การจดั กจิ กรรม 1. ครนู าเสนอเพลง Down and Up พรอ้ มแสดงทา่ ทางประกอบ (ครูสามารถคิดท่าทางประกอบเองได้) 2. นักเรียนแบ่งกลุ่มละ 2 คน ให้นักเรียนฝึกสนทนาภาษาอังกฤษที่นักเรียนเคยพูด เคยรู้จัก 2-4 ประโยค พร้อมแปลเปน็ ภาษาไทย 3. นกั เรียน 2 คน สนทนาหน้าช้นั เรยี น 4. ครูอภิปรายความสาคัญของทกั ษะการสือ่ สารภาษาองั กฤษและบทสนทนาเบอื้ งตน้ 5. นักเรียนจับกลุ่ม 6 คน ปล่อยฐาน Walk Rally บทสนทนา 4 ฐาน ได้แก่ บทสนทนาไปเท่ียวทะเล บทสนทนากฬี าที่ชอบ บทสนทนาชวนไปกนิ ขา้ ว บทสนทนาการถา่ ยรูป 6. นักเรียนสนทนาส่ือสารระหว่างกัน โดยมีกติกาว่าในทุกฐาน คู่สนทนาจะต้องไม่ซ้าคนเดิมและ ในระหว่างเดินไปตามฐานต่าง ๆ ให้ร้องเพลง Down and Up พร้อมแสดงท่าทางประกอบตลอดทาง จนกว่า จะถึงฐานสนทนา ๗. นกั เรียนอภิปรายเก่ียวกับกจิ กรรม Rally สองภาษา - ความประทบั ใจ - บทสนทนาท่นี กั เรยี นจาได้ คาศัพทใ์ หม่ทผ่ี ูเ้ รยี นไดจ้ ากกิจกรรม การวดั และประเมินผล ทดสอบการพดู บทสนทนาของนักเรียน ขอ้ เสนอแนะ 1. บทสนทนาใหร้ ะดบั ความยากอยใู่ นช่วงระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น 2. จัดฐานสนทนาให้น่าสนใจตามสถานการณข์ องบทสนทนา เพลง Down and Up Down and up, and we walk walk walk. We walk to the left, and we walk to the right. We turn one around, and we walk walk walk. ไปเทยี่ วทะเล A: Let’s go to the sea. ไปทะเลกันเถอะ B: I’d love to. ไดส้ ิ A: What will you do this holiday? วันหยุดน้ีคุณจะทาอะไร B: Where do you like to go? คุณชอบไปเท่ยี วท่ีไหนเหรอ A: Which one are you thinking about? เธออยากไปท่ีไหนละ่ B: I wanted to go to Bangsan. ฉนั อยากไปบางแสน คูม่ ือการดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการส่งเสริมนสิ ยั รกั การอ่านและการพฒั นาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 46
กฬี าทช่ี อบ A: What’s your favorite sport? กีฬา ทีช่ ่นื ชอบ ของคุณ คือ อะไร B: My favorites sport is football. กีฬา ทช่ี ่นื ชอบ ของฉนั คอื ฟุตบอล B: What sport do you like? คณุ ชอบ กีฬา อะไร A: I like golf. ฉับ ชอบ กอล์ฟ ชวนไปกนิ ขา้ ว A: Can you dinner with me tonight? คนื น้ีไปทานอาหารเยน็ ด้วยกันไหมครับ B: Yes, I’d love to come. ค่ะ ฉันยินดจี ะไปคะ่ A: Can you have lunch with me tomorrow? พรงุ่ ไปทานขา้ วกลางวันกับผมไดไ้ หม B: I’m sorry I can’t. ฉันขอโทษ ฉันคงไปไม่ได้ค่ะ A: Would you like to go to dinner tonight? คืนนีค้ ณุ อยากไปทานมือ้ คา่ หรอื เปลา่ ครบั B: Yes, I’d love to. Where should we go? ได้สิคะ เราจะไปที่ไหนกันดคี ่ะ A: I will take you to your favorite restaurant. ผมจะพาคณุ ไปรา้ นอาหารท่ีคุณโปรดครับ ถา่ ยรูป A: Excuse me, sir, will you take a picture of us? ขอโทษครบั ,คณุ , คุณจะ ถ่ายรูปใหเ้ ราได้ไหม? B: Sure. This is a really nice camera. แนน่ อน. กลอ้ งถ่ายรปู น่ีดีจรงิ ๆ . A: Thanks, my parents gave it to me. ขอบคุณ, พอ่ แม่ของฉนั ให้มา. B: How do you use it? คณุ ใช้มนั อยา่ งไร? A: You press this button here. คณุ กดปุ่มนี่ ตรงน.ี้ B: Come a little closer. Wait, that's too close. Move a little to the left. Move back a little farther. คู่มือการดาเนินงานกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมนิสยั รักการอา่ นและการพัฒนาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 47
OK, stay right there. เขา้ มาใกลอ้ ีกหน่อย. เด๋ียว, น่ันใกล้เกิน. มาทางซา้ ยอีกนิดนึง. ถอยหลังไปอีกหน่อย. โอเค, อยตู่ รงน้ัน. A: Do you mean here? คณุ หมายถงึ ตรงนใี้ ช่ไหม? B: Yes, that's good. Oh, I can't get it to work. ใช่, น่นั แหล่ะดี. โอ, ฉนั ไม่ สามารถทาให้มันทางานได้. A: You need to hold down the button for about 3 seconds. คณุ ต้องกดปุ่มค้างไวป้ ระมาณ 3 วนิ าท.ี B: OK I got it, are you ready? โอเค ฉันทาได้แล้ว, คณุ พร้อมหรอื ยัง? A: Yes. พร้อมแลว้ . B: Smile. ย้มิ . กจิ กรรมเสนอแนะ : อา่ นดงั ดงั ฟงั เพลินเพลิน เวลาตามความเหมาะสม วัตถุประสงค์ เพือ่ ให้นกั เรยี นออกเสียงคาได้ชดั เจน สอ่ื และอุปกรณ์ หนงั สือ แผ่นอ่าน การจัดกิจกรรม 1. ครเู จ้าของโครงการหรือครูประจาช้นั เตรียมแผ่นอ่าน ขอ้ ความ บทกวี ท้ังนใ้ี หเ้ หมาะกับวยั ของนักเรียน 2. แจง้ ครทู กุ ช้นั เรยี น ทุกห้องเรียน กิจกรรมทจ่ี ะจัดหลงั ชวั่ โมงสดุ ท้ายของวนั ๆ ละ ๕ – ๑๐ นาที 3. นกั เรยี นอ่านออกเสียงหนังสอื หรือแผน่ อา่ นพร้อมกันทกุ ห้องทุกชน้ั เรียน การวัดและประเมนิ ผล ๑. สงั เกตพฤติกรรมขณะอา่ นออกเสียงของนกั เรียน ๒. ตดิ ตามพฤติกรรมการอา่ น การยืมสถติ หิ นังสือ ข้อเสนอแนะ 1. ควรเตรยี มบทอ่านใหห้ ลากหลาย 2. ครทู กุ คนควรรบั ทราบกจิ กรรมและชว่ ยดแู ลจดั กจิ กรรมอยา่ งสม่าเสมอ ๓. กระตุน้ ให้นักเรียนเขา้ ห้องสมดุ เพ่ือหาหนงั สือทชี่ อบเพ่ือเตรียมอา่ นในชว่ั โมงสดุ ทา้ ยของวนั คู่มอื การดาเนินงานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นิสัยรักการอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 48
๓ แบบบนั ทึกการอา่ น การจัดกิจกรรมส่งเสริมนสิ ัยรักการอ่านเพ่ือให้นักเรียนรกั การอ่านหนังสอื แล้ว ควรต้องให้มีการบันทกึ การอ่าน เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้จักสรุปความรู้ ความคิด และการจัดระเบียบข้อมูลท่ีได้จากการอ่านอย่างมีระบบ การบันทกึ การอา่ นจึงเป็นทักษะทมี่ ีความสาคัญและจาเปน็ อย่างยง่ิ ต่อการเรยี นรู้ การบนั ทกึ จากการอ่านทีด่ ี นักเรียนจาเปน็ ตอ้ งมคี วามสามารถ ดงั น้ี 1. จับใจความสาคัญของเร่ืองได้ 2. ทราบว่าขอ้ มูลใดเกย่ี วข้องกบั เร่อื งท่ตี นต้องการศึกษา 3. มวี ธิ ีการบนั ทึกที่เป็นระบบ 4. สามารถเชื่อมโยงหัวข้อสาคัญต่าง ๆ เข้าด้วยกัน นาข้อมูลเหล่านั้นไปเขียนเป็นแผนภูมิ (diagrams) concept maps หรอื mind maps ใหเ้ ข้าใจไดง้ ่าย 5. เขียนบนั ทกึ ดว้ ยถอ้ ยคาของตนเอง 6. บันทกึ แหล่งท่ีมาของขอ้ มูลน้นั ๆ ได้อยา่ งชดั เจน แบบบันทกึ การอ่านมีหลากหลายแบบ ดงั นัน้ เพอ่ื ให้มีการบันทึกการอา่ นทเี่ หมาะสมกับวัย และแต่ละ ระดับช้ันการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงได้กาหนดแบบบันทึกการอ่าน เพ่ือเป็น แนวทางสาหรบั โรงเรียนในการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นให้เกิดประโยชน์ตอ่ การพัฒนาการอา่ นและการเขียน ต่อไป ค่มู ือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ นิสัยรกั การอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมุด ประจาปงี บประมาณ 2561 49
แบบบนั ทกึ การอา่ นระดับปฐมวัย ปก (ปรบั ใหเ้ หมาะสมกับหนา้ กระดาษ A4 พับคร่งึ ) บันทกึ การอ่านระดับปฐมวัย โรงเรียน......................................... ชื่อ........................................ช้ันอนบุ าลปที .ี่ ............ ช่อื เล่น.......................................... ครูประจาชัน้ /ครผู ู้ดแู ล.......................................... คมู่ อื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 50
หวั ขอ้ การบันทึกการอา่ น บนั ทึกการอ่านระดบั ปฐมวัย ช่อื เรือ่ ง.................................................................. ผแู้ ต่ง..................................................................... ผวู้ าดภาพประกอบ................................................ ผอู้ ่าน (.....) ครอู ่านให้ฟัง (.......) นกั เรยี นอา่ นเอง (.......) อืน่ ๆ .................. เวลาท่ใี ชอ้ า่ น.......................นาที (พน้ื ทส่ี ำหรบั ให้เด็กเขยี น/วำดรปู ) คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นิสยั รกั การอ่านและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 51
บนั ทกึ การอา่ นระดบั ปฐมวัย สรุปเร่อื ง (ครูสงั เกต ซกั ถาม พูดคุยกบั เด็ก) ข้อสังเกตของครู (.....) จดจาเรือ่ งราวได้ (.....) ถา่ ยทอดเรอื่ งราว เลา่ วาด ฯลฯ (.....) มีความกระตือรอื ร้นในการอ่าน/ฟงั (.....) สนใจซกั ถาม อารมณ์ของเด็กขณะอ่าน/ฟงั (กากบาททับรปู ภาพเพียงภาพเดียว) (.....) อน่ื ๆ .......................................... (ลงชอ่ื )............................................................................ครูผ้ตู รวจ วัน/เดอื น/ปี............................................................... คมู่ อื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 52
แบบบันทึกการอ่านระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๓ ปก (ปรับให้เหมาะสมกบั หน้ากระดาษ A4 พับคร่งึ ) บนั ทึกการอ่านระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๓ โรงเรียน......................................... ชื่อ........................................ ช้ันประถมศึกษาปที ี่............. ครูประจาชนั้ /ครูผดู้ แู ล.......................................... คู่มอื การดาเนินงานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ยั รกั การอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 53
หัวขอ้ การบนั ทึกการอ่าน บันทกึ การอ่านระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ช่ือเรื่อง..................................................................................................................... ผู้แตง่ ........................................................................................................................ ผู้วาดภาพประกอบ.................................................................................................. จานวนหน้าของหนงั สือ.................................. เวลาทใ่ี ช้อา่ น............................นาที วนั /เดอื น/ปี ท่อี ่านหนังสอื ....................................................................................... สรปุ ใจความสาคญั ของเรื่อง .............................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. .... ขอ้ คิด/ความประทบั ใจ/ประโยชน์ ที่ไดร้ บั จากเรื่องท่ีอา่ น ................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .... ................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .... ข้อสงั เกตของครู (.....) นกั เรยี นสนใจอ่าน (.....) สรปุ ได้ถกู ต้อง (.....) นักเรยี นสนใจซักถามเรื่องท่ีอา่ น (.....) อ่นื ๆ .............................................................................................. (ลงชื่อ)............................................................................ครผู ตู้ รวจ วนั /เดอื น/ป.ี .......................................................... ค่มู ือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการสง่ เสริมนิสยั รักการอา่ นและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 54
แบบบันทกึ การอ่านระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ - ๖ ปก (ปรบั ใหเ้ หมาะสมกับหนา้ กระดาษ A4 พบั ครง่ึ ) บันทึกการอ่านระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 โรงเรียน......................................... ชื่อ........................................ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี............. ครูประจาชั้น/ครผู ู้ดูแล.......................................... คู่มอื การดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ นสิ ยั รกั การอา่ นและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 55
หวั ข้อการบันทกึ การอ่าน บันทึกการอา่ นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 ชอ่ื เรื่อง..................................................................................................................... ผู้แต่ง........................................................................................................................ ผูว้ าดภาพประกอบ.................................................................................................. จานวนหนา้ ของหนงั สือ..................................... เวลาทีใ่ ชอ้ ่าน.........................นาที วัน/เดือน/ปี ที่อ่านหนังสอื ....................................................................................... สรปุ ใจความสาคญั ของเร่ือง ............................................................................................................... .................. ............................................................................................................................. .... ข้อคิด/ความประทบั ใจ/ประโยชน์ ที่ไดร้ ับจากเรื่องที่อา่ น ................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .... สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ในเรอ่ื งใด ............................................................................................................................... .. ............................................................................................................................. .... ข้อสังเกตของครู (.....) นกั เรยี นสนใจอ่าน (.....) สรปุ ไดถ้ กู ต้อง (.....) นักเรียนสนใจซักถามเรื่องท่ีอา่ น (.....) สามารถระบเุ รื่องทจ่ี ะนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ (.....) อนื่ ๆ .............................................................................................. (ลงชือ่ )............................................................................ครผู ตู้ รวจ วนั /เดอื น/ป.ี .......................................................... คูม่ ือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสยั รกั การอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 56
แบบบันทกึ การอ่านระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ - ๖ ปก (ปรับให้เหมาะสมกบั หนา้ กระดาษ A4 พับคร่งึ ) บันทึกการอา่ นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษา โรงเรยี น......................................... ชอื่ ........................................ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที .่ี ............ ครปู ระจาชน้ั /ครผู ดู้ แู ล.......................................... คมู่ ือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอา่ นและการพฒั นาห้องสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 57
หัวขอ้ การบันทึกการอา่ น บนั ทกึ การอา่ นระดบั ชน้ั มัธยมศึกษา ช่อื เรื่อง..................................................................................................................... ผแู้ ต่ง........................................................................................................................ ผู้วาดภาพประกอบ.................................................................................................. จานวนหนา้ ของหนงั สือ..................................... เวลาท่ีใชอ้ า่ น.........................นาที วัน/เดอื น/ปี ท่อี ่านหนังสอื ....................................................................................... สรุปใจความสาคัญของเร่ือง .............................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. .... แสดงความคิดเห็นทม่ี ีต่อพฤติกรรม ความคิดของตวั ละคร/เหตกุ ารณ์/เรื่องราว จากเรอื่ งท่ีอ่าน อย่างมีเหตผุ ล ............................................................................................................................. .... ................................................................................................................... .............. สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันในเรื่องใด ............................................................................................................................. .... ................................................................................................................................. ข้อสงั เกตของครู (.....) นักเรยี นสนใจอ่าน (.....) สรปุ ได้ถกู ต้อง (.....) นกั เรยี นสนใจซกั ถามเร่ืองที่อ่าน (.....) สามารถระบเุ รื่องที่จะนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ (.....) อื่น ๆ .............................................................................................. (ลงชื่อ)............................................................................ครูผตู้ รวจ วนั /เดอื น/ปี........................................................... คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอ่านและการพฒั นาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 58
แบบสรุปสถติ ิการอา่ นหนงั สือของนักเรยี น แบบสรุปจานวนหนงั สือท่นี ักเรยี นอ่าน ปีการศึกษา............................. โรงเรียน........................................ ช้ัน ............................................... เดอื น....................................................... พ.ศ. ................................................ ที่ ชอ่ื -สกุล นกั เรยี น จานวน เวลาท่อี ่าน หมายเหตุ หนงั สือทอี่ ่าน หนงั สือ (นาที) (เลม่ ) รวม คู่มือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสยั รกั การอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 59
ค่มู ือการดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ นิสยั รักการอา่ นและการพัฒนาหอ้ งสมุด ประจาปงี บประมาณ 2561 60
ตารางสรุปสถิติการอา่ นหนังสือของนักเรยี น ปีการศึกษา..................... โรงเรียน................................................................................... สพป./สพม. ..................................... เขต...................... ท่ี ชัน้ จานวนหนงั สอื ที่อ่าน จานวนเวลาที่อา่ น หมายเหตุ (เลม่ ) (นาท)ี รวม เฉลยี่ คมู่ ือการดาเนินงานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอา่ นและการพฒั นาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 61
๔ การคัดเลือกสอ่ื สง่ เสริมนิสยั รักการอ่าน หนังสือเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ ช่วยปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ทาให้เกิด การใฝ่รู้ใฝ่เรียนและเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพ่ือสร้างสงั คมให้เข้มแข็งอยา่ งมีคุณภาพและ คุณธรรมควบคู่กัน และให้ความสาคัญการพัฒนาคนในทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และสร้าง ความรูแ้ ละทกั ษะใหม่ทีส่ ามารถประกอบอาชีพได้อยา่ งหลากหลายรองรับการเปลย่ี นแปลงในอนาคต สานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว จึงได้ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรม ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และยกระดับความสามารถในการอ่าน รวมทั้งพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ดังนั้น เพ่ือให้การดาเนินงานสู่การปฏิบัติให้เกิดความชัดเจนและความสาเร็จอย่างเป็นรูปธรรม ควรส่งเสริมให้ ห้องสมุดมีหนังสือท่ีมีสารประโยชน์ มีปริมาณเพียงพอ และเหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้เรียน และ ส่งเสริมการใช้หนังสือเพื่อการอ่านและการเรียนรู้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน จึงได้จัดทาแนวปฏิบัติในการจัดหาหนังสือเข้าห้องสมุด เพื่อใช้ประกอบการคัดเลือกซ้ือหนังสือ และใช้หนงั สอื ที่มใี นห้องสมุดให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ให้โรงเรียนมแี นวทางในการจดั ซอื้ หนงั สือเข้าหอ้ งสมุดเป็นไปในทิศทางทเ่ี หมาะสม 2. เพื่อให้ห้องสมดุ มหี นงั สอื ที่มีสารประโยชน์และเหมาะสมตรงกับความต้องการของผ้เู รยี น 3. เพื่อสง่ เสรมิ การใชห้ นังสือเพ่อื การอ่านและการเรยี นรู้ให้มากยิ่งขน้ึ 4. เพ่ือสง่ เสรมิ ให้โรงเรียนจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนร้อู ยา่ งต่อเน่ืองและยั่งยืน เกณฑก์ ารพิจารณาคัดเลือกหนงั สือ การพิจารณาหนงั สอื สาหรบั หอ้ งสมดุ 1. เนื้อหาสาระ หนังสือที่คัดเลือกไว้ในห้องสมุดให้พิจารณาในประเด็นหลักดังนี้ หากเป็นประเภท อ้างอิงหรือสารคดี จาเป็นต้องคานึงถึงสาระที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีความเป็น ปัจจุบันทันสมัย ทันเหตุการณ์ หากเป็นประเภทบันเทิงคดีหรือส่งเสริมการอ่าน ควรมีเน้ือหาสาระที่ สร้างสรรค์ส่งเสริมจินตนาการและศีลธรรมอันดีงาม ส่งเสริมการเป็นพลเมืองท่ีดี เน้ือหาไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อ การอ่าน เหมาะสมกับวัย สนุกสนานกระตุ้นความสนใจ จูงใจผู้อ่านให้เกิดความเพลิดเพลิน ก่อให้เกิดนิสัย รกั การอ่านและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในวิถีชวี ิตได้ 2. ความถูกต้องของข้อมูล มีความจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับหนังสือประเภทอ้างอิง สารคดี และหนังสือ วิชาการอ่ืน ๆ ตลอดจนหนังสืออ่านเพ่ิมเติมตามกลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ ให้พิจารณาในเร่ืองของความเท่ียงตรง เช่ือถือได้ของแหล่งที่มา แหล่งค้นคว้า บรรณานุกรมถูกต้องชัดเจน ทันเหตุการณ์ และได้รับลิขสิทธิ์ถูกต้อง ตามกฎหมาย คมู่ อื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ นิสัยรกั การอา่ นและการพฒั นาห้องสมุด ประจาปงี บประมาณ 2561 62
3. ภาพประกอบของหนังสือ ควรพิจารณาให้มีความถูกต้องและเหมาะสมกับประเภทของหนังสือ สอดคล้องกบั เน้ือเร่ือง ชัดเจน เหมาะสมกบั วยั มีสีสันสวยงาม รวมทั้งมีสดั ส่วนเหมาะสมกับหน้ากระดาษ 4. การใช้ถ้อยคาสานวนภาษา ใช้ถ้อยคาภาษาถูกต้อง สื่อความหมายได้ชัดเจน อ่านเข้าใจง่าย เหมาะสมกับประเภทและเนื้อหาของหนังสือ รวมท้ังวัยของผู้อ่าน กรณีหนังสือทางวิชาการ คาท่ีมาจาก ภาษาตา่ งประเทศ ถ้ามกี ารบัญญัตศิ ัพทภ์ าษาไทยแลว้ ควรใชภ้ าษาไทย 5. ความถูกต้องตามอักขรวิธี ภาษาท่ีใช้ในหนังสือประเภทต่าง ๆ ต้องคานึงถึงความถูกต้องตาม อักขรวิธี เช่น การใช้ตัวสะกด การันต์ คาควบกล้า เป็นต้น รวมทั้งการใช้คาชนิดต่าง ๆ เช่น คานาม อักษรยอ่ เปน็ ต้น ใช้ภาษาพูด ภาษาเขยี นได้ถูกต้องตามสถานการณ์ของเร่ืองนั้น ๆ และเหมาะกับวยั ของผอู้ ่าน 6. ราคาหนังสือ การพิจารณาราคาหนังสือต้องคานงึ ถึงความเหมาะสมด้านปริมาณและคุณภาพของ หนงั สอื โดยพจิ ารณาจากชนิดของกระดาษ ขนาด จานวนหน้า รูปแบบ และเทคนิคการผลติ ภาพ ความยากง่าย ในการเกบ็ ข้อมลู และเนอื้ หา 7. ส่วนลดของราคาหนังสือ หนังสือที่จัดซื้อส่วนใหญ่จะได้รับส่วนลด ควรนาส่วนลดดังกล่าวมา จัดซื้อหนังสือเข้าห้องสมุดให้มีปริมาณเพิ่มขึ้น แต่ถ้าหนังสือเล่มใดมีส่วนลดมากเป็นพิเศษควรพิจารณาให้ รอบคอบเพราะอาจจะทาใหไ้ ด้หนงั สอื ท่ีไม่มีคณุ ภาพ 8. องค์ประกอบอนื่ ๆ นอกจากการพจิ ารณาดังกลา่ วมาแล้ว อาจมีองคป์ ระกอบอ่นื ๆ ทีค่ วรพจิ ารณา เช่น ข้อมลู ทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ เลขมาตรฐานสากลประจาหนังสือ จานวนคร้ังท่ีพิมพ์ ปที พี่ ิมพ์ มีส่วนประกอบของหนังสือครบถว้ น เป็นหนังสือท่ีชนะการประกวดจากหน่วยงาน สถาบนั องค์กรต่าง ๆ หรอื ข้อมลู อน่ื ๆ ทโี่ รงเรยี นพจิ ารณาตามความต้องการและความเหมาะสม การพิจารณาหนังสอื สง่ เสรมิ การอ่านตามระดบั ช้นั ห้องสมุดได้จัดหนังสือที่ดีมีคุณค่าไว้ในห้องสมุด เม่ือจะนาไปส่งเสริมการอ่านให้แก่นักเรียนในแต่ละ ระดบั ชั้น ควรมีการคัดกรองประเภทและเน้อื หาของหนังสือให้เหมาะสมกับนักเรยี นในแต่ละระดับชนั้ ดังนี้ ระดบั ปฐมวัย (อายุ 3 - 6 ขวบ) เนอ้ื หา เร่ืองไม่ยากเกินไป ไม่ซับซ้อน เกี่ยวกับส่ิงแวดล้อมรอบตัว ต้นไม้ ดอกไม้ สัตว์เลี้ยงในบ้าน สัตว์ในสวนสัตว์ ท้องฟ้า พระอาทติ ย์ พระจนั ทร์ ดวงดาว รูปทรง ขนาด นา้ หนกั สิ่งของ เครือ่ งใช้ เสยี งตา่ ง ๆ และเรือ่ งเกย่ี วกบั สตั วพ์ ดู ได้ ภาษา ใช้ภาษาง่าย ๆ อ่านแล้วเข้าใจความหมาย ไม่ต้องแปล เขียนถูกต้องตามหลักภาษาและ อักขรวธิ ี ใช้คาซา้ ๆ สั้น ๆ ใช้คาคล้องจอง คากลอน เปน็ เรอ่ื งหรอื นิทานสน้ั ๆ ภาพประกอบ/รูปเลม่ เป็นหนังสือภาพ ภาพชัดเจน เรียบง่าย ไม่ใช้สีสะท้อนแสง มีช่องว่างพักสายตา ตัวหนังสือน้อย ภาพมาก จานวนหนา้ ไม่มาก ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๓ เนอ้ื หา เรื่องเกี่ยวกับดอกไม้ ต้นไม้ เร่ืองลึกลับ นางฟ้า เทวดา สัตว์ การ์ตูน เร่ืองเก่ียวกับชีวิตประจาวัน เร่อื งตลกขบขัน การผจญภยั มีความสนุกสนานเพลิดเพลนิ ชวนติดตาม ส่งเสรมิ และสรา้ งจนิ ตนาการ ค่มู ือการดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมนสิ ยั รกั การอา่ นและการพัฒนาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 63
เป็นตัวอย่างท่ีดีในการดาเนินชีวิต ส่งเสริมคุณธรรมและศีลธรรมอันดี ไม่เป็นเรื่องท่ีโหดร้าย รนุ แรง ไมส่ รา้ งคา่ นยิ มในทางทผ่ี ดิ ไมน่ าเสนอเนื้อหาในทางลบ มเี นอ้ื หาช่วยเสรมิ ให้ผเู้ รียนได้พัฒนาความคิด สตปิ ญั ญา อารมณแ์ ละจิตใจ สามารถดารงชีวิต อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ ภาษา สละสลวย เหมาะสมกับเนื้อหาและตัวละครน้ัน ๆ เหมาะสมกับวัย และสื่อความหมายได้ เข้าใจโดยท่ัวกัน ใช้ประโยคท่ีไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย ถูกต้องตามหลักภาษาและอักขรวิธี ไม่มีถ้อยคาหยาบคาย ถ้าเป็นร้อยกรองและบทกวีต่าง ๆ มีการเลือกสรรภาษาได้อย่างงดงาม มีอรรถรสทางวรรณศิลป์ และให้ความ สนุ ทรีตอ่ ผู้อา่ น ภาพประกอบ/รปู เลม่ ภาพประกอบกับเน้ือหามีความสาคัญเท่าเทียมกัน มีสีสันสดใส สวยงาม เหมาะสมและ สอดคล้องกับเน้อื เร่ือง สามารถส่อื ความหมายไดช้ ัดเจน โดยไมข่ ัดตอ่ ศลี ธรรมอนั ดงี าม ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ - ๖ เนอื้ หา เร่ืองเก่ียวกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การผจญภัย การต่อสู้ เร่ืองท่ีมีจินตนาการกว้างไกล เทวดา นางฟ้า เร่ืองต่ืนเต้น ลึกลับพิศวง ความกล้าหาญ ความมีน้าใจนักกีฬา การกีฬา ชีวประวัติ ศาสนาง่าย ๆ วรรณคดี นิทาน เรอ่ื งตลก การต์ ูนขาขัน เป็นตัวอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิต และสร้างค่านิยมด้านคุณธรรมจริยธรรม ไม่เป็นเรื่องท่ี โหดร้ายรนุ แรง ไม่สร้างค่านิยมในทางทีผ่ ดิ ไมน่ าเสนอเนอ้ื หาในทางลบ หรอื ล่อแหลมต่อศีลธรรม เนอื้ หาชว่ ยเสริมให้ผู้เรยี นได้พัฒนาความคิด สติปัญญา อารมณแ์ ละจิตใจ สามารถดารงอยู่ใน สงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข ภาษา ใช้ประโยคท่ียาวขึ้นและมีความซับซ้อนมากข้ึน แต่สามารถส่ือความหมายได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของผูเ้ ขียน สละสลวย เหมาะสมกบั เนือ้ หาและตัวละครน้นั ๆ เป็นภาษาทีเ่ หมาะสมกับวัย และส่ือ ความหมายได้เข้าใจอย่างชัดเจน ถูกต้องตามหลักภาษาและอักขรวิธี ไม่มีถ้อยคาหยาบคาย ถ้าเป็นร้อยกรองและ บทกวตี ่าง ๆ มีการเลอื กสรรภาษาได้อยา่ งงดงาม มอี รรถรสทางวรรณศิลป์ และใหค้ วามสุนทรีตอ่ ผอู้ ่าน ภาพประกอบ/รูปเล่ม มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับเนอื้ เรอ่ื ง ถ้าเป็นข้อมูลทางด้านวิชาการ ภาพประกอบต้อง เปน็ ภาพทีถ่ กู ตอ้ ง สามารถส่ือความหมายได้ชดั เจน โดยไมข่ ัดตอ่ ศีลธรรมอันดงี าม ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๓ เนือ้ หา เรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่ิงแวดล้อม ชีวประวัติ สารคดี อาชีพ สืบสวน สอบสวน นวนิยาย งานอดิเรก ประเพณีท้องถิ่น ท่องเท่ียว กีฬา ความรัก ครอบครัว กวีนิพนธ์ วรรณคดี การแตง่ กาย สุขภาพอนามยั และการดูแลตนเอง เนอ้ื หาไม่ขัดต่อคุณธรรม จริยธรรม และความมน่ั คงของประเทศ ชว่ ยเสรมิ ให้ผ้เู รยี นได้พัฒนา ความคดิ สตปิ ญั ญา อารมณ์และจิตใจ สามารถดารงอยู่ในสังคมได้อย่างมคี วามสุข ค่มู อื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนสิ ยั รกั การอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 64
ภาษา ใช้ประโยคที่ยาวขึ้นและมีความซับซ้อนมากข้ึน แต่สามารถส่ือความหมายได้ตรงตาม วัตถปุ ระสงค์ของผูเ้ ขียน สละสลวย เหมาะสมกบั เน้ือหาและตัวละครนั้น ๆ เปน็ ภาษาที่เหมาะสมกับวัย และสื่อ ความหมายได้เข้าใจโดยทั่วกัน เช่น ใช้คาคล้องจอง สุภาษิต คาพังเพย ถ้อยคาสานวน ถูกต้องตามหลักภาษา และอักขรวิธีเหมาะสมกับลักษณะงานที่เขียน ไม่มีถ้อยคาหยาบคาย ถ้าเป็นร้อยกรองและบทกวีต่าง ๆ มีการ เลือกสรรภาษาไดอ้ ยา่ งงดงาม มอี รรถรสทางวรรณศลิ ป์ และใหค้ วามสุนทรตี ่อผอู้ า่ น ภาพประกอบ/รปู เลม่ มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง ถ้าเป็นข้อมูลทางด้านวิชาการ ภาพประกอบ ต้องเป็นภาพท่ีถกู ตอ้ ง สามารถสอ่ื ความหมายไดช้ ัดเจน โดยไม่ขดั ตอ่ ศีลธรรมอนั ดีงาม ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖ เนอื้ หา เรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษา กีฬา การท่องเที่ยว นักสืบ การผจญภัย ดนตรี วรรณคดี กวีนิพนธ์ นวนิยาย การปรับปรุงบุคลิกภาพ มารยาทสังคม การวางตน การคบเพ่ือน การรักษาสุขภาพ อนามยั อาชพี จติ วิทยา การ์ตูน ฯลฯ เนื้อหาส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้พัฒนาความคิด สติปัญญา อารมณ์และจิตใจ สามารถดารงอยู่ใน สงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ภาษา ใช้ประโยคที่ยาวขึ้นและมีความซับซ้อนมากขึ้น แต่สามารถสื่อความหมายได้ตรงตาม วัตถุประสงคข์ องผู้เขียน สละสลวย เหมาะสมกบั เน้ือหาและตวั ละครนนั้ ๆ เปน็ ภาษาทีเ่ หมาะสมกับวัย และส่ือ ความหมายได้เข้าใจโดยทั่วกัน เช่น ใช้คาคล้องจอง สุภาษิต คาพังเพย ถ้อยคาสานวน ถูกต้องตามหลักภาษา และอักขรวิธีเหมาะสมกับลักษณะงานท่ีเขียน ไม่มีถ้อยคาหยาบคาย ถ้าเป็นร้อยกรองและบทกวีต่าง ๆ มีการ เลอื กสรรภาษาไดอ้ ยา่ งงดงาม มอี รรถรสทางวรรณศิลป์ และใหค้ วามสุนทรีตอ่ ผู้อ่าน ภาพประกอบ/รูปเล่ม มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับเน้อื เร่อื ง ถ้าเป็นข้อมูลทางด้านวชิ าการ ภาพประกอบต้อง เป็นภาพทถ่ี ูกตอ้ ง สามารถสือ่ ความหมายไดช้ ดั เจน โดยไมข่ ัดตอ่ ศลี ธรรมอันดงี าม เกณฑก์ ารพิจารณาสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ สอดคลอ้ งกบั หลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ทันสมยั สะดวกในการใช้ สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนพัฒนาความคิด สติปัญญา อารมณ์ และจติ ใจ สามารถดารงอยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข และไมข่ ัดตอ่ คุณธรรม จริยธรรม แนวทางการดาเนินงานสาหรบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา/โรงเรียน การจัดซื้อหนังสือเข้าห้องสมุดให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา/โรงเรียน ควรมีแนวทางการดาเนินงานดงั ต่อไปน้ี สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา 1. ส่งเสรมิ สนับสนุน และให้คาปรึกษาในการจัดซ้ือหนงั สือและส่งเสริมการใชห้ นังสือเพ่ือการอา่ นและ การเรียนรูใ้ ห้กับโรงเรยี นภายในสานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ยั รกั การอ่านและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 65
2. จัดนิทรรศการ/ตลาดนัดหนังสือ โดยเชิญชวนร้านค้าและสานักพิมพ์ต่าง ๆ มาร่วมจาหน่ายหนังสือ หรือดาเนินการตามความเหมาะสม เพื่อให้โรงเรียนได้รับรู้ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเป็นแหล่งข้อมูลในการช่วยพิจารณา คดั เลอื กหนังสอื ทีม่ ีสารประโยชนต์ รงกับสภาพความต้องการของผู้เรียน 3. ดาเนินการนิเทศและกากับติดตามการจัดซื้อหนังสือและส่งเสริมการใช้หนังสือเพื่อการอ่านและ การเรียนรูใ้ หเ้ กิดประสิทธผิ ล 4. สรุป และรายงานผลการดาเนินงานเสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียน ผู้บริหาร 1. ดาเนินการให้มีการจัดซื้อหนังสือเข้าห้องสมุดให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เพ่ือให้ หอ้ งสมุดมีหนงั สอื ทม่ี ีคุณภาพและเพียงพอกบั จานวนผู้ใช้บรกิ าร 2. แต่งต้ังคณะกรรมการเพื่อคดั เลือกหนังสือสาหรับห้องสมดุ โรงเรียน ซ่งึ ประกอบด้วยผู้บรหิ าร หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้หรือผู้แทน ครูบรรณารักษ์ ผู้เรียน ฯลฯ ตามแนวทางในการจัดซื้อหนังสือเข้าห้องสมุด สาหรับสานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา/โรงเรียน 3. ดาเนนิ การจดั ซือ้ ตามงบประมาณทีไ่ ดร้ ับการจดั สรรและรายชื่อท่ีคัดเลือกไว้ 4. กาหนดนโยบายให้มีการใช้หนังสือเพื่อการสร้างนิสัยรักการอ่าน โดยส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรม สง่ เสริมการอ่าน และกาหนดให้ครผู สู้ อนทกุ กลุม่ สาระการเรียนร้จู ดั การเรียนการสอนโดยใชห้ ้องสมดุ 5. ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการใช้หนังสือเพื่อการสร้างนิสัย รักการอา่ น เพือ่ กระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นรกั การอา่ นและการใฝ่รอู้ ยา่ งต่อเนื่องด้วยวิธกี ารต่าง ๆ 6. นิเทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมินผล สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานเสนอสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ครผู ู้สอน 1. ครผู ูส้ อนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรูต้ ้องให้ความสนใจกับหนงั สือใหม่ เพื่อแนะนาใหแ้ กผ่ เู้ รยี นได้ 2. จดั ทาแผนการเรียนรบู้ รู ณาการการส่งเสริมการอ่านและการใชห้ ้องสมดุ ในการจดั การเรียนการสอน 3. ให้ความร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ในการจัดหาหนังสือ สื่ออ่ืน ๆ แนะนาหนังสือดี และจัดกิจกรรม สง่ เสริมการอ่าน ครบู รรณารกั ษ์ 1. จัดระบบงานห้องสมุด ได้แก่ ลงรายการหนังสือ/จัดหมวดหมู่หนังสือให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ แนะนาหนังสือใหม่ ให้คาแนะนาเกี่ยวกับหนังสือให้แก่ครูผู้สอนและผู้เรียน ซ่อมแซมหนังสือ/สื่อให้อยู่ใน สภาพทใ่ี ชง้ านได้ 2. จัดหอ้ งสมดุ ใหม้ ีบรรยากาศที่เออื้ ตอ่ การอา่ นและการเรยี นรู้ 3. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนและผู้เรียนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว รวมทั้งให้ มกี ารใชห้ นงั สอื เพือ่ การอ่านและการเรยี นรู้ 4. กระตุ้นให้ผูเ้ รยี นและครูผ้สู อนเกิดการรักการอ่านและการเรียนรู้ ดว้ ยการจดั กิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น แนะนาหนังสือใหม่ จัดนิทรรศการหนังสือตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ บันทึกการอ่าน ประกวด/แข่งขัน ด้วยการอ่าน ค้นหายอดนักอ่าน เปน็ ตน้ 5. จดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ สนบั สนนุ การใชห้ นังสือใหเ้ หมาะสมกบั ระดับชว่ งชน้ั เรียน 6. สร้างเครือข่ายหอ้ งสมดุ โรงเรียนทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสริมนสิ ยั รักการอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 66
๕ การสรา้ งเครอื ข่ายหอ้ งสมุดโรงเรยี น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยสานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ตระหนักถึง ความสาคัญของห้องสมุดว่าเป็นแหล่งการเรียนรู้ที่รวบรวมทรัพยากรสารสนเทศต่าง ๆ ท่ีสามารถค้นคว้า หาความรู้ได้ทุกสาขาวิชา แต่ปัจจุบันความรู้มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว สังคมจะต้องเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ห้องสมุดจึงจาเป็นต้องมีรูปแบบให้บริการเชิงรุกโดยเน้นการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างกว้างขวางมากย่ิงขึ้น การจัดการห้องสมุดและการให้บริการต่าง ๆ ในปัจจุบันไม่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ ในยุคข้อมูลข่าวสารได้ครบถ้วน ดังนั้น ห้องสมุดจึงจาเป็นต้องพัฒนารูปแบบการให้บริการทรัพยากร สารสนเทศเชิงรุกโดยนาเทคนิคและวิธีการใหม่ ๆ มาใช้ เพ่ือให้ห้องสมุดเกิดความก้าวหน้า และส่งเสริม การเขา้ ถงึ การใช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างทวั่ ถึงและค้มุ ค่า แนวทางพัฒนาคุณภาพห้องสมุดให้เกิดข้ึนนั้นมีวิธีการท่ีหลากหลาย แต่แนวทางหนึ่งท่ีสามารถสร้าง ความร่วมมือให้เกิดความเข้มแข็ง ช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ การดาเนินงานในรูปแบบเครือข่าย โดยเช่ือมโยงห้องสมุดโรงเรียนและหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อให้ร่วมคิด ร่วมกันดาเนินงานพัฒนาคุณภาพห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตเพื่อใช้แหล่งการเรียนรู้ท่ีย่ังยืน และเกิดระบบ การใช้ทรัพยากรร่วมกัน อันจะนาไปสู่การส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนตามหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นพัฒนา ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผเู้ รยี น วิสยั ทัศน์ หอ้ งสมุดโรงเรียนเข้มแข็งและยงั่ ยนื ภาคเี ครือขา่ ยร่วมมอื ร่วมใจสูก่ ารพัฒนาบุคคลแหง่ การเรยี นรู้ พันธกจิ ๑. พฒั นาเครอื ข่ายหอ้ งสมุดโรงเรยี นให้เกิดประสทิ ธภิ าพ ๒. สง่ เสริมสนบั สนนุ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกตใ์ ช้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๓. สง่ เสริมสนับสนุนการใชท้ รพั ยากรและวิจัยรว่ มกนั ๔. พัฒนาบคุ ลากรเพือ่ บรหิ ารจดั การเครอื ขา่ ยห้องสมุดโรงเรยี น ๕. ส่งเสรมิ สนับสนุนการพัฒนาบคุ คลแหง่ การเรียนรู้ เปา้ ประสงค์ เพ่ือให้เครือข่ายห้องสมุดโรงเรียนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีความเข้มแข็ง และย่ังยืน และพัฒนาบุคคลแห่งการเรียนรู้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงกาหนด เป้าประสงค์ ดังนี้ ๑. ห้องสมุดโรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดและทุกภาคส่วนในการพัฒนาห้องสมุด อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๒. ห้องสมุดโรงเรียนมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการห้องสมุด อย่างมีระบบ และเป็นมาตรฐานเดียวกนั คมู่ อื การดาเนินงานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอา่ นและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 67
๓. ห้องสมดุ โรงเรยี นมีการใชท้ รพั ยากรและวิจัยร่วมกัน 4. ครูบรรณารักษ์ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ และแลกเปล่ียนเรียนรู้ให้เกิดความก้าวหน้าในวิชาชีพ และสามารถบริหารจดั การหอ้ งสมุดตามมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน 5. เครือข่ายห้องสมุดโรงเรยี นมปี ระสิทธิภาพ และเปน็ กลไกในการพัฒนาบุคคลแหง่ การเรียนรู้ โครงสรา้ งเครือขา่ ยหอ้ งสมุดโรงเรียน เครือข่ายห้องสมุดโรงเรียน เป็นกลไกหนึ่งในการขับเคลื่อนการพัฒนาห้องสมุดให้เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ด้วยความร่วมมือระหว่างห้องสมุดโรงเรียน องค์กร และหน่วยงาน ให้มีความเข้มแข็งและ ช่วยเหลือเก้ือกูลซึ่งกันและกัน อันจะนาไปสู่การส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนตามหลักสูตรที่มุ่งเน้น พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนสร้างนิสัยรักการอ่าน ดังแผนภูมิโครงสร้างเครือข่าย หอ้ งสมุดโรงเรยี น สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน แผนภมู ิโครงสรา้ งเครอื ขา่ ยหอ้ งสมุดโรงเรียน เครอื ข่ายห้องสมดุ โรงเรยี น (๒๖๑ เครอื ข่าย) สพป. ๑๘๓ เขต สพม. ๔๒ เขต แม่ข่าย ๑๘๓ โรงเรียน แมข่ ่าย ๗๘ โรงเรียน (จังหวดั ละ ๑ โรงเรียน) (โรงเรียนตน้ แบบห้องสมุดมชี ีวิต สพฐ.) (โรงเรียนตน้ แบบหอ้ งสมุดมีชีวิต สพฐ.) ลกู ขา่ ย ลกู ขา่ ย (โรงเรยี นทมี่ นี ักเรียนตงั้ แต่ ๑๒๑ คน) (โรงเรยี นทมี่ นี กั เรียนตงั้ แต่ ๓๐๐ คน) การดาเนินงานเครือขา่ ยห้องสมดุ โรงเรยี น ๑. การแต่งต้ังคณะกรรมการบริหารเครือข่ายห้องสมุดโรงเรียน โดยสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาหรือสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารเครือข่าย หอ้ งสมุดโรงเรียน ประกอบด้วย ผ้อู านวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ทป่ี รึกษา รองผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ท่ีปรกึ ษา ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ทปี่ รึกษา ศกึ ษานเิ ทศก์ที่รับผิดชอบงานหอ้ งสมดุ และส่งเสริมนิสยั การอ่าน ที่ปรึกษา ผู้อานวยการแม่ขา่ ยโรงเรียนตน้ แบบหอ้ งสมุดมีชวี ติ สพฐ. ประธานกรรมการ หรือผ้ทู ่ีได้รบั มอบหมาย ผทู้ ไ่ี ดร้ ับเลือกจากประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ผู้แทนกลมุ่ โรงเรยี น/สหวิทยาเขตแตล่ ะเขตพน้ื ที่การศึกษา กรรมการ คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสริมนสิ ยั รกั การอา่ นและการพฒั นาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 68
ผ้แู ทนภาคเอกชน กรรมการ ผู้แทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน กรรมการ ผแู้ ทนชุมชน กรรมการ ครบู รรณารักษ์แม่ขา่ ยโรงเรียนต้นแบบหอ้ งสมุดมชี ีวิต สพฐ. กรรมการและเลขานกุ าร ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับเลอื กจากประธานกรรมการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๒. บทบาทหน้าท่ีของเครือข่ายห้องสมุดโรงเรียน จะต้องปฏิบัติงานตามแผนงาน/โครงการ/ภารกิจ ของเครือข่ายหอ้ งสมุดโรงเรียน จดั ทาแผนงานและโครงการพัฒนาเครอื ข่าย ส่งเสริมสนบั สนนุ และสรา้ งความเข้มแข็ง ให้เครือข่ายห้องสมุดโรงเรียน ประสานงานกับลูกข่ายเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใช้ทรัพยากรร่วมกัน จัดทา ฐานข้อมลู และสารสนเทศ และกากับ ติดตาม ประเมินผลการดาเนินงานของเครอื ขา่ ยห้องสมดุ โรงเรียน ๓. แม่ขา่ ย แม่ข่ายเป็นโรงเรียนต้นแบบห้องสมุดมีชีวิตของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาแต่ละเขต รวม ๒๖๑ โรงเรียน แบ่งเป็นสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษา ๑๘๓ โรงเรียน และสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา ๗๘ โรงเรียน (จังหวัดละ ๑ โรงเรียน) ซึง่ มการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ๓.1 รับนโยบายและภารกิจจากสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาไปสู่การพัฒนาเครือข่ายห้องสมุด โรงเรยี นและลูกขา่ ย ๓.2 จัดทาฐานข้อมูลและสารสนเทศเครือข่ายเพื่อพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนและส่งเสริมนิสัย รักการอ่านในโรงเรียนที่เปน็ ลูกขา่ ย 3.๓ จดั ทาแผนงาน และโครงการพัฒนาเครือข่ายและลูกข่าย ๓.4 ประสานงานกับสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาและภาคเี ครือข่ายทุกภาคส่วนเพื่อรว่ มกันพัฒนา ห้องสมดุ และส่งเสริมนสิ ยั รกั การอา่ น ๓.5 ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานโครงการ กิจกรรมของเครอื ขา่ ยและลกู ขา่ ย ๓.6 รายงานผลการดาเนินงานโครงการ และกิจกรรมของเครือข่ายและลูกข่ายต่อสานักงาน เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา ๔. ลูกข่าย ลกู ขา่ ยเปน็ โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่มนี ักเรียนต้ังแต่ ๑๒๑ คน หรือโรงเรยี นระดับมธั ยมศึกษา ที่มีนักเรียนต้ังแต่ ๓๐๐ คนขึ้นไปของสำนักงำนเขตพื้นที่การศึกษาที่จะพัฒนาห้องสมุดและส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน และเป็นสมาชิกของเครือข่ายห้องสมุดโรงเรียนเพ่ือร่วมกันพัฒนาห้องสมุดและส่งเสริมนสิ ัยรักการอ่าน ให้เกิดขึ้นในโรงเรียน อันจะนาไปสู่การส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนตามหลักสูตร และการพัฒนาบุคคล แหง่ การเรียนรู้ ซ่งึ มีการดาเนินงาน ดงั น้ี ๔.1 รว่ มกาหนดพนั ธสัญญากับเครือข่ายเพื่อใหเ้ กิดเปน็ รูปธรรมในการพัฒนาห้องสมุดและส่งเสริม นสิ ัยรกั การอา่ นในโรงเรียน ๔.2 จัดทาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมพัฒนาห้องสมุดและส่งเสริมนสิ ยั รักการอา่ นในโรงเรยี น ๔.๓ พฒั นาตนเองใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงาน โครงการ และกิจกรรมทก่ี าหนด ๔.๔ ประเมนิ ผลการดาเนินงานตนเอง ๔.๕ รายงานผลการดาเนินงานตอ่ เครอื ขา่ ยห้องสมุดโรงเรียน คมู่ ือการดาเนินงานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นิสัยรักการอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 69
๕. ภาคีเครือข่ายทีใ่ หก้ ารสนับสนนุ ภาคีเครือข่ายที่ให้การสนับสนุน ได้แก่ บุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่มีความต้องการสนับสนุน พัฒนาห้องสมุดและส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน อาจจะเป็นงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ หรอื การจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหก้ บั โรงเรยี น เครอื ขา่ ยตามวาระโอกาสอันสมควร และอนื่ ๆ การจัดการงบประมาณเครือข่ายหอ้ งสมดุ โรงเรยี น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ให้การสนับสนุนการดาเนินงานเครือข่ายห้องสมุด โรงเรียน ให้มีการบริหารจัดการเครือข่ายห้องสมุดโรงเรียน และการดาเนินงานตามภารกิจของเครือข่าย ห้องสมดุ โรงเรยี นอยา่ งเป็นรปู ธรรมหรอื ให้เกิดการพฒั นาทีย่ ่งั ยนื โดยมแี นวทางการจดั การงบประมาณ ดังน้ี 1. การสนบั สนุนงบประมาณ 1.1 งบประมาณได้รับการจัดสรรจากสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 1.2 งบประมาณได้รับจากภาคีเครือข่ายที่ให้การสนับสนุนการดาเนินงานของเครือข่ายห้องสมุด โรงเรียน และหน่วยงาน องคก์ รอนื่ ๆ ๑.๓ งบประมาณไดร้ ับจากเครือขา่ ยหอ้ งสมดุ โรงเรยี นเปน็ ผ้ดู าเนินงานเอง 2. แนวทางการบรหิ ารจัดการงบประมาณ 2.1 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรงบประมาณดาเนินงานให้กับเครือข่าย หอ้ งสมดุ โรงเรียน 2.2 การจดั สรรงบประมาณพจิ ารณาจากแผนงาน โครงการ กิจกรรม และขนาดของแต่ละเครือข่าย 2.3 จัดต้ังคณะกรรมการบริหารจัดการงบประมาณของเครือข่าย เพ่ือดาเนินการตามระเบียบ กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องให้เป็นไปดว้ ยความถกู ตอ้ ง โปรง่ ใส และตรวจสอบได้ การเชอ่ื มโยงของเครอื ข่ายห้องสมุดโรงเรยี น เครือขา่ ยห้องสมุดโรงเรยี นแตล่ ะเครอื ข่ายมกี ารเชื่อมโยงในเชิงบรหิ ารจัดการ โดยมีข้อมลู และสารสนเทศ ทกุ เครือข่าย เพอื่ ความรว่ มมือกันแบบบูรณาการ และสามารถเกื้อกูลประโยชน์ตอ่ กนั ได้ ภารกจิ การดาเนินงานของเครอื ขา่ ยหอ้ งสมุดโรงเรยี น เครือข่ายห้องสมุดโรงเรียนมีการบริหารจัดการและดาเนินงานให้บรรลุตามเป้าประสงค์ของเครือข่าย ห้องสมุดโรงเรียนร่วมกัน โดยเครือข่ายต้องจัดทาแผนงาน โครงการ และกิจกรรมให้สอดคล้องกับภารกิจ การดาเนินงานเครอื ข่ายหอ้ งสมดุ โรงเรียน ดงั น้ี 1. งานพฒั นาและสง่ เสรมิ ระบบหอ้ งสมดุ อัตโนมัติ สพฐ. ๑.1 ส่งเสริมห้องสมุดโรงเรียนให้ใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. เพ่ือยกระดับคุณภาพ การบรหิ ารจดั การห้องสมุด เพอ่ื การให้บรกิ ารและส่งเสรมิ นิสยั รักการอ่านทีด่ ี ๑.2 สง่ เสรมิ เครือข่ายใหส้ ามารถชว่ ยเหลือและร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาทเ่ี กดิ จากการใช้งาน ระบบหอ้ งสมดุ อตั โนมัติ สพฐ. ๑.3 ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในการจัดการระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สพฐ. และเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ ๑.4 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารให้เกิดการใช้ ประโยชน์อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นิสัยรกั การอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 70
2. งานพฒั นาและสง่ เสรมิ ระบบสหบรรณานุกรม 2.1 สง่ เสริมการจดั ทาขอ้ มลู บรรณานุกรมรว่ มกัน 2.2 ส่งเสริมให้มีการตรวจสอบ แก้ไข และปรับปรุงข้อมูลสหบรรณานุกรมให้เป็นมาตรฐาน เดยี วกนั 2.3 ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ในการวิเคราะห์และลงรายการ ทรพั ยากรห้องสมดุ และการสบื คน้ ขอ้ มูล 3. งานพัฒนาและส่งเสริมระบบสารสนเทศอเิ ล็กทรอนิกสเ์ พ่อื การเรียนรู้ 3.1 ส่งเสริมการจัดเกบ็ เอกสารฉบับเต็มในรปู แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ 3.2 ส่งเสรมิ การจดั ทาแอพพลเิ คชนั่ เพ่ือการเรยี นรู้ 3.3 ส่งเสรมิ ระบบสารสนเทศเพอื่ พฒั นาเครอื ข่าย 4. งานพัฒนาความรวู้ ิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ในโรงเรียน 4.1 ส่งเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของครูบรรณารักษ์ 4.2 สง่ เสริมการแลกเปลีย่ นเรียนรู้และถ่ายทอดประสบการณ์การทางานรว่ มกัน 4.3 ส่งเสริมและสร้างความรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนางานห้องสมุดให้เกิด ประสทิ ธิภาพ 5. งานวิจัยเพื่อพฒั นาห้องสมดุ และส่งเสรมิ นิสัยรักการอา่ น 5.1 สง่ เสรมิ การวิจัยเพื่อพัฒนางานห้องสมุดและส่งเสริมนิสัยรักการอ่านโดยมุ่งยกระดบั คุณภาพ การอ่าน 5.2 ส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมเพอ่ื พัฒนาหอ้ งสมุดและสง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอา่ น 5.3 สง่ เสรมิ ศกั ยภาพในการวจิ ัยเพือ่ การพัฒนาห้องสมุดและสง่ เสริมนสิ ัยรกั การอ่าน รายงานผลการดาเนนิ งานและตดิ ตามประเมนิ ผล เครือข่ายห้องสมดุ โรงเรยี น ต้องจัดทารายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการ กจิ กรรม และงบประมาณของ เครือข่าย และลูกข่ายไปยังสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามกรอบระยะเวลาท่ีกาหนดในโครงการ และตาม แบบรายงานผลการดาเนินงานที่กาหนดไว้ เม่ือส้ินสุดปีงบประมาณหรือแล้วแต่กรณี โดยถือเป็นภารกิจประจา ท่ตี อ้ งปฏิบัติ คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรกั การอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 71
6 การคัดเลือกนกั เรยี น ครู ผู้บรหิ าร โรงเรยี นรกั การอา่ น และห้องสมดุ มชี ีวติ การอ่านหนังสือเพ่ือพัฒนาตนเอง และเพื่อการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ เป็นส่ิงจาเป็นมากในการพัฒนาคน และพัฒนาสังคม ปัจจุบันน้ีการอ่านหนังสือของคนไทยเป็นกิจกรรมท่ีไม่แพร่หลายแม้ในหมู่ผู้รู้หนังสือแล้ว การอ่านหนงั สอื ทดี่ ีและมสี าระยิง่ น้อยลงไปอีก สาเหตุมอี ยหู่ ลายประการนับตั้งแต่การขาดแคลนหนงั สือท่ีดีและ ตรงกับความสนใจของผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งความรู้ ไปจนถึงการดึงความสนใจในการแย่งเวลาของส่ืออ่ืน รวมทั้งขาดการชักจูง การกระตุ้นให้เห็นความสาคัญของการอ่าน และมีนิสัยรักการอ่านทั้งในและนอกโรงเรยี น เมื่อเทียบกับความเพลิดเพลินและการได้ฟังได้รู้เห็นเร่ืองต่าง ๆ จากสื่ออ่ืนแล้ว การอ่านหนังสือเพื่อวัตถุประสงค์ ดังกล่าวต้องใช้ความพยายามมากกว่า และต้องมีทักษะในการอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังสือเกิดเป็นนิสัย จาเป็นต้องมีการปลูกฝังและชักชวนให้เกิดความสนใจ จัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่อง และ สมา่ เสมอ ตลอดจนพฒั นาห้องสมุดใหเ้ ป็นแหล่งการเรียนรู้ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จงึ จดั ทา หลักเกณฑ์และแนวทางการคัดเลือกนักเรียน ครู ผู้บริหาร โรงเรียนรักการอ่าน และห้องสมุดมีชีวิต เพื่อสร้าง แรงจูงใจ และกระตุ้นให้นักเรียน ครู ผู้บริหาร ตระหนักถึงความสาคัญของการอ่าน มีนิสัยรักการอ่าน และให้ การอา่ นนาไปสูก่ ารใฝเ่ รียนรู้ตลอดชีวิต แนวทางการคัดเลือกนักเรียน ครู ผู้บริหาร โรงเรียนรักการอ่าน และห้องสมุดมีชีวิต จัดทาข้ึนเพื่อให้ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาได้ศึกษาทาความเข้าใจรายละเอยี ด วิธีการดาเนินงาน และแนวทางการประเมนิ ให้ บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ โดยไดก้ าหนดองคป์ ระกอบในการประเมนิ ดังนี้ ๑. รางวัลนกั เรียนรักการอา่ น ๑.๑ องคป์ ระกอบดา้ นพฤตกิ รรมการอ่านของนักเรียน ๑.๑.๑ การใช้เวลาในการอ่าน ๑.๑.๒ ลกั ษณะนสิ ยั การอ่าน ๑.๑.๓ การใชห้ ้องสมุดและแหล่งการเรียนรูอ้ ่ืน ๆ 1.๒ องคป์ ระกอบดา้ นผลงานหรอื กิจกรรมทเ่ี กดิ จากการอ่าน ๒. รางวลั ครรู ักการอ่าน ๒.๑ องค์ประกอบดา้ นพฤตกิ รรมของครู ๒.๑.๑ การใช้เวลาในการอา่ น/แสวงหาความรู้จากการอา่ น ๒.๑.๒ ลักษณะนสิ ัยการอ่าน ๒.๑.๓ การใช้ห้องสมดุ และแหล่งการเรียนรอู้ ่ืน ๆ ๒.๒ องค์ประกอบดา้ นการส่งเสริมให้นักเรยี นรกั การอ่าน ๒.๓ องคป์ ระกอบด้านผลงานการอ่าน/ผลงานที่สง่ เสริมให้นกั เรยี นรักการอ่าน คูม่ อื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอา่ นและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 72
๓. รางวลั ผบู้ ริหารรกั การอ่าน ๓.๑ องค์ประกอบด้านพฤตกิ รรมของผูบ้ รหิ าร ๓.๑.๑ การใชเ้ วลาในการอา่ น/แสวงหาความรู้จากการอ่าน ๓.๑.๒ ลักษณะนสิ ยั ในการอ่าน ๓.๑.๓ การใชห้ อ้ งสมดุ และแหล่งเรยี นร้อู ืน่ ๆ ๓.๒ องคป์ ระกอบดา้ นการสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้นกั เรียน ครู และบุคลากรในโรงเรยี นรกั การอา่ น 3.๓ องค์ประกอบดา้ นผลงานการอา่ น/ผลงานทส่ี ง่ เสริมให้นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรยี นรักการอ่าน ๔. รางวลั โรงเรยี นรกั การอ่าน ๔.๑ องค์ประกอบด้านการมสี ่วนรว่ มของผูท้ ี่เก่ยี วข้อง ๔.๒ องคป์ ระกอบด้านการจัดกิจกรรมส่งเสรมิ นิสยั รกั การอ่าน ๔.๓ องค์ประกอบดา้ นการบรู ณาการการอ่านในกระบวนการเรยี นรู้ ๕. รางวัลหอ้ งสมดุ มชี วี ิต ๕.๑ องคป์ ระกอบด้านการจดั สภาพแวดลอ้ ม ๕.๒ องคป์ ระกอบดา้ นการบริหารจดั การ ๕.๓ องค์ประกอบดา้ นการบรกิ าร ๕.๔ องค์ประกอบดา้ นการจัดกจิ กรรม ๕.๕ องคป์ ระกอบดา้ นผลการดาเนนิ งาน ในแต่ละองค์ประกอบดังกล่าวข้างต้นจะกาหนดตัวบ่งช้ีไว้ด้วย สาหรับวิธีการประเมินและแหล่งข้อมลู ให้คณะกรรมการพิจารณาตามความเหมาะสมและให้เห็นเป็นรูปธรรม ส่วนการจัดทาคะแนนเพื่อให้รางวัล ยอดเยีย่ ม ดีเดน่ และชมเชย ดงั นี้ คะแนนรอ้ ยละ ๘๕ – ๑๐๐ ได้รบั รางวลั ยอดเยี่ยม ( ๑ รางวัล) คะแนนรอ้ ยละ ๗๕ – ๘๔ ได้รบั รางวลั ดเี ด่น ( ๔ รางวลั ) คะแนนร้อยละ ๖๕ – ๗๔ ไดร้ ับรางวลั ชมเชย ( ๕ รางวลั ) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการคัดเลือกนักเรียน ครู ผู้บริหาร โรงเรียนรักการอ่าน และห้องสมุดมีชีวิต จะเป็นประโยชน์ต่อคณะกรรมการประเมินใช้ประกอบการ ดาเนินการใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน ๑. รางวัลนักเรยี นรกั การอ่าน นกั เรียนทมี่ นี ิสยั รักการอ่าน จะต้องเป็นผู้ทส่ี นใจที่จะอา่ น ใฝ่รู้ใฝ่เรยี น อ่านทกุ ท่ี อา่ นทกุ เรอ่ื ง อา่ นทุกเวลา ทวี่ ่าง จนเปน็ กิจวตั รประจาวนั มคี วามสุขในการอ่าน และใชก้ ารอ่านใหเ้ ปน็ ประโยชนใ์ นการเรียนรู้ เพ่ือเป็นการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และยกระดับความสามารถในการอ่านของนักเรียน สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน จึงได้กาหนดแนวทางการคัดเลอื ก “นกั เรียนรกั การอ่าน” ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี ๑.๑ คณุ สมบัตขิ องนกั เรียน คุณสมบตั ิของนกั เรยี นทม่ี ีสทิ ธเิ์ ขา้ รับการคดั เลือกเพ่ือรบั รางวลั “นักเรียนรกั การอ่าน” ดังนี้ ๑.๑.๑ นกั เรยี นท่กี าลงั ศึกษาในระดบั การศึกษาก่อนประถมศึกษา ประถมศกึ ษา หรอื มธั ยมศึกษา ในโรงเรยี นสงั กดั สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา หรือสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา คมู่ ือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรกั การอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 73
๑.๑.๒ โรงเรยี นที่เปิดสอนทง้ั ระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ให้โรงเรยี นเป็นผู้พิจารณาว่าจะ ส่งนักเรียนสมัครเข้ารับการคัดเลือกในระดับใดเพียงระดับหนึ่งตามขนาดของโรงเรียนท่ีกาหนดไว้ (การนับ จานวนนักเรียนใหน้ ับจานวนนักเรยี นทงั้ หมดในโรงเรยี น) ๑.๑.๓ นักเรียนต้องได้รับการพิจารณาคัดเลือกจากโรงเรียน โดยโรงเรียนสามารถส่งเข้ารับ การคดั เลือกได้โรงเรียนละ ๑ คน ๑.๒ จานวนรางวลั ๑.๒.๑ รางวัลแบ่งตามสงั กัดและขนาดของโรงเรยี น ดงั นี้ โรงเรียนสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา จาแนกเปน็ ๓ ขนาด ดังน้ี โรงเรียนขนาดเลก็ มนี ักเรยี นไม่เกิน ๑๒๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง มนี ักเรียนต้งั แต่ ๑๒๑ คน ถงึ ๒๘๐ คน โรงเรียนขนาดใหญ่ มนี ักเรียนต้งั แต่ ๒๘๑ คนขน้ึ ไป โรงเรยี นสงั กัดสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา จาแนกเป็น ๓ ขนาด ดงั น้ี โรงเรยี นขนาดเลก็ มนี ักเรยี นไม่เกิน ๕๐๐ คน โรงเรียนขนาดกลาง มีนกั เรียนตงั้ แต่ ๕๐๑ คน ถงึ ๑,๕๐๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ มนี กั เรียนตงั้ แต่ ๑,๕๐๑ คนข้ึนไป ๑.๒.๒ รางวัลแตล่ ะสงั กัดและขนาดของโรงเรยี น แบ่งเป็น ๓ ประเภท ดงั น้ี รางวัลยอดเยย่ี ม จานวน ๑ รางวลั รางวัลดเี ด่น จานวน ๔ รางวัล รางวลั ชมเชย จานวน ๕ รางวลั ๑.๓ การดาเนนิ การคัดเลือก ๑.๓.๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานเพื่อทาหน้าทป่ี ระกาศรับสมัคร พจิ ารณาตดั สิน ประกาศผลการคดั เลือก และใหร้ างวลั ๑.๓.๒ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พจิ ารณาส่งนักเรยี นเข้ารับการคดั เลอื ก โรงเรียนละ ๑ คน ๑.๓.๓ การพจิ ารณาตัดสินรางวัล “นักเรียนรักการอา่ น” ของคณะกรรมการใหด้ าเนินการ ดังน้ี ๑) ประเมินให้ครบทุกองค์ประกอบและตัวบ่งช้ีที่กาหนดให้ ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ อาจเพิ่มเตมิ ตวั บง่ ชไ้ี ดต้ ามความเหมาะสม ๒) น้าหนักและเกณฑ์การให้คะแนนในองค์ประกอบที่ ๑ เป็นร้อยละ ๘๐ องค์ประกอบที่ ๒ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ๓) เกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตวั บ่งชใี้ ห้อยใู่ นดุลพนิ จิ ของคณะกรรมการฯ ๑.๔ องค์ประกอบในการประเมิน องคป์ ระกอบทใ่ี ช้ในการประเมินแบ่งเป็น ๒ องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ๑.๔.๑ องคป์ ระกอบดา้ นพฤติกรรมการอา่ นของนักเรยี น (รอ้ ยละ ๘๐) ๑) การใชเ้ วลาในการอา่ น (ร้อยละ ๓๐) ๒) ลกั ษณะนสิ ัยในการอา่ น (รอ้ ยละ ๓๐) ๓) การใช้หอ้ งสมุดและแหล่งการเรียนรอู้ ื่น ๆ (รอ้ ยละ ๒๐) ๑.๔.๒ องคป์ ระกอบด้านผลงานหรือกิจกรรมท่ีเกดิ จากการอา่ น (ร้อยละ ๒๐) คู่มอื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสริมนสิ ัยรักการอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 74
รายละเอียดองคป์ ระกอบและตวั บ่งชี้ องคป์ ระกอบ ตัวบ่งชี้ ๑. พฤติกรรมการอา่ นของนักเรียน ๑.๑ การใช้เวลาในการอ่าน อา่ นเป็นกจิ วตั รประจาวัน ใช้เวลาว่างทง้ั ในและนอกเวลาเรยี น ๑.๒ ลกั ษณะนสิ ยั ในการอ่าน มีความสขุ ในการอ่าน อ่านทุกท่ี อ่านทุกเร่ือง เมื่อมีโอกาส แสวงหาความรจู้ ากการอ่านทั้งในและนอกโรงเรยี น ๑.๓ การใชห้ ้องสมุดและแหลง่ การเรยี นรอู้ ืน่ ๆ ใชป้ ระโยชน์จากการอา่ น ใชห้ อ้ งสมุดและแหล่งเรียนรู้อน่ื ๆ อยา่ งสม่าเสมอ และต่อเนื่อง สนใจเข้าใชห้ ้องสมุดด้วยตนเอง ปริมาณการยืมหนงั สือจากหอ้ งสมดุ ๒. ผลงานหรอื กจิ กรรมทีเ่ กิดจากการอา่ น เชงิ ปริมาณ เชิงคณุ ภาพ ๒. รางวลั ครรู ักการอา่ น ครูท่ีมีนิสัยรักการอ่าน จะต้องเป็นผู้แสวงหาความรู้ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์โดยการอ่านทุกท่ี ทุกเวลา ทุกเรื่อง พัฒนาความรู้ด้วยการอ่านอย่างต่อเน่ืองและสม่าเสมอ และ สามารถบูรณาการการอ่านในกระบวนการเรียนการสอน จัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย สม่าเสมอ และน่าสนใจ สนองความต้องการอ่านของนักเรียน ตลอดจนกระตุ้น ส่งเสริม และสร้างบรรยากาศ ท่เี ออ้ื ต่อการอา่ นของนักเรียน ครูเป็นหัวใจสาคัญในการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่นักเรียน และเป็นแบบอย่างท่ีดีที่จะสร้างสรรค์ และพฒั นาใหน้ ักเรยี นเปน็ ผใู้ ฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน อันจะนาไปสู่การสร้างสงั คมให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ดังน้นั เพ่อื เป็น การยกย่องเชิดชูเกียรติครูที่เป็นต้นแบบการรักการอ่าน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจึงกาหนด แนวทางการคัดเลอื ก “ครูรักการอ่าน” ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี ๒.๑ คณุ สมบตั ิของครู คุณสมบตั ขิ องครูทีม่ สี ิทธิ์เขา้ รบั การคดั เลือกเพื่อรับรางวลั “ครรู ักการอ่าน” ดังน้ี ๒.๑.๑ ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในโรงเรียนระดับการศึกษาก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษา ในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หรือสานักงานเขต พนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา ซ่งึ มปี ระสบการณ์ในการสอนต่อเนือ่ งมาไม่นอ้ ยกว่า ๒ ปี ๒.๑.๒ โรงเรียนท่เี ปดิ สอนท้งั ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ใหโ้ รงเรยี นเปน็ ผพู้ ิจารณาว่าจะ ส่งครูสมัครเข้ารับการคัดเลือกในระดับใดเพียงระดับหนึ่งตามขนาดของโรงเรียนท่ีกาหนดไว้ (การนับจานวน นักเรียนให้นบั จานวนนักเรียนท้ังหมดในโรงเรยี น) ๒.๑.๓ ครูต้องได้รับการพิจารณาคัดเลือกจากโรงเรียน โดยโรงเรียนสามารถส่งผลงานเข้ารับ การคัดเลอื กได้โรงเรยี นละ ๑ คน คูม่ อื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนิสยั รกั การอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 75
๒.๒ จานวนรางวลั ๒.๒.๑ รางวลั แบง่ ตามสังกดั และขนาดของโรงเรียน ดงั นี้ โรงเรยี นสงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา จาแนกเปน็ ๓ ขนาด ดังน้ี โรงเรียนขนาดเล็ก มีนักเรียนไม่เกนิ ๑๒๐ คน โรงเรียนขนาดกลาง มนี ักเรียนตัง้ แต่ ๑๒๑ คน ถึง ๒๘๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ มนี กั เรยี นตง้ั แต่ ๒๘๑ คนขนึ้ ไป โรงเรียนสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา จาแนกเปน็ ๓ ขนาด ดงั นี้ โรงเรียนขนาดเล็ก มนี ักเรยี นไมเ่ กนิ ๕๐๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง มีนกั เรยี นต้งั แต่ ๕๐๑ คน ถึง ๑,๕๐๐ คน โรงเรียนขนาดใหญ่ มีนกั เรยี นตง้ั แต่ ๑,๕๐๑ คนข้นึ ไป ๒.๒.๒ รางวัลแต่ละสังกัดและขนาดของโรงเรยี น แบ่งเปน็ ๓ ประเภท ดงั น้ี รางวลั ยอดเยย่ี ม จานวน ๑ รางวัล รางวัลดีเดน่ จานวน ๔ รางวลั รางวัลชมเชย จานวน ๕ รางวัล ๒.๓ การดาเนนิ การคัดเลือก ๒.๓.๑ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานเพื่อทาหน้าที่ประกาศรับสมัคร พิจารณาตัดสนิ ประกาศผลการคดั เลอื ก และใหร้ างวลั ๒.๓.๒ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พจิ ารณาส่งครเู ข้ารบั การคัดเลอื ก โรงเรยี นละ ๑ คน ๒.๓.๓ การพจิ ารณาตัดสินรางวลั “ครูรักการอา่ น” ของคณะกรรมการใหด้ าเนินการ ดังน้ี ๑) ประเมินให้ครบทุกองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ที่กาหนดให้ ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ อาจเพิม่ เติมตัวบ่งช้ไี ด้ตามความเหมาะสม ๒) น้าหนักและเกณฑ์การให้คะแนนในองค์ประกอบท่ี ๑ เป็นร้อยละ ๔๐ องค์ประกอบท่ี ๒ เป็นร้อยละ ๔๐ และองค์ประกอบที่ ๓ เปน็ ร้อยละ ๒๐ ๓) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแต่ละตวั บง่ ชใ้ี ห้อยใู่ นดลุ พนิ ิจของคณะกรรมการฯ ๒.๔ องคป์ ระกอบในการประเมนิ องค์ประกอบทีใ่ ชใ้ นการประเมินแบ่งเป็น ๓ องค์ประกอบ ได้แก่ ๒.๔.๑ องค์ประกอบด้านพฤติกรรมการอา่ นของครู (รอ้ ยละ ๔๐) ๑) การใช้เวลาในการอ่าน/แสวงหาและพัฒนาความรู้ดว้ ยการอา่ น (รอ้ ยละ ๒๐) ๒) ลักษณะนิสยั ในการอา่ น (รอ้ ยละ ๑๐) ๓) การใช้ห้องสมดุ และแหลง่ การเรยี นรู้อ่ืน ๆ (ร้อยละ ๑๐) ๒.๔.๒ องคป์ ระกอบดา้ นการส่งเสริมใหน้ ักเรียนรักการอา่ น (รอ้ ยละ ๔๐) ๒.๔.๓ องค์ประกอบดา้ นผลงานการอา่ น/ผลงานท่ีสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นรักการอา่ น (รอ้ ยละ ๒๐) คมู่ ือการดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นิสัยรักการอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 76
รายละเอยี ดองค์ประกอบตวั บ่งชี้ องค์ประกอบ ตัวบง่ ชี้ ๑. พฤตกิ รรมการอา่ นของครู จัดทารายช่ือหนังสอื จากการอา่ น ๑.๑ การใชเ้ วลาในการอ่าน/แสวงหาและ อ่านเป็นกจิ วัตรประจาวัน ใชเ้ วลาวา่ งในการอา่ นหนังสอื พฒั นาความรดู้ ว้ ยการอา่ น/ สบื เสาะ ค้นหาหนงั สือเพ่ือนอ่าน ขวนขวายหาความรู้ด้านเทคนิคการอ่าน ๑.๒ ลกั ษณะนิสัยการอ่าน มีความสุขในการอ่าน อา่ นทุกที่ อา่ นทกุ เรอื่ ง เม่ือมีโอกาส อ่านแล้วบอกต่อ/เล่าเรื่องทอี่ ่านให้ผู้อื่นฟัง เข้ารว่ มกจิ กรรมรักการอา่ น ๑.๓ การใชห้ ้องสมดุ และแหล่งการเรยี นรู้อนื่ ๆ ใชป้ ระโยชน์จากการอา่ น ใชห้ อ้ งสมุดและแหลง่ เรยี นรูอ้ ่ืน ๆ อย่างสม่าเสมอ และต่อเนือ่ ง สนใจเข้าใช้หอ้ งสมุดด้วยตนเอง ปริมาณการยมื หนงั สือจากห้องสมุด ๒. การสง่ เสริมให้นกั เรยี นรกั การอา่ น นาการอ่านไปใชจ้ ัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สรา้ งเครือขา่ ยการอ่าน บูรณาการการอ่านในการจัดการเรียนการสอน จดั กจิ กรรมส่งเสริมนสิ ยั รักการอา่ น สร้างโอกาสใหน้ ักเรยี นเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั /ประกวด กิจกรรมการรักการอา่ น พัฒนาและจัดทาสอ่ื การเรียนการสอนเพื่อสง่ เสรมิ การอ่าน ๓. ผลงานการอา่ น/ผลงานที่สง่ เสรมิ ให้นกั เรียน เชิงปริมาณ รกั การอ่าน เชงิ คณุ ภาพ ๓. รางวลั ผู้บรหิ ารรกั การอา่ น ผบู้ ริหารท่ีมีนสิ ัยรักการอ่าน จะต้องเป็นผมู้ ีวสิ ยั ทศั น์ เป็นผู้นาดา้ นการอา่ น แสวงหาความร้ปู ฏิบัติตน เป็นแบบอย่างที่ดี ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการอ่านทุกที่ ทุกเวลา ทุกเร่ือง พัฒนาความรู้ด้วยการอ่าน อย่างต่อเนือ่ งและสม่าเสมอ ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาการอ่านของนักเรยี น ครู และบคุ ลากรในโรงเรยี นอย่างจริงจัง ผู้บริหารมีบทบาทเป็นผู้นา เป็นแบบอย่างที่ดีที่จะสร้างสรรค์ พัฒนา ผลักดัน และส่งเสริมสนับสนุน ให้เกิดการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนชุมชนให้เป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่เรียน อันจะนาไปสู่การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ดังนั้น เพ่ือเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติผู้บริหารท่ีเป็นต้นแบบ การรักการอ่าน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจงึ กาหนดแนวทางการคัดเลือก “ผู้บริหารรกั การอ่าน” ดังรายละเอียดต่อไปน้ี คู่มอื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ยั รกั การอา่ นและการพัฒนาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 77
๓.๑ คุณสมบัตขิ องผูบ้ ริหาร คุณสมบตั ขิ องผูบ้ รหิ ารท่ีมสี ทิ ธ์เิ ขา้ รับการคดั เลือกเพ่อื รับรางวลั “ผู้บรหิ ารรักการอ่าน” ดังน้ี ๓.๑.๑ ผู้บริหาร หมายถึง ผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียนระดับการศึกษา ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหรือ สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา ซง่ึ ดารงตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารตอ่ เนอ่ื งมาไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ปี ๓.๑.๒ โรงเรียนที่เปิดสอนทั้งระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้โรงเรียนเป็นผู้พิจารณาว่า จะส่งผู้บริหารสมัครเข้ารับการคัดเลือกในระดับใดเพียงระดับหน่ึงตามขนาดของโรงเรียนที่กาหนดไว้ (การนับ จานวนนกั เรียนใหน้ ับจานวนนักเรียนทงั้ หมดในโรงเรยี น) ๓.๑.๓ ผู้บริหารสมัครเข้าประกวดในระดับใดระดับหนึ่งตามขนาดของโรงเรียนท่ีกาหนดไว้ (การนับจานวนนักเรยี นให้นบั จานวนนักเรยี นท้ังหมดในโรงเรยี น) ๓.๑.๔ ผูบ้ รหิ ารสมคั รเข้าประกวดได้โรงเรียนละ ๑ คน ๓.๒ จานวนรางวลั ๓.๒.๑ รางวัลแบ่งตามสังกัดและขนาดของโรงเรียน ดังน้ี โรงเรยี นสังกัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษา จาแนกเป็น ๓ ขนาด ดงั นี้ โรงเรยี นขนาดเล็ก มีนักเรยี นไม่เกนิ ๑๒๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง มีนักเรียนต้งั แต่ ๑๒๑ คน ถงึ ๒๘๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ มีนกั เรยี นตง้ั แต่ ๒๘๑ คนขน้ึ ไป โรงเรียนสังกดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา จาแนกเปน็ ๓ ขนาด ดงั น้ี โรงเรียนขนาดเล็ก มีนกั เรยี นไมเ่ กิน ๕๐๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง มนี ักเรียนต้ังแต่ ๕๐๑ คน ถึง ๑,๕๐๐ คน โรงเรียนขนาดใหญ่ มนี ักเรียนต้งั แต่ ๑,๕๐๑ คนขึ้นไป ๓.๒.๒ รางวลั แตล่ ะสงั กดั และขนาดของโรงเรียน แบ่งเป็น ๓ ประเภท ดงั นี้ รางวลั ยอดเยยี่ ม จานวน ๑ รางวลั รางวลั ดเี ดน่ จานวน ๔ รางวัล รางวลั ชมเชย จานวน ๕ รางวัล ๓.๓ การดาเนนิ การคดั เลือก ๓.๓.๑ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานเพื่อทาหน้าท่ปี ระกาศรับสมัคร พจิ ารณาตดั สิน ประกาศผลการคัดเลอื ก และให้รางวลั ๓.๓.๒ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา พจิ ารณาส่งผบู้ รหิ ารเขา้ รบั การคดั เลือก โรงเรียนละ ๑ คน ๓.๓.๓ การพิจารณาตัดสนิ “ผู้บรหิ ารรกั การอา่ น” ของคณะกรรมการให้ดาเนินการ ดงั น้ี ๑) ประเมินให้ครบทุกองค์ประกอบและตัวบ่งช้ีท่ีกาหนดให้ ท้ังน้ี คณะกรรมการฯ อาจเพ่ิมเติมตัวบ่งช้ไี ดต้ ามความเหมาะสม ๒) น้าหนักและเกณฑ์การให้คะแนนในองค์ประกอบท่ี ๑ เป็นร้อยละ ๔๐ องค์ประกอบที่ ๒ เป็นรอ้ ยละ ๔๐ และองคป์ ระกอบที่ ๓ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐ ๓) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแต่ละตัวบ่งช้ใี หอ้ ยใู่ นดุลพนิ ิจของคณะกรรมการฯ คมู่ อื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการสง่ เสริมนิสัยรกั การอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ประจาปงี บประมาณ 2561 78
๓.๔ องคป์ ระกอบในการประเมิน องค์ประกอบทีใ่ ช้ในการประเมนิ แบ่งเปน็ ๓ องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ๓.๔.๑ องค์ประกอบดา้ นพฤตกิ รรมการอ่านของผู้บรหิ าร (ร้อยละ ๔๐) ๑) การใช้เวลาในการอ่าน/แสวงหาและพัฒนาความรู้ดว้ ยการอ่าน (รอ้ ยละ ๒๐) ๒) ลกั ษณะนสิ ยั ในการอา่ น (ร้อยละ ๑๐) ๓) การใช้หอ้ งสมดุ และแหล่งการเรยี นรูอ้ ่นื ๆ (ร้อยละ ๑๐) ๓.๔.๒ องค์ประกอบด้านการส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนรักการอ่าน (ร้อยละ ๔๐) ๓.๔.๓ องค์ประกอบด้านผลงานการอ่าน/ผลงานที่ส่งเสริมให้นักเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียน รกั การอ่าน (รอ้ ยละ ๒๐) รายละเอียดองค์ประกอบและตวั บ่งชี้ องค์ประกอบ ตัวบง่ ชี้ ๑. พฤติกรรมการอา่ นของผู้บริหาร ๑.๑ การใช้เวลาในการอ่าน/แสวงหา และ อ่านเปน็ กจิ วัตรประจาวัน พัฒนาความรู้ด้วยการอ่าน/ ใชเ้ วลาว่างในการอ่านหนงั สอื สืบเสาะ แสวงหาและแนะนาหนงั สือเพ่ือสง่ เสริม การอ่านในโรงเรียน ๑.๒ ลกั ษณะนสิ ัยการอ่าน มีความสขุ ในการอา่ น อา่ นทุกท่ี อา่ นทุกเร่ือง เม่ือมโี อกาส อา่ นแล้วบอกตอ่ /เลา่ เร่ืองที่อ่านใหผ้ ู้อนื่ ฟงั ๑.๓ การใช้ห้องสมุดและแหล่งการเรียนรู้ อ่ืน ๆ ใชป้ ระโยชน์จากการอา่ น ใช้ห้องสมดุ และแหล่งการเรียนรอู้ ื่น ๆ อย่าง สม่าเสมอและต่อเนอื่ ง ปริมาณการยืมหนงั สอื จากหอ้ งสมดุ ๒. การสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้นักเรียน ครู และ มีวสิ ยั ทศั น์เนน้ การอา่ นทช่ี ัดเจนและสอดคลอ้ งกับ บุคลากรในโรงเรยี นรักการอา่ น บริบทของโรงเรียน มแี ผนงาน โครงการ และ การวางแผนติดตามงานกิจกรรมสง่ เสริมนิสยั รกั การอา่ นอย่างเป็นระบบ นาชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วม ในการสนับสนุนปจั จยั ตา่ ง ๆ อยา่ งเตม็ ท่ี สง่ เสริมสนับสนนุ งบประมาณและบุคลากรในการจัด กิจกรรมสง่ เสรมิ นิสัยรักการอ่าน สรา้ งเครอื ข่ายการอ่านท้งั ในและนอกโรงเรียน สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ นสิ ยั รัก การอา่ นอย่างหลากหลาย สม่าเสมอและต่อเน่ือง สร้างโอกาสใหน้ ักเรยี น ครู บุคลากรในโรงเรยี น เข้ารว่ มการแข่งขัน/ประกวดกิจกรรมการรักการอา่ น คูม่ ือการดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการส่งเสริมนสิ ยั รกั การอ่านและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 79
องค์ประกอบ ตัวบง่ ช้ี ๓. ผลงานการอ่าน/ผลงานท่ีส่งเสริมให้ เชิงปรมิ าณ นักเรียน ครู และบคุ ลากรในโรงเรยี นรกั การอ่าน เชิงคุณภาพ ๔. รางวัลโรงเรยี นรกั การอา่ น โรงเรียนที่ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน จะต้องเป็นโรงเรียนท่ีบุคลากรท่ีเก่ียวข้องทุกภาคส่วนการประสาน สัมพนั ธ์ในการส่งเสริม สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมสง่ เสริมนสิ ัยรักการอา่ น และจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีบูรณาการ การอ่านเขา้ ในทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ไดป้ ระสบความสาเรจ็ โรงเรียนมีบทบาทสาคัญในการจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ดังน้ัน เพอื่ เป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติโรงเรียนที่เป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในการจัดกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านสู่กระบวนการ เรียนรู้ท่ีย่ังยืน และการสร้านิสัยรักการอ่าน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดแนวทาง การคดั เลือก “โรงเรยี นรกั การอา่ น” ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ ๔.๑ คณุ สมบัตขิ องโรงเรยี น คณุ สมบัตขิ องโรงเรียนท่ีมสี ทิ ธ์ิส่งเข้ารับการคัดเลือกเพ่ือรับรางวัล “โรงเรียนรักการอ่าน” ดงั นี้ ๕.๑.๑ โรงเรียนท่ีจัดการศึกษาก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษาสังกัดสานักงาน เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา หรอื สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา ๕.๑.๒ โรงเรยี นที่เปดิ สอนทั้งระดับประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา ใหโ้ รงเรียนเป็นผ้พู จิ ารณาว่าจะ ส่งผู้บริหารสมัครเข้ารับการคัดเลือกในระดับใดระดับหนึ่งตามขนาดของโรงเรียนที่กาหนดไว้ (การนับจานวน นักเรยี นให้นบั จานวนนกั เรยี นท้ังหมดในโรงเรยี น) ๔.๒ จานวนรางวัล ๔.๒.๑ รางวัลแบง่ ตามสงั กัดและขนาดของโรงเรยี น ดังนี้ โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา จาแนกเปน็ ๓ ขนาด ดงั น้ี โรงเรยี นขนาดเล็ก มีนักเรียนไมเ่ กิน ๑๒๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง มนี ักเรยี นต้ังแต่ ๑๒๑ คน ถงึ ๒๘๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ มนี ักเรียนตงั้ แต่ ๒๘๑ คนขน้ึ ไป โรงเรียนสงั กดั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา จาแนกเปน็ ๓ ขนาด ดงั น้ี โรงเรยี นขนาดเลก็ มีนกั เรยี นไมเ่ กิน ๕๐๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง มีนกั เรียนต้งั แต่ ๕๐๑ คน ถงึ ๑,๕๐๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ มนี กั เรยี นตง้ั แต่ ๑,๕๐๑ คนขน้ึ ไป ๔.๒.๒ รางวัลแตล่ ะสงั กดั และขนาดของโรงเรยี น แบ่งเปน็ ๓ ประเภท ดงั น้ี รางวัลยอดเยีย่ ม จานวน ๑ รางวลั รางวลั ดีเด่น จานวน ๔ รางวัล รางวลั ชมเชย จานวน ๕ รางวลั ๔.๓ การดาเนนิ การคดั เลือก ๔.๓.๑ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานเพื่อทาหน้าที่ประกาศ รบั สมัคร พิจารณาตดั สิน ประกาศผลการคัดเลือก และใหร้ างวลั ๔.๓.๒ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พจิ ารณาโรงเรยี นเข้ารับการคดั เลือก โรงเรียนละ ๑ คน คู่มอื การดาเนินงานกจิ กรรมโครงการส่งเสริมนิสัยรกั การอ่านและการพฒั นาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 80
๔.๓.๓ การพจิ ารณาตัดสิน “โรงเรียนรักการอา่ น” ของคณะกรรมการใหด้ าเนนิ การ ดังน้ี ๑) ประเมินให้ครบทุกองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ท่ีกาหนดให้ ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ อาจเพ่ิมเติมตวั บ่งชไ้ี ดต้ ามความเหมาะสม ๒) น้าหนักและเกณฑ์การใหค้ ะแนนในองค์ประกอบที่ ๑ เป็นร้อยละ ๒๐ องค์ประกอบที่ ๒ เป็นร้อยละ ๔๐ และองค์ประกอบที่ ๓ เป็นรอ้ ยละ ๔๐ ๓) เกณฑ์การใหค้ ะแนนแตล่ ะตวั บ่งชีใ้ ห้อยใู่ นดลุ พินจิ ของคณะกรรมการฯ ๔.๔ องค์ประกอบในการประเมิน องค์ประกอบที่ใชใ้ นการประเมนิ แบ่งเปน็ ๓ องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ ๔.๔.๑ องค์ประกอบดา้ นการมีส่วนรว่ มของผเู้ กีย่ วขอ้ ง (ร้อยละ ๒๐) ๔.๔.๒ องค์ประกอบด้านการจัดกจิ กรรมส่งเสริมนิสัยรกั การอา่ น (ร้อยละ ๔๐) ๔.๔.๓ องคป์ ระกอบด้านการบูรณาการการอา่ นในกระบวนการเรยี นรู้ (รอ้ ยละ ๔๐) รายละเอียดองคป์ ระกอบและตวั บ่งช้ี องค์ประกอบ ตวั บง่ ชี้ ๑. การมสี ่วนร่วมของผูเ้ กี่ยวขอ้ งในการ ดาเนนิ งานสง่ เสรมิ นิสยั กรกั การอา่ น การมสี ว่ นรว่ มของบุคลากรในโรงเรียน ๒. การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมนิสัยรกั การอา่ น การมสี ่วนรว่ มของบุคลากรนอกโรงเรียน ๓. การบรู ณการการอา่ นในกระบวนการเรียนรู้ การกาหนดแผนกลยุทธ/์ แผนงาน/โครงการ/ แผนปฏิบัติงานประจาปที ช่ี ัดเจนและ สอดคลอ้ งกบั นโยบายในการส่งเสริมนิสัย รักการอา่ น ความหลากหลายของกิจกรรม ความต่อเน่ืองและสมา่ เสมอในการจดั กจิ กรรม ความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของ นักเรียน การเข้าใช้ห้องสมดุ ของนักเรยี น ครู และบุคลกร ในโรงเรียน การยืมหนังสือและสื่ออ่นื ๆ ในห้องสมุดของ นกั เรียน ครู และบคุ ลการในโรงเรยี น การบรู ณาการทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การบรู ณาการเหมาะสม/สอดคล้อง กบั เนื้อหา บูรณาการในกระบวนการการจดั การเรียน การสอนและการวดั ผลประเมินผล นกั เรยี นมีนสิ ัยรกั การอ่านเพ่มิ เตมิ คูม่ ือการดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่านและการพฒั นาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 81
๕. รางวลั หอ้ งสมุดมชี วี ิต ห้องสมุดมีชีวิต จะต้องเป็นห้องสมุดที่สร้างสรรค์ข้ึนให้เป็นมิติใหม่ เป็นห้องสมุดท่ีมีบรรยากาศทาง กายภาพ บริการ และกิจกรรมที่สามารถรองรับทุกความต้องการเรียนรู้ของผู้ใช้บริการ เน้นความโปร่ง โล่ง สบาย มีส่ือหลากหลายเป็นปัจจุบัน มีกิจกรรมท่ีส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองหลากหลายรูปแบบ มีระบบ การใหบ้ ริการทีส่ ะดวก รวดเร็ว และเป็นศูนย์รวบรวมขอ้ มูลขา่ วสารทมี่ คี ุณคา่ ตอ่ การเรยี นรู้ ห้องสมดุ เปน็ แหลง่ การเรยี นรทู้ ่มี คี วามสาคญั ยง่ิ ในฐานะเปน็ รากฐานของการสร้างสังคม ภมู ปิ ญั ญาและ การเรียนรู้ โดยเฉพาะห้องสมุดมีชีวิตที่ผู้เรียนใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้และเป็นสถานท่ีสาหรับใช้เวลาว่าง ที่ได้ประโยชน์ท้ังความรู้และความบันเทิง ดังนั้น เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติห้องสมุดโรงเรียนที่เป็น แบบอย่างที่ดีในการจัดห้องสมุดในรูปแบบห้องสมุดมีชีวิต สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จงึ กาหนดแนวทางการคัดเลือก “ห้องสมดุ มชี ีวติ ” ๕.๑ คณุ สมบัติของห้องสมดุ โรงเรียน คุณสมบัตขิ องโรงเรยี นที่มสี ิทธสิ์ ง่ ห้องสมุดเข้ารับการคัดเลือกเพ่ือรับรางวลั “ห้องสมุดมีชีวติ ” ดงั นี้ ๕.๑.๑ โรงเรียนที่ส่งห้องสมุดมีชีวิตเข้ารับการคัดเลือก เป็นโรงเรียนโรงเรียนท่ีจัดการศึกษา ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา หรือมัธยมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา หรือ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา ๕.๑.๒ โรงเรยี นท่ีเปิดสอนทง้ั ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ใหโ้ รงเรียนเป็นผูพ้ จิ ารณาว่าจะ ส่งห้องสมุดมีชีวิตสมัครเข้ารับการคัดเลือกในระดับใดเพียงระดับหน่ึงตามขนาดของโรงเรียนท่ีกาหนดไว้ (การนับจานวนนกั เรยี นให้นบั จานวนนักเรยี นท้ังหมดในโรงเรียน) ๕.๒ จานวนรางวลั ๕.๒.๑ รางวลั แบ่งตามสงั กดั และขนาดของโรงเรียน ดงั นี้ โรงเรียนสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษา จาแนกเป็น ๓ ขนาด ดงั นี้ โรงเรยี นขนาดเลก็ มีนกั เรียนไมเ่ กนิ ๑๒๐ คน โรงเรยี นขนาดกลาง มนี ักเรยี นตง้ั แต่ ๑๒๑ คน ถึง ๒๘๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ มนี ักเรียนตง้ั แต่ ๒๘๑ คนขึน้ ไป โรงเรยี นสงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา จาแนกเป็น ๓ ขนาด ดังน้ี โรงเรยี นขนาดเลก็ มนี กั เรียนไมเ่ กนิ ๕๐๐ คน โรงเรียนขนาดกลาง มีนกั เรียนตง้ั แต่ ๕๐๑ คน ถึง ๑,๕๐๐ คน โรงเรยี นขนาดใหญ่ มีนกั เรยี นต้ังแต่ ๑,๕๐๑ คนขึน้ ไป ๕.๒.๒ รางวัลแต่ละสังกัดและขนาดของโรงเรยี น แบ่งเป็น ๓ ประเภท ดังนี้ รางวลั ยอดเยย่ี ม จานวน ๑ รางวัล รางวลั ดเี ดน่ จานวน ๔ รางวัล รางวลั ชมเชย จานวน ๕ รางวลั ๕.๓ การดาเนนิ การคดั เลอื ก ๕.๓.๑ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงานเพ่ือทาหน้าท่ีประกาศรับสมัคร พิจารณาตัดสนิ ประกาศผลการคดั เลือก และให้รางวัล ๕.๓.๒ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประชาสัมพันธ์ให้โรงเรียนในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา พิจารณาสง่ หอ้ งสมดุ เข้ารบั การคดั เลือก โรงเรียนละ ๑ คน คูม่ อื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ นิสยั รกั การอา่ นและการพฒั นาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 82
๕.๓.๓ การพิจารณาตัดสนิ “ห้องสมุดมชี ีวิต” ของคณะกรรมการให้ดาเนนิ การ ดงั นี้ ๑) ประเมินใหค้ รบทุกองค์ประกอบและตัวบ่งชท้ี ่ีกาหนดให้ ทง้ั นี้ คณะกรรมการฯ อาจเพิ่มเติม ตัวบง่ ช้ไี ด้ตามความเหมาะสม ๒) น้าหนักและเกณฑ์การให้คะแนนในองค์ประกอบท่ี ๑ เป็นร้อยละ ๒๐ องค์ประกอบที่ ๒ เป็นร้อยละ ๒๐ องค์ประกอบที่ ๓ เป็นร้อยละ ๒๐ องค์ประกอบที่ ๔ เป็นร้อยละ ๒๐ และองค์ประกอบท่ี ๕ เปน็ ร้อยละ ๒๐ ๓) เกณฑ์การใหค้ ะแนนแตล่ ะตวั บ่งช้ีใหอ้ ยูใ่ นดุลพนิ จิ ของคณะกรรมการฯ ๕.๔ องคป์ ระกอบในการประเมิน องคป์ ระกอบที่ใชใ้ นการประเมินแบ่งเปน็ ๕ องค์ประกอบ 1. องคป์ ระกอบด้านการจดั สภาพแวดล้อม (ร้อยละ ๒๐) 2. องค์ประกอบดา้ นการบริหารจดั การ (ร้อยละ ๒๐) 3. องคป์ ระกอบดา้ นการบริการ (รอ้ ยละ ๒๐) 4. องคป์ ระกอบด้านการจดั กิจกรรม (ร้อยละ ๒๐) 5. องค์ประกอบด้านผลการดาเนินงาน (ร้อยละ ๒๐) รายละเอยี ดองค์ประกอบและตัวบ่งช้ี องค์ประกอบ ตัวบ่งช้ี ๑. การจดั สภาพแวดล้อม ๒. การบรหิ ารจัดการ จดั สิง่ แวดล้อมและบรรยากาศในหอ้ งสมุดให้ น่าใช้ สอดคล้องกับความต้องการของผ้ใู ช้ และเอื้อต่อการอ่าน ๓. การจดั บรกิ าร วิสัยทัศน์และแผนการดาเนินงานห้องสมดุ ของ โรงเรยี น มคี ณะกรรมการ/ผรู้ ับผิดชอบปฏบิ ตั ิงานทั้งในและ นอกเวลาเรียน การบริหารจดั การห้องสมุดให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีสว่ นรว่ ม จดั ทรัพยากรสารสนเทศ เชน่ สอ่ื สง่ิ พิมพ์ สอ่ื โสตทัศน์ และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ รวมทงั้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ทสี่ อดคล้องกบั หลัดสูตร และความตอ้ งการของ ผู้ใช้บรกิ ารอยา่ งเหมาะสมและเพียงพอ จดั ใหม้ รี ะบบบริการทสี่ ะดวก รวดเร็ว เช่น - บรกิ ารแนะนาหนังสือใหม่ - ทรัพยากรสารสนเทศมีหลากหลาย เพยี งพอต่อ ความต้องการของผใู้ ช้บริการ และครอบคลุม ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ทกุ ระดับชัน้ - บริการหมุนเวยี นทรัพยากรสารสนเทศ - บรกิ ารผ้ปู กครองและชุมชน คมู่ อื การดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นสิ ยั รักการอา่ นและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 83
องค์ประกอบ ตัวบ่งช้ี ๔. การจดั กิจกรรม จัดกจิ กรรมสง่ เสริมนิสัยรักการอา่ นทัง้ ในและนอก ๕. ผลการดาเนนิ งาน หอ้ งสมดุ อยา่ งต่อเน่อื ง สม่าเสมอ เชน่ การจัดตะกร้า หนังสือเคลื่อนท่ี ประกวดคาขวญั ประกวดยอดนักอ่าน เรยี งความ ทายปัญหาจากการอ่าน โต้วาที ฯลฯ จดั กิจกรรมตามวันสาคัญและวาระพิเศษต่าง ๆ อยา่ งสม่าเสมอ และต่อเน่ือง เช่น โครงการตาม พระราชดาริ งานเฉลิมพระเกียรติ 60 ปคี รองราชย์ วันรกั การอ่าน วันเด็ก วันสาคัญทางศาสนา ฯลฯ การจัดกจิ กรรมทีส่ ่งเสรมิ การเรยี นรู้ในทุกกลมุ่ สาระ การเรียนรู้ ทกุ ระดับชนั้ และกิจกรรมตามความสนใจ จัดกิจกรรมท่สี ่งเสรมิ นิสัยรักการอา่ นสาหรบั บคุ ลากรในชมุ ชน เช่น แรลลคี่ รอบครัวรกั การอ่าน ห้องสมดุ เคลื่อนที่ ศาลาความร้คู ชู่ ุมชน ฯลฯ การจัดกจิ กรรมที่ใหบ้ ุคลากรหลายฝา่ ยเขา้ มามีสว่ นรว่ ม ความพอใจของผู้ใช้บริการทั้งในด้าน - การจัดสภาพแวดลอ้ ม - การบรหิ ารจัดการ - การบริการ - การจัดกิจกรรม สถติ กิ ารใชบ้ ริการห้องสมดุ /การยมื – คนื หนงั สือ คู่มือการดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นิสยั รักการอ่านและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 84
7 แนวทางการประเมนิ การสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ภาษาไทย การส่งเสริมนสิ ัยรักการอา่ น และการพฒั นาหอ้ งสมุดมีชวี ติ การประเมินการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทย การส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน และการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต เป็นการกากับ ติดตามผลความก้าวหน้าของการดาเนินงานดังกล่าวในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและโรงเรียน ว่าสาเร็จตามแผนงาน/โครงการ/วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ ซึ่งข้อมูลจากการประเมินจะนาผลไปวิเคราะหป์ ัจจัย เหตแุ หง่ ความสาเรจ็ และความล้มเหลว เพ่อื ใช้ในการปรบั ปรุงแนวทางดาเนินงานท้งั ในปัจจบุ ันและอนาคตต่อไป สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้กาหนดแนวทางการประเมินการส่งเสริมการเรียนรู้ ภาษาไทย การส่งเสรมิ นสิ ัยรกั การอ่าน และการพฒั นาหอ้ งสมดุ มชี ีวิต ประจาปงี บประมาณ 2561 เพื่อเป็นแนวทาง ให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและโรงเรียน ใช้เป็นเคร่ืองมือในการเก็บข้อมูลการส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทย การสง่ เสริมนสิ ยั รักการอ่าน และการพัฒนาหอ้ งสมดุ มีชีวติ ดงั นี้ กลยทุ ธท์ ่ี ๑ สง่ เสริมและพัฒนาทักษะภาษาไทยเพอื่ สร้างนิสยั รักการอา่ นและการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ดั แหลง่ ขอ้ มลู / วิธกี ารบนั ทกึ จานวน จานวน รอ้ ยละ ขอ้ มลู นกั เรยี น นักเรียนที่ ท่ผี า่ น เครือ่ งมอื ทั้งหมด ผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ สรุปจากจานวน จานวน ๑. เดก็ ปฐมวัย สนทนา โตต้ อบ แบบบันทกึ การ ผู้เรยี นที่ผา่ น นกั เรยี น จานวน ร้อยละของ เล่าเรอ่ื งใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ อา่ น อ่านระดับปฐมวยั เกณฑ์ จานวน นกั เรียนที่ นักเรยี นท่ี เขียนภาพและสญั ลักษณ์ได้ สรุปจากจานวน นกั เรยี น ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ผู้เรยี นทผี่ ่าน ๒. นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา - แบบบนั ทึกการ เกณฑ์ จานวน จานวน รอ้ ยละของ เลอื กอ่านหนังสอื /ส่ือท่ีตอ้ งการ อ่านระดับชน้ั นักเรยี น นกั เรยี นท่ี นกั เรยี นที่ และสื่อสารเรื่องทีอ่ ่านใหผ้ ู้อ่ืน ประถมศึกษาปที ่ี สรปุ จานวนผูเ้ รยี น ผา่ นเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ เข้าใจ โดยการพดู เขยี น แสดง ๑ - ๓ ทผ่ี า่ นเกณฑ์ ความคดิ เหน็ สรุปความและ - แบบบนั ทึกการ จานวน รอ้ ยละของ ข้อคิดเหน็ จากเรอ่ื งทอ่ี ่านไป อ่านระดบั ชน้ั นกั เรยี นที่ นักเรียนที่ ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวนั ประถมศกึ ษาปีท่ี ผ่านเกณฑ์ ผา่ นเกณฑ์ ๔-๖ ๓. นักเรียนระดบั มธั ยมศึกษา แบบบันทึกการ เลอื กอา่ นหนงั สอื /ส่ือตามความ อา่ นระดับชั้น สนใจและสอ่ื สารเรือ่ งทอี่ า่ นใหผ้ ู้อนื่ มธั ยมศึกษา เขา้ ใจโดยการพดู เขยี น แสดงความ คดิ เหน็ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ สรา้ งสรรคป์ ระเมนิ คา่ และนา ขอ้ คดิ ไปประยุกต์ใชแ้ ก้ปัญหาใน การดาเนินชวี ติ คู่มือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสริมนสิ ัยรกั การอา่ นและการพฒั นาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 85
ตัวชี้วัด แหลง่ ขอ้ มลู / วธิ ีการบนั ทกึ จานวน จานวน ร้อยละ เคร่อื งมือ ข้อมลู นกั เรียน นกั เรียนที่ ที่ผา่ น ท้งั หมด ผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ ๔. นักเรียนทุกระดับช้ันอา่ น แบบสรุปสถิติการ สรปุ จากจานวน จานวน จานวน ร้อยละของ หนังสอื /สอ่ื ท่หี ลากหลายอย่าง อา่ นหนงั สือของ หนงั สอื ท่อี ่าน นกั เรียน นกั เรยี นที่ นักเรยี นที่ สม่าเสมอ และมีนสิ ยั รกั การอ่าน นักเรยี น ผา่ นเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ๕. โรงเรียนบรหิ ารแผนงาน/ แบบสรุปโรงเรียน สรุปจากจานวน จานวน จานวน ร้อยละของ โครงการส่งเสริมนสิ ยั รกั การอา่ น บริหารแผนงาน/ โรงเรยี นบริหาร โรงเรยี น โรงเรยี น โรงเรียน ได้บรรลุวตั ถุประสงค์และ โครงการส่งเสริม แผนงาน/โครงการ บรหิ าร บริหาร บริหาร เปา้ หมายชัดเจน นสิ ัยรกั การอ่าน สง่ เสรมิ นสิ ยั แผนงาน/ แผนงาน/ แผนงาน/ รกั การอา่ น โครงการ โครงการ โครงการ ส่งเสรมิ นสิ ยั บรรลุ บรรลุ รักการอ่าน วัตถุประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ และเปา้ หมาย และเป้าหมาย ๖. ครผู ูส้ อน ครหู รอื บุคลากรท่ี แบบสรปุ ครผู สู้ อน สรปุ จากจานวน จานวน จานวน รอ้ ยละของ ทาหนา้ ที่บรรณารักษร์ ่วมกันจัด ครูหรอื บุคลากรท่ี ครูผสู้ อน ครหู รือ ครผู สู้ อน ครู ครูผสู้ อน ครู ครูผูส้ อน ครู กิจกรรมส่งเสริมการอ่านอย่าง ทาหนา้ ที่ บคุ ลากรท่ีทา หรือ หรอื หรอื ตอ่ เน่อื งและเกดิ ประโยชน์ บรรณารกั ษ์ หนา้ ท่ีบรรณารักษ์ บุคลากรที่ บุคลากรท่ี บคุ ลากรท่ี ร่วมกนั จัดกิจกรรม รว่ มกันจัดกิจกรรม ทาหนา้ ที่ ทาหน้าท่ี ทาหนา้ ที่ สง่ เสริมการอา่ น ส่งเสริม บรรณารักษ์ บรรณารักษ์ บรรณารกั ษ์ การอ่าน ร่วมกันจัด รว่ มกันจัด รว่ มกนั จดั กจิ กรรม กจิ กรรม กิจกรรม ๗. ครผู สู้ อน ครหู รือบุคลากรที่ แบบสรปุ ครผู สู้ อน สรปุ จากจานวน จานวน จานวน รอ้ ยละของ ทาหนา้ ทบ่ี รรณารกั ษ์มกี าร ครหู รือบคุ ลากรที่ ครผู สู้ อน ครหู รอื ครผู สู้ อน ครู ครูผสู้ อน ครู ครผู สู้ อน ครู บูรณาการการอา่ นในกลุม่ สาระ ทาหนา้ ที่ บคุ ลากรทท่ี า หรอื หรอื หรือ การเรยี นรู้ทง้ั ในหอ้ งเรยี นและ บรรณารกั ษม์ ี หนา้ ท่บี รรณารกั ษ์ บคุ ลากรที่ บุคลากรที่ บุคลากรท่ี นอกห้องเรยี น การบูรณาการการ มกี ารบูรณาการ ทาหนา้ ท่ี ทาหนา้ ท่ี ทาหนา้ ท่ี อ่านในทุกกล่มุ การอ่านในทกุ กล่มุ บรรณารกั ษ์ บรรณารักษ์ บรรณารกั ษ์ สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ มกี ารบูรณา มีการบรู ณา มกี ารบรู ณา การการอ่าน การการอา่ น การการอา่ น ในทกุ กลมุ่ ในทกุ กลมุ่ ในทกุ กลุ่ม สาระการ สาระการ สาระการ เรยี นรู้ เรียนรู้ทง้ั ใน เรียนรทู้ ั้งใน หอ้ งเรียน ห้องเรยี น และนอก และนอก หอ้ งเรียน ห้องเรียน คู่มอื การดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอา่ นและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 86
กลยทุ ธ์ท่ี 2 สง่ เสริมและพัฒนาห้องสมุดมีชีวติ ส่อื การอ่าน กจิ กรรม วิจยั และนวตั กรรมการอา่ น ตัวชวี้ ัด แหล่งข้อมลู / วิธีการบันทกึ จานวน จานวน รอ้ ยละ เครื่องมือ ข้อมูล ทง้ั หมด ท่ีผา่ น ท่ีผ่าน เกณฑ์ เกณฑ์ ๑. โรงเรียนจดั หอ้ งสมดุ มชี วี ิต การติดตาม จานวนโรงเรยี นท่ี จานวน ตามมาตรฐานหอ้ งสมุดโรงเรยี น โรงเรยี นจัด ผ่านเกณฑ์ โรงเรยี น จานวน ร้อยละของ ของ สพฐ. หอ้ งสมุดมีชีวิต มาตรฐาน ทั้งหมด โรงเรียนท่ี โรงเรยี นท่ี ตามมาตรฐาน ผา่ นเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ ๒. ห้องสมดุ โรงเรยี นมสี อ่ื การ ห้องสมุดโรงเรียน จานวนหอ้ งสมดุ ที่ จานวน อ่านและนวัตกรรมการอ่านท่ีมี ของ สพฐ. มีส่อื การอา่ นและ ห้องสมุด จานวน รอ้ ยละของ คณุ ภาพ การตรวจสื่อ นวัตกรรมการอ่าน โรงเรยี น ห้องสมดุ หอ้ งสมุด นวัตกรรมการอ่าน ท่มี ีคณุ ภาพ ทง้ั หมด โรงเรียนท่ี โรงเรยี นท่ี ๓. ห้องสมดุ โรงเรียนจดั กจิ กรรม ทม่ี คี ุณภาพ จานวนหอ้ งสมดุ จานวน ผ่านเกณฑ์ ผ่านเกณฑ์ สง่ เสรมิ การอา่ น เชน่ คา่ ยการอา่ น โรงเรยี นที่จดั ห้องสมุด สปั ดาห์หอ้ งสมดุ วันรักการอ่าน การติดตามการจัด กิจกรรมส่งเสรมิ โรงเรยี น จานวน รอ้ ยละ ฯลฯ กจิ กรรมส่งเสริม การอ่าน ทง้ั หมด ห้องสมุด ห้องสมุด การอา่ น โรงเรียนท่ี โรงเรยี นที่ จัดกจิ กรรม จัดกจิ กรรม ๔. นกั เรยี นใช้บริการหอ้ งสมุดใน จานวนนกั เรยี นท่ี จานวนผู้เรียน จานวน สง่ เสริมการ สง่ เสริมการ นกั เรียน อ่าน อา่ น การศึกษาค้นควา้ และพฒั นาการ ใชห้ อ้ งสมุด ที่เขา้ ใชห้ อ้ งสมดุ ทั้งหมด จานวน ร้อยละของ อา่ น นกั เรยี นท่ี นักเรยี นที่ เขา้ ใช้ เข้าใช้ ห้องสมดุ ห้องสมดุ ๕. นกั เรียนอา่ นหนงั สอื ตอ่ ปี แบบสรุปสถติ กิ าร จานวนผ้เู รียน จานวน จานวน รอ้ ยละของ (ไมร่ วมหนงั สอื เรยี น) นกั เรยี น ผูเ้ รยี นท่ีอ่าน นกั เรยี นท่ี ทง้ั หมด หนังสือ ๖ อา่ นหนงั สอื - เดก็ ปฐมวยั เล่มขน้ึ ไป ๖ เลม่ ขึน้ ไป อ่านหนงั สอื ของ ทีอ่ า่ นหนงั สอื จานวน ร้อยละของ ผู้เรียนทอี่ ่าน นกั เรยี นท่ี นักเรยี น ๖ เลม่ ขึน้ ไป หนงั สอื ๑๒ อ่านหนังสือ เล่มขึ้นไป ๑๒ เล่มข้ึนไป - นักเรียนระดบั ประถมศกึ ษา แบบสรุปสถติ ิการ จานวนผู้เรยี นที่ จานวน นักเรยี น จานวน รอ้ ยละของ ปที ่ี ๑-๓ อา่ นหนังสือของ อา่ นหนังสอื ๑๒ ทั้งหมด ผู้เรยี นทอ่ี า่ น นกั เรียนที่ หนังสอื ๑๔ อา่ นหนังสือ นักเรยี น เล่มขนึ้ ไป เลม่ ขึ้นไป ๑๔ เล่มขน้ึ ไป - นกั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา แบบสรปุ สถติ ิการ จานวนผ้เู รียนท่ี จานวน นักเรยี น ปีท่ี ๔-๖ อ่านหนงั สอื ของ อ่านหนังสอื ๑๔ ทง้ั หมด นกั เรยี น เล่มข้นึ ไป คู่มือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการสง่ เสริมนิสยั รกั การอ่านและการพัฒนาห้องสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 87
ตวั ชว้ี ัด แหล่งขอ้ มลู / วิธกี ารบนั ทกึ จานวน จานวน รอ้ ยละ เคร่อื งมอื ข้อมูล นกั เรียน นกั เรียนที่ ทผี่ า่ น ทัง้ หมด ผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ - นักเรียนระดับมัธยมศกึ ษา แบบสรปุ สถติ กิ าร จานวนผเู้ รยี นท่ี จานวน จานวน รอ้ ยละของ ปีที่ ๑-๓ อา่ นหนังสือของ อ่านหนังสือ ๒๐ นักเรียน ผู้เรยี นที่อา่ น นกั เรยี นท่ี ทง้ั หมด หนงั สอื ๒๐ อา่ นหนังสือ นักเรยี น เลม่ ขนึ้ ไป เลม่ ข้นึ ไป ๒๐ เล่มขึน้ ไป - นักเรยี นระดับมัธยมศึกษา แบบสรุปสถิตกิ าร จานวนผู้เรียนท่ี จานวน จานวน รอ้ ยละของ นักเรียน ผเู้ รยี นท่ีอ่าน นักเรียนที่ ปีท่ี ๔-๖ อ่านหนังสอื ของ อา่ นหนงั สือ ๒๐ ทัง้ หมด หนงั สือ ๒๐ อา่ นหนงั สอื เล่มข้นึ ไป ๒๐ เล่มขึน้ ไป นกั เรยี น เล่มขึ้นไป 6. นกั เรยี นอา่ นนอกเวลาเรียน แบบสรุปสถติ ิการ จานวนผเู้ รยี น จานวน จานวน ร้อยละของ - เด็กปฐมวยั นักเรยี น ผู้เรยี นทีอ่ า่ น นกั เรียนที่ ทั้งหมด หนังสอื ๑๐ อา่ นหนังสอื อ่านหนังสือของ ทอ่ี า่ นหนังสอื นาที ขนึ้ ไป ๑๐ นาที ขึ้นไป นกั เรยี น ๑๐ นาทขี ้นึ ไป จานวน ผเู้ รยี นทอ่ี า่ น รอ้ ยละของ - นักเรยี นระดับประถมศึกษา แบบสรปุ สถิตกิ าร จานวนผูเ้ รยี นท่ี จานวน หนงั สือ ๓๐ นักเรยี นท่ี นักเรียน นาที ขึ้นไป อา่ นหนังสอื ปีท่ี ๑-๓ อา่ นหนังสอื ของ อา่ นหนังสอื ๓๐ ทง้ั หมด ๓๐ นาที จานวน ขน้ึ ไป นักเรยี น นาทขี ึ้นไป ผ้เู รยี นทอ่ี า่ น หนงั สอื ๖๐ ร้อยละของ - นกั เรยี นระดับประถมศึกษา แบบสรุปสถิตกิ าร จานวนผู้เรยี นที่ จานวน นาที ข้นึ ไป นักเรียนท่ี อา่ นหนังสือ ปที ่ี ๔-๖ อา่ นหนงั สือของ อา่ นหนังสอื ๖๐ นักเรียน จานวน ๖๐ นาที ทั้งหมด ผูเ้ รยี นท่ีอา่ น ขึ้นไป นักเรียน นาทีขน้ึ ไป หนังสือ ๙๐ นาที ขน้ึ ไป รอ้ ยละของ - นักเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา แบบสรุปสถติ กิ าร จานวนผู้เรยี นที่ จานวน นกั เรียนที่ นกั เรียน จานวน อา่ นหนงั สอื ปีท่ี ๑-๓ อ่านหนงั สอื ของ อา่ นหนังสือ ๙๐ ท้งั หมด ผ้เู รยี นทอ่ี ่าน ๙๐ นาที หนงั สอื ข้นึ ไป นักเรียน นาทีขน้ึ ไป ๑๒๐ นาที ขน้ึ ไป รอ้ ยละของ - นกั เรียนระดบั มัธยมศกึ ษา แบบสรปุ สถติ กิ าร สรปุ จานวนผูเ้ รียน จานวน นักเรยี นท่ี อา่ นหนังสือ ปีท่ี ๔-๖ อา่ นหนงั สอื ของ ทอี่ า่ นหนังสือ นักเรียน ๑๒๐ นาที ข้ึนไป นักเรยี น ๑๒๐นาทีขึน้ ไป ทง้ั หมด คู่มอื การดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมนสิ ยั รักการอ่านและการพัฒนาห้องสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 88
ตวั ชว้ี ดั แหลง่ ข้อมลู / วธิ ีการบันทึก จานวน จานวน รอ้ ยละ เครือ่ งมือ ข้อมลู นักเรยี น นักเรียนที่ ทผ่ี า่ น 7. นกั เรยี นทุกระดับช้นั เข้าร่วม ท้ังหมด ผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นหรอื การเข้าร่วม จานวนนกั เรยี นท่ี สมัครใจเป็นสมาชิกชมรม/ กิจกรรมส่งเสริม เข้าร่วมกิจกรรม จานวน จานวน ร้อยละ ชมุ นมุ หอ้ งสมดุ หรือยวุ การอา่ น หรอื การ ส่งเสริมการอ่าน นักเรียน ผ้เู รยี น ผ้เู รยี น บรรณารกั ษ์ สมัครเปน็ สมาชกิ หรือสมัครใจเป็น ทงั้ หมด เขา้ รว่ ม เขา้ รว่ ม ชมรม/ชมุ นมุ สมาชกิ ชมรม/ กจิ กรรม กจิ กรรม 8. โรงเรียนมเี ครอื ขา่ ยความ ห้องสมุดหรือ ชุมนมุ ห้องสมุด สง่ เสรมิ การ ส่งเสรมิ การ ร่วมมือช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั ยวุ บรรณารักษ์ หรอื ยวุ บรรณารกั ษ์ อา่ นหรอื อ่านหรอื เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษา สมคั รใจเปน็ สมคั รใจเปน็ สง่ เสริมนิสยั รักการอา่ นและ การสารวจ โรงเรยี นทมี่ ี จานวน สมาชกิ ชมรม/ สมาชกิ ชมรม/ หอ้ งสมุดมชี วี ิต โรงเรียนทม่ี ี เครอื ข่ายความ โรงเรยี น ชุมนุม ชมุ นุม เครอื ขา่ ยความ รว่ มมือชว่ ยเหลือ ทัง้ หมด ห้องสมดุ หรอื หอ้ งสมดุ หรือ 9. โรงเรยี นและเครอื ขา่ ย ร่วมมอื ชว่ ยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน ยุวบรรณารักษ์ ยวุ บรรณารักษ์ โรงเรียน/ชมุ ชน/ประชาสงั คม/ ซึ่งกันและกัน ภาคเอกชนรว่ มกนั กาหนด จานวน รอ้ ยละของ ตวั ช้ีวัดผลการดาเนินงานไปสู่ การสารวจ โรงเรียนและ จานวน โรงเรียนทม่ี ี โรงเรยี นทม่ี ี การปฏบิ ตั อิ ย่างเปน็ รปู ธรรรม โรงเรียนและ เครอื ข่าย เครือขา่ ย เครอื ขา่ ย เครือข่ายโรงเรยี น โรงเรียน ความรว่ มมือ ความร่วมมอื 10. สานกั งานเขตพ้ืนที่ โรงเรยี น/ชุมชน/ ช่วยเหลอื ซ่ึง ชว่ ยเหลอื ซง่ึ การศกึ ษา/โรงเรยี น มีการนเิ ทศ ประชาสงั คม/ ฯลฯ ร่วมกนั ทั้งหมด กันและกนั กันและกัน กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและ ภาคเอกชน จัดทาข้อมูลสารสนเทศ กาหนดตวั ช้ีวดั ผล จานวน ร้อยละของ บนั ทึกการนเิ ทศ โรงเรียนและ โรงเรยี น กากบั ติดตาม เครอื ขา่ ย และครือขา่ ย ประเมนิ ผลและ โรงเรียน ฯลฯ โรงเรียน ฯลฯ จดั ทาข้อมลู สารสนเทศ การดาเนินงาน ไปสกู่ ารปฏิบตั ิ อยา่ งเปน็ รูปธรรม สานักงานเขตพน้ื ที่ จานวน จานวน รอ้ ยละของ สานกั งาน สานกั งาน การศึกษา/ สานักงาน เขตพื้นท่ี เขตพน้ื ท่ี การศกึ ษา/ การศกึ ษา/ โรงเรยี นมกี าร เขตพืน้ ท่ี โรงเรียนมีการ โรงเรยี นมี นิเทศ กากับ การนเิ ทศ นิเทศ กากับ การศกึ ษา/ ตดิ ตาม กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ประเมินผล ตดิ ตามประเมินผล โรงเรียน และจัดทา และจดั ทา ขอ้ มูล ขอ้ มูล และจัดทาข้อมลู ทงั้ หมด สารสนเทศ สารสนเทศ สารสนเทศ คู่มอื การดาเนนิ งานกจิ กรรมโครงการส่งเสริมนสิ ัยรกั การอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมดุ ประจาปงี บประมาณ 2561 89
กลยทุ ธ์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพครูบรรณารักษ์ ครหู รอื บคุ ลากรทท่ี าหน้าที่บรรณารกั ษ์ ตวั ชีว้ ดั แหลง่ ข้อมลู / วิธีการบนั ทึก จานวน จานวน รอ้ ยละ เครื่องมือ ขอ้ มลู ทง้ั หมด ท่ีผา่ น ทผี่ ่าน 1. สานักงานเขตพื้นที่ จานวนครง้ั เกณฑ์ เกณฑ์ การศกึ ษา/โรงเรยี น ประกาศ การประกาศ สานกั งานเขต อยา่ งน้อย ผา่ น/ไมผ่ ่าน เกียรตคิ ณุ ผบู้ รหิ าร ครผู ูส้ อน เกยี รตคิ ณุ พ้ืนทกี่ ารศึกษา/ จานวนครู ๑ คร้งั ครูหรอื บุคลากรที่ทาหน้าท่ี ผู้บรหิ าร ครผู ู้สอน โรงเรยี นมีการ บรรณารกั ษ์ ร้อยละของ บรรณารกั ษ์ นักเรยี นรกั การอ่าน ครหู รอื บคุ ลากรท่ี ประกาศเกยี รติคณุ ครหู รือ จานวนครู ครบู รรณารกั ษ์ ทาหน้าที่ ผ้บู รหิ าร ครผู สู้ อน บุคลากรที่ บรรณารักษ์ ครหู รอื 2. ครูบรรณารกั ษ์ ครหู รอื บรรณารกั ษ์ ครหู รอื บคุ ลากรที่ ทาหน้าท่ี ครูหรือ บคุ ลากรท่ี บุคลากรที่ทาหนา้ ทบ่ี รรณารักษ์ นกั เรียนรกั การ ทาหน้าท่ี บรรณารักษ์ บุคลากรที่ ทาหนา้ ท่ี มกี ารพฒั นาคณุ ภาพงานใน อ่าน บรรณารักษ์ ทาหนา้ ที่ บรรณารกั ษ์ รปู แบบ PLC นกั เรยี นรกั การอ่าน จานวนครู บรรณารักษ์ มกี ารพัฒนา การพฒั นา ครูบรรณารกั ษ์ ครู บรรณารักษ์ มกี ารพัฒนา คุณภาพงาน 3. ครูบรรณารกั ษ์ ครหู รือ คณุ ภาพงานใน หรือบคุ ลากรทที่ า ครหู รอื คณุ ภาพงาน ในรูปแบบ บุคลากรทีท่ าหน้าทบี่ รรณารักษ์ รูปแบบ PLC หน้าทีบ่ รรณารักษ์ บคุ ลากรที่ ในรปู แบบ PLC พัฒนาตนเองผา่ น TEPE มีการพัฒนา ทาหน้าที่ PLC รอ้ ยละของ Online การพัฒนาตนเอง คุณภาพงานใน บรรณารักษ์ จานวนครู ครบู รรณารักษ์ ผา่ น TEPE รูปแบบ PLC บรรณารักษ์ ครูหรอื 4. ครบู รรณารกั ษ์ ครหู รือ Online จานวนครั้ง ครูหรือ บคุ ลากรที่ บคุ ลากรท่ีทาหนา้ ที่บรรณารักษ์ ครูบรรณารกั ษ์ ครู บุคลากรที่ ทาหนา้ ที่ เขา้ ร่วมกจิ กรรมของชมรม การเขา้ ร่วม หรือบคุ ลากรทีท่ า ทาหนา้ ที่ บรรณารกั ษ์ สมาคม หรอื กลมุ่ วชิ าชพี ที่ กจิ กรรมของชมรม หน้าทบ่ี รรณารกั ษ์ บรรณารักษ์ พฒั นา เกีย่ วข้อง สมาคม หรือกลมุ่ พฒั นาตนเองผ่าน พัฒนา ตนเองผา่ น วชิ าชพี ทเ่ี กย่ี วข้อง TEPE Online ตนเองผา่ น TEPE TEPE Online ครบู รรณารักษ์ ครู Online ผา่ น/ไมผ่ า่ น หรอื บุคลากรที่ทา อยา่ งนอ้ ย หน้าท่บี รรณารกั ษ์ ๑ ครงั้ เข้าร่วมกจิ กรรม ของชมรม สมาคม หรอื กลุ่มวิชาชพี ที่ เก่ียวข้อง ค่มู อื การดาเนินงานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นสิ ัยรักการอ่านและการพฒั นาห้องสมดุ ประจาปีงบประมาณ 2561 90
บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. (2546). กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น. พิมพ์ครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว. กระทรวงวัฒนธรรม, กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงมหาดไทย. (2560). แผนแม่บทส่งเสริมวัฒนธรรม การอา่ นสู่สังคมแหง่ การเรยี นรู้ของไทย พ.ศ. 2560 – 2565. กรงุ เทพฯ : (ม.ป.พ.) ฉววี รรณ คหู าภนิ นั ท.์ (2542). การอา่ นและส่งเสริมการอา่ น (Reading and Promotion). กรงุ เทพฯ : ศลิ ปาบรรณาคาร. ฉวีวรรณ บุณยะกาญจน. (2547). จิตวิทยาการอ่าน (Physchology of Reading). กรุงเทพฯ : ธารอักษร. นัมมียอง. (2554). เอ นาทีมหัศจรรยย์ ามเชา้ สร้างลูกรักการอ่าน. กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยูเคชัน่ . แผนงานสรา้ งเสริมวัฒนธรรมการอา่ น. (2555). อา่ นสรา้ งสุข หนังสือภาพ ส่ือสรา้ งสรรคพ์ ัฒนาสมองและ คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องลกู น้อย. กรุงเทพฯ : แปลนพริ้นทต์ ิง้ . ไพพรรณ อินทนิล. (2546). การส่งเสริมการอ่าน Better Reading. ชลบุรี : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2555). บรรณนิทัศน์หนังสืออ่านนอกเวลา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพร้าว. สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน. (2556). แนวทางการดาเนนิ งานส่งเสริมนิสยั รักการอา่ นและ พฒั นาห้องสมุดโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากัด. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2556). มาตรฐานห้องสมุดโรงเรียนสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2556. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั . สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2559). สถิติการอ่านของคนไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ : สานักอุทยานการเรียนรู้. (แผ่นพับ) สานักพิมพ์ผกั แว่น. (ม.ป.ป.) เลือกหนังสือให้ลูกรักอย่างไรดี. (แผ่นพบั ) สสส. (ม.ป.ป.) แผนงานสรา้ งเสรมิ วัฒนธรรมการอ่าน Reading Culture Promotion Program. (แผ่นพบั ) คูม่ ือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ นิสยั รกั การอ่านและการพัฒนาหอ้ งสมุด ประจาปงี บประมาณ 2561 91
คณะผ้จู ดั ทา ที่ปรึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน นายบุญรักษ์ ยอดเพชร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน นางสุกัญญา งามบรรจง ผ้อู านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา นางสาวนจิ สุดา อภินันทาภรณ์ รองผู้อานวยการสานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา นางยุวดี อยู่สบาย รองผอู้ านวยการสานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา ผู้รับผิดชอบ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางยุวดี อย่สู บาย สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางสาวประนอม เพง็ พันธ์ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา นางสาววราภรณ์ ศรีแสงฉาย นางสาวศิรพิ ร พรรณพัฒน์กลุ ขา้ ราชการบานาญ ขา้ ราชการบานาญ ผรู้ ว่ มประชุม ขา้ ราชการบานาญ นางสาวนวภรณ์ ซงั บุดดา ข้าราชการบานาญ นางวัฒนา บญุ เสนอ ข้าราชการบานาญ นางสาวเกษร บวั ทอง ขา้ ราชการบานาญ นางกานดา พุทธรักษา ขา้ ราชการบานาญ นางสาวกลุ วรา ชพู งศ์ไพโรจน์ ข้าราชการบานาญ นายธัญญา เรอื งแกว้ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษากาญจนบุรี เขต 1 นางสาวสปุ ระภา ศรีทอง สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 3 นายดนันท์ ศภุ ภทั รานนท์ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชัยภมู ิ เขต 3 นางอรพิมพพ์ รรณ คัมภรี ์ สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 นางสาวศรีวิน ธรรมรังรอง สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 1 นางโชตกิ า ชาลีรนิ ทร์ สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 นายสดใส กาพย์กลอน สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 นางเสาวลกั ษณ์ รัตนชวู งศ์ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 นางสาววนดิ า แสงเมือง สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 1 นางพินจิ แสงอรณุ สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 นางธญั พร ภุมรินทร์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 3 นางสาวองั คณา ปรชี านนั ท์ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 นางสาวอญั ชลี เกษสุรยิ งค์ สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 นางสาวปรดี า ชูมณี สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 39 นางกัลยา พานชิ วงษ์ สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดกาญจนบุรี นางสาวบุญปลูก สิทธิไทย นางวราภรณ์ สนสกล นางสาวสัทธา สบื ดา ค่มู ือการดาเนนิ งานกิจกรรมโครงการสง่ เสรมิ นิสัยรักการอา่ นและการพฒั นาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 92
นางประภัสสร สติ วงษ์ สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดนครราชสมี า นางเบญจวรรณ สงิ หโ์ ต สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั เพชรบูรณ์ นางองั คณา สุขเสวี สานักตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน นางอังสนา ม่วงปลอด สานักเทคโนโลยีเพอื่ การเรียนการสอน นางยวุ ดี อยู่สบาย รองผอู้ านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางสาวประนอม เพง็ พันธ์ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา นางสาววราภรณ์ ศรีแสงฉาย สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา นางสาวศิริพร พรรณพัฒน์กุล สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางสาวศรีวิมตุ ิ สตั ตวฒั นนานนท์ สานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา นางสาววิจิตตรา กาฬภกั ดี สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ผู้ยกรา่ งต้นฉบบั รองผูอ้ านวยการสานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา นางยวุ ดี อยสู่ บาย สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา นางสาวประนอม เพง็ พนั ธ์ สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางสาววราภรณ์ ศรีแสงฉาย สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางสาวศริ ิพร พรรณพฒั น์กลุ ผู้ตรวจและพจิ ารณาต้นฉบบั รองผอู้ านวยการสานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางยวุ ดี อยู่สบาย ขา้ ราชการบานาญ นางสาวนวภรณ์ ซงั บดุ ดา บรรณาธกิ าร รองผอู้ านวยการสานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา นางยวุ ดี อยู่สบาย สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางสาววราภรณ์ ศรแี สงฉาย สานักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา นางสาวศริ พิ ร พรรณพฒั น์กลุ ค่มู อื การดาเนินงานกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่านและการพฒั นาหอ้ งสมุด ประจาปีงบประมาณ 2561 93
Search