การพฒั นาแอปพลเิ คชัน ครูอมรรัตน์ พนั ธ์ุพมิ พ์
แผนผงั หัวข้อหน่วยการเรียนรู้ การพฒั นาแอปพลิเคชนั ความหมายและลักษณะสาคัญของแอปพลิเคชนั ขนั้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการพฒั นาแอปพลเิ คชัน การพฒั นาแอปพลเิ คชันบนสมาร์ตโฟนด้วย MIT App Inventor อนิ เทอร์เน็ตของสรรพส่งิ (Internet of Things) แอปพลเิ คชันกบั Internet of Things การพฒั นาระบบ IoT เบอื้ งต้น
ตวั ชี้วัด พฒั นาแอปพลิเคชนั ท่มี ีการบรู ณาการกบั วิชาอื่นอยา่ งสร้างสรรค์ (ว 4.2 ม.3/1)
ความหมายและลกั ษณะสาคัญของแอปพลเิ คชนั แอปพลิเคชัน ชดุ คาสง่ั หรือโปรแกรมทีถ่ กู พฒั นาขนึ ้ ใช้ในการควบคมุ การของทางานของระบบคอมพวิ เตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ใน คอมพวิ เตอร์สว่ นบคุ คล สมาร์ตโฟน สมาร์ตวอต์ช อตุ สาหกรรมตา่ ง ๆ เพือ่ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ ทางานตามคาสงั่ ตามทีผ่ ้ใู ช้ต้องการ
การจาแนกแอปพลเิ คชันตามลักษณะการใช้งาน • แอปพลเิ คชนั บนระบบคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล (Desktop Application) เป็นแอปพลิเคชนั ทที่ างานบนระบบปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล หรืออาจจะ เรียกว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์กไ็ ด้ เชน่ โปรแกรมแปลงสกลุ เงิน โปรแกรมผนั เสยี ง วรรณยกุ ต์ โปรแกรมจดั การเอกสาร โปรแกรมนาเสนอ
• แอปพลิเคชนั สาหรับระบบสมองกลฝังตวั (Microcontroller Application) เป็นแอปพลิเคชนั ทถ่ี กู พฒั นาเพื่อทางานเฉพาะอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ บนอปุ กรณ์ สมองกลฝังตวั เชน่ ระบบรดนา้ ต้นไม้อตั โนมตั ิ ระบบตรวจจบั แก๊สรั่วภายในบ้าน ระบบเตือนภยั ตา่ ง ๆ
• แอปพลิเคชนั บนสมาร์ตโฟนหรือแทบ็ เลต็ (Mobile Application) เป็นแอปพลเิ คชนั ทท่ี างานบนสมาร์ตโฟนหรือแทบ็ เลต็ เพื่ออานวยความสะดวกหรือ ใช้งานในด้านตา่ ง ๆ ตามที่ต้องการ
• เวบ็ แอปพลเิ คชนั (Web Application) เป็นแอปพลิเคชนั ทท่ี างานบนเว็บเบราว์เซอร์ สามารถเข้าถงึ ได้ง่าย ไมต่ ้องแจกจา่ ย หรือติดตงั้ ซอฟต์แวร์ ใช้งานในการเรียนการสอน ใช้เก็บเอกสารตา่ ง ๆ
• แอปพลเิ คชนั บนอปุ กรณ์พกพาอื่น ๆ เชน่ สมาร์ตวอต์ช เป็นแอปพลเิ คชนั ที่มีรูปแบบการทางานเฉพาะบนอปุ กรณ์ขนาด เลก็ หรืออปุ กรณ์พกพาอน่ื ๆ เพื่ออานวยความสะดวกอยา่ งงา่ ย
ขัน้ ตอนการพัฒนาโปรแกรม 1. การวเิ คราะห์ปัญหา (Problem Analysis) 7. การปรับปรุงและ 2. การออกแบบโปรแกรม พฒั นาโปรแกรม (Program Design) (Program Maintenance) 6. การใช้งานจริง 3. การเขียนโปรแกรม (Program Implement) (Program Coding) 5. การจดั ทาเอกสารและคมู่ ือการใช้งาน 4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Documentation) (Program Testing & Verification)
ขัน้ ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ปัญหา (Problem Analysis) เป็นการวเิ คราะห์วา่ ปัญหาเป็นอย่างไร และหาวธิ ีการหรือระบบที่จะนามาช่วยในการพฒั นาหรือ แก้ไขปัญหาที่เกิดขนึ ้ ขัน้ ตอนท่ี 2 การออกแบบโปรแกรม (Program Design) พดู คยุ หาข้อสรุปเก่ียวกบั ความต้องการของเจ้าของโครงการ เพื่อนาข้อมลู ที่ได้มาออกแบบ โปรแกรมหรือแอปพลเิ คชนั ให้มีความสามารถตามท่ีเจ้าของโครงการต้องการ ขัน้ ตอนท่ี 3 การเขียนโปรแกรม (Program Coding) นาโปรแกรมที่ได้ออกแบบไว้แล้วมาเขียนเป็นรหสั ต้นฉบบั พฒั นาโปรแกรมให้มีคณุ สมบตั ิ ตามท่ีได้กาหนดไว้ สามารถทางานได้ตามรูปแบบและบริบทท่ีผ้ใู ช้ต้องการ การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing & ขัน้ ตอนท่ี 4 Verification) เมอ่ื พฒั นาแอปพลิเคชนั เสร็จแล้วควรนาไปทดสอบการทางานของระบบ เพื่อหาข้อผิดพลาด หรือการทางานท่ีอาจจะไมถ่ กู ต้อง และปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องนนั้ ให้สมบรู ณ์
ขัน้ ตอนท่ี 5 การจัดทาเอกสารและคู่มือการใช้งาน (Program Documentation) จดั ทาเอกสารประกอบการพฒั นาแอปพลเิ คชนั เพ่ือบอกคณุ สมบตั ิ องค์ประกอบ และ ข้อจากดั ตา่ ง ๆ ในการใช้งานโปรแกรม พร้อมจดั ทาคมู่ ือการใช้งานเพื่อให้ผ้ใู ช้งานใหม่ ทาความเข้าใจในการใช้งานโปรแกรมได้ง่ายและรวดเร็วที่สดุ ขัน้ ตอนท่ี 6 การใช้งานจริง (Program Implement) การนาระบบไปใช้งานจริง พร้อมทงั้ ตดิ ตามตรวจสอบผลการใช้งานและข้อบกพร่องท่ี อาจจะเกิดขนึ ้ ขัน้ ตอนท่ี 7 การปรับปรุงและพฒั นาโปรแกรม (Program Maintenance) ปรับปรุงและพฒั นาโปรแกรมให้ทนั สมยั อยเู่ สมอ
ตวั อย่าง ขนั้ ตอนการพฒั นาแอปพลเิ คชนั เกมบนสมาร์ตโฟน “นกั เรียนพบว่าในการเรียนภาษาองั กฤษนนั้ มีคาศพั ท์หลายคาที่ท่องจาได้ยาก แตน่ กั เรียนกลบั สงั เกตได้วา่ เพ่ือนท่ีเล่นเกมโดยเกมนนั้ มกี ารใช้ภาษาองั กฤษ ทาให้เพื่อนที่เลน่ เกมหลายคนจา คาศพั ท์เหล่านนั้ ได้ดี นกั เรียนจงึ มีแนวคดิ ท่ีจะสร้างเกมทายคาศพั ท์ โดยต้องการพฒั นาให้เป็น เกมที่สามารถเลน่ ได้บนสมาร์ตโฟน” จากสถานการณ์ข้างต้น นกั เรียนสามารถใช้วฏั จกั รการพฒั นาระบบงาน (System Development Life Cycle: SDLC) ในการพฒั นาแอปพลิเคชนั ที่ต้องการได้โดยมี กระบวนการ ดงั นี ้ ขัน้ ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ปัญหา (Problem Analysis) นกั เรียนพบปัญหาในการเรียนภาษาองั กฤษที่ต้องทอ่ งจาคาศพั ท์ตา่ ง ๆ มากมาย และต้องการ แก้ปัญหา โดยการสร้างเป็นแอปพลิเคชนั ช่วยจาและเรียนรู้เก่ียวกบั ภาษาองั กฤษผา่ นการเลน่ เกม
ขัน้ ตอนท่ี 2 การออกแบบโปรแกรม (Program Design) ออกแบบโปรแกรมเป็นภาพวาดแสดงโครงสร้างตา่ ง ๆ ของแอปพลเิ คชนั อยา่ งละเอยี ด
ขัน้ ตอนท่ี 3 การเขียนโปรแกรม (Program Coding) ในการพฒั นาแอปพลเิ คชนั ลกั ษณะนี ้นกั เรียนสามารถใช้เครื่องมือในการพฒั นา แอปพลิเคชนั ในรูปแบบ Drag and Drop และ Block Programming ได้ เชน่ App Inventor หรือ Thunkable ขัน้ ตอนท่ี 4 การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม (Program Testing & Verification) เม่ือพฒั นาแอปพลิเคชนั นีเ้รียบร้อยแล้ว ควรนาไปทดสอบการทางานเพื่อสอบถามความ พงึ พอใจของผ้ใู ช้งานและตรวจหาข้อบกพร่อง สาหรับแอปพลิเคชนั นีส้ ามารถนาไป ทดลองกบั นกั เรียนกลมุ่ ที่ทอ่ งจาคาศพั ท์ได้ยาก และศกึ ษาความพงึ พอใจของผ้ใู ช้งาน
ขัน้ ตอนท่ี 5 การจัดทาเอกสารและค่มู ือการใช้งาน (Program Documentation) แอปพลเิ คชนั เรียนรู้เก่ียวกบั คาศพั ท์ภาษาองั กฤษนี ้ควรมีเอกสารและคมู่ ือการใช้งาน อาจจะอยใู่ นรูปของ Online Document เน่ืองจากเป็นที่นิยมและใช้งานได้ทว่ั ไป ขัน้ ตอนท่ี 6 การใช้งานจริง (Program Implement) การนาแอปพลิเคชนั ไปเผยแพร่และใช้งานจริง โดยการประชาสมั พนั ธ์ผ่านชอ่ งทางตา่ ง ๆ เชน่ การให้เพ่ือนในห้องเรียนได้ใช้งาน การเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์ ขัน้ ตอนท่ี 7 การปรับปรุงและพฒั นาโปรแกรม (Program Maintenance) หลงั จากที่เผยแพร่แอปพลิเคชนั นีไ้ ปแล้ว ควรติดตามและเก็บรวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั ผ้ใู ช้งานในด้านความพงึ พอใจ และความต้องการอน่ื ๆ เพ่ือนามาปรับปรุงและพฒั นา ให้ดขี นึ ้ ตอ่ ไป
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: