า 63.92 เหรียญออสเตรเลย ต่อ MWh ี ี ความสัมพันธ์ของข้อมูลทีไม่สามารถสังเกตได้กับมูลค่ายุติธรรม ณ วันที 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สามารถแสดงดังต่อไปน้: ่ ่ ี การเปล่ยนแปลงมูลคาย ี ่ พันเหรียญสหร ขอมูลที่ ้ ไม่สามารถสังเกตได้ การเปล่ยนแปลง ี การเพิ่มข้น ึ ของข้อสมมต ิ การลดลง ของข้อสมมต ิ เงินลงทุนในตราสารทุนทีวัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม ่ (11,344) 12,880 หน้สินทีอาจเกดขึ้นจากการซื้อสินทรัพย์ ี ่ ิ สัญญาก าหนดราคาค่าไฟฟ้าคงที ่ ราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า ร้อยละ 5.00 (4,666) 4,654 ข้อมูลทไมสามารถสังเกตได้ทส าคัญของล าดับชั้นของมูลคายุตธรรมระดับ 3 คือ อัตราคดลดซึงอ้างองจากต้นทุนการเงินถัวเฉลย ี ่ ่ ี ่ ่ ิ ิ ่ ิ ี ่ ของเงินทุน (Weighted average cost of capital) ซึงเปนไปตามอัตราผลตอบแทนทคาดหวังในอุตสาหกรรมส าหรับช่วงระยะเวลาท ่ ็ ี ่ ี ่ ก าหนด และราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า ซึงอ้างอิงจากบริษททีปรึกษาด้านพลังงาน ่ ั ่ ั ิ ี ี ิ ิ ิ ิ ี รายงานในงบการเงน รวมถงมูลค่ายุตธรรมระดับท ิ ึ ิ ี ่ คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ข้อมูลท่ไม่สามารถสังเกตได้ที่สำาคัญของลาดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมระดับ 3 คือ อัตราคิดลดซ่งอ้างอิงจากต้นทุนการเงินถัวเฉล่ย ี ำ ึ ี ของเงินทุน (Weighted Average Cost of Capital) ซ่งเป็นไปตามอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังในอุตสาหกรรมสำาหรับช่วงระยะเวลา ึ ที่กำาหนด และราคาค่าขายไฟฟ้าล่วงหน้า ซึ่งอ้างอิงจากบริษัทที่ปรึกษาด้านพลังงาน ข้นตอนการประเมินมูลค่ายุติธรรมของกลุ่มกิจการ ั ฝ่ายการเงินของกล่มกิจการมีคณะทำางานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการประเมินมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงินที่จาเป็น ุ ำ ต่อการรายงานในงบการเงิน รวมถึงมูลค่ายุติธรรมระดับที่ 3 คณะทางานน้ได้รายงานตรงต่อผู้อานวยการสายการเงิน (CFO) และ ำ ี ำ คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206