Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สูจิบัตรรำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

สูจิบัตรรำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

Published by likhit jaidee, 2020-08-06 03:10:06

Description: รำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย
ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓

โดย นิสิตสาขาวิชาศิลปะการแสดง รุ่นที่ ๕
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยพะเยา

Keywords: รำเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย,สาขาวิชาศิลปะการแสดง,มหาวิทยาลัยพะเยา

Search

Read the Text Version

รำเด่ียว ๒๕๖๓มำตรฐำนทำงดำ้ นนำฏศลิ ปไ์ ทย ประจำปกี ำรศึกษำ โดย นิสติ สาขาวิชาศิลปะการแสดง ร่นุ ที่ ๕ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา วนั ศุกร์ที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๐.๐๐ น. เปน็ ต้นไป ณ อาคารปฏิบัติการสาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ LIVE สด เพจ สาขาวชิ าศลิ ปะการแสดง เพจ สาขาดนตรีนาฏศลิ ป์ ม.พะเยา



ปรชั ญำของหลักสตู ร ศลิ ปะการแสดง เปน็ วฒั นธรรมแห่งการสือ่ สารของมนุษยชาติ ท่ีเกดิ จากการบรู ณาการศิลปะและศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ขน้ึ เป็นวิชาการและวชิ าชพี เพื่อสรา้ งสรรคอ์ รรถรสทมี่ คี วามหมายต่อ การดารงชีวิตมอี ตั ลกั ษณ์และภูมปิ ญั ญา

กำรสอบรำเดี่ยวมำตรฐำนทำงด้ำนนำฏศลิ ปไ์ ทย มหาวิทยาลัยพะเยา เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีการส่งเสริมคุณค่าทั้งศาสตร์ และศิลป์ บนพื้นฐานวิถีชวี ิต ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามปณิธานของมหาวิทยาลัย คือ \"ปัญญาเพื่อความเข้มแข็ง ของชมุ ชน\" สาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย พะเยา ได้ปฏิบัติหน้าที่ในการอนุรักษ์ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม และให้สอดคล้องกับปรัชญาหลักสูตรของ สาขาวิชา คือ ศิลปะการแสดงเป็นวัฒนธรรมแห่งการสื่อสารของมนุษยชาติ ท่ีเกิดจากการบูรณาการศิลปะ และศาสตรส์ าขาตา่ ง ๆ ขึน้ เปน็ วชิ าการและวชิ าชพี เพ่ือสร้างสรรค์อรรถรสท่ีมีความหมายต่อการดารงชีวิต อยา่ งมอี ตั ลกั ษณแ์ ละภูมิปญั ญา การสอบราเด่ียวมาตรฐานทางด้านนาฎศิลป์ไทย ของนิสิตสาขาวิชาศิลปะการแสดง เป็นส่วน หนง่ึ ของ กระบวนการอนรุ กั ษ์ศลิ ปะการแสดงนาฏศิลป์ไทย ในรายวิชาศิลปะการแสดงนิพนธ์เพ่ือบูรณาการ องค์ความรู้ และแสดงศักยภาพของนิสิตท่ีได้ทาการศึกษามาตลอดระยะเวลา ๔ ปี โดยนิสิตจะทาการ คัดเลอื กชดุ การแสดงท่เี หมาะสมกบั ตน แล้วเขา้ รบั การถา่ ยทอดกระบวนทา่ ราจากผู้ทรงคุณวุฒิ และนาเสนอ การแสดงให้ผูเ้ ชีย่ วชาญในการประเมินผลการเรียนรู้ตลอดหลกั สตู รทผี่ ่านมา

สารนายกเทศมนตรีเมอื งพะเยา จังหวัดพะเยาถือว่าเป็นจังหวัดหนึ่งในล้านนาที่ทรงคุณค่าทางศิลปะและวัฒนธรรมที่ สอดแทรก วถิ ีชวี ิตของชาวพะเยาที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ รวมถึงศิลปะการแสดงต่าง ๆ ที่จังหวัด พะเยาได้ให้ความสาคัญ และอนุรักษ์ไว้เคียงคู่กับสังคมชาวพะเยา ทั้งนี้สาขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยาถือได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษา ที่ให้ความสาคัญกับศิลปวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่สืบทอดกันมานาน รวมทั้งผลิตบัณทิตที่มีความรู้ ความสามารถทางด้านศิลปะการแสดง เพื่อประจักษ์สู่สายตาประชาชนชาวจังหวัดพะเยาทั้ง ศลิ ปะการแสดงแบบล้นนา ศลิ ปะการแสดงนาฎศลิ ป์ไทย และศลิ ปะการแสดงร่วมสมัย ในนามนายกเทศมนตรีเมืองพะเยา ขอแสดงความยินดีกับมหาวิทยาลัยพะเยา ที่ได้จัดการ สอบ ราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยในครั้งนี้ ถือได้ว่าทางมหาวิทยาลัยพะเยา ได้มุ่งให้ นิสิตสาขาวิชาศิลปะการแสดง นาความรู้ดวามสมารถที่นิสิตได้ศึกษาในระยะเวลา ๔ ปี แสดง ความสามารถผ่านการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ทีน่ สิ ิตได้รับการถ่ายทอดจากอาจารย์ผเู้ ชี่ยวชาญ ดิฉันนางสาวจุฬาสินี โรจนคุณกาจร นายกเทศมนตรีเมืองพะเยา ขอให้ผู้สอบราเดี่ยว มาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยทุกคน จงประสบความสาเร็จในการสอบ สมด่ังที่ท่านได้ ตั้งเป้าหมายไว้ เพื่อเป็นเกียรติและศักดิ์ศรีของว่าที่บัณฑิตที่จะสาเร็จการศึกษาจากมหาวิทยาลัย พะเยาตอ่ ไป (นางสาวจฬุ าสนิ ี โรจนคุณกาจร) นายกเทศมนตรีเมอื งพะเยา

สารวัฒนธรรมจงั หวดั พะเยา สาขาวิชาศิลปะการแสดงเป็นสาขาวิชาที่มุ่งผลิตบัณฑิตเป็นศิลปินทางด้านการแสดงที่มี คุณภาพสามารถอนุรักษ์พัฒนาและสร้างสรรค์ผลงานทางด้านศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศลิ ปะการแสดงพืน้ เมืองล้านนา และศิลปะการแสดงรว่ มสมัย ร่วมกับองค์ความรทู้ างด้านทฤษฎีที่ได้รับ มาบูรณาการรว่ มกันใหเ้ ป็นผลงานทางด้านศิลปะการแสดง และดาเนินงานเพื่อสังคมร่วมกับสานักงาน วัฒนธรรมในจังหวัดพะเยามาอย่างตอ่ เนือ่ ง การสอบราเดีย่ วมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยจึงเป็นการวัดและประเมินผลคุณภาพของ นิสิตจากองค์ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอด ฝึกฝน จนมีความชานาญเฉพาะทางในศาสตร์ทางด้านการ แสดงดังกล่าว ทาให้นิสิตได้เรียนกระบวนการคิดการปฏิบัติการจัดการในการทางานของตนเอง การทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ และเกิดคุณภาพของศิลปะการแสดงที่ นาเสนอสู่สายตาสาธารณชนด้วยความอุตสาหะและพากเพียร สุดท้ายนี้ ขอให้นิสิตทุกคนประสบความสาเร็จดั่งใจหวัง เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพคุณค่า คณุ ธรรมสสู่ งั คมและมีความสุขในการสร้างสรรค์งานศลิ ปะแก่สังคมให้เจรญิ งอกงามสืบไป (นางสายรุ้ง ธาดาจนั ทน์) วฒั นธรรมจงั หวัดพะเยา

สารอธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั พะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา มุ่งสู่การเป็น “มหาวิทยาลัยสร้างปัญญา เพื่อนวัตกรรมชุมชนสู่สากล” ผลิตกาลังคนที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน วิจัยและวัตกรรม รักษาและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น มหาวิทยาลยั พะเยาจงึ ให้ความสาคญั และสนับสนุนให้มีการส่งเสริมการเรียนการสอนที่มีจุดเด่นเฉพาะ ศาสตร์ของสาขาวิชา ท้ังยังมุ่งเน้นการทานุบารุงภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมในชุมชน และท้องถิน่ เพื่อบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลควบคู่ กบั การพฒั นามหาวิทยาลัย การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยในครั้งนี้ เป็นการสอบเพื่อประมวลความรู้ และประเมินความสามารถของนิสิตหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์บัณทิต สาขาวิชาศิลปะการแสดง ก่อน สาเร็จการศึกษาของนิสิตช้ันปีที่ ๔ โดยการแสดงความสามารถผ่านการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ที่นิลิต ได้รบั การถ่ายทอดจากอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางดา้ นนาฏศลิ ป์ไทย หวงั เป็นอย่างยิ่งว่านิสิตจะนาความรู้ที่ ได้รบั ไปใช้ในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานสู่ชมุ ชน สังคม ประเทศชาติ และระดับสากลต่อไป ใ น น า ม ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ดิ ฉั น ข อ ชื่ น ช ม แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม ยิ น ดี กั บ นิ สิ ต หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต ขาวิชาศิลปะการแสดง รุ่นที่ ๕ ที่ได้ทาการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน เพื่อเป็นการวัดความรู้และประเมินความสามารถของนิสิต ซึงจะเป็นการเตรียมพร้อม พัฒนาความรู้ ทักษะทางด้านการแสดง เพื่อสืบสานและสร้างสรรค์งานศิลปะการแสดงของชาติสืบไป รวมท้ัง สร้างสรรคง์ านศลิ ปะการแสดงในวิชาชีพสืบไป (รองศาสตราจารย์ ดร.สุภกร พงศบางโพธิ์) อธิการบดีมหาวิทยาลยั พะเยา

สารรองอธกิ ารบดฝี า่ ยคุณภาพนสิ ติ มหาวิทยาลัยพะเยาให้ความสาคัญ และสนับสนุนให้มีการส่งเสริมการเรียนการสอนที่มี จุดเด่นเฉพาะตามศาสตร์ของตนเอง โดยมุ่งเน้นให้นิสิตเรียนอย่างมีความสุขเพื่อพัฒนาตนและสังคม รวมถึงทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม การพัฒนาคุณภาพชีวิต คุณภาพจิตใจ ในการดารงตนอยู่ ท่ามกลางสังคมที่เปลีย่ นแปลง การสอบราเดี่ยวมาตฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย เป็นการสอบทางด้านวิชาการเชิงปฏิบัติ เพื่อประเมินความรู้ และความสามารถที่ได้ศึกษาตามหลักสูตรของสาขาวิชาศิลปะการแสดง ทั้งนี้การ สอบราเดีย่ วมาตฐานทางด้านนาฏศลิ ป์ไทย จะเป็นผลงานวิชาการชิ้นหนึ่งที่บ่งบอกถึงคุณภาพของนิสิต ทีจ่ ะก้าวสสู่ ายงานในอนาคตต่อไป ผมขอแสดงความชื่นชมและยินดีกับนิสิตผู้สอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทยใน คร้ังนี้ขอให้การดาเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของสาขาวิชาศิลปะการแสดง และเป็นบรรทัดฐาน การเรียนการสอนตอ่ ไป (ดร.วฒุ ิชัย ไชยรินคา) รองอธิการบดีฝ่ายคุณภาพนิสิต

สารคณบดคี ณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มีนโยบายในการ เป็นผู้สืบสาน เสริมสร้างผลิตบัณฑิตและผลงานวิจัยที่มีคุณภาพด้านศิลปกรรม บูรณาการความรู้ร่วมกับชุมชน เปน็ ที่ยอมรับในสังคมและท้องถิ่น สาขาวิชาศลิ ปะการแสดงเปน็ หนง่ึ ในหลักสูตรที่ก่อตั้งขึ้น ภายในคณะ สถาปตั ยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตรน์ ี้ สาขาศิลปะการแสดงไม่ใช่แค่สาขาสาหรับการจัดการเรียนการสอนและทากิจกรรมของ นิสติ แตเ่ พียงอย่างเดียว หากแต่เปน็ สาขาเพือ่ กิจกรรมทางวชิ าชีพของนสิ ิต และเปิดโอกาสให้นิสิตได้ฝึก รา ร้อง เต้น เล่นละคร และความเป็นศิลปิน ท้ังยังเป็นสาขา ที่สร้างศิลปินทางด้านการแสดงที่ดีใน อนาคตจะเห็นได้ว่ากิจกรรมต่าง ๆ ของสาขาศิลปะการแสดง เป็นที่ยอมรับและประจักษ์แก่สายตาของ บุคคลภายนอกทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ ดังนั้น การสอบราเดี่ยวมาตรฐานทางด้าน นาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ในครั้งนี้ จึงเป็นตัวชี้วัดความรู้ความสามารถทางด้านนาฏศิลป์ไทยที่ได้ศึกษาเล่า เรียนมา ตลอดระยะเวลา ๔ ปี โดยมีกรรมการและอาจารย์ผู้มีความรู้ความสามารถ ในการประเมิน และเปน็ อาจารย์ให้คาปรึกษา ในนามคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ที่มีการสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ทางดา้ นนาฏศิลป์ไทย ที่ผู้สอบจะแสดงความสามารถและความรู้ดิฉันมีความยินดี และชื่นชมเป็นอย่าง ยิ่งตามหลกั สูตรของสาชาวิชาศลิ ปะการแสดง (รองศาสตราจารย์จนั ทนี เพชรานนท์) คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศลิ ปกรรมศาสตร์

สารผมู้ ีความรู้ความสามารถทางดา้ นนาฏศลิ ปไ์ ทย สาขาวิชาศิลปะการแสดงได้ผลิตบัณฑิตให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทางด้าน ศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศิลปะการแสดงร่วมสมัย ศิลปะการแสดงพื้นเมืองล้านนา และสามารถ บูรณาการความรู้ในศาสตร์แขนงต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในทางศิลปกรรมศาสตร์และสามารถนาไป ประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นโดยการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา จะเป็นการช่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็นผู้ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจ และมีความสามารถในการ อนุรักษ์ ส่งเสริม และพัฒนาศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างเป็นระบบและ มีประสิทธิภาพ ควบคู่กับการนาความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ตลอดจนเป็น บคุ คลทีม่ ภี าวะผู้นา ภายใต้สานึกในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ครูขอชน่ื ชมกบั ความพยายาม มานะ อุตสาหะ ขยันและอดทนของนสิ ิตทุกคนที่ร่วมแรงร่วม ใจกันฝึกปฏิบัติการราเดี่ยวมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย โดยการรับการถ่ายทอดท่าราจาก ผู้ทรงคุณวุฒิและสามารถขึ้นแสดงราเดี่ยวได้อย่างเต็มภาคภูมิในวันนี้ อันเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็น ศิลปินที่ดี มีคุณภาพ ท้ายสุดนี้ขอให้นิสิตทุกคนประสบผลสาเร็จในชีวิตทางการศึกษาและหน้าที่การ งานสมดงั ใจปรารถนา (รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจรญิ ) ผมู้ ีความรคู้ วามสามารถทางด้านนาฏศลิ ป์ไทย

คณะกรรมการ การสอบราเด่ยี วมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ไทย ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ อาจารยด์ ร.พัชรา บวั ทอง นาฏศิลปินอาวุโส รองศาสตราจารยน์ ุชนาฏ ดีเจรญิ อาจารย์รตั นะ ตาแปง ผู้มีความร้คู วามสามารถทางด้านนาฏศิลปไ์ ทย ประธานหลกั สตู ร ว่าทร่ี อ้ ยตรวี ิรยิ ะ สวสั ดิจ์ ีน อาจารย์ลิขติ ใจดี อาจารยป์ ระจาสาขาดนตรีและนาฏศิลป์ อาจารย์ประจาสาขาดนตรีและนาฏศิลป์

กำหนดกำรสอบรำเด่ยี วมำตรฐำนทำงด้ำนนำฏศิลป์ไทย ประจำปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๓ ณ อำคำรปฏบิ ัติกำรสำขำวิชำศิลปะกำรแสดง คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์และศลิ ปกรรมศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั พะเยำ เวลา ๑๐.๐๐-๑๐.๓๐ น. พิธีเปิดการสอบราเด่ยี วมาตรฐานทางดา้ นนาฏศิลปไ์ ทย เวลา ๑๐.๓๐ น. การแสดงชดุ จินตะหราทรงเครื่อง การแสดงชดุ ฉยุ ฉายฤๅษีแดง เวลา ๑๑.๕๐-๑๓.๐๐ น. การแสดงชุด ฉุยฉายนางวิฬาร์ เวลา ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น. การแสดงชดุ ฉยุ ฉายพงั คี การแสดงชุด ฉุยฉายศรู ปนขา เวลา ๑๔.๒๕ น. เวลา ๑๕.๐๐ น. พักรับประทานอาหาร การแสดงชุด พระสุธนเดินปา่ การแสดงชุด ฉุยฉายพนั ธุรตั การแสดงชดุ นางพญาคาปินขอฝน การแสดงชดุ ฉุยฉายสมิงพระราม รบั ฟงั คาแนะนาจากทา่ นคณะกรรมการ ถ่ายรูปร่วมกับคณะกรรมการและแขกผู้มีเกียรติ

จนิ ตะหราทรงเคร่อื ง

การสอบราเดยี่ วมาตรฐาน ชดุ จนิ ตะหราทรงเคร่ือง ผรู้ บั การถ่ายทอดท่ารา นางสาวณัฐพร รุ่งเรอื ง อาจารยผ์ ้ถู า่ ยทอดท่ารา ศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสรุ กั ษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มณิศา วศินารมณ์ อาจารย์ที่ปรกึ ษา รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดเี จริญ ประวตั คิ วามเป็นมาของการแสดง การแสดงราเดย่ี วมาตรฐานชดุ จนิ ตะหราทรงเครอ่ื งเป็นการแสดงท่ีได้ตัดตอนมา จากบทละครในเร่ืองอิเหนา ตอน อิเหนาพบนางจินตะหรา เมื่อคร้ังท่ีพระอัยกาของอิเหนา ซึ่งอยู่ท่ีเมืองหมันหยาได้เสียชีวิต เมืองทั้ง ๔ ได้ให้อิเหนาเป็นผู้ช่วยงานศพแทน จึงทาให้ อิเหนาพบกับนางจินตะหรา แต่ครั้นเมื่อเสด็จงานแล้วอิเหนาไม่ยอมกลับเมืองเพราะด้วย หลงรกั นางจนิ ตะหรา ราเด่ียวมาตรฐานชุด จินตะหราทรงเคร่ือง สร้างสรรค์ข้ึนโดย ศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรักษ์ มีแรงบันดาลใจมาจากการท่ีได้เรียน ได้แสดง และได้ชมการแสดง บทบาทนางจินตะหราหลายครั้ง และมีความเห็นว่านางจินตะหรานับว่าเป็นตัวเอกสาคัญ ของเร่ืองอิเหนา แต่กลับพบว่านางจินตะหราไม่มีบทบาทราแต่งตัวทั้งท่ีบทพระราชนิพนธ์ รัชกาลที่ ๒ จะมีบทอาบน้าแต่งตัวของนางจินตะหรา ซึ่งเป็นบทท่ีใช้ร่วมกันกับประไหมสุหรี ซึ่งเหตุการณ์ตอนนั้นเป็นตอนท่ีนางจินตะหราแต่งองค์ทรงเคร่ือง เพ่ือท่ีจะเตรียมตัวไปเผา ศพพระอยั กา

บทรอ้ งและทานองเพลง -ป่พี าทย์ทาเพลงเสมอ- องค์กษัตริย์ขัดสีฉวีวรรณ ผวิ พรรณงามดุจดง่ั เดือนฉาย ทรงอหุ รับจับกลิน่ อบอาย น้ากหุ ลาบละลายกรายกรีดน้วิ กวดเกล้าเปลาปรายพระฉายส่อง ผัดพกั ตรน์ วลละอองผ่องผวิ ทรงภษู ายกแย่งแพลงพรวิ้ ห่มรวิ้ ทองทบั ซบั ใน -ร้องเพลงสีนวล- สร้อยสะอิ้งสงั วาลบานพบั ตาบประดับมรกตสดใส ทองกรแก้วมณเี จียระไน สอดใสเ่ นาวรัตน์ธามรงค์ ทรงมงกฎุ สาหรับพระธดิ า ห้อยอบุ ะบหุ งาตันหยง งามสะพร่งั พรอ้ มสรรพบรรจง พระโฉมยงเสด็จไคลคลา -ป่พี าทย์ทาเพลงฉิง่ -

ฉยุ ฉายฤๅษีแดง

การสอบราเดย่ี วมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายฤๅษีแดง ผ้รู บั การถ่ายทอดท่ารา นายวสพุ ล รักษช์ น อาจารย์ผู้ถ่ายทอดทา่ รา อาจารย์สุดจติ ต์ พนั สังข์ ขา้ ราชการบานาญ สานักการสังคตี กรมศิลปากร อาจารย์ฉตั รช์ ยั ฉิมประสิทธ์ิ อาจารย์ที่ปรกึ ษา ว่าทร่ี ้อยตรี วิรยิ ะ สวสั ดิ์จนี ประวัตคิ วามเปน็ มาของการแสดง การสอบราเด่ียวมาตรฐานชุด ฉุยฉายฤๅษีแดง เป็นการประพันธ์บทและ ประดิษฐ์ทา่ รา โดย อาจารย์สุดจิตต์ พันธ์สงั ข์ กล่าวถึง ฤๅษีแดง ตัวละครที่ปรากฏในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ทศกณั ฐ์ลกั นางสีดา กลา่ วว่า เมือ่ สวามีของนางสามนกั ขาสนิ้ ชีวติ ลง วนั หนึง่ นางจึงออกท่องเที่ยวไปในป่าระหว่างนั้นได้พบกับพระรามพระลักษมณ์และ นางสีดา เกิดความปฏิพัทธ์รักใคร่พระรามนางเข้ายั่วยวนเล้าโลมแล้วตบตีทาร้าย นางสีดาทาให้ถูกพระลักษมณ์ลงโทษ นางโกรธแค้นเป็นอย่างมากไปทูลฟ้อง ทศกัณฐ์ กล่าวถงึ ความงามของนางสีดา ทศกัณฐ์เมื่อได้ฟังก็ให้มีใจคิดปรารถนาที่ จ ะไ ด้น าง สีด าม า เ ป็ น พ ร ะ ม เ หสีจ งอ อก อุบ ายใ ห้พ ร ะ ยา ม า รีศ แ ป ล ง ก าย เ ป็ น กวางทองไปลวงนางสีดา ส่วนทศกัณฐ์เมื่อสบโอกาสจึงแปลงเป็นพระฤๅษีเพื่อลัก ตวั นางสดี าไปไวใ้ นสวนกรงุ ลงกา

บทรอ้ งและทานองเพลง -ร้องเพลงฉยุ ฉาย- ฉยุ ฉายเอย จาแลงแปลงร่างวางจริตกริ ิยา แผงเพศทศพกั ตร์พญายกั ษ์สิบหน้า ผกเพยี้ นเปลี่ยนมาเป็นมหานักสิทธิ์ สวมทรงสุหร่าสร้อยประคาพรรณราย แดงเพริศเฉิดฉายงดงามเม่อื ยามพิศ งามนกั เอย จะไปไหนหน่อยเจ้ากล็ อยชาย ค่อยเยือ้ งค่อยยาตรวาดกรกราย ไปหาโฉมฉายสีดาเยาวมิตร หมายลกั อนงค์นาฏแรมนิราศรามา นิวัตลงการ่วมอุราเชยชิด -ปี่พาทย์รบั - -ร้องเพลงแม่ศร-ี แม่ศรีเอย แม่ศรีทศศรี นวยนาดวาดที ไปสู่ที่สีดา วนั นีล้ ะอนงค์ จะจากดงสู่ลงกา ใหล้ กั ษณ์รามตามหา เวทนาถงึ เอย แม่ศรีเอย แม่ศรีนิรมติ เยือ้ งยา่ งวางจริต เหมอื นนักสิทธ์เิ จา้ ครู จติ ด่วนควรหา แต่สีดาตราตรู เร่งร้อนจรจู่ ไปสู่กุฎเี อย -ปี่พาทย์รบั - -ปี่พาทย์ทาเพลงเสมอเถร-

ฉยุ ฉายนางวฬิ าร์

การสอบราเดีย่ วมาตรฐาน ชุด ฉุยฉายนางวิฬาร์ ผู้รบั การถ่ายทอดทา่ รา นางสาวกัญญาณัฐ วงคค์ ม อาจารยผ์ ู้ถา่ ยทอดทา่ รา อาจารย์ดร. ชวลิต สนุ ทรานนท์ อาจารย์ทีป่ รกึ ษา รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดเี จริญ ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง ราฉุยฉายนางวิฬาร์ เป็นการราเด่ียวท่ีอยู่ในการแสดงละครนอก เร่ืองไชยเชษฐ์ บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยถ่ายทอดกระบวนท่าราใน โครงการสืบทอดนาฏศิลปไ์ ทยจากศิลปินแห่งชาติหรือผู้เชี่ยวชาญ ครงั้ ที่ ๑๐ ราฉยุ ฉายนางวิฬาร์เป็นการราของตัวละครนางวิฬาร์ หรือนางแมว ซึ่งเป็นแมวท่ี นางจาปาทองหรือนางสุวิญชาเล้ียงไว้ ราถวายเทพยดาเพื่อแก้บนท่ีช่วยให้ขุดเจอพระโอรส โดยอาจารย์ดร. ชวลิต สุนทรานนท์ นักวิชาการละครและดนตรีทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการ ถ่ายทอดท่าราจาก ดร. รัจนา พวงประยงค์ ศิลปินแห่งชาติ ท่ีได้รับการถ่ายทอดท่าราจาก ครูเจริญจิต ภัทรเสวี และมีนางพัฒนี พร้อมสมบัติ อดีตนักวิชาการละครและดนตรีเป็น ผู้ประพนั ธ์บทรอ้ ง

บทรอ้ งและทานองเพลง - ป่พี าทย์ทาเพลงฉยุ ฉาย - - ร้องเพลงฉยุ ฉาย - ฉยุ ฉายเอย นบกรราร่ายถวายพระไทรเทวา สองแขนแอ่นอ่อนทา่ กินนรลีลา ตระเวนเวหาขี่ม้าตคี ลี ประเท้าก้าวยาตรนาดกรกราย ราฉยุ ฉายถวายเทพนารี - ร้องเพลงแม่ศรี - แม่ศรีเอย แม่ศรีวิฬารตั น์ ราฉยุ ฉายถวายหตั ถ์ โสมนสั ยินดี เทพไทเทวา ทว่ั ป่าวนาศรี โปรดรับไมตรี ตวั ข้านถี้ วายเอย - ป่พี าทย์ทาเพลงเรว็ -ลา -

ฉยุ ฉายพงั คี

การสอบราเดีย่ วมาตรฐาน ชุด ฉุยฉายพังคี ผ้รู ับการถา่ ยทอดท่ารา นายอษั ฎาวุธ สงิ ห์ทอง อาจารยผ์ ู้ถ่ายทอดทา่ รา รองศาสตราจารย์ ดร. ศภุ ชัย จันทร์สวุ รรณ์ ศิลปินแหง่ ชาติ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา อาจารย์ลิขิต ใจดี ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง การแสดงชุดฉุยฉายพังคี เป็นการแสดงราเด่ียวของท้าวพังคีจากนิทาน พื้นบ้านของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ(อีสาน) เรื่อง ท้าวผาแดง-นางไอ่ เนื้อเรื่อง กล่าวถึง ท้าวพังคีพญานาคหนุ่มลูกชาย พญาศรีสุทโธ ผู้ครองเมืองศรีสัตตนาค นหุต ได้ยินคาล่าลือเรื่องความงดงามของนางไอ่คา ธิดาของพระยาขอมผู้ครอง เมืองเอกธีตาคิดอยากยลโฉมนาง เมื่อรู้ว่าพระยาขอมจัดงานบุญบ้ังไฟ จึงแปลง กายเป็นชายหนุ่มเพื่อไปเข้าร่วมพิธี การแสดงชุดนี้เป็นการชื่นชมความ งามของ พังคี ที่สามารถแปลงกายเป็นชายหนุ่มได้อย่างงดงามน่าหลงไหล ก่อนที่จะไป ร่วมงานบุญบ้ังไฟ โดยมีกระบวนการร่ายราลีลาที่สง่างาม กิริยาท่าทางอย่าง มนุษย์แต่ยังคงเอกลักษณ์ที่สื่อถึงความเป็นพญานาค ซึ่งการแสดงดังกล่าวนี้เป็น ผลงานสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. ศุภชัย จันทร์สุวรรณ์ ศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้ควบคุมและ ขัดเกลากระบวนท่าราให้เป็นการแสดงราเด่ียวมาตรฐานชุดใหม่สู่วงการนาฏศิลป์ ไทย

บทร้องและทานองเพลง - ปพี่ าทย์ทาเพลงรัว - - ร้องฉยุ ฉาย (พวง) - ฉยุ ฉายเอย เสร็จจาแลงแปลงกายเปน็ ยอดชายงามสงา่ งามโพดล้าเหลอื หมดเชือ้ นาคา จริตกิรยิ าตาฮกั ตาแพง หน้าถ่ังดังคมปอ่ นหลอ่ นงามหลาย เจา้ ชา่ งแปลงกาย งามละม้ายพญาแถน - ปพี่ าทย์รบั - โฉมเฉดิ เอย คงิ เหลาพริง้ เพรศิ เลิศทง้ั ดินแดน ไผเบิง่ ไผชมชอบอารมณ์ฮักแก่น ผู้สาวหมืน่ แสนงวยงงเสน่หา อาภรณ์สบุ ใส่งามละมยั วิจติ ร เคร่อื งประดบั โสภิตลว้ นสุวรรณลงยา - ปพี่ าทย์รับ - - ร้องแม่ศรี - แม่ศรีเอย แม่ศรีจาแลง อนิ แปลงแถนแตง่ แมนสนั ขาคม คาเวา้ คาจา สอ่ื ภาษาสง่าสม ยวนเย้าเร้าอารมณ์ จริงนะแม่ศรีเอย

พงั คเี อย - ปพี่ าทย์รับ - ยามย่างวางทา่ พงั คีนาคา จิตใจแกร่งกล้า ปานเทวาลลี าศ แล้วรบี ยรุ ยาตร กิรยิ าหาญอาจ มุ่งหาอรทยั - ปพี่ าทย์รบั - - ปพี่ าทย์ทาเพลงเร็ว – ลา -

ฉยุ ฉายศรู ปนขา

การสอบราเดีย่ วมาตรฐาน ชุด ฉยุ ฉายศรู ปนขา ผรู้ บั การถ่ายทอดท่ารา นางสาวนุสรา ธนานศุ ักด์ิ อาจารย์ผู้ถา่ ยทอดท่ารา ดร. นพรตั น์ ศภุ าการ หวงั ในธรรม ศิลปินแห่งจุฬาลงกรณ์ อาจารย์ทีป่ รกึ ษา รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดเี จริญ ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง ราฉุยฉายศูรปนขา เป็นการราเดี่ยวที่อยู่ในการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอน ศูรปนขาหึง ซึ่งเป็นการราอวดฝีมือด้วยกิริยาท่าทีของนางแปลง อันมีจริต ออ่ นชอ้ ยปนแข็งกร้าวตามลกั ษณะของนางยกั ษ์ เนื้อเรื่องกล่าวถึงนางศูรปนขาหรือสามะนักขา น้องสาวทศกัณฐ์ เมื่อชิวหาพระสวามี ต้องส้ินชีพลงด้วยความเข้าใจผิดของทศกัณฐ์ นางบังเกิด ความเปล่าเปล่ียวใจ จึงได้เที่ยวเตร่หาคู่ในเกาะลงกา แต่ไม่พบผู้ที่น่าพอใจ จึงเหาะขา้ มมหาสมทุ ร ตระเวนเรือ่ ยไปจนถึงริมฝ่ังแมน่ ้าโคทาวารี เช้าวันหนึ่งได้เห็นพระรามมาสรงน้าก็หลงรัก วันรุ่งขึ้นจึงแปลงกาย ไปคอยดักพบอยู่ริมทางแนะนาตนขอถวายตัวเป็นชายา แม้พระรามปฏิเสธ นางก็ไม่ย่อท้อเฝ้าติดตามไปจนถึงบรรณศาลา ได้พบนางสีดาจึงรู้ว่าพระราม ไม่ใยดีกับนาง เพราะมีชายาโฉมงามอยู่แล้ว ด้วยความริษยาจึงกลับรูปเป็นยักษ์ ตรงเข้าทาร้ายนางสีดา พระรามและพระลักษมณ์เข้าช่วยไว้ได้ จึงทาโทษ นางสามนักขาด้วยการตัดแขน ขา จมกู หจู นแหวง่ วน่ิ แล้วไลไ่ ป

บทร้องและทานองเพลง - ปี่พาทยท์ าเพลงรัว - - รอ้ งฉยุ ฉาย - ฉุยฉายเอย เสร็จจาแลงแปลงกายจะตามชายไปใหท้ ัน นกั พรตช่างงามวิไล แต่งตัวเราไซร้ไปใหค้ มสนั ผา้ นุ่งใหม่สไบหอมใหพ้ รงิ้ พร้อมทกุ สิง่ อนั อีกท้ังเพชรพรายพรรณเห็นกระน้ันคงติดใจ (รับ) เสียดายเอย อยากจะส่องพระฉายหดั แยม้ พรายใหย้ ั่วยวน กระจกในไพรหาทีไ่ หนมา ช่างเถอะเจรจาและแยม้ สรวล ด้วยเสียงอ่อนหวานกระบดิ กระบวน คงตามลามลวนมาชวนเราเอย (รับ) -รอ้ งเพลงแมศ่ ร-ี แม่ศรเี อย แม่ศรโี ฉมเฉลา แต่งจริตใหพ้ รงิ้ เพรา เจ้าหนุ่มจะได้หลง ต้องทาแสนงอน ควกั คอ้ นให้งวยงง แม้นมาต้ององค์ จะสลัดปดั กรเอย (รับ) แม่เล่นตวั เอย แม่จะแกล้งเลน่ ตวั แม้มากอดพวั พัน เราจะหยกิ จะตี อยากมาหลงทาไม จะยว่ั ให้ส้ินดี แทบเป็นบ้าครานี้ ที่ในกุฎเี จียวเอย (รบั ) - ปี่พาทยท์ าเพลงเร็วลา -

พระสธุ นเดนิ ป่า

การสอบราเด่ยี วมาตรฐาน ชุด พระสุธนเดินปา่ ผูร้ ับการถา่ ยทอดท่ารา นายพัฒนพงษ์ อักษร อาจารย์ผูถ้ ่ายทอดทา่ รา อาจารย์ดร. ไพฑรู ย์ เข้มแขง็ ผู้เชีย่ วชาญการสอนนาฎศิลป์ไทย วทิ ยาลัยนาฎศิลป อาจารย์ที่ปรกึ ษา อาจารย์ลิขิต ใจดี ประวตั คิ วามเป็นมาของการแสดง การแสดงราเด่ียวมาตรฐานชุด พระสุธนเดินป่า จัดอยู่ในประเภท ราเดี่ยวมาตรฐานประเภทอื่น ๆ ซึ่งแทรกอยู่ในการแสดงละครเรื่องมโนห์รา ของกรมศิลปากร ปรากฏอยู่ในการแสดงฉากที่ ๔ ตอนที่ ๒ ป่าลึก เนื้อเรื่อง กล่าวถึง พระสุธนผู้เป็นพระสวามีของมโนห์ราที่ออกติดตามนางผู้เป็นที่รัก ในระหว่างทางได้พบกับอุปสรรคมากมาย แต่ก็ทรงไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค และ ดั้นด้นเดินทางต่อไปจนถึงป่าหิมพานต์ โดยใช้เวลาเดินทางท้ังหมด ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน นอกจากนี้ยังมีลิงป่าเป็นเพื่อนร่วมเดินทาง การแสดงชุดนี้ถือเป็นการแสดง ราเดี่ยวมาตรฐานอกี ชุดหนึง่ ที่มีลีลากระบวนท่าราทีแ่ สดงถึงความเข็มแข็งควบคู่ไป กับความอ่อนช้อยกันอย่างลงตัวซึ่งการแสดงชุดดังกล่าวนี้ อาจารย์ ดร. ไพฑรู ย์ เข้มแขง็ ได้รบั การถา่ ยทอดกระบวนท่าราจาก นางจาเรียง พุธประดับ ศิลปินแหง่ ชาติและ ดร. นพรัตน์ ศภุ าการ หวังในธรรม ศิลปินแหง่ จฬุ าลงกรณ์

บทรอ้ งและทานองเพลง -รอ้ งเพลงต่อยรูป- เมือ่ นั้น องค์พระสธุ นหมน่ หมองศรี ติดตามมโนหร์ านารี ภูมมี ิไดพ้ ักวรกาย ท้ังโศกท้ังละเห่ยี ทงั้ เสียใจ ทั้งอาลยั ราพึงถึงโฉมฉาย น้อยจิตปิ้มชีวติ จะวางวาย ฟมู ฟายชลนาโศกาลยั -ปี่พาทยท์ าเพลงมา้ ย่อง- -ร้องเพลงมา้ ย่อง- แวว่ เสยี งปักษาร่าร้อง ละเมอจิตคิดว่าน้องรา่ ไห้ เมียงมองตามก่งิ มง่ิ ไม้ แอบพอ่ี ยู่ใยเยาวมาลย์

-ร้องเพลงรา่ ยชาตรี ๓- พระเสดจ็ โดยเดียวในดงดอน มวี านรเป็นเพือ่ นในไพรสาณฑ์ ดน้ั ด้นล่วงแดนแสนกนั ดาร ภบู าลหวิ โหยโรยแรง พระเหลียวซ้ายแลขวาอุราสะท้อน ทินกรจะด่วนดบั ลงลบั แสง ท่วั ไพรพฤกษ์ปฐพสี าดสีแดง หวาดระแวงหวั่นองค์ทรงโศกี -ร้องเพลงรา่ ยชาตรี ๒- แล้วหวนนึกมานะหฤทัย จะตามไปกวา่ จะพบมารศรี ตามคาซึง่ พระมุนี พาทีบอกทางให้ไคลคลา -ปี่พาทยท์ าเพลงเชิด-

ฉยุ ฉายพันธรุ ตั

การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายพันธรุ ัต ผรู้ บั การถ่ายทอดท่ารา นายธนัชพร ไทโท อาจารยผ์ ู้ถ่ายทอดท่ารา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พสิ ษิ ฐ์ บัวงาม ผู้ชว่ ยคณบดี อาจารย์ที่ปรกึ ษา วา่ ท่รี อ้ ยตรี วริ ยิ ะ สวัสดิ์จนี ประวตั คิ วามเป็นมาของการแสดง ฉยุ ฉายพนั ธุรัต เป็นการราฉุยฉายที่บ่งบอกถึงอัตลักษณ์ของนางพันธุรัต ตามในละครนอกเรือ่ งสังข์ทองตามบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธ- เลิศหล้านภาลัย พบว่านางพันธุรัตเป็นนางยักษ์ใจดี เล้ียงดูพระสังข์และรักเหมือน ลูก แต่ความรักของนางกลับทาลายตัวนางเอง เพราะเท่ากับว่าเมื่อพระสังข์ “ปีกกล้าขาแข็ง” แล้วกห็ นีจากนางไป ซึง่ ตั้งแต่แรกจะเห็นความขัดแยง้ ระหวา่ งนาง พันธรุ ตั กบั พระสังข์ ที่ท้าวภุชงค์สง่ พระสังข์มาเปน็ ลกู แต่โหรไมเ่ ห็นด้วยนางพันธุรัต ก็ไม่ ฟังค าทั ก ท้ว งเพ ราะ รักใ ค ร่ เอ็น ดูพร ะสัง ข์เ สีย แ ล้วแ ต่ วิต กว่ าต น เป็ น ยัก ษ์ พระสังข์เป็นมนุษย์จะกลัวยักษ์ จึงสั่งให้พวกยักษ์จาแลงกายเป็นมนุษย์ทั้งหมด นางพันธุรัตแปลงกายอาพรางไม่ให้พระสังข์รู้จนเวลาผ่านไปร่วมสิบปี แต่นางก็ กลัววา่ พระสงั ขจ์ ะหนีไป จึงคอยระวังอยู่ตลอดเวลา

แม้เวลาที่จะไปป่าก็ยังหลอกพระสังข์จนพระสังข์สงสัย ถึงแม้นางพันธุ รัตจะเป็นยักษ์ นางพันธุรัตก็เป็นแม่ที่อุ้มชูพระสังข์มาเป็นเวลานานให้ความห่วงใย เสมอต้น เสมอปลาย พระสังข์เองก็อดที่จะโศกเศร้าอาลัยอาวรณ์ไม่ได้ คร้ันนาง พนั ธุรตั เห็นพระสังข์ไม่ยอมลงมาหาแน่แลว้ นางกเ็ ขียนมหาจินดามนตร์ไว้ให้ เพื่อ เป็นการเตรียมการให้พระสังข์ไปผจญกับอุปสรรคและแก้ไขอุปสรรคได้ การกระทาของนางคือการเสียสละเพื่อลูกอย่างแท้จริง การแสดงชุดดังกล่าวนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิสิษฐ์ บัวงามเปน็ ผู้ประพันธ์บทร้องและประดิษฐ์ทา่ รา

บทร้องและทานองเพลง - ปี่พาทย์ทาเพลงรัว - - ร้องเพลงฉยุ ฉาย - ฉยุ ฉายเอย พนั ธรุ ตั ยกั ษิณี ชีวนี ่าเวทนา ร้างผัวรกั ลกู เลีย้ ง ยอมเสี่ยงชีวา อดทนกายา รักษาความลับไว้ ของวิเศษคูนคร ต้องแอบซ่อน ให้หา่ งไกล เกรงเจา้ สุดหทัย ตกใจหวาดกลัว เจ็ดวนั เอย เปน็ มนุษย์สดุ สวาท ไม่ยอมคลาดพระลกู รกั เจด็ วนั หาเสบียง มาหล่อเลยี้ งชวี ิตหลัก เหน่อื ยอ่อนไม่ผ่อนพัก สุดเยือ้ งยกั เจยี นจะตาย กล้ากลืนฝนื ปกปิด กลวั มิ่งมิตรคิดหา่ งกาย มิคงอยู่สู้วอดวาย ถ้าฤาสายไปจากจร

- ร้องเพลงแม่ศรี - ความรักเอย ความรกั บริสุทธิ์ แมย่ กั ษ์กับลกู มนษุ ย์ ยากยดุ ร้างลา กรรมเวรพนั ผูก แมล่ กู สองอรุ า สร้างสรรคก์ นั มา ใช้เวราให้สนิ้ เอย แมศ่ รเี อย แมศ่ รพี นั ธุรัต ขอเทิดอวยสวสั ดิ์ นอ้ มนมัสสดุดี ยอมตายถวายชนม์ ด้วยรกั ล้นท้นทวี สุดยอดนารี ในวรรณคดีเรอ่ื งสังขท์ อง - ปี่พาทย์ทาเพลงเร็ว-ลา -

นางพญาคาปินขอฝน

การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชดุ นางพญาคาปนิ ขอฝน ผู้รับการถา่ ยทอดท่ารา นางสาวอัปสร ชานาญ อาจารยผ์ ู้ถ่ายทอดทา่ รา อาจารยธ์ นนั ดา มณีฉาย นาฎศิลปินอาวโุ ส สานักการสงั คีต กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา รองศาสตราจารย์ นุชนาฏ ดเี จริญ ประวตั คิ วามเปน็ มาของการแสดง นางพญาคาปินขอฝน เป็นการแสดงราเด่ียวของนางพญาคาปิน ตัดตอนมาจากการแสดงละครพันทางเรื่อง พญาผานอง ตอน ศึกรบศึกรัก กล่าวถึง นางพญาคาปินผู้เป็นภรรยาของพญาเก้าเกื่อนเจ้าเมืองวรนครหลบหนี จากเมือง หลังจากที่พญางาเมืองได้บุกเข้าตีเมือง นางจึงพากันหลบหนีและมา คลอดพระกุมารที่กระท่อมกลางป่า พร้อมกับนางคายวงพี่เล้ียงคนสนิท นางพญา คาปินโศกเศร้าเสียใจทีจ่ าต้องจากบา้ นเมืองมาและไมส่ ามารถดูแลพระกุมารให้สุข สบายได้ ซึ่งในขณะน้ันหมู่บ้านเกิดความแห้งแล้งฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลนางจึง วิงวอนขอพรจากพระวรุณ หากพระกุมารมีบุญญาธิการจะได้เป็นเจ้าเมือง ขอให้ ฝนตกลงมา หลังจากนั้นนางจึงฟ้อนราขอพรจากพระวรุณ

บทร้องและทานองเพลง - ปี่พาทย์ทาเพลงโอล้ าวครวญ – - ร้องทาเพลงโอล้ าวครวญ – เมื่อนั้น คาปิน เยาวยอด เสน่หา ต้องพลัดพรากจากญาติจากพารา อยู่เอกา กลางไร่ ให้อาวรณ์ ครุ่นคะนึงคิดถึงพระจอมราช สุดอนาถ หมน่ ไหม้ หทัยถอน คงจะเปน็ เวรกรรมมาตามรอน ดวงสมร สะอื้นโอ้ โศกี - ปี่พาทยท์ าเพลงโอดลาว – (คายวงอุ้มกมุ ารออกจากกระทอ่ มเข้าเฝ้านางพญา) - เจรจา – คายวง - แมเ่ จ้าอยา่ ร่าร้องเสียใจ ฉวยไมท่ รงสบายไป เจ้าน้อยจะพลอยได้รบั ทกุ ข์ ลาบาก คาปิน – ขอบใจคายวงมากทพ่ี ูดเตือนใจ โถ....เจ้าน้อยของแม่เปน็ กรรมของเจ้า แท้ ๆ ที่ ต้องมารับทกุ ข์ถงึ เพยี งนี้ สดุ รัก สุดชวี ิตของแม่นีห่ นาเมื่อครั้ง เจ้าน้อยยังอยใู่ นท้อง ของข้า พระราชากห็ วังจะสร้างบ้านแปลงเมือง หื้อเจ้าน้อย แต.่ ...เมื่อเกิดแล้วแม้แต่หลงั คา กบ็ ่มจี ะคุ้มหวั

- ขบั เสภาลาว – สาวคายวงเห็นนางบ่สรา่ งเศร้า จึงคลานเข่ากล่าวปลอบมารศรี อย่ากาสรดโศกศลั ย์พนั ทวี พระฉวผี ุดผ่องจะหมองนวล เรือ่ งรา้ ยร้ายผา่ นไปให้ผ่านลบั ผิวา่ กลบั คิดถึงคนึงหวน ความเศร้าจะเข้ามาก่อกวน จงใคร่ครวญไตร่ตรองเถิดกญั ญา กับอนึง่ เวลานี้ก็มเี หตุ อาเพศวิปรติ ผิดหนักหนา พระวรณุ ไม่โปรยโรยลงมา ธาราเหือดแหง้ แลง้ ไป แมเ้ ป็นดังนี้ไม่ก่วี นั เราทั้งนั้นคงสนิ้ ชีพตกั ษัย พระนางจะคิดอา่ นประการใด เร่งตรองไวไวอยา่ เนิ่นนาน - เจรจา – คายวง – ถ้าแมเ่ จ้ายังบ่กยึ งั้ ไห้ เจ้าน้อยคงบ่รอดชวี ิต หากบญุ ญาธิการยงั มีตั๊กละ คาปิน – แมน่ บ่ คายวง – แมน่ คะเจ้า ทีพ่ ง่ึ ท้ังหลายบ่มอง บ่หัน จะพง่ึ ไดก้ แ็ ต่ผสี างเทวดา ลองเสี่ยง สจั จวาจาดบู ่ หากทรงเมตตา เจ้าน้อยทง้ั สามเฮาก็คงรอดตาย - ร้องเกร่นิ ลาว – ฟังวา่ นางพญา ตรองตาม ที่ร่าขาน เห็นจริง เชน่ ถ้อย ของนงคราญ เยาวมาลย์ เส่ยี งสัจ จวาจา

- ร้องลาวเชิญผี – นบเอ๋ย นบเกศ ไหวเ้ ทเวศทกุ ทิศา ท่วั สวรรค์ชั้นฟ้า ทั้งเจ้าป่า ทกุ ตาบล ไหว้พระ วรุณราช ผู้ประสาท หลงั่ สายฝน หากโอรส จะยืนชนม์ ดารงรฐั สวัสดี โปรดเอย๋ โปรดประทาน ดลบันดาลด้วยฤทธี ทรงเมตตาโปรดปรานี แกข่ ้าน้อยและกมุ าร โปรดดลให้ฝนถัง่ ตกไหล่หลังด่งั ท่อธาร โปรยปรายให้สาราญ ได้อาบกนิ สนิ้ ทุกข์ภัย - ปี่พาทยท์ าเพลงลาวเชิญผีต่อไป – - ปี่พาทยท์ าเพลงรัวสามลา -

ฉยุ ฉายสมิงพระราม

การสอบราเดี่ยวมาตรฐาน ชดุ ฉุยฉายสมิงพระราม ผรู้ บั การถ่ายทอดทา่ รำ นายกรภทั ร์ กนั วนั นะ อาจารยผ์ ูถ้ ่ายทอดท่ารา ดร. วนั ทนีย์ ม่วงบญุ นกั วิชาการละครและดนตรที รงคณุ วฒุ ิ สานักการสงั คีต กรมศลิ ปากร กระทรวงวฒั นธรรม อาจารยท์ ่ปี รึกษา อาจารย์ลิขิต ใจดี ประวตั ิความเป็นมาของการแสดง การแสดงราชดุ ฉยุ ฉายสมงิ พระราม จัดอยู่ในราเดย่ี วมาตรฐานประเภท ราฉยุ ฉาย โดยเปน็ การราฉุยฉายของสมิงพระรามที่บรรยายถึงบุคลิกลักษณะนิสัย ของตัวละครที่มีความเป็นชายชาตินักรบ ซึ่งเป็นตัวละครที่ปรากฏในการแสดง ละครพันทางเรื่อง ราชาธิราช โดยกล่าวถึงสมิงพระรามทหารมอญแห่งกรุง หงสาวดีผู้มีความองอาจเข้มแข็งท้ังมีฝีมือในการรบเป็นเย่ียมในการทาศึกสงคราม ณ เมืองหงสาวดี โดยมีช้างพลายประกายมาศคู่ใจออกรบด้วยทุกครั้ง เมื่อเกิดศึก กับองั วะช้างพลายประกายมาศเกิดตกหล่มจึงเป็นเหตุให้สมิงพระรามถูกมังรายกะ ยอชวาจับตัวไปยังกรุงอังวะในฐานะเชลยในเวลาต่อมาสมิงพระรามได้อาสารบ ด้วยเพลงทวนกับกามนีจนกรุงอังวะได้รับชัยชนะ ทาให้ได้รับการแต่งต้ังเป็น มหาอุปราชและได้อภิเษกกบั พระราชธิดาแหง่ กรุงอังวะ ก า ร แ ส ด ง ชุ ด ฉุ ย ฉ า ย ส มิ ง พ ร ะ ร า ม นี้ บ ร ร จุ เ พ ล ง โ ด ย อาจารย์ไชยยะ ทางมีศรี ดุริยางคศิลปิน สานักการสังคีต กรมศิลปากร ประพันธ์ บทร้องและประดิษฐ์ท่าราโดย ดร. วันทนีย์ ม่วงบุญ นักวิชาการละครและดนตรี ทรงคุณวุฒิ สานักการสงั คีต กรมศิลปากร กระทรวงวฒั นธรรม

บทรอ้ งและทานองเพลง ปี่พาทยท์ าเพลงสมิงพระราม -ร้องเพลงฉุยฉาย- ฉยุ ฉายเอย สมงิ พระรามงามลา้ เลิศชาย ทหารหงสาแมช้ วี ายอมวาย มอบใจกายเพือ่ ถวายองค์ราชา เมื่อเปน็ เชลยอังวะยงั รบั ปะทะสู้ศกึ เกรงกามนีฮกึ ล้วงลึกถงึ พารา องอาจเอย ภิเษกธดิ าพม่าได้เป็นมหาอปุ ราช ถูกเรยี กไอ้เชลยด่งั เยาะเย้ยฟนั ฟาด จาต้องนิราศตัดสวาทเมียรกั กลับเมืองรามญั ไมผ่ ินผนั ไยดี ขออยู่ใกล้ฝ่าธุลบี าทบงสพ์ุ ระทรงศกั ดิ์

แมศ่ รีเอย แม่ศรที หารเก่ง ฝีมือน่ากลวั เกรง ต้องยาเยงในราญรอน ขนพองสยองแสยง ใครกลา้ แกร่งต้องม้วยมรณ์ ประดจุ เทพทินกร แผ่รอ้ นเผาผลาญเอย เขยพม่าสมงิ พระราม เขยพมา่ เอย มิครั่นคร้ามรณรงค์ เลือ่ งชือ่ ลือนาม จิตน้ันเฝ้าซื่อตรง เมินข้าสองเจ้า องค์ราชาธิราชเอย ทูลเทิดธารง -ปี่พาทยท์ าเพลงสมิงพระราม-

ขอขอบคณุ สาร ๑. นางสาวจุฬาสินี โรจนคุณกาจร นายกเทศมนตรีเมืองพะเยา ๒. นางสายรุ้ง ธาดาจนั ทน์ วัฒนธรรมจงั หวัดพะเยา ๓. รองศาสตราจารย์ ดร.สภุ กร พงศบางโพธ์ิ อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั พะเยา ๔. ดร.วุฒิชยั ไชยรินคา รองอธิการบดีฝ่ายคุณภาพนสิ ิต ๕. รองศาสตราจารย์ ดร.จนั ทนี เพชรานนท์ คณบดคี ณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์และศลิ ปกรรมศาสตร์ ๖. รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจริญ ผู้มีความรคู้ วามสามารถทางด้านนาฏศิลปไ์ ทย ขอขอบคณุ คณะกรรมการการสอบราเด่ยี วมาตรฐานทางด้านนาฏศิลป์ ไทย ประจาปี ๒๕๖๓ ๑. อาจารย์ดร.พัชรา บัวทอง ๒. รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจริญ ๓. อาจารย์รัตนะ ตาแปง ๔. ว่าที่รอ้ ยตรีวริ ิยะ สวัสดิจ์ ีน ๕. อาจารย์ลขิ ิต ใจดี

ขอขอบคุณอาจารยผ์ ูถ้ า่ ยทอดทา่ รา ๑. ดร.นพรัตน์ ศภุ าการ หวังในธรรม ศลิ ปนิ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั และผู้เชย่ี วชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย ๒. อาจารย์สดุ จิตต์ พนั สงั ข์ นาฏศิลปินอาวโุ ส ๓. ดร. ไพฑูรย์ เข้มแขง็ ผเู้ ชีย่ วชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย ๔. ดร. วนั ทนีย์ มว่ งบญุ นกั วิชาการละครและดนตรที รงคุณวุฒิ ๕. รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชยั จันทร์สุวรรณ์ ศลิ ปินแหง่ ชาติ ๖. อาจารย์ธนนั ดา มณีฉาย นาฏศลิ ปินอาวโุ ส ๗. ดร.ชวลติ สุนทรานนท์ นักวิชาการละครและดนตรีทรงคุณวุฒิ ๘. ศาสตราจารย์ ดร. สวภา เวชสุรกั ษ์ ๙. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. มณิศา วศนิ ารมณ์ ๑๐.ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์พิสษิ ฐ์ บวั งาม ผู้ช่วยคณบดี ๑๑.อาจารย์ฉัตร์ชยั ฉิมประสทิ ธ์ิ ขอขอบคุณฝ่ายเครอื่ งแต่งกายและแต่งหนา้ ๑. อาจารย์ฉตั ร์ชยั ฉิมประสทิ ธ์ิ ๒. นายพุฒินาท สกลุ แพทย์ ๓. นายธรรพ์ณกร เรืองอยู่

ขอขอบคุณอาจารยส์ าขาวิชาศิลปะการแสดง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตรแ์ ละศิลปกรรมศาสตร์ ๑. รองศาสตราจารย์ นชุ นาฏ ดีเจริญ ๒. อาจารย์รัตนะ ตาแปง ๓. ว่าที่รอ้ ยตรีวริ ิยะ สวสั ดิ์จีน ๔. อาจารย์ธนนั ยวรรณ ศรที รพั โยทัย ๕. อาจารย์ลขิ ิต ใจดี ขอขอบคุณฝ่ายออกแบบโปรเตอร์และภาพนิ่ง นายวสพุ ล รักษ์ชน ขอขอบคณุ ฝา่ ยจดั ทาวิดีทศั น์ นายชชั วาล นวลศรี ขอขอบคุณฝา่ ยออกแบบสจู ิบัตร นายวสุพล รักษ์ชน นายอัษฎาวฒุ ิ สิงห์ทอง ขอขอบคุณสถานทถี่ า่ ยสจู ิบัตรและสถานทสี่ อบ ณ อาคารปฏบิ ตั กิ ารสาขาวิชาศลิ ปะการแสดง คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์

รายช่อื คณะผ้ปู ฏิบัติงานการสอบราเดีย่ วมาตรฐาน ทางดา้ นนาฏศิลป์ไทย ประจาปี ๒๕๖๓ ๑. นายพัฒนพงษ์ อกั ษร (ประธาน) ๒. นางสาวนสุ รา ธนานศุ ักด์ิ (รองประธานโครงการ , ฝ่ายพิธกี าร) ๓. นายวสพุ ล รักษ์ชน (ฝ่ายสจู บิ ัตร , ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์) ๔. นายอัษฏาวฒุ ิ สงิ ห์ทอง (ฝ่ายสูจบิ ตั ร , ฝ่ายประชาสมั พันธ์ , ฝ่ายสถานที่ , ฝ่ายแสง สี เสยี ง ) ๕. นางสาวณัฐพร รุ่งเรือง (ฝ่ายเอกสาร) ๖. นางสาวอัปสร ชานาญ (ฝ่ายเอกสาร , ฝ่ายสวัสดิการ) ๗.นายธนัชพร ไทโท (ฝ่ายเครื่องแต่งกาย) ๘.นายกรภทั ร์ กันวันนะ (ฝ่ายเครือ่ งแต่งกาย , ฝ่ายการเงนิ ) ๙.นางสาวกัณญาณฐั วงคค์ ม (ฝ่ายสวสั ดิการ)