ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี Principle of Accounting หัวขอ้ เนื้อหา 1.1 ประวัติและววิ ัฒนาการของการบัญชี 1.2 ความหมายของการบญั ชแี ละการทาบัญชี 1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการทาบญั ชี 1.4 ประโยชนข์ องขอ้ มูลทางการบัญชแี ละผใู้ ชข้ ้อมูลทางการบญั ชี 1.5 หน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั วชิ าชีพบญั ชี 1.6 กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน 1.7 ลกั ษณะและประเภทของธุรกิจ 1.8 ข้อแนะนาในการศึกษาวิชาบญั ชี จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายประวตั แิ ละวิวฒั นาการของการบัญชีได้ 2. อธิบายความหมายของการบัญชแี ละการทาบัญชไี ด้ 3. บอกวัตถปุ ระสงค์ของการทาบญั ชไี ด้ 4. บอกประโยชน์ของข้อมลู ทางการบัญชแี ละผู้ใชข้ ้อมูลทางการบญั ชีได้ 5. บอกหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับวชิ าชีพบญั ชไี ด้ 6. อธบิ ายกรอบแนวคดิ สาหรับการรายงานทางการเงนิ ได้ 7. อธิบายลักษณะและรปู แบบของธรุ กิจได้ 8. ปฏบิ ตั ิงานตามข้อแนะนาในการศึกษาวิชาบัญชีได้ หลกั การบัญชเี บือ้ งต้น 1 1
สมรรถนะประจาหนว่ ย แสดงความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกับการบัญชตี ามหลกั การบัญชแี ละกฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง สาระสาคัญ การดาเนินธุรกิจให้ประสบความสาเร็จและสามารถอยู่รอดได้นั้น ผู้บริหารจะต้องมีข้อมูลในการ ดาเนินงานด้านต่าง ๆ ท่ีเพียงพอต่อการตัดสินใจ ข้อมูลท่ีถูกต้องทันต่อเวลาและความต้องการของผู้บริหาร จงึ ช่วยให้การดาเนินธรุ กจิ ประสบความสาเรจ็ กิจการจงึ ต้องเก็บรวบรวม บันทึก จาแนก และสรุปข้อมูลท่ีเก่ียวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปของ ตัวเงิน เพ่ือให้ได้ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ายที่เป็นผู้มีความต้องการในการใช้ ขอ้ มลู ทางการเงิน การบัญชีจงึ เปน็ การจดบนั ทึกรายการหรอื เหตุการณท์ เี่ ก่ียวกับการเงนิ ในรูปแบบของเงนิ ตรา และการจัดหมวดหมู่ของรายการท่ีบันทึกไว้สรุปผลและแสดงความหมายของผลการบันทึกนั้นในรูปแบบงบ การเงิน ซ่ึงงบการเงนิ ถอื เป็นข้อมูลทางการเงินท่ีมปี ระโยชน์ท้ังแกบ่ ุคคลภายใน ผู้บริหารไดใ้ ช้ประโยชน์ในการ วางแผนตัดสินใจ และควบคุมการทางานของคนในองคก์ ร รวมถงึ ยังมปี ระโยชน์ตอ่ บคุ คลภายนอก กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงินเป็นกรอบแนวคิดที่กาหนดขึ้นเพื่อ จะลดความแตกต่างท่ี เกิดจากสภาพแวดล้อมทางสังคมเศรษฐกิจและกฎหมายที่แตกต่างกนั และจากการทปี่ ระเทศต่าง ๆ โดยหาทาง ที่จะทาให้กฎระเบียบ มาตรฐานการบัญชีและกระบวนการเกี่ยวกับการจัดทาและนาเสนองบการเงินมีความ สอดคล้องกัน โดยแนวทางที่ดีท่ีสุดเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันมากข้ึน คือ การุม่งเน้นไปท่ีงบการเงิน ซ่งึ จดั ทาเพอื่ วัตถปุ ระสงคใ์ นการให้ข้อมลู ทุ่ีมปี ระโยชน์ตอ่ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ หลกั การบัญชเี บ้ืองต้น 1 2
1.1 ประวตั แิ ละวิวฒั นาการของการบัญชี การบัญชีเกิดขึ้นต้ังแต่สมัยสุเมเรียนในดินแดนเมโสโปเตเมีย ในช่วงแรกเป็นแค่การเก็บข้อมูลเก่ียวกับ ปริมาณผลผลิตทางการเกษตร กับมูลค่าเหล่าน้ัน ส่วนวิชาการบัญชีที่มีพื้นฐานเหมือนกับระบบคณิตศาสตร์ โดยมีการบันทึกท้ังด้านบวกกับด้านลบ และในสมัยโรมันเร่ิมมีการบันทึกเกี่ยวกับเงินสดและรับจ่าย ในต้นศตวรรษที่ 14 ได้มีการนาหลักการบัญชีคู่ (Double Entry System) มาใช้โดยการค้นพบหลักฐานท่ีกรุง เจนัว ประเทศอิตาลี ซึ่งเป็นประเทศศูนย์กลางทางการค้าในขณะนั้น ต่อมาในปี ค.ศ.1494 ลูกา ปาซิโอริ (Luca Pacioli) ชาวอิตาเลียน ได้เขียนหนังสือเชิงคณิตศาสตร์เล่มหน่ึง ช่ือ Summa de Arithmetica Geometrica ส่วนหน่ึงได้กล่าวถึงหลักการบัญชีคู โดยกาหนดศัพท์ท่ีมาของคาว่า Debito หมายถึง เป็นหน่ึง และ Credito หมายถึง เชื่อถือ อันเป็นพน้ื ฐานท่ีมาของคาวา่ Debit และ Credit ตามหลักการบัญชีคู่ ซ่ึงเป็น ท่ยี อมรบั และถอื ปฏิบัตมิ าจนถึงปัจจุบนั และไดร้ บั การยกย่องวา่ เป็น บดิ าแหง่ การบัญชี สาหรับประวัติการบัญชีในประเทศไทย การบัญชีเริ่มต้นเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันท่ี 24 มถิ ุนายน 2475 ซ่ึงส่งผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกจิ โดยส่วนรวมอันนาไปสกู่ ารออกประมวลรัษฎากรจัดเก็บ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2482 โดยผู้ท่ีเผยแพร่ความรู้ ทางด้านการบัญชีในระยะแรก คือ พระยาไชยยศสมบัติ (เสริม กฤษณามระ) และหลวงดาริอิศรานุวรรต (ม.ล.ดาริ อิศรางกูร ณ อยุธยา) ซึ่งในขณะนั้นรับราชการอยู่ในสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน ได้จัดทาหลักสูตร การสอนวิชาการบัญชีเพ่ือเผยแพร่ทาให้คนไทยมีความรู้ทางด้านการบัญชี เพ่ือทาให้เกิดวิชาการสอบบัญชี สาธารณะ สอดคล้องกับประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ท่ีระบุไว้เกี่ยวกับการจัดทาบัญชีและการสอบบัญชี ของธุรกิจ และในปี พ.ศ.2491 ได้ร่วมกันก่อตั้งสมาคมนักบัญชีแห่งประเทศไทย ซ่ึงต่อมาได้เปล่ียนชื่อเป็น สมาคมนกั บัญชีและผู้สอบบัญชีรบั อนุญาตแหง่ ประเทศไทย ปจั จุบันได้เปล่ยี นชือ่ เปน็ สภาวิชาชพี บญั ชี สภาวิชาชีพบัญชี (Federation of Accounting Professions) เป็นองค์กรวิชาชีพของประเทศไทยที่ จัดต้ังขึ้นตามพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 โดยพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 23 ตุลาคม 2547 และพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นศูนย์รวมความสามัคคี และผดุงเกียรติของผปู้ ระกอบวชิ าชีพบญั ชี หลกั การบญั ชีเบ้ืองต้น 1 3
1.2 ความหมายของการบัญชแี ละการทาบญั ชี 1.2.1 ความหมายของการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ (Federation of Accounting Professions under the Royal Patronage of his Majesty the King) ไดใ้ ห้ความหมายของการบัญชีไวด้ งั นี้ การบญั ชี (Accounting) หมายถงึ ศลิ ปะของการเกบ็ รวบรวม บนั ทึก จาแนก และทาสรปุ ขอ้ มูลอนั เก่ียวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานข้ันสุดท้ายของการบัญชี คือการให้ข้อมูลทางการเงิน ซงึ่ เปน็ ประโยชนแ์ ก่บุคคลหลายฝ่ายและผู้ท่ีสนใจในกจิ กรรมงบการเงนิ สมาคมนักบัญชีและผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตแห่งสหรัฐอเมริกา คือ The American Institute of Certified Public Accountants (AICPA) ได้ใหค้ าจากัดความของคาว่าการบัญชีดงั นี้ การบัญชีเป็นศิลปะของการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเงินในรูปของเงินตรา จัดหมวดหมขู่ องรายการที่บันทึกไว้สรุปผลและแสดงความหมายของผลนน้ั การบัญชีเป็นศิลปะในการทางานท่ีเก่ียวข้องกับรายการเหตุการณ์ข้อมูลทางเศรษฐกิจ ที่สามารถ จดบันทึกไวใ้ นรปู แบบของตัวเงิน ซึง่ มกี ารปฏบิ ตั ิเปน็ ข้ันตอนดงั นี้ 1) การจดบันทึกรายการ (Recording) หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจท่ีสามารถวัดค่าเป็นตัวเงินได้ รายการและเหตุการณ์ทางการเงินท่ีนามาจดบันทึกจะต้องเป็น รายการหรอื เหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ แล้ว มหี ลักฐานท่เี ช่ือถือได้ ซึง่ จะนามาบนั ทกึ ไว้ในสมดุ บันทึกรายการขั้นตน้ 2) การจาแนกหมวดหมู่ (Classifying) หมายถึง การนาข้อมูลเหตุการณ์ทางการเงินที่ได้จดบันทกึ ไว้ แลว้ ในสมดุ บันทึกรายการขัน้ ต้น ตามขอ้ 1 มาจาแนกให้เปน็ หมวดหมู่ของในสมดุ บันทกึ รายการขั้นปลาย ได้แก่ หมวดสินทรัพย์ หมวดหน้สี นิ หมวดสว่ นของเจา้ ของ หมวดรายได้ และหมวดคา่ ใชจ้ า่ ย 3) การสรุปผล (Summarizing) หมายถึงการนาข้อมูลที่ได้จาแนกให้เป็นหมวดหมู่แล้ว ตามข้อ 2 มาสรุปเป็นรายงานทางการเงิน (Accounting Report) ซ่ึงแสดงให้ทราบถึงผลการดาเนินงานและฐานะ ทางการเงินของธุรกิจ รวมถึงการได้มาและใช้ไปของเงินสดในรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง ได้แก่ งบแสดงฐานะ การเงิน งบกาไรขาดทุน งบแสดงการเปล่ียนแปลงส่วนของเจ้าของ งบกระแสเงินสด และข้อมูลอ่ืนที่ต้อง เปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงนิ 4) การวิเคราะห์และแปลความหมาย (Analysis and Interpreting) หมายถึง การนาผลการ ดาเนนิ งานท่ีได้จากการสรปุ ผลตามขอ้ 3 มาวิเคราะห์และแปลความหมาย ซ่ึงในการวิเคราะห์ดังกลา่ วจะทาให้ กิจการเห็นถึงภาพรวมข้อมูลทางการเงินจากการดาเนินงานในรอบระยะเวลาท่ีผ่านมา เพื่อนาไปใช้ในการวาง แผนการดาเนินงานและเปน็ ขอ้ มูลในการตัดสินใจดาเนนิ ธรุ กจิ ตอ่ ไป หลกั การบัญชีเบอื้ งตน้ 1 4
การจดบันทึกรายการ (Recording) การจาแนกหมวดหมู่ (Classifying) การสรปุ ผล (Summarizing) การวิเคราะหแ์ ละแปลความหมาย (Analysis and Interpreting) ภาพท่ี 1.1 กระบวนการทางการบญั ชี (The Accounting Process) จากคานิยามข้างต้นจึงสรุปได้ว่า การบัญชี หมายถึงการจดบันทึกเหตุการณ์ทางการเงิน เพ่ือรวบรวม ข้อมูล นามาจาแนก จัดหมวดหมู่ สรุปผล วิเคราะห์และแปลความหมายของเหตุการณ์ทางการเงินท่ีเก่ียวข้อง กบั ธุรกิจอยา่ งมหี ลกั เกณฑ์ และให้ขอ้ มลู ทางการเงินซงึ่ เปน็ ประโยชนแ์ ก่ผู้ใช้งบการเงินดังภาพที่ 1.2 เหตุการณ์ จดบนั ทกึ จาแนก จดั ทางบการเงนิ ผู้ใช้งบการเงิน ทางการเงิน วิเคราะห์ ภาพที่ 1.2 สรุปความหมายของการบัญชี หลกั การบัญชเี บ้ืองตน้ 1 5
1.2.2 การทาบัญชี (Bookkeeping) เป็นสว่ นหน่ึงของการบญั ชี หมายถึง การจดบันทึกเหตุการณ์ ทางการเงนิ ในสมุดบนั ทึกรายการข้ันตน้ และจัดหมวดหมู่บัญชี โดยแยกประเภทรายการน้นั ๆ แลว้ ทาสรปุ ผล เพื่อจดั ทาเปน็ รายงานทางการเงิน สามารถสรปุ ได้ดังตอ่ ไปน้ี การบัญชี (Accounting) การทาบญั ชี (Bookkeeping ) การจดบันทกึ รายการ (Recording) เหตุการณท์ าง สมดุ รายวัน สรุปผล การเงนิ สมุดแยกประเภท จดั ทารายงานทางการเงนิ (Accounting Report) - งบแสดงฐานะการเงนิ - งบกาไรขาดทนุ - งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจา้ ของ - งบกระแสเงนิ สด - นโยบายบญั ชีและหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน การวิเคราะหแ์ ละแปลความหมาย (Analysis and Interpreting) ภาพที่ 1.3 สรปุ ความหมายการทาบญั ชี หลักการบญั ชีเบอื้ งตน้ 1 6
1.3 วตั ถปุ ระสงค์ของการทาบัญชี 1.3.1 เพือ่ จดบนั ทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของกจิ การตามลาดับเหตุการณ์ก่อนหลงั อยา่ งเป็นระบบ และสามารถตรวจสอบได้ในภายหลัง 1.3.2 เพอ่ื ให้ทราบฐานะการเงนิ ของกจิ การ ณ วันใดวันหนึ่ง วา่ กจิ การมีสินทรัพย์ หนส้ี นิ และสว่ นของ เจา้ ของเป็นจานวนเทา่ ใด 1.3.3 เพอ่ื ให้ทราบผลการดาเนินงานในรอบระยะเวลาใดเวลาหน่งึ ว่าผลการดาเนนิ งานของกจิ การใน ช่วงเวลาทผ่ี ่านมาเกิดผลกาไรหรือขาดทุนจากการดาเนนิ งานเป็นจานวนเท่าใด 1.3.4 เพ่ือใหเ้ จา้ ของกิจการสามารถควบคุมรกั ษาทรัพย์สนิ ปอ้ งกนั การทจุ ริต หรอื สูญหายในทรัพย์สิน ของกิจการ 1.3.5 เพื่อใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการตัดสนิ ใจ วางแผนการดาเนินงานของกิจการในดา้ นตา่ ง ๆ และควบคุมกร ดาเนินงานใหป้ ระสบความสาเร็จตามเปา้ ประสงค์ของกจิ การ 1.3.6 เพ่ือให้ถูกต้องและเป็นไปตามพระราชบัญญตั ิการบญั ชี 1.4 ประโยชน์ของขอ้ มลู ทางการบญั ชีและผูใ้ ชข้ อ้ มูลทางการบัญชี 1.4.1 ประโยชน์ของข้อมลู ทางการบัญชี 1) ทาใหก้ ิจการสามารถวัดความสาเรจ็ และความมนั่ คง จากผลการดาเนินงานในรอบระยะเวลา ท่ีผา่ นมา คอื ทาใหท้ ราบถึงผลการดาเนินงานและฐานะการเงินของกจิ การ 2) ทาให้กิจการมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ การวางแผนการดาเนินงานในด้านต่าง ๆ ท้ังยัง เปน็ เครือ่ งมอื ที่ช่วยให้ผูบ้ ริหารสามารถดาเนนิ งานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 3) ทาให้ฝ่ายบริหารทราบถึงข้อบกพร่องจากการดาเนินงานในรอบระยะเวลาที่ผ่านมา เพื่อที่จะ นาไปเปน็ แนวทางในการปรับปรงุ หรอื แก้ไขการดาเนินงานในอนาคตให้เกิดประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึ้น 4) เป็นเคร่ืองมือในการจัดหาแหล่งเงินทุนในการดาเนนิ งานของกิจการ ซ่งึ ใช้ขอ้ มูลทางการบัญชี เปน็ หลักฐานในการสรา้ งความเชอ่ื ม่นั ใหก้ ับสถาบนั การเงิน 5) ช่วยในการวางแผนในการนาส่งภาษอี ากรไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย หลักการบญั ชีเบอื้ งตน้ 1 7
1.4.2 ผูใ้ ช้ข้อมลู ทางการบัญชี ผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชี (Users of Accounting Information) คือผู้ใช้ประโยชน์จากรายงานทางการ บัญชี ประกอบไปด้วย เจ้าของกิจการ ผู้บริหาร ผู้ลงทุน ลูกจ้าง ผู้ให้กู้ ผู้ขายสินค้า หรือเจ้าหน้ีการค้า ลูกค้า รฐั บาลและหน่วยงานราชการ รวมไปถึงสาธารณะชน ซ่ึงผู้ใช้ข้อมูลทางการบัญชีต่างมีความต้องการใช้ข้อมูลที่ แตกต่างกนั ดังน้ี 1) เจา้ ของกิจการ (The Owner) ใช้ขอ้ มลู ทางการบญั ชเี พ่อื ประกอบการวางแผนการ ดาเนนิ งาน การกาหนดนโยบายของกิจการ การตดั สนิ ใจเกีย่ วกับการดาเนินงานในดา้ นตา่ ง ๆ 2) ผู้บริหาร (Manager) ใช้ข้อมูลทางบัญชีในการบริหารจัดการเพื่อให้การดาเนินงานประสบ ความสาเร็จตามนโยบายที่ได้รับจากเจ้าของกิจการ สาหรับกิจการประเภทห้างหุ้นส่วน และบริษัทนั้น เจ้าของกจิ การอาจจะเปน็ บุคคลเดียวกนั กับเจา้ ของกจิ การหรือไมก่ ็ได้ 3) ผู้ลงทุน (Investor) จะใช้ข้อมูลทางบัญชีเพื่อประกอบการตัดสินใจในการท่ีจะเข้ามาร่วม ลงทุนในกิจการ โดยผู้ลงทุนจะพิจารณาจากฐานะการเงินและความม่ันคงของกิจการ รวมท้ังผลกาไรจากการ ดาเนินงาน และประเมนิ ความสามารถของกจิ การในการจ่ายเงนิ ปันผลดว้ ย 4) ลกู จ้าง รวมทัง้ กลุ่มตัวแทนต้องการขอ้ มูลเก่ียวกับความมัน่ คง และความสามารถในการทา กาไรของนายจา้ ง นอกจากนั้นยงั ต้องการข้อมูลทจี่ ะชว่ ยให้สามารถประเมนิ ความสามารถของกจิ การในการจา่ ย คา่ ตอบแทน บาเหนจ็ บานาญ และโอกาสในการจ้างงาน 5) ลูกค้าและซัพพลายเออร์ (Customer and Suppliers) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพ่ือ ประกอบการตัดสินใจทีจ่ ะทาธุรกิจร่วมกับกิจการ โดยจะพจิ ารณาจากผลการดาเนินงาน ฐานะทางการเงิน และ สภาพคลอ่ งของกิจการในรอบระยะเวลาบัญชีที่ผ่านมา 6) ผ้ใู ห้กู้ (Lenders) ใชข้ ้อมลู ทางการบญั ชี เพ่ือพิจารณาการใหเ้ ครดิตกับกจิ การ โดยพิจารณา จากฐานะทางการเงิน ผลการดาเนินงานของกิจการเพ่ือวิเคราะห์ว่ากิจการจะมีความสามารถในการจ่ายชาระ หน้แี ละดอกเบ้ียได้ในระดบั ใด 7) เจ้าหน้ีการค้า (Trade Creditor) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพ่ือประกอบการตัดสินใจที่จะทา ธุรกิจร่วมกับกิจการ และพิจารณาว่าในการขายสินค้าเป็นเงินเช่ือให้กับกิจการจะได้รับการชาระหน้ีภายใน กาหนดเวลาหรือไม่ 8) รัฐบาลและหน่วยงานราชการ (Government and Their Agencies) จะใช้ข้อมูล ทางการบัญชีเพื่อประโยชน์ในการกากับดูแล การจัดเก็บภาษี กาหนดนโยบายทางภาษีอากร คานวณรายได้ ประชาชาติ และจัดทาสถติ ิดา้ นต่าง ๆ หลักการบญั ชีเบอ้ื งต้น 1 8
9) สาธารณะชน เป็นบุคคลท่ัวไปท่ีไม่มีส่วนเก่ียวข้องโดยตรงกับกิจการ แต่มีความสนใจข้อมูล ทางการบัญชี เช่น นักศึกษา หรือสถาบันการศึกษา ต้องการนาข้อมูลไปใช้ในการศึกษา หรือสื่อมวลชนที่ ตอ้ งการขอ้ มูลเพื่อนาไปใชใ้ นการนาเสนอข่าว รวมไปถึงการศึกษาว่าการดาเนินงานของกจิ การน้ันส่งผลกระทบ ต่อการจ้างงาน และการรับซ้ือสนิ ค้าจากผ้ผู ลิตในทอ้ งถน่ิ หรอื ไมอ่ ย่างไร เช่น กิจการอาจมีสว่ นช่วยอย่างมากต่อ เศรษฐกิจท้องถิ่นในหลายด้าน ซึ่งรวมถึงการจ้างงาน และการรับซ้ือสินค้าจากผู้ผลิตในท้องถิ่น งบการเงินจะ ช่วยสาธารณชนในการใหข้ ้อมูลเก่ียวกับแนวโนม้ ความสาเรจ็ และกจิ กรรมการดาเนินงานต่างๆ 1.5 หนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ งกับวิชาชพี บญั ชี 1.5.1 สภาวิชาชีพบัญชี (Federation of Accounting Professions) เป็นหน่วยงานท่ีจัดต้ังข้ึน ตามพระราชบญั ญัติวชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2557 หมวด 1 มาตรา 7 ซง่ึ มีฐานะเปน็ นิติบุคคล โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมและพฒั นาวิชาชีพบัญชี ซ่ึงมอี านาจหน้าท่ดี งั นี้ 1) สง่ เสรมิ การศึกษา การอบรม และการวิจยั เกย่ี วกับวิชาชีพบัญชี 2) ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก จัดสรรสวัสดิการและการสงเคราะห์ ระหว่างสมาชิก 3) กาหนดมาตรฐานการบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี และมาตรฐานอ่ืนท่ีเกี่ยวกับ วชิ าชพี บญั ชี 4) กาหนดจรรยาบรรณผปู้ ระกอบวิชาชีพบัญชี 5) รับข้ึนทะเบียนการประกอบวิชาชีพบัญชี ออกใบอนุญาต พักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตผู้ ประกอบวิชาชีพบัญชี 6) รับรองปริญญา หรือประกาศนียบัตรในวิชาการบัญชีของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เพื่อ ประโยชน์ในการรบั สมัครเปน็ สมาชิก 7) รบั รองความรู้ ความชานาญในการประกอบวชิ าชพี บญั ชี 8) รับรองหลักสูตรการฝึกอบรมเป็นผู้ชานาญการและการศึกษาต่อเนื่องในด้านต่าง ๆ ของผู้ ประกอบวิชาชพี บัญชี 9) ควบคุมความประพฤติและการดาเนินงานของสมาชิกและผู้ข้ึนทะเบียนอันเกี่ยวกับการ ประกอบวชิ าชพี บญั ชีให้ถกู ตอ้ งตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพบัญชี 10) ชว่ ยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และให้บริการแก่ประชาชนเกีย่ วกบั วิชาชพี บัญชี 11) ออกขอ้ บังคับสภาวชิ าชพี บญั ชี หลักการบัญชเี บ้ืองตน้ 1 9
12) เป็นตวั แทนของผ้ปู ระกอบวชิ าชพี บญั ชี 13) ใหค้ าปรึกษาและเสนอแนะตอ่ รฐั บาลเกี่ยวกับนโยบายและปัญหาของวชิ าชีพบญั ชี 14) ดาเนนิ การอน่ื เพื่อให้เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์และอานาจหนา้ ทีข่ องสภาวิชาชพี บญั ชีตาม พระราชบญั ญตั วิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 1.5.2 กรมสรรพากร (The Revenue Department) เป็นส่วนราชการระดับกรม สังกัด กระทรวงการคลัง มีหน้าที่ในการจัดเก็บภาษีจากประชาชน โดยภาษีที่จัดเก็บน้ันจะคิดคานวณมาจากฐาน รายได้และฐานการบริโภคภายในประเทศ ซ่ึงภาษีท่ีจัดเก็บจากประชาชนนั้นถือเป็นรายได้หลักของประเทศ ไดแ้ ก่ 1) ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา 2) ภาษีเงินไดน้ ิตบิ คุ คล 3) ภาษมี ลู ค่าเพ่ิม 4) ภาษธี ุรกิจเฉพาะ 5) อากรแสตมป์ 1.5.3 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (Department of Business Development) เป็นกรมท่ีได้ เปลี่ยนช่ือมาจากกรมเดิม คือ \"กรมทะเบียนการค้า \" (Department of Commercial Registration) ตามผล การปฏิรูปราชการ คร้ังใหญ่ ท่ีใช้บังคับมาต้ังแต่ วันท่ี 3 ตุลาคม 2545 ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 5 ) พ.ศ. 2545 และพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และเปดิ ให้บรกิ ารดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้ 1) การจดทะเบยี นธรุ กิจ 2) การรับรองและตรวจคน้ ทะเบยี นธุรกิจ 3) งานบัญชีและสอบบัญชี 4) งานส่งเสรมิ การพัฒนาธุรกิจ 5) การสง่ งบการเงนิ และบญั ชรี ายชื่อผู้ถอื หุ้น 6) การจดั ซอื้ จัดจา้ ง 7) งานด้านพาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ 8) งานธรุ กิจส่วนภมู ิภาค 9) การบริการขอ้ มูลธรุ กิจ หลกั การบัญชเี บือ้ งตน้ 1 10
1.5.4 หน่วยงานอ่ืน ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั วชิ าชพี บัญชี ไดแ้ ก่ สญั ลักษณ์ ชือ่ หน่วยงาน เวบ็ ไซต์ ตลาดหลกั ทรัพย์แห่งประเทศไทย www.set.or.th ธนาคารแห่งประเทศไทย www.bot.or.th สภาอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย www.fti.or.th สภาหอการค้าไทย www.thaiechamber.org สมาคมธนาคารไทย www.tba.or.th สานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดิน www.oag.go.th สานักงานคณะกรรมการกากับหลกั ทรัพยแ์ ละ www.sec.or.th ตลาดหลกั ทรัพย์ สานกั งานคณะกรรมการกากับและส่งเสรมิ การ www.oic.or.th ประกอบธรุ กิจประกันภยั www.accaglobal.com ACCA (the Association of Chartered Certified Accountants) International Federation of Accountants www.ifac.org International Accounting Standards www.iasb.org Board ท่มี า http://www.fap.or.th หลักการบัญชเี บ้อื งต้น 1 11
1.6 กรอบแนวคดิ สาหรบั การรายงานทางการเงิน ด้วยสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกันได้นาไปสู่การใช้นิยามขององค์ประกอบของงบการเงินท่ีแตกต่างกัน เช่น สินทรัพย์หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย สภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกันยังได้ทาให้มีการใช้ เกณฑ์ที่ต่างกันสาหรับการรับรู้รายการในงบการเงนิ และความนิยมใช้เกณฑก์ ารวัดมูลค่าท่ีแตกต่างกัน ขอบเขต ของงบการเงินและการเปดิ เผยข้อมูลในงบการเงินย่อมไดร้ ับผลกระทบดว้ ยเช่นกัน ดังนั้น กรอบแนวคิดสาหรับ การรายงานทางการเงิน จึงเป็นกรอบแนวคิดที่กาหนดข้ึนเพื่อ จะลดความแตกต่างดังกล่าว โดยหาทางที่จะทา ให้กฎระเบียบ มาตรฐานการบัญชีและกระบวนการเก่ียวกับการจัดทาและนาเสนองบการเงินมีความ สอดคล้องกัน โดยแนวทางท่ีดีท่ีสุดเพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกันมากข้ึน คือ การมุ่งเน้นไปท่ีงบการเงิน ซงึ่ จดั ทาเพอื่ วัตถปุ ระสงค์ในการให้ขอ้ มลู ทม่ี ีประโยชนต์ อ่ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ กรอบแนวคิดนี้ไม่ใช่มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ดังน้ันจึงไม่ได้กาหนดมาตรฐานต่างๆ สาหรับ ประเด็นการวัดมูลค่าหรือการเปิดเผยข้อมูลในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง กรอบแนวคิดนี้ไม่มีเรื่องใดที่อยู่เหนือกว่า มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ 1.6.1 วัตถุประสงคข์ องกรอบแนวคดิ 1) เพื่อพัฒนามาตรฐานการรายงานทางการเงินในอนาคตและทบทวนมาตรฐานการรายงาน ทางการเงนิ ที่มอี ยู่ 2) เพื่อส่งเสริมการทาให้กฎระเบียบ มาตรฐานการบัญชีและกระบวนการเก่ียวกับการ นาเสนองบการเงินสอดคล้องกันโดยให้เกณฑ์เพื่อลดวิธีปฏิบัติทางบัญชีที่เป็นทางเลือกตามที่มาตรฐานการ รายงานทางการเงนิ อนุญาต 3) เพื่อช่วยหน่วยงานกาหนดมาตรฐานการรายงานทางการเงินของประเทศพัฒนามาตรฐาน การรายงานทางการเงนิ ของประเทศ 4) เพ่ือช่วยผู้จัดทางบการเงินปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและจัดการกับ ประเด็นที่ยังไม่ไดน้ ามาพิจารณากาหนดเป็นมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ 5) เพ่ือช่วยผู้สอบบัญชีในการแสดงความเห็นว่า งบการเงินเป็นไปตามมาตรฐานการรายงาน ทางการเงนิ หรอื ไม่ 6) เพ่ือช่วยผู้ใช้งบการเงินตีความข้อมูลท่ีแสดงในงบการเงินซ่ึงได้จัดทาขึ้นตามมาตรฐานการ รายงานทางการเงิน และ 7) เพื่อให้ขอ้ มูลแก่ผสู้ นใจงานของคณะกรรมการฯ เก่ียวกับแนวทางการกาหนดมาตรฐานการ รายงานทางการเงนิ หลกั การบัญชเี บอ้ื งตน้ 1 12
1.6.2 ขอบเขต ขอบเขตของกรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน ได้กาหนดเกี่ยวกับเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี 1) วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงิน คือ การให้ข้อมูลทางการเงินเก่ียวกับกิจการท่ี เสนอรายงานท่ีมีประโยชน์ตอ่ ผู้ลงทุน ผู้ใหก้ ู้ยืม หรือเจา้ หนอี้ ่ืนทั้งในปจั จุบนั และในอนาคตเพื่อตัดสินใจเกยี่ วกับ การใหท้ รพั ยากรแก่กจิ การ การตัดสินใจเหล่านีเ้ ก่ยี วกับ การซอื้ ขาย หรือถอื ตราสารทุนและตราสารหนแี้ ละการ ให้หรอื ชาระเงนิ กู้และสินเชอ่ื ในรูปแบบอืน่ 2) ลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางการเงินที่มีประโยชน์ การให้ข้อมูลทางการเงินมี ประโยชน์ข้อมูลนั้นต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและเป็นตัวแทนอันเท่ียงธรรมของส่ิงท่ีต้องการนาเสนอ ประโยชน์ของข้อมูลทางการเงินจะเพิ่มข้ึนถ้าข้อมูลน้ันเปรียบเทียบได้ พิสูจน์ยืนยันได้ ทันเวลาและเข้าใจได้ แบง่ ออกเป็น (1) ลักษณะเชิงคุณภาพพ้ืนฐาน คือ ความเก่ียวข้องกับการตัดสินใจและความเป็น ตวั แทนอนั เที่ยงธรรม - ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ข้อมูลทางการเงินที่เก่ียวข้องกับการตัดสินใจ สามารถทาให้ผู้ใช้ตัดสินใจแตกต่างไป แม้ว่าผู้ใช้บางรายเลือกที่จะไม่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลหรือได้รับทราบ ขอ้ มูลแลว้ จากแหลง่ อน่ื แล้ว ข้อมูลทางการเงินมีคณุ ค่าทางการพยากรณ์ ถ้าข้อมูลนั้นสามารถใช้เป็นข้อมูลนาเข้า สู่กระบวนการทผ่ี ใู้ ช้ใชใ้ นการพยากรณผ์ ลลพั ธ์ในอนาคต ข้อมูลทางการเงินมีคุณค่าทางการยืนยัน ถ้าข้อมูลนั้นให้ข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับ (การยนื ยันหรือการเปลย่ี นแปลง) การประเมนิ ในอดตี - ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม รายงานทางการเงินเป็นตัวแทนปรากฏการณ์เชิง เศรษฐกิจในรูปของข้อความและตัวเลข ข้อมูลทางการเงินท่ีมปี ระโยชน์ต้องไม่เป็นเพียงตัวแทนปรากฏการณ์ที่ เก่ียวข้องกับการตัดสินใจ แต่ต้องเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมของปรากฏการณ์ท่ีข้อมูลนั้นนาเสนอด้วย ในการ เป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมอย่างสมบูรณ์ ภาพท่ีแสดงควรมี 3 ลักษณะคือ ครบถ้วน เป็นกลาง และปราศจาก ข้อผิดพลาด ท้ังน้ีความสมบูรณ์ดังกล่าวน้ันเกิดขึ้นได้ยากหรืออาจไม่เกิดข้ึนเลย แต่วัตถุประสงค์คือ การทาให้ ข้อมูลมีคณุ ภาพดงั กลา่ วมากที่สุดเท่าท่ีจะเปน็ ไปได้ (2) ลักษณะเชงิ คณุ ภาพเสรมิ คอื ความสามารถเปรียบเทียบได้ ความสามารถพิสจู น์ ยืนยนั ได้ ความทนั เวลาและความสามารถเขา้ ใจได้ - ความสามารถเปรียบเทียบได้ การตัดสินใจของผู้ใช้เก่ียวข้องกับการเลือกระหว่าง ทางเลือกต่างๆ ดังนั้น ข้อมูลเกี่ยวกับกิจการที่เสนอรายงานจะมีประโยชน์มากขึ้นหากข้อมูลน้ันสามารถ เปรียบเทียบได้กับข้อมูลที่คล้ายกันเกี่ยวกับกิจการอ่ืนและสามารถเปรียบเทียบได้กับข้อมูลที่คล้ายกันเก่ียวกับ กิจการเดียวกนั น้ันสาหรับรอบระยะเวลาอ่นื หรอื ณ วนั ทีอ่ ่ืน หลักการบญั ชีเบ้ืองตน้ 1 13
- ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ ความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ช่วยให้ความเชื่อมั่น แก่ผูใ้ ช้วา่ ขอ้ มูลเปน็ ตวั แทนอนั เทีย่ งธรรม ความสามารถพสิ ูจน์ยืนยนั ได้หมายความว่า ผู้สังเกตการณร์ ายตา่ งๆที่ มีความรอบรู้และมีความเป็นอิสระสามารถได้ข้อสรุปตรงกันแต่ไม่จาเป็นต้องเป็นข้อตกลงอย่างสมบูรณ์ว่ า ภาพนั้นเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม ข้อมูลเชิงปริมาณท่ีสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ไม่จาเป็นต้องเป็นประมาณการ ณ จุดเดียว จานวนเงินต่างๆท่ีเป็นไปได้ซึ่งแสดงเป็นช่วงและความน่าจะเป็นท่ีเกี่ยวข้องเป็นข้อมูลที่สามารถ พสิ จู นย์ นื ยันได้เช่นกัน ความสามารถพสิ จู น์ยืนยันได้อาจเปน็ ทางตรงหรอื ทางอ้อม ความสามารถพิสูจน์ยืนยันทางตรง หมายถึง การพสิ ูจน์จานวนหรือการเป็นตัวแทน อนื่ ด้วยการสังเกตโดยตรง เช่น การนบั เงินสด ความสามารถพิสูจนย์ ืนยันทางอ้อม หมายถึง การตรวจสอบปจั จยั นาเข้าแบบจาลอง สูตร หรือการใช้เทคนิคอ่ืนและคานวณ ผลลัพธ์อีกครั้งด้วยระเบียบวิธีท่ีเหมือนกัน เช่น การพิสูจน์มูลค่าตาม บัญชีของสินค้าคงเหลือด้วยการตรวจสอบปัจจัยนาเข้า (ปริมาณและต้นทุน) และคานวณสินค้าคงเหลือปลาย งวดอีกครง้ั ดว้ ยข้อสมมตกิ ารหมนุ เวียนต้นทนุ วิธีเดยี วกัน - ความทันเวลา ความทันเวลา หมายถึง การมีข้อมูลพร้อมให้ผู้ตัดสินใจทันเวลาที่ ข้อมูลสามารถมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจ โดยทั่วไป ข้อมูลยิ่งย้อนอดีตนานขึ้น ข้อมูลย่ิงมีประโยชน์น้อยลง แต่ข้อมูลบางอย่างอาจยังถือว่าทันเวลาไปเป็นระยะเวลานานหลังส้ินรอบระยะเวลารายงาน ด้วยเหตุผล เช่น ผใู้ ชบ้ างรายอาจจาเป็นตอ้ งระบแุ ละประเมินแนวโน้มต่างๆ - ความสามารถเข้าใจได้ การจัดประเภท การกาหนดลักษณะ และการนาเสนอ ขอ้ มลู อยา่ งชัดเจนและกระชบั ทาให้ข้อมลู นั้นสามารถเข้าใจได้ ข้อจากัดด้านต้นทุนต่อการรายงานทางการเงินที่มีประโยชน์ ต้นทุนเป็นข้อจากัดเสมอของ ข้อมูลที่สามารถแสดงด้วยการรายงานทางการเงนิ การรายงานข้อมูลทางการเงินมตี ้นทุนและประเด็นสาคัญคือ ต้นทุนนั้นต้องคุ้มกับประโยชน์ของการรายงานข้อมูลนั้น การรายงานข้อมูลทางการเงินท่ีเก่ียวข้องกับการ ตดั สนิ ใจและเปน็ ตัวแทนอันเทย่ี งธรรมของข้อมูลท่ีนาเสนอชว่ ยผู้ใช้ให้ตัดสินใจดว้ ยความเชื่อมัน่ ย่ิงข้ึน ซ่ึงส่งผล ให้การทาหน้าที่ของตลาดทุนมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้นและต้นทุนเงินทุนต่าลงสาหรับเศรษฐกิจในภาพรวม ผ้ลู งทุน ผูใ้ หก้ แู้ ละเจา้ หน้อี ืน่ แตล่ ะรายยงั ได้ รับประโยชนจ์ ากการตัดสนิ ใจบนพื้นฐานของขอ้ มูลได้ดยี ่งิ ข้ึน 3) คานิยาม การรับรู้รายการและการวัดมูลค่าองคป์ ระกอบของโครงสรา้ งงบการเงิน ข้อสมมติฐานทางบัญชี เป็นหลักเกณฑ์ที่สาคัญในการจัดทางบการเงิน ประกาศสภาวิชาชีพ บัญชีท่ี 35/2557 เร่ือง กรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน (ปรับปรุง 2557) ได้ให้คานิยามไว้ดังนี้ - การดาเนินงานต่อเน่ือง (Going Concern) โดยท่ัวไป งบการเงินจัดทาขึ้นตาม ขอ้ สมมติที่ว่ากิจการจะดาเนินงานอย่างต่อเนื่องและดารงอยูต่ ่อไปในอนาคตท่ีคาดการณ์ได้ ดงั น้ัน จึงสมมติว่า กิจการไม่มีเจตนาหรือมีความจาเป็นที่จะเลิกกิจการหรือลดขนาดของการดาเนินงานอย่างมีสาระสาคัญหาก หลกั การบัญชีเบ้ืองต้น 1 14
กิจการมีเจตนาหรือความจาเป็นดังกล่าว งบการเงินอาจต้องจัดทาโดยใช้เกณฑ์อื่น และต้องเปิดเผยเกณฑ์น้ัน ในงบการเงิน องค์ประกอบของงบการเงิน องค์ประกอบซ่ึงเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงิน ได้แก่ สินทรัพย์หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ องค์ประกอบซ่ึงเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดผลการดาเนินงานในงบกาไร ขาดทนุ ได้แก่ รายได้และค่าใช้จ่าย ซงึ่ คานยิ ามขององคป์ ระกอบตา่ งๆ กาหนดไว้ดงั น้ี - สนิ ทรัพย์ (Assets) หมายถงึ ทรัพยากรท่ีอยู่ในความควบคมุ ของกิจการ ทรัพยากร ดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรน้ันใน อนาคต - หน้ีสิน (Liabilities) หมายถงึ ภาระผกู พันในปัจจบุ ันของกจิ การ ซึ่งเป็นผลของ เหตกุ ารณใ์ นอดตี โดยการชาระภาระผกู พนั นั้นคาดว่าจะส่งผลใหก้ จิ การสูญเสียทรัพยากรท่ีมีประโยชนเ์ ชิง เศรษฐกจิ - ส่วนของเจา้ ของ (Owner’s Equity) หมายถึง ส่วนได้เสยี คงเหลือในสินทรัพย์ของ กจิ การหลงั จากหกั หนสี้ ินทั้งสิ้นออกแล้ว - รายได้ หมายถึง การเพิ่มข้ึนของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีใน รูปกระแสเข้าหรือการเพ่ิมค่าของสินทรัพย์ หรือการลดลงของหน้ีสิน อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของเพ่ิมขึ้น ทั้งนี้ ไมร่ วมถงึ เงนิ ทนุ ทีไ่ ด้รับจากผู้มีส่วนรว่ มในสว่ นของเจา้ ของ - ค่าใช้จ่าย หมายถึง การลดลงของประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบญั ชใี น รูปกระแสออกหรือการลดค่าของสินทรัพย์ หรือการเพ่ิมข้ึนของหน้ีสิน อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง ท้ังน้ี ไม่รวมถึงการแบ่งปันใหก้ ับผมู้ สี ่วนรว่ มในส่วนของเจ้าของ การรับรู้รายการขององค์ประกอบของงบการเงิน การรับรู้รายการคือ การแสดงรายการใน งบดลุ หรอื งบกาไรขาดทนุ ดว้ ยขอ้ ความและจานวนเงิน พรอ้ มกับรวมจานวนเงินนั้นในยอดรวมของงบดุลหรอื งบ กาไรขาดทุนดังกล่าว กิจการต้องรับรรู้ ายการที่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการไว้ในงบดุลและงบกาไรขาดทุน การที่ กจิ การมิได้รับรู้รายการในงบดุลหรืองบกาไรขาดทุนท้ังที่เข้าเกณฑ์การรับรู้รายการถือเป็นข้อผิดพลาดท่ีไม่อาจ แก้ไขได้ด้วยการเปิดเผยนโยบายการบัญชีที่ใช้หรือการเปิดเผยข้อมูลในหมายเหตุประกอบงบการเงินหรือ คาอธบิ ายเพิม่ เตมิ รายการทเ่ี ปน็ ไปตามคานิยามขององค์ประกอบให้รับรเู้ มื่อเขา้ เง่ือนไขทุกข้อ ดังตอ่ ไปนี้ (1) มคี วามเปน็ ไปได้ค่อนข้างแน่ท่ีกิจการจะได้รับหรือสูญเสียประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ในอนาคต และ (2) มีราคาทุนหรอื มลู คา่ ทส่ี ามารถวดั ได้อย่างน่าเชื่อถือ การวัดมูลค่าองค์ประกอบของงบการเงิน การวัดมูลค่า คือ กระบวนการกาหนดจานวนท่ี เป็นตัวเงินเพ่ือรับรู้ องค์ประกอบของงบการเงินในงบแสดงฐานะการเงินและงบกาไรขาดทุน การวัดมูลค่าจะ เก่ยี วขอ้ งกับการเลือกใชเ้ กณฑ์การวดั มลู คา่ ได้แก่ หลักการบัญชเี บื้องตน้ 1 15
(1) ราคาทุนเดิม หมายถึง การบันทึกสินทรัพย์ด้วยจานวนเงินสดหรือรายการ เทียบเทา่ เงินสดท่จี า่ ยหรอื ดว้ ยมลู คา่ ยุตธิ รรมของส่ิงทน่ี าไปแลกสินทรัพย์ ณ เวลาทีไ่ ดม้ าซึ่งสนิ ทรพั ย์นัน้ (2) ราคาทุนปัจจุบัน หมายถึง การแสดงสินทรัพย์ด้วยจานวนเงินสดหรือรายการ เทยี บเทา่ เงินสดทตี่ ้องจา่ ยในขณะน้ันเพ่อื ใหไ้ ด้มาซงึ่ สนิ ทรัพยช์ นิดเดยี วกันหรือสินทรัพย์ทเี่ ทา่ เทียมกนั (3) มูลค่าท่ีจะได้รับ(จ่าย) หมายถึง การแสดงสินทรัพย์ด้วยจานวนเงินสดหรือ รายการเทยี บเทา่ เงนิ สดทจ่ี ะไดม้ าในขณะนั้น (4) มูลค่าปัจจุบัน หมายถึง การแสดงสินทรัพย์ด้วยมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด รบั สทุ ธิในอนาคตซง่ึ คาดว่าจะไดร้ บั จากสนิ ทรพั ยน์ ัน้ ในการดาเนนิ งานตามปกติของกิจการ 4) แนวคดิ ของทนุ และการรกั ษาระดบั ทนุ (1) การรักษาระดบั ทุนทางการเงิน ตามแนวคิดน้ี กาไรเกิดขึ้นเม่ือจานวนท่ีเป็นตัว เงินของสนิ ทรพั ย์สุทธเิ มอ่ื ส้นิ รอบระยะเวลาสูงกว่าจานวนที่เป็นตัวเงินของสินทรพั ย์สุทธิ เม่อื เร่มิ รอบระยะเวลา (2) การรักษาระดับทุนทางกายภาพ ตามแนวคิดนี้ กาไรเกิดข้ึนเม่ือกาลังการผลิต หรือความสามารถในการดาเนินงานของกิจการ หรือทรัพยากรหรือเงินทุนที่จาเป็นในการบรรลุกาลังการผลิต เมอ่ื สิ้นรอบระยะเวลาสูงกว่าเมอ่ื เรมิ่ รอบระยะเวลา 1.7 ลกั ษณะและประเภทของธุรกจิ 1.7.1 ลักษณะของธุรกิจ (Forms of Business Organization) การจัดต้ังธุรกิจสามารถแบ่งได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คอื 1) กิจการเจ้าของคนเดียว (Single Proprietorship) คือ กิจการขนาดย่อมท่ีมีบุคคลคน เดียวเป็นเจ้าของ กิจการประเภทน้ีใช้เงินลงทุนไม่มาก โดยเจ้าของกิจการจะเป็นควบคุมการดาเนินงานด้วย ตนเองท้ังหมด และจะเป็นผู้รับผลกาไรหรือขาดทุนแต่เพียงผู้เดียว กิจการเจ้าของคนเดียว มีอิสระในการ ตัดสินใจดาเนินงานโดยเจ้าของกิจการเพียงคนเดียว ทาให้เกิดความรวดเร็วคล่องตัวในการดาเนินงานแต่ มขี ้อเสียคอื การขยายกิจการให้ใหญ่ข้ึนทาไดย้ าก เพราะเงินทุนมีจากัด และถา้ ต้องการกู้ยืมเงินจากภายนอกจะ ทาได้ยากเพราะขาดหลักประกันในการค้าประกันการกู้ยมื เชน่ ร้านขายของชา หาบเร่ แผงลอย รา้ นมินมิ าร์ท ร้านคา้ ส่ง ร้านเสริมสวย เปน็ ต้น 2) ห้างหุ้นส่วน (Partnerships) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1012 บัญญัติว่า ห้างหุ้นส่วน คือ สัญญา ซึ่งบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงเข้ากัน เพ่ือกระทากิจการร่วมกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปันกาไรอันจะพึงได้แก่กิจการที่ทาน้ัน โดยมีลักษณะการดาเนินการคือ มีบุคคลต้ังแต่ หลกั การบญั ชีเบื้องตน้ 1 16
2 คน ขึ้นไป ร่วมลงทุนดาเนนิ ธรุ กิจโดยตกลงทาสญั ญารว่ มกันดาเนินงาน ซ่งึ อาจกระทาดว้ ยวาจาหรือเป็นลาย ลักษณ์อกั ษร แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ (1) ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnerships) คือ ห้างหุ้นส่วนประเภทที่ผู้ เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดชอบร่วมกันในหนี้สินท้ังหมดของห้างหุ้นส่วน โดยไม่จากัดจานวน ดังนั้น ผู้เป็น หุ้นส่วนทุกคนจึงมีสิทธิ ดาเนินกิจการในนามห้างหุ้นส่วนได้ ท้ังนี้ ห้างหุ้นส่วนสามัญจะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ ซ่งึ แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื - ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียนหรือห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล มีสภาพเป็นนิติ บคุ คล จะต้องใช้คาว่า หา้ งหุ้นสว่ นสามัญนติ บิ คุ คล ประกอบหนา้ ชอื่ หา้ งเสมอ - หา้ งหุ้นสว่ นสามญั ไม่จดทะเบยี น มฐี านะเป็นบคุ คลธรรมดาถา้ ผ้เู ป็นหุ้นสว่ นไมไ่ ด้ ตกลงกันไว้ในสัญญาของห้างหุ้นส่วน กฎหมายให้ถือว่า ผู้เป็นหุ้นส่วน ทุกคน มีสิทธิเข้าจัดการงานของห้าง หนุ้ ส่วนได้ (2) ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnerships) คือ ห้างหุ้นส่วนท่ีต้องจด ทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย ห้างหุ้นส่วนประเภทนี้ต้องใช้คาว่า \"ห้างหุ้นส่วนจากัด\" ประกอบหน้าชื่อ ของ ห้างหุ้นส่วนเสมอ ซึง่ มีผเู้ ปน็ ห้นุ ส่วน 2 ประเภท คือ - หุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดชอบ ผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทน้ีจะรับผิด ชอบใน หนี้สินของห้างไม่เกินจานวนท่ีตนได้ลงทุน และไม่มีสิทธิเข้าจัดการบริหารงานของห้าง มีสิทธิเพียงออก ความเห็น รบั เป็นที่ปรกึ ษาและทุนท่ีนามาลงทนุ ต้องเป็นเงิน หรอื ทรัพยส์ ินเท่าน้นั จะเป็นแรงงานไมไ่ ด้ - หุ้นส่วนประเภทรับผิดชอบในหนี้สินไม่จากัด คือ ผู้เป็นหุ้นส่วนต้องรับผิดชอบ ร่วมกันในหนี้สินของห้างที่เกิดข้ึนโดยไม่จากัดจานวน กฎหมายระบุว่า ต้องมีหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิดชอบ อย่างน้อย 1 คน ในห้างหุ้นสว่ นจากัด ซง่ึ หุน้ ส่วนประเภทน้มี ีสิทธิเขา้ จัดการบรหิ ารงานของหา้ งห้นุ ส่วนได้ และ ทุนท่ีนามาลงทนุ จะลงทนุ เป็นเงนิ ทรัพยส์ นิ หรือแรงงานกไ็ ด้ 3) บริษัทจากัด (Corporation) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1096 บญั ญัติว่า บรษิ ัทจากัด คือ บริษทั ประเภทซ่งึ ต้ังขนึ้ ด้วยแบ่งทุนเป็นหุ้นมมี ูลคา่ หุ้นเท่า ๆ กนั โดยผถู้ ือหุ้นต่างรับ ผิดจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ ในประเทศไทยบริษัทจากัด แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ (1) บริษัทเอกชนจากัด (Private Company Limited) ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ท่ีแก้ไขใหม่ มาตรา1097 บัญญัติว่า บุคคลใดๆ ต้ังแต่ 3 คนขึ้นไปจะเร่ิมก่อการและตั้งเป็น บริษัทจากัดก็ได้โดยเข้าช่ือกันทาหนังสือบริคณห์สนธิ และกระทาการอย่างอื่นตามบทบัญญัติแห่งประมวล กฎหมายน้ี ซ่ึงแตกต่างจากเดิมท่ีบัญญัติไว้ต้ังแต่ 7 คนข้ึนไป โดยการแก้ไขกฎหมายใหม่นี้ทาให้มีการจัดต้ัง บริษัทขึ้นมาใหม่ได้ง่ายข้ึน บริษัทจากัดนี้ต้ังข้ึนในรูปแบบของนิติบุคคล มีการทาหนังสือบริคณห์สนธิ ซึ่งมี รายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับบริษัทท่ีจัดตั้งขึ้น ได้แก่ ชื่อบริษัท สถานท่ีตั้งวัตถุประสงค์ ชื่อผู้ก่อการ อาชีพ หลกั การบญั ชีเบือ้ งตน้ 1 17
ผู้ก่อการ ชนิดของหุ้นที่ออกจาหน่าย จานวนหุ้น มูลค่าหุ้นและนาหนังสือบริคณห์สนธิไปจดทะเบียนท่ี กรมการคา้ กระทรวงพาณิชย์ บริษัทจากดั สามารถออกหุ้นเพ่อื จาหน่ายได้ 2 ชนิด คอื - หุ้นสามัญ (Common Stock) คือ หุ้นท่ีมีผู้ลงจองหุ้นด้วยเงิน เมื่อเร่ิมตั้งแต่มีการ ให้จองหุ้น ผู้ถอื หุ้นสามญั มีสิทธอิ อกเสียงในท่ีประชุมทกุ เรื่อง มสี ทิ ธไิ ด้เงินปนั ผล และไดร้ ับคืนทุนเมอื่ บริษัทเลิก ดาเนินกจิ การ - หนุ้ บุริมสิทธ์ิ (Preferred Stock) คือ หุ้นที่มีสิทธิพิเศษเหนือหนุ้ สามัญโดยมีสิทธิได้ เงนิ ปันผลและคนื ทนุ กอ่ นหุ้นสามัญ แต่ผ้ถู อื หุ้นบรุ มิ สิทธิไม่มีสทิ ธอิ อกเสยี งในทปี่ ระชมุ ผู้ถือหุ้นจะได้รับส่วนแบ่งกาไรในรูปเงินปันผล หุ้นอาจเปลี่ยนมือกันได้โดยการจาหน่าย หรือ โอนหุน้ ให้ผู้ลงทุนรายอนื่ ได้ โดยไม่ต้องเลิกกิจการ (2) บริษัท มหาชน จากดั (Public Company Limited) บริษัทจากัด ซึ่งตั้งขึ้น ตาม พระราชบัญญัติ บริษัท มหาชน พ.ศ. 2535 ซ่ึงมาตรา 15 แห่งพระราชบัญญัตินี้ได้บัญญัติว่า บริษทั มหาชนจากดั คอื บรษิ ทั ประเภทซึ่งตั้งขน้ึ ด้วยความประสงค์ท่จี ะเสนอขายหุ้นต่อประชาชน โดยผูถ้ ือห้นุ มี ความรับผิดจากัดไม่เกินจานวนเงินค่าหุ้นที่ต้องชาระและบริษัทดังกล่าวได้ระบุความประสงค์เช่นน้ันไว้ ในหนังสือบริคณห์สนธิ โดยมีบุคคลธรรมดาตั้งแต่ 15 คนขึ้นไปจะเร่ิมจัดต้ังบริษัทได้โดยจัดทาหนังสือ บริคณห์สนธิ และปฏิบัติการอย่างอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ โดยใช้ช่ือ ซ่ึงต้องมีคาว่า “บริษัท” นาหน้า และ “จากดั (มหาชน)” ตอ่ ท้ายหรอื จะใช้อักษรยอ่ ว่า “บมจ.” นาหน้า แทนคาว่า “บริษทั ” และ “จากัด (มหาชน)” ก็ได้ แต่ในกรณีท่ีใช้ช่ือเป็นอักษรภาษาต่างประเทศ จะใช้คาซ่ึงมีความหมายว่าเป็น “บริษัทมหาชนจากัด” ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวงแทนก็ได้ ในการจัดต้ังบริษัทนั้น ผู้เริ่มจัดต้ังบริษัทต้อง เป็นบุคคลท่ีบรรลุนิติภาวะแล้ว มีถิ่นท่ี อยู่ในราชอาณาจักรเป็นจานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนผู้เร่ิมจัดต้ังทั้งหมด ในการจองหุ้นและหุ้นท่ีจอง ท้ังหมดนั้นต้องเป็นหุ้นท่ีชาระค่าหุ้นเป็นตัวเงินรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของทุนจดทะเบียน ไม่เป็นคนไร้ ความสามารถ หรือคนเสมือนไร้ความสามารถ หรือไม่เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย และ ไม่เคยรับโทษ จาคกุ โดยคาพิพากษาถึงทีส่ ดุ ใหจ้ าคุกในความผิดเก่ยี วกับทรัพย์ท่ีไดก้ ระทาโดยทจุ รติ 1.7.2 ประเภทของธุรกิจ (Types of Business) การดาเนินงานของธรุ กิจในปัจจุบันไม่ว่าจะดาเนิน ธรุ กจิ ในเป็นลกั ษณะใดกต็ าม สามารถแบ่งประเภทของธรุ กิจเปน็ 3 ประเภท คอื 1) ธุรกิจบริการ (Service Business) เป็นธุรกิจที่ให้บริการแก่ลูกค้า ซ่ึงการดาเนินธุรกิจ ประเภทนี้ รายได้ของธุรกิจจะมาจากรายได้ค่าบริการท่ีเรียกเก็บจากลูกค้า เช่น ธุรกิจการท่องเท่ียว โรงแรม โรงพยาบาล ธนาคาร ธุรกิจการขนส่ง และธุรกิจบริการด้านความงาม เป็นต้น ซ่ึงธุรกิจบริการจะไม่มีตัวสินค้า คณุ ภาพในการให้บริการน้ันจะประเมินจากความพงึ พอใจของลกู คา้ หรือผรู้ บั บริการ หลกั การบญั ชีเบ้ืองต้น 1 18
2) ธุรกิจพาณิชยกรรม (Merchandising Business) เป็นธรุ กจิ ทีท่ าการซอื้ สินค้าสาเร็จรูป เพื่อนามาจาหน่าย หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า ธุรกิจซื้อมาขายไป ซ่ึงรายได้หลักของธุรกิจประเภทนี้ คือ รายได้ จากการขายสินค้าสินค้า การจัดทารายงานทางการเงินไม่ซับซ้อน เน่ืองจากไม่มีต้นทุนเกี่ยวกับการผลิต จะมี เพียงต้นทุนจากการซื้อสนิ ค้ามาจาหนว่ ยเท่านั้น การประกอบการของธุรกิจพาณิชยกรรมอาจจะอยู่ในลักษณะ การขายสง่ สินคา้ การขายปลีก การขายผ่อนผอ่ นชาระ และการฝากขาย เปน็ ต้น 3) ธรุ กิจอตุ สาหกรรม (Manufacturing Business) เป็นธรุ กจิ ท่ีทาการซอ้ื วัตถุดบิ แลว้ นาเข้าสู่กระบวนการผลิตเพื่อแปรสภาพ เป็นสินค้าสาเร็จรูป แล้วนาออกจาหน่าย ซ่ึงในประเทศไทยมีการ ดาเนินธุรกิจประเภทนี้เป็นจานวนมาก เช่น โรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ และมีรายได้หลกั คือรายได้จากการขาย สินค้าท่ีทาการผลิต และเกิดต้นทุนในการผลิตสินค้า ประกอบด้วย วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และ คา่ ใช้จา่ ยในการผลติ 1.8 ข้อแนะนาในการศึกษาวิชาบัญชี บัญชี ในการศกึ ษาวชิ าบญั ชี ควรปฏบิ ตั ิตามข้อแนะนาดังตอ่ ไปน้ี 1.8.1 การจัดทาบัญชีจะเก่ียวข้องกับการเขียนตัวเลข ดังน้ันเพ่ือให้การเขียนตัวเลขถูกต้องตาม หลกั การบัญชี ควรปฏิบัตติ ามขอ้ แนะนา ดังน้ี 1) การเขียนตัวเลขให้เขียนตัวเลขอารบกิ และต้องเขียนให้ชัดเจน อ่านงา่ ย สะอาด เรียบร้อย และถกู ต้อง 2) ใส่เคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) ในการแบ่งหลักเลขให้ถูกต้อง กรณีท่ีตัวเลขมีจานวน 4 หลัก ขึ้นไป เช่น 45,000.- 3) การเขียนตัวเลขหากเขยี นในช่องจานวนเงนิ ให้เขียนชิดเส้นทางขวา แต่ถา้ ไม่ไดเ้ ขยี นลง ในช่องจานวนเงนิ ใหใ้ ส่จุด ( . ) และเครื่องหมายขีด ( - ) แสดงว่าสน้ิ สดุ จานวนแล้ว เช่น 9,000.- จานวนเงิน ถกู ต้อง บาท ส.ต. ไมถ่ ูกต้อง 9,000 - 14,500 50 235,000 - 1,500,390 45 หลักการบญั ชีเบือ้ งต้น 1 19
4) เขียนจานวนเงินให้ตรงหลัก กรณีมีหลายบรรทัด เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจเช็ค และความ เป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย เชน่ 10,000.- 9,500.- 450.- 20.- 5) การเขียนวัน เดือน ปี ให้ใช้หลักเกณฑ์ดังนี้ ถ้าข้อมูลอยู่ในหน้าเดียวกันให้เขียนปี พ.ศ. เพียงครั้งเดียว การเขียนเดือน ให้ใช้อักษรย่อ เช่น เดือนกุมภาพันธ์ ให้เขียนว่า ก.พ. ถ้าข้อมูลอยู่ในหน้า เดยี วกนั ให้เขยี นเพียงคร้งั เดยี วเช่นกัน ส่วน วันที่ ใหเ้ ขียนเรยี งลาดบั รายการท่เี กดิ ขึน้ สมุดรายวันท่วั ไป หนา้ 1 พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบิต เครดติ เดอื น วันท่ี บญั ชี บาท สต. บาท สต. ก.พ. 9 คา่ สาธารณูปโภค 501 4,000 - เงนิ สด 101 4,000 - จ่ายคา่ สาธารณูปโภค 12 ลกู หน้ี 103 15,000 - 401 15,000 - รายได้ค่าบรกิ าร ใหบ้ ริการทางดา้ นบญั ชียังไมไ่ ดร้ บั เงนิ 6) หากการเขียนตัวเลข หรือตัวอักษรผิด ไม่ควรลบตัวเลขหรือตัวอักษรท่ีผิด ให้ใช้วิธีขีดเส้น ทับตัวเลขหรือตัวอักษรที่ผิด แล้วเขียนตัวเลขหรือตัวอักษรใหม่ที่ถูกต้องและลงชื่อย่อกากับไว้ เช่น ตัวเลขท่ี ถกู ตอ้ งคือ 459,000 แต่เขยี นเปน็ 495,000 แกไ้ ขใหถ้ กู ต้องโดย 459,000 495,000 หรือ ทถี่ กู ตอ้ งคอื วัสดุสานักงาน แต่เขยี นเป็น อปุ กรณ์สานักงาน แก้ไขให้ถูกต้องโดย วัสดสุ านักงาน อปุ กรณ์สานักงาน หลกั การบญั ชีเบ้ืองต้น 1 20
1.8.2 ในการจดั ทาบัญชนี น้ั ความสะอาดเรียบร้อยเป็นสิง่ สาคญั ดังนัน้ การจดบันทึกบญั ชตี อ้ งเขียนให้ ถูกต้อง สะอาด เรยี บรอ้ ย และในการเขยี นแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ จะต้องให้เขียนถกู ต้องตามมาตรฐานการบัญชี กาหนด 1.8.3 ในการศึกษาวิชาบัญชีให้เกิดความเข้าใจน้ัน ผู้เรียนควรอ่านเน้ือหาวิชาการบัญชีแต่ละเรื่องโดย ละเอียดอย่างน้อย 2 ครั้ง และอ่านรายละเอียดเน้ือหาท่ีจะเรียนก่อนล่วงหน้า หากมีเนื้อหาตอนใดไม่เข้าใจให้ สอบถามครผู ู้สอนทนั ที และทาแบบฝึกหัดด้วยตนเอง เพ่อื ฝกึ ทักษะใหเ้ ป็นผู้ทีทางานได้รวดเร็วและไมผ่ ดิ พลาด หลกั การบัญชีเบอ้ื งตน้ 1 21
แบบฝึกปฏิบตั หิ นว่ ยท่ี 1 จงตอบคาถามตอ่ ไปนี้ บญั ชี 1. จงอธบิ ายประวตั แิ ละววิ ัฒนาการของการบัญชี 2. จงอธิบายความหมายของการบญั ชี 3. จงอธบิ ายความหมายของการทาบัญชี 4. จงบอกวัตถปุ ระสงค์ของการทาบัญชี 5. ข้อมลู ทางการบัญชมี ีประโยชน์อยา่ งไร 6. ผูใ้ ชข้ อ้ มลู ทางการบญั ชีประกอบด้วยผู้ใดบา้ ง จงอธิบาย 7. จงยกตัวอย่างหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องกับวชิ าชพี บัญชี 3 หน่วยงาน พร้อมทง้ั อธบิ าย 8. จงอธิบายกรอบแนวคดิ สาหรบั การรายงานทางการเงนิ 9. ขอบเขตของกรอบแนวคดิ สาหรับการรายงานทางการเงินมกี่ ข่ี ้อ อะไรบา้ ง 10. จงบอกวตั ถุประสงค์ของกรอบแนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน มา 3 ข้อ 11. จงอธิบายสาระสาคัญข้อสมมตทิ างการบัญชี 12. ลักษณะเชิงคณุ ภาพของงบการเงินคืออะไร แบ่งเป็นกล่ี กั ษณะ อะไรบา้ ง 13. จงอธิบายลักษณะเชิงคณุ ภาพของขอ้ มูลทางการเงินที่มปี ระโยชน์ 14. จงอธิบายความหมายของคาต่อไปน้ีมาพอเข้าใจ 13.1 สินทรพั ย์ 13.2 หนีส้ ิน 13.3 ส่วนของเจา้ ของ 13.4 รายได้ 13.5 คา่ ใชจ้ ่าย 15. จงอธบิ ายลกั ษณะของการประกอบธรุ กจิ 16. จงอธิบายประเภทของการประกอบธุรกิจ 17. จงอธิบายข้อแนะนาในการศกึ ษาวิชาบัญชีมาอย่างน้อย 2 ข้อ หลักการบญั ชเี บอื้ งต้น 1 22
18. นายเอกได้จดบนั ทึกข้อมลู การซอื้ สินค้าผดิ พลาด โดยบันทึกยอดซื้อสนิ ค้า จานวน 549,000 บาท แตท่ ่ถี ูกต้องคือ 495,000 บาท จงแสดงวิธีการแก้ไขตวั เลขที่ถกู ต้องตามหลกั การบญั ชี 19. จงเขยี นตวั เลขตอ่ ไปนี้ให้ถูกต้องตามหลักการบญั ชี 1) 1500.00 2) 19450.50 3) 234590.00 4) 1345000.45 5) 10000000.00 20. จงนาตัวเลขเขยี นลงในตารางที่กาหนด ใหถ้ ูกต้องตามหลักการบัญชี จานวนเงิน บาท ส.ต. 5000 4500 3590 2950.50 145900.33 หลกั การบญั ชเี บอ้ื งต้น 1 23
คาศัพท์ (Vocabulary) บญั ชี Principle of Accounting = ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ยี วกับการบัญชี Double Entry System = ระบบบัญชคี ู่ Federation of Accounting Professions = สภาวิชาชีพบัญชี The American Institute of Certified = สมาคมนักบญั ชแี ละผตู้ รวจสอบบญั ชรี ับอนุญาต Public Accountants (AICPA) แหง่ สหรัฐอเมรกิ า Federation of Accounting Professions = สภาวชิ าชพี บัญชี ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Under the Royal Patronage of his = กรมสรรพากร Majesty the King = กรมพฒั นาธุรกจิ การค้า = การบญั ชี The Revenue Department = การจดบนั ทกึ Department of Business Development = การจาแนกหมวดหมู่ Accounting = การสรุปผล Recording = การวิเคราะห์และแปลความหมาย Classifying = รายงานทางการบญั ชี Summarizing = รายงานการบริหาร Analysis and Interpreting = รายงานเฉพาะหรือ รายงานพิเศษ Accounting Report = รายงานทางการเงนิ Managerial Report = ผใู้ ชข้ ้อมลู ทางการบญั ชี Special Report = การบญั ชีระหว่างประเทศ Financial Statement = สินทรพั ย์ Users of Accounting Information = หนี้สนิ International Accounting Standard: IAS = ส่วนของเจ้าของ Assets = รายได้ Liabilities = ค่าใชจ้ า่ ย Owner’s Equity = ราคาทุนเดิม Revenues Expenses Historical Cost หลักการบัญชีเบ้ืองตน้ 1 24
Going Concern = การดาเนินงานต่อเน่ือง Forms of Business Organization = ลกั ษณะของธุรกิจ Single Proprietorship = กิจการเจ้าของคนเดยี ว Ordinary Partnerships = กจิ การหา้ งห้นุ ส่วน Limited Partnerships = หา้ งหุน้ สว่ นจากดั Corporation = บริษัทจากัด Private Company Limited = บรษิ ทั เอกชนจากดั Public Company Limited = บรษิ ทั มหาชนจากัด Types of Business = ประเภทของธุรกจิ Service Business = ธุรกิจบริการ Merchandising Business = ธรุ กิจพาณชิ ยกรรม Manufacturing Business = ธุรกิจอตุ สาหกรรม หลกั การบญั ชเี บ้อื งตน้ 1 25
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: