สือ่ ประกอบการสอน การออกแบบและวิทยาการคานวณ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง การใชค้ อมพิวเตอร์ช่วยสร้างช้นิ งานหรอื โครงงานอย่างมี จติ สานึกและความรบั ผิดชอบ ผสู้ อน 1 นางสาวอมรรตั น์ พันธพ์ุ ิมพ์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นบางปะหัน จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา 21/01/64 สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 3
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ข้นั ตอนการพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ขั้นตอนการพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. ลักษณะการใชง้ านลขิ สทิ ธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ถูก จดั เป็นงานลขิ สิทธ์ปิ ระเภทหน่งึ ซง่ึ ไดร้ บั ความคุ้มครองในฐานะงานวรรณกรรม การคุ้มครองงานลิขสิทธิ์เป็นไปโดยอัตโนมัติไม่ต้องจดทะเบียน หรือต้องมี ข้อความหรือสัญลักษณ์แสดงความเป็นเจ้าของของลิขสิทธิ์ปรากฏอยู่กับ ผลงานลิขสิทธ์ิ โดยท่ัวไปการซ้ือโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากผู้จาหน่ายไม่ได้ หมายความว่าผู้ซ้ือสามารถกระทาการใดๆแก่โปรแกรมนั้นได้โดยเสรี แต่เป็น การได้มาซึ่งสิทธิในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามสัญญาอนุญาตท่ีได้มา พร้อมกบั การตกลงซอ้ื ขายโปรแกรมคอมพิวเตอร์เท่านั้น ผู้ใช้จึงต้องพึงระวังว่า โปรแกรมคอมพิวเตอร์น้นั มีลิขสิทธ์ิ และไม่อาจทาซ้า ดัดแปลงหรือกระทาการ ใดๆแกโ่ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ได้โดยไมต่ ้องขออนญุ าตจากเจา้ ของลิขสทิ ธ์ิ
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 ขน้ั ตอนการพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ 2. ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์และการนามาใช้งาน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีมีใช้อยู่ในปัจจุบัน มีหลากหลายประเภทละมีการนามาใช้ งานที่แตกต่างกัน เน่ืองจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ฉะน้ันประเภทและการนาโปรแกรมคอมพิวเตอรม์ าใชง้ านจึงเปล่ียนแปลงตามไปด้วย ตัวอย่าง ประเภทของโปรแกรมคอมพวิ เตอรแ์ ละการนามาใช้งาน มดี ังต่อไปนี้
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ขน้ั ตอนการพฒั นาโครงงานคอมพวิ เตอร์ 2.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่ายและแสวงหากาไร เป็น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีเจ้าของลิขสิทธิ์มุ่งเน้นผลประโยชน์หรือค่าตอบแทนใน เชิงพาณชิ ยจ์ ากผูใ้ ช้ เช่น - โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการจาหน่าย (Commercial Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เป็นโปรแกรมที่ออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพ่ือ จาหน่ายและหากาไร ผู้ซ้ือได้สิทธิในการใช้เท่าน้ัน โดยเจ้าของลิขสิทธิ์จะกาหนด เง่อื นไขหรือข้อจากัดการใชแ้ ตกตา่ งกันไป -โ ป ร แ ก ร ม ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ แ บ บ ท ด ล อ ง ใ ช้ ( Shareware Software หรือ Trail ware) เจ้าของลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้ อนุญาตให้ผู้ใช้ทดลองใช้ได้ก่อนตัดสินใจซอื้ โดยกาหนดระยะเวลาของการทดลอง ใช้ไว้ อันเป็นมาตรการทางการตลาดอย่างหน่ึง ทั้งน้ี ไม่อนุญาตให้ผู้ทดลองใช้ นาไปจาหนา่ ย หรอื แสวงหาผลประโยชนท์ างการค้าหรอื หากาไร
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ขัน้ ตอนการพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอร์ 2.2 โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ใี่ ห้ใช้โดยไมแ่ สวงหากาไร เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เจ้าของลิขสิทธิ์เปิดโอกาสให้สาธารณชนทาซ้าได้โดยไม่ คิดมูลค่า เชน่ - โปรแกรมคอมพิวเตอรแ์ บบใช้ได้เสรี (Freeware Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเทน้ีมีลิขสิทธิ์โดยเจ้าของลิขสิทธิ์จะเป็นผู้กาหนด เง่ือนไขการอนุญาตใหใ้ ชล้ ิขสิทธ์ิ ซึ่งจะมีขอ้ จากดั การใช้น้อยกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการ จาหน่ายและโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบทดลองใช้ เช่น อาจกาหนดเง่ือนไขให้ผู้ใช้สามารถ ทาซา้ ได้ฟรี แตห่ า้ มจาหน่ายหรืออาจอนุญาตให้บุคคลท่ัวไปใช่ได้ ยกเว้นหน่วยราชการ อาจมี การมอบรหัสต้นฉบับ(souce code) พรอ้ มกับโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ผู้ใช้สามารถดีดแปลงหรือ ทาวิศวกรรมยอ้ นกลบั ได้
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ขน้ั ตอนการพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ 2) โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าธารณะ (Public Domain Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทนี้เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาธารณชน สามารถใช้ได้โดยไม่มีข้อจากัด เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผู้พัฒนาสละลิขสิทธิ์แล้ว โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่หมดอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์แล้วอาจไม่มีการส่งมอบรหัสต้นฉบับ (source code) พร้อมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์แต่ผู้ใช้สามารถดัดแปลงหรือทาวิศวกรรม ย้อนกลับได้ สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้โดยไม่ต้องขออนุญาต และไม่มี เงอ่ื นไขในการใชแ้ ละจาหนา่ ยจ่ายแจกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทไ่ี ด้มีการพฒั นาต่อยอดขึ้นมานน้ั
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 ข้ันตอนการพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ 3) โปรแกรมคอมพิวเตอรแ์ บบรหสั เปิด (Open-source Software) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทน้ีมักพัฒนาข้ึนโดยกลุ่มผู้พัฒนา (community) มากกว่าผู้พัฒนาเพียงผู้เดียว ผู้พัฒนาจะแจกจ่ายรหัสต้นฉบับหรือชอร์สโค้ด (source code) ไปพร้อมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภายใต้เงื่อนไขของสัญญาอนุญาต เช่น GNU/GPL (GNU General Public License) หรือ BSD License (Berkeley Software Distribution License) ส่วนใหญ่แล้วโปรแกรมคอมพิวเตอร์แบบรหัสเปิดมักให้ ดาวนโ์ หลดทางอินเตอร์เน็ตได้ฟรี หรืออาจคิดราคาจาหน่ายแผ่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์กรณี ซื้อจากผู้จัดจาหน่ายทั่วไป ซึ่งราคาจาหน่ายน้ีรวมถึงรหัสต้นฉบับ บริการด้านเทคนิคและการ พฒั นาหลงการจาหนา่ ยดว้ ย
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 ขั้นตอนการพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ 3.ข้อยกเวน้ การละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 มาตรา 35 กาหนดข้อยกเว้นการละเมิด ลิขสิทธ์ิโปรแกรมคอมพิวเตอร์ไว้หลายประการ ทั้งนี้ การกระทาดังกล่าวจะต้องภายใต้ กฎเกณฑข์ องการใช้ลขิ สิทธ์ที่เปน็ ธรรม 3 ประการ คอื 1) ต้องไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธ์ตามปกติของ เจา้ ของลขิ สิทธิ์ 2) ต้องไม่กระทบกระเทือนสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธ์ิ เกินสมควร และ 3) ไม่มีวัตถุปะสงค์เพื่อหากาไร ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธ์ิโปรแกรม คอมพวิ เตอรม์ ีดงั น้ี
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ข้นั ตอนการพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอร์ 1.) วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อาจรวมถึงการทาวิศวกรรมย้อนกลับ (reverse engineering) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพอ่ื ศึกษาดรู ปู แบบวิธีการเขียนโปรแกรม โดย ไม่ไดท้ าประการอืน่ ใดแก่โปรแกรมคอมพวิ เตอรน์ ั้นเพือ่ หากาไร 2.) ใช้เพ่ือประโยชน์ของเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้สาเนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์น้ันมาโดยถูกต้องตามกฎหมาย เช่น นาสาเนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ท่ีได้รับ มาโดยชอบด้วยกฎหมายมาใช้เล่นส่วยตัว ไม่ได้นาออกแสวงหากาไรโดยการให้ผู้อื่นเช่าหรือ เรยี กเก็บเงินจากการให้ผู้อ่ืนไดเ้ ลน่ เกม 3.) ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธ์ิใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์น้ัน เช่น นักข่าวคอลัมน์เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที) เขียน วจิ ารณ์ผลิตภัณฑซ์ อฟต์แวร์ออกใหมล่ งในนิตยสาร โดยระบุชื่อผสู้ ร้างสรรค์และเจ้าของลิขสิทธ์ิ ไวด้ ้วย 4.) เสนอรายงานขา่ วทางสอ่ื สารมวลชนโดยมกี ารรับรู้ถึงความเปน็ เจ้าของลิขสิทธ์ิใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เช่น ผู้ส่ือข่าวเสนอรายงานข่าวการนาโปรแกรมต้านไวรัสชนิดใหม่ ออกจาหนา่ ยโดยมีการรบั รถู้ ึงความเป็นเจ้าของลิขสทิ ธใิ์ นงานน้นั
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ขนั้ ตอนการพฒั นาโครงงานคอมพิวเตอร์ 5.) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏเพ่ือประโยชน์ในการพิจารณาของศาล หรือเจ้าพนักงานที่มีอานาจตามกฎหมายหรือในการรายงานผลการพิจารณาดังกล่าว เช่น พนกั งานอัยการนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรอ์ อกแสดงถึงวิธีการทางานเพื่อศาลพิจารณาในคดี ละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ 6.) นาโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ ้นั มาใช้เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการถามและตอบในการสอบ เช่น ใน การสอบเพ่ือผ่านหลักสูตรวิชาคอมพิวเตอร์ อาจารย์ผู้สอนให้นักศึกษาตอบคาถามเก่ียวกับ โครงสร้างของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ตามกรณปี ญั หา 7.) ดัดแปลโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในกรณีที่จาเป็นแก่การใช้ เช่น ผู้ใช้สามารถดัดแปลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์เทา่ ที่จาเปน็ ได้ เพ่ือให้สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นกับเคร่ือง คอมพวิ เตอร์หรือโปรแกรมคอมพวิ เตอรอ์ ื่นทม่ี ีอยู่ได้ 8.) จัดทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่ือเก็บรักษาไว้สาหรับการอ้างอิงหรือค้นคว้าเพ่ือ ประโยชนข์ องสาธารณชน เช่น หอ้ งสมุดเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ไอที) จัดทาสาเนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์จานวนเลก็ นอ้ ยรวบรวมไว้เพื่อเป็นข้อมูลให้สาธารณชนค้นคว้า โดยไม่เป็นการ กระทาเพ่ือหากาไร
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 ข้นั ตอนการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ 4. เกณฑก์ ารพิจารณา ข้อควรพจิ ารณาในการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผ้ใู ชค้ วรตระหนัก มีดงั นี้ ผู้ได้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาโดยถูกต้องตามกฎหมายสามารถทาสาเนาโปรแกรม คอมพิวเตอร์ในจานวนท่ีสมควร เพ่ือเก็บไว้ใช้ประโยชน์ในการบารุงรักษาหรือป้องกันการ สูญหาย แต่ไมส่ ามารถทาสาเนาโปรแกรม 1) คอมพิวเตอร์เพื่อขายหรือแจกจ่ายเพ่ือนฝูงหรือญาติพ่ีน้องได้ เพราะการ กระทาดงั กล่าวจะมีผลกระทบตอ่ การตลาดของเจ้าของลิขสิทธ์ิ ทาให้รายได้ของเจ้าของ ลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ลดลงอยา่ งมีนยั สาคญั 2) ผ้ใู ช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทางานไม่สามารถนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นนั้ มาลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บ้าน แม้จะเป็ นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในเวลาท่ี ตา่ งกนั เว้นแตก่ รณีท่ีสญั ญาอนญุ าตระบใุ ห้สามารถทาได้
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ข้นั ตอนการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ 3) โรงเรียนสอนคอมพิวเตอร์ไม่สามารถลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้รับ อนุญาตให้ใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงเคร่ืองเดียว(Single License) ในเคร่ือง คอมพิวเตอร์ 6 เครื่อง เพื่อใช้สอนนักเรียน 6 คนในเวลาเดียวกัน เนื่องจากเป็นการทาซ้า เกินจานวนท่ีได้รบั อนุญาต 4) การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในสานักงาน นายจ้างไม่สามารถลงโปรแกรม คอมพิวเตอร์ท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้สาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพียงเคร่ืองเดียว ใน คอมพิวเตอร์ของลูกจ้างคนอ่ืนๆ ได้แม้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์อ่ืนๆ นั้นจะอยู่ในสานักงาน เดียวกนั ก็ตาม 5) การนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ออกให้เช่า หรือให้ยืมเพ่ือผลประโยชน์ทาง การค้า ไม่ว่าโดยทางตรงหรือโดยอ้อมไม่สามารถกระทาได้ นอกจากได้รับอนุญาตจาก เจ้าของลขิ สทิ ธิ์ก่อน เช่น การเชา่ โปรแกรมคอมพิวเตอรต์ ามร้านอินเทอรเ์ นต็ คาเฟ
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 ข้นั ตอนการพฒั นาโครงงานคอมพวิ เตอร์ 5. การรบั รู้ความเปน็ เจ้าของลขิ สทิ ธ์ิ การนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ตามมาตรา 35(3) ติชม วิจารณ์หรือแนะนา ผลงานโดยมกี ารรับรถู้ งึ ความเป็นเจา้ ของลขิ สิทธใ์ิ นโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ ้นั และมาตรา35 (4) เสนอรายงานข่าวทางส่ือสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ใน โปรแกรมคอมน้ัน ผู้ใช้ต้องแจ้งให้ทราบถึงชื่อผลงาน ช่ือเจ้าของลิขสิทธิ์ และผู้สร้างสรรค์ (ถา้ ม)ี ดว้ ย
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ขนั้ ตอนการพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอร์ 6. บทกาหนดโทษสาหรับผ้ลู ะเมดิ ลิขสิทธ์ิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: