44 สรุปผลการเรียนรู้ การทำแชมพสู มนุ ไพรสระผมสามารถทำง่าย ๆ ได้ดว้ ยตนเอง ชว่ ยประหยดั ตน้ ทนุ และประหยัด ค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างดีเป็นการนำสมุนไพรท้องถิ่นที่เรามีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นการนำหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพ่อหลวง ร.9 มาใช้ “กินทุกอยา่ งท่ปี ลูก ปลูกทุกอย่างท่ีกนิ ” ซึ่งทำให้ เราเห็นแล้วว่าในช่วงที่พวกเราคนไทยต้องเจอวิกฤตโรคระบาดที่ร้ายแรง พวกเราก็ยังอยู่กันได้อย่างมี ความสขุ เพราะเราใชช้ วี ติ อยบู่ นความพอเพียง 8. ฐานคนรกั สุขภาพ วิทยากร นางสาวดวงพร เลิศลำหวาน ตำแหนง่ นกั ทรัพยากรบุคคลชำนาญการ ระยะเวลา 3 ชวั่ โมง วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือให้ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั และสามารถปฏิบัตจิ นเปน็ วถิ ีชีวติ ๒. เพ่อื ผู้เขา้ อบรมมีทักษะ ความรู้ในแตล่ ะฐานการเรียนรูแ้ ละนำไปปฏบิ ัติได้ ๓. สามารถนำความร้แู ละเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยุกตใ์ ชเ้ ป็นอาชีพเสรมิ ในครัวเรือน เพ่ือให้ เกิดรายได้และพง่ึ พาตนเองได้ ประเดน็ เน้ือหาทว่ี ทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้/ฝึกปฏิบัติ เท้าเปน็ อวัยวะทสี่ ำคญั ท่ีสุดอยา่ งหนึง่ ในรา่ งกายของเรา นอกจากเทา้ จะช่วยพาเราเดินทางไป ในทีต่ า่ งๆแล้ว เทา้ ยังเปน็ แหล่งรวมของจุดประสาทต่างๆมากมาย การท่ีจะมีสุขภาพที่ดไี ด้นน้ั จึงจำเป็น อย่างย่งิ ทจ่ี ะต้องมสี ุขภาพเทา้ ทีด่ ีเชน่ กัน การแช่เท้าด้วยสมุนไพร โดยการแช่เท้าในน้ำอุ่นที่มีอุณหภูมิพอเหมาะ เวลาที่เหมาะต่อการ แชเ่ ทา้ คือ สามารถทำได้ทุกชว่ งเวลาที่สะดวก แตห่ ากตอ้ งการช่วยให้นอนหลับง่าย แนะนำให้แช่เท้าใน นำ้ อุ่นกอ่ นนอนทุกคืน 10-15 นาที จะช่วยใหห้ ลบั งา่ ยหลับสบายและหลบั ลึกข้นึ เพ่อื ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ มากขึ้นอาจจะใส่เกลือในน้ำอนุ่ 1-2 ช้อนชาตอ่ น้ำอนุ่ แชเ่ ท้า 1 กะละมังหรือทว่ มข้อเท้าพอสมควร หรือ หากท่านชอบกลิ่นน้ำมันหอมระเหยอาจหยดน้ำมันหอมระเหยตามที่ชอบประมาณ 5-10 หยด ขึ้นอยู่ กับปริมาณน้ำในกะละมัง เพอื่ ใหเ้ กิดความรสู้ ึกสบายและผอ่ นคลายมากขึน้ สรรพคณุ สมุนไพร สมุนไพร ช่วยให้การไหลเวียนของโลหิตดีขึ้น ทำให้ร่างกายสดชื่น ผิวพรรณเปล่งปลั่งมีน้ำ มนี วล ชว่ ยใหเ้ ส้นเลือดฝอยขยายตัวรูขุมขนเปิด เพอ่ื ขบั ถา่ ยของเสียออกทางผิวหนัง ชว่ ยบรรเทาอาการ ปวดเมอื่ ย ผ่อนคลายกล้ามเน้ือ ช่วยลดอาการเกร็งตัวของกล้ามเน้ือ ข้อตอ่ ช่วยใหเ้ น้อื เยื่อพังผืดหยุ่นตัว รา่ งกายสดช่นื สมุนไพรสดทใ่ี ช้ เชน่ ไพล : แกป้ วดเม่ือย ครน้ั เนอ้ื ครัน้ ตัว ขมนิ้ ชนั : แก้โรคผวิ หนังสมานแผล ตะไคร : ดบั กลนิ่ คาว บำรงุ ธาตไุ ฟ ใบ - ผวิ มะกรูด : แก้ลมวิงเวียน ใบหนาด : แกโ้ รคผวิ หนัง พพุ อง นำ้ เหลอื งเสยี
45 ว่านน้ำ : ชว่ ยขบั เหงื่อ แก้ไข้ ใบสม้ ปอ้ ย : แก้หวดั แก้ปวดเมอ่ื ย กระชาย : แก้ปวดเมื่อย ปากแตก เปน็ แผล ใจสั่น ใบเปลา้ ใหญ่ : ถอนพิษ ผดิ สำแดง บำรงุ ผวิ สมนุ ไพรฤทธิ์รอ้ น สรรพคุณสมุนไพร \"ฤทธร์ิ อ้ น\" ชว่ ยในการกระตุ้นอวยั วะทอี่ ่อนแรง ออ่ นลา้ หมดพลงั ให้กลบั มา กระฉบั กระเฉง ทำงานได้เต็มประสทิ ธิภาพตามปกติ เช่น มะกรูด ช่วยในการต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายแข็งแรง กระทุ้ง พิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเปน็ พิษ มีน้ำมันหอมระเหยผ่อนคลายความเครยี ด คลายความกังวล เป็น ยาบำรุงหวั ใจ แก้ลม หนา้ มดื วิงเวยี นศรี ษะ แกอ้ าการไอ ขับเสมหะ ชว่ ยฟอกโลหติ แก้อาการเลือดออก ตามไรฟัน ช่วยขับลมในลำไส้ แก้อาการจุกเสียด ท้องอืด แน่นท้อง ช่วยขับระดู ขับลม ช่วยบำรุงหนัง ศีรษะและบำรงุ เส้นผมใหแ้ ขง็ แรง แก้ปัญหากล่นิ เทา้ เหมน็ มีกลนิ่ อบั เชื้อรา ใบมะกรูด สามารถใช้ดับกลิ่นคาวในอาหารและใช้ในการประกอบอาหารและแต่งกลิ่นคาว หวานของอาหาร ใบมะกรูด แกไ้ อ แก้อาเจยี นเปน็ โลหิต แกช้ ้ำใน กดั เสมหะในคอ แกน้ ้ำลายเหนียว กัดเถาด้าน ในท้อง แก้ระดูเสียฟอกโลหิตระดู ขับระดู ขับลมในลำไส้ แก้จุกเสียด ผิว มีรสปร่าหอม ร้อน เป็นยาขับ ลมในลำไส้ แก้แนน่ ขบั ผายลม เปน็ ยาบำรงุ หวั ใจ ไพร เหง้าช่วยขับโลหิต แก้อาการท้องผูก สมานแผลในลำไส้ แก้ลำไส้อักเสบช่วยรักษาอาการ เคล็ดขัดยอก ฟกช้ำบวม ข้อเท้าแพลง ช่วยลดอาการอักเสบ แก้ปวด บวม เส้นตึง เมื่อยขบ รักษาโรค ผวิ หนงั ดดู หนอง รักษาโรคเหนบ็ ชา ตา้ นเช้ือรา เชอื้ จลุ ินทรยี ์ และเชอื้ แบคทเี รีย ใบมะขาม อาการคัน มีผื่นขึ้นตามผิวหนัง สามารถบรรเทาได้โดยการใช้ใบมะขามต้มกับน้ำให้ เดอื ด บรรเทาอากรคนั และช่วยใหผ้ ดผ่นื หายเร็วขึน้ ลดการติดเชือ้ ทผ่ี ิว ขมิ้น แก้โรคผิวหนัง สมานแผล แก้ผื่นคัน ขับกลิ่นและสิ่งสกปรกในร่างกาย แก้แผลถลอก แก้ โรคผิวหนังผ่ืนคัน ลดอาการอักเสบ ทำให้ผิวพรรณผุดผอ่ ง ตะไคร้ มีส่วนช่วยในการขับเหงื่อ เป็นยาบำรุงธาตุไฟใหเ้ จริญ สารสกัดจากตะไครม้ ีส่วนช่วยใน การปอ้ งกันโรคมะเร็งลำไสใ้ หญ่ แก้และบรรเทาอาการหวัด อาการไอ ใช้เปน็ ยารกั ษาเกลื้อน เชื้อราบน ผวิ หนงั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ตามแพทย์แผนไทย ร่างกายคนเราประกอบด้วยธาตุ 4 ชนดิ ได้แก่ ดนิ น้ำ ลม ไฟ ภาวะรอ้ นในร่างกายเกิดจาก ธาตไุ ฟกำเริบ ธาตนุ ำ้ กล็ ดลง ธาตุดินก็แห้งผาก ธาตุลมกแ็ ปรปรวน นำไปสู่ ความเจ็บป่วยต่างๆ เช่น ระบบทางเดินหายใจ ภูมิแพ้ติดเชื้อได้ง่าย ทางเดินอาหารเป็นแผล ร้อนใน ผิว แห้ง ผมรว่ ง ทอ้ งผกู และมปี ญั หาทางระบบสบื พันธุ์ สมนุ ไพรฤทธ์เิ ย็น คอื สมนุ ไพรท่นี ำมาใช้เพ่ือดับรอ้ นภายในรา่ งกาย ท่ีนิยมได้แก่ 1. บัวบก (Gotu kola) รู้จักกันดีจากสรรพคุณแก้ช้ำใน นอกจากนี้ตำราไทยยังใช้เพื่อดับพิษ ร้อน แก้ร้อนใน กระหายน้ำ สามารถคั้นสดๆดื่ม หรือใช้เป็นผักสดแกล้มกับอาหารก็ได้ ในท้องตลาดก็มี พวกแคปซูลอดั เมด็ และชาชงอกี ดว้ ย 2. รางจืด ตามตำราเภสัชกรรมไทยจัดเป็นสมุนไพรฤทธิ์เย็นที่มีสรรพคุณถอนพิษ ผิดสำแดง แก้พิษเบื่อเมาจากเห็ดพิษและอาหารทะเล อีกทั้งยังมีฤทธิ์ลดอักเสบ การแพ้ ใช้กินแก้ไข้ร้อนใน โดยใช้
46 รากรางจืดโขลกให้ละเอียดผสมน้ำดื่ม ใบรางจืดต้มน้ำเดือดผสมกับเตยหอมหรือใบหญ้าหวานตามใจ ชอบ 3. ฟ้าทะลายโจร มีสาระสำคัญหลักคือ Andrographolide ที่มีหลกั ฐานการวิจัยมากมายไม่วา่ จะเป็นกระตุ้นภูมิคุ้มกัน แก้อักเสบ เจ็บคอ มีการนำมาใช้ในบัญชียาหลักสำหรับแก้หวัด ลดไข้ เจ็บคอ รวมถงึ อาการท้องเสียชนดิ ท่ีไมต่ ิดเชอ้ื ดว้ ย โดยใบมีรสขม จงึ นยิ มรับประทานในรูปแบบแคปซูลมากกวา่ 4. เฉาก๊วย นอกจากจะเปน็ สมุนไพรจนี โบราณแลว้ ยังเป็นของหวานของโปรดของใครหลายคน อีกด้วย ตำราแผนโบราณใช้เฉาก๊วยในการแกก้ ระหาย รักษาอาการปวดหวั เจริญอาหาร เป็นยาระบาย และชว่ ยย่อย 5. เตยหอม หรือส่วนใบทเ่ี รานำมาใช้กันจนเรยี กติดปากว่า ใบเตย มฤี ทธเิ์ ยน็ ช่วยในการลดการ กระหายน้ำ บำรุงหัวใจ มีกลิ่นหอมเป็นเอกลักษณ์และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารจำพวกฟีนอล น้ำมันหอมระเหย นอกจากนี้ยังมีการนำมาใช้ควบคู่กับการรักษาโรคเบาหวานด้วย นิยมนำใบมาต้มน้ำ เพื่อรับประทาน 6. ว่านหางจระเข้ ใช้เนื้อในใบมาทำเป็นวุ้นปั่นเป็นเคร่ืองดื่มช่วยแก้ร้อนใน กระหายน้ำได้เป็น อย่างดี เนื้อใบสามารถนำมาใช้รักษาแผลจากไฟไหม้น้ำร้อนลวก ส่วนน้ำยางสีเหลืองนำมาเคี่ยวเป็นยา ระบายได้ ห้ามกินสดจะเป็นอนั ตรายตอ่ ร่างกาย วสั ด/ุ อปุ กรณ์ - มะกรดู /ใบมะกรดู - กะละมังพลาสตกิ - ใบมะขาม - มีดห่นั สมนุ ไพร - ตะไคร้ - เขียงพลาสติก - ไพร - ครกตำสมนุ ไพร - ขมนิ้ ชนั - กระบวยตักน้ำร้อน - การบูร - ถังแก๊ส/เตาแกส๊ - เกลือ - หม้อตม้ น้ำสมุนไพร วธิ ีทำ - นำสมนุ ไพรสดท่หี าไดม้ าล้างใหส้ ะอาด แล้วหั่นเป็นชิ้นเลก็ ๆ ตำแคพ่ อแตก - ต้มน้ำให้เดือด แล้วใส่สมุนไพรที่เตรียมไว้ลงไปต้ม สัก 15-20 นาที ปิดไฟ เติมเกลือและ การบรู ลงไป - นำน้ำสมุนไพรลงมาผสมกบั นำ้ อุณภูมิปกติ จนรู้สึกอุน่ ๆร้อนๆ แล้วนำไปแช่เท้าและมือได้ตาม ต้องการ แชท่ ิง้ ไว้ 15-20 นาที หรือจนกวา่ นำ้ จะเยน็
47 ประโยชน์ การแช่เท้าในน้ำอุ่น เพื่อช่วยเพิ่มการไหลเวียนเลือดทั่วร่างกายให้ดียิ่งขึ้น เป็นการเพิ่มการ ไหลเวียนเลือดมาที่เท้า รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น ช่วยให้ระบบย่อยอาหารของร่างกายทำงานดีขึ้น ลด อาการเท้าบวมได้ดีขึ้น ช่วยให้นอนหลับง่ายขึ้น ลดอาการเลือดคั่งบริเวณอื่น เช่นศีรษะ หรือช่องเชิง กราน ลดอาการปวดศีรษะและอาการปวดท้องประจำเดือนลงได้ หากมีอาการปวดเมื่อยขาและเท้าหลัง เดิน หรอื ยนื นาน ๆ แบบน้ี เราควรแช่ขาในนำ้ เย็น เพราะนำ้ เย็นจะช่วยให้เส้นเลือดหดตัว ช่วยลดสารที่ ทำให้เกิดอาการอักเสบ จงึ ทำใหอ้ าการปวดบวมจากการอักเสบของกลา้ มเน้ือลดลงได้ ขอ้ ควรระมัดระวังในการแช่เทา้ ในนำ้ หากมีอาการดังนี้ มีไข้สูง เป็นโรคติดต่อร้ายแรง มีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ หอบหืดระยะ รุนแรง ลมชัก สตรีขณะมีประจำเดือน มีการอักเสบจากบาดแผลเปิดและแผลปิด อ่อนเพลีย ลดอาหาร อดนอน หลังทานอาหารใหม่ ปวดศีรษะ ชนิดวิงเวียนศีรษะ และคลื่นไส้ ไม่ว่าจะเป็นนำ้ อุ่น หรือน้ำเยน็ ควรระมัดระวังในเรื่องของความสะอาดของน้ำที่จะแช่เท้าด้วย อย่าผสมอะไรลงไปในน้ำ รวมถึงน้ำมัน หอมระเหยที่ไม่คุ้นเคย อาจเกิดอาการแพ้ได้ สำรวจก่อนว่าเท้าและขาที่จะแช่น้ำมีผิวหนังส่วนไหนที่มี บาดแผลหรือไม่ ถ้ามี ยังไม่ควรแช่น้ำ อาจใช้วิธปี ระคบเย็น หรือร้อนแทนไปก่อน เพื่อป้องกันแผลเป่อื ย หรือแผลติดเชื้อ โดยเฉพาะผู้ปว่ ยเบาหวานเพราะอาจมีประสาทรับรู้ความรู้สกึ ช้าจนทำให้ไม่ระมัดระวัง เร่ืองของอณุ หภมู ิของน้ำทีเ่ หมาะสม อาจทำให้ผวิ หนังพองได้ ไม่ควรแช่เทา้ ในน้ำรว่ มกับคนอน่ื อาจเสี่ยง ตดิ โรคได้ สรุป เท้าเป็นอีกอวัยวะในร่างกายที่สำคัญและถูกใช้งานอยู่ทุกวัน เพราะต้องแบกรับน้ำหนักจาก ร่างกาย รวมถึงการเดินทางที่ใช้งานเป็นจำนวนมาก จนบางครั้งเมื่อเกิดอาการปวดเมื่อยหลายคนจึงไป \"นวดฝ่าเทา้ \" หรอื \"สปาเท้า\" เพ่ือเปน็ การผ่อนคลายการเมือ่ ยล้า อย่างไรกต็ ามการแชเ่ ทา้ เป็นวิธีปฏิบัติท่ี ถูกถ่ายทอดกันมาอย่างยาวนาน ตามหลักทฤษฎีการแพทย์ทางเลือก โดยมีความเชื่อกันว่าเท้ามีจุด สัมผัส ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการทำงานของอวัยวะต่างๆ ทั่วทั้งร่างกาย เพราะฉะนั้นวิธีการผ่อนคลาย ด้วยการ แช่เท้าลงในน้ำร้อน จึงเป็นหนึ่งในวิธีที่จะช่วยกระตุ้นจุดสัมผัสเหล่านี้ด้วยพลังงานความร้อน ทางด้านผลงานการวิจัย ประสาทรับสัมผัสที่ผิวหนังจะมีวงจรประสาทเชือ่ มต่อกันกับกล้ามเนื้อ รวมถึง อวัยวะต่างๆ ที่อยู่ภายในร่างกาย และเมื่อความร้อน มาสัมผัสกับผิวหนัง มันก็จะส่งสัญญาณไปยังส่วน ต่างๆของร่างกาย และทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงการทำงานของอวัยวะที่อยู่หา่ งไกลได้ ทั้งนี้การแช่เทา้ ไมว่ ่าจะเปน็ น้ำเกลอื หรือน้ำอ่นุ อาการเจ็บปว่ ย เนอ่ื งจากการใชง้ าน ร่างกายหนกั เกินไป หรือการดำเนิน ชีวติ ทไ่ี ม่ถูกต้อง ทำใหเ้ กิดอาการปวดเทา้ ปวดขา ไดง้ า่ ย สร้างความทรมานในการใช้ชีวิต สำหรับคนที่มี อาการดังกล่าวเป็นอย่างมาก อาการปวดเท้า ปวดขา เกิดได้กับทุกคน ฉะนั้นใครที่ต้องทำงานโดยต้อง ยืนเป็นเวลานานๆ หรือเดินอยู่ตลอดเวลา ลองนำวิธีน้ี ไปลองทำดู ซึ่งสามารถ ช่วยลดอาการปวดเมื่อย ดังกล่าวไดด้ ้วยตนเอง ประหยัดเงนิ ประหยดั เวลาในการเดนิ ทางไปรา้ นสปา แตถ่ ้ามอี าการหนักก็ควรไป พบหมอ และทส่ี ำคัญ ควรปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมในการใช้ชวี ติ ทก่ี อ่ ให้เกิดอาการปวดดังกล่าว
48 9. ฐานคนมีไฟ วทิ ยากร นายบัญญตั ิ อาจหาญ ตำแหนง่ เจา้ พนักงานโสตทศั นศกึ ษาฯ ระยะเวลา 3 ช่วั โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้และเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปรับใช้ในชีวิตประจำวัน และสามารถปฏิบตั จิ นเปน็ วถิ ีชวี ิต ๒. เพ่อื ผเู้ ข้าอบรมมีทักษะ ความรู้ในแต่ละฐานการเรียนรู้และนำไปปฏิบัติได้ ๓. สามารถนำความรู้และเทคนิคในฐานต่างๆ ไปประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นอาชีพเสริมในครัวเรือน เพื่อให้ เกดิ รายได้และพ่งึ พาตนเองได้ ประเดน็ เนอ้ื หาท่ีวิทยากรบรรยายให้ความรู้/ฝึกปฏิบตั ิ จากการคาดการณ์ของกระทรวงพลังงาน ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2563 ทั่วโลกจะ มสี ัดส่วนการใช้น้ำมนั อยู่ท่รี อ้ ยละ 37 กา๊ ซธรรมชาตริ อ้ ยละ 27 ถ่าน หินรอ้ ยละ 25 พลงั งานหมุนเวยี น ร้อยละ 8 และพลงั งานนิวเคลียร์ร้อยละ 3 ซ่งึ หากโลกยงั คงมีการใช้พลังงานฟอสซลิ ในอัตราที่สูงเช่นใน ปัจจุบัน และถ้าหากไม่มีการค้นหาแหล่งผลิตพลังงานเพิ่มเติม เราจะมีน้ำมันใช้ได้อีกประมาณ 30 ปี ก๊าซธรรมชาติ 50 ปีถ่านหินประมาณ 200 ปี แน่นอนว่าจะส่งผลกระทบอย่างมหาศาลกับคนทั้งโลก พลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือกจึงเป็นพลังงานหมุนเวียนที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นและถือเป็นอีก แนวทางหนงึ่ ที่จะทำใหว้ กิ ฤตพลงั งานมีทางออกในปัจจุบนั พลังงานทดแทน ( Alternative Energy ) หมายถึง พลังงานท่ีใชท้ ดแทนพลังงานจากนำ้ มนั เชื้อเพลิง ซ่ึง จัดเป็นพลังงานหลักที่ใช้กันอยู่ทั่วไปในปัจจุบัน พลังงานทดแทนที่สำคัญได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานลม เป็นต้น ได้มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำ พลังงานทดแทนมาใช้ประโยชน์มากขึ้น ซ่ึงจะช่วยลดปัญหาการขาดแคลนพลังงานในอนาคต และช่วย ลดปัญหาด้านมลพิษที่เกิดขึ้นจากการ ใชพ้ ลังงานในปัจจบุ นั ประเภทของพลงั งานทดแทน สามารถแบง่ พลงั งานทดแทนตามแหลง่ ท่ไี ด้มาเป็น 2 ประเภท คอื 1. พลังงานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง เป็นพลังงานทดแทนจากแหล่งที่ได้มาแล้วใช้หมดไป ได้แก่ พลงั งานถ่านหนิ , กา๊ ซธรรมชาติ , นิวเคลยี ร์ , หินน้ำมนั , ทรายน้ำมัน เป็นตน้ 2. พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน เป็นพลังงานทดแทนจากแหล่งที่ใช้แล้วสามารถ หมุนเวียนมา ใช้ไดอ้ ีก ได้แก่ พลังงานจากแสงอาทิตย์ , ลม , ชีวมวล , นำ้ เป็นต้น ข้อดขี องพลงั งานแสงอาทิตย์ 1. เป็นพลงั งานท่ีใชไ้ มม่ วี นั หมด 2. สามารถผลิตผลงั งานไฟฟ้าได้ทั่วทกุ มุมโลก 3. เปน็ พลงั ท่สี ะอาด 4. เป็นพลงั งานทใ่ี ชไ้ ด้ฟรี 5. ช่วยทำให้โลกเรานา่ อยมู่ ากข้ึน ไมม่ มี ลพษิ และสารตกค้างใดๆ การทำงานของแผน่ โซล่าเซลล์ โซล่าเซลล์ สรา้ งมาจากซิลกิ อนที่เปลยี่ นแสงแดดท่เี ข้ามาเป็นไฟฟ้าแทนที่ จะเป็นความร้อน ประกอบด้วยฟิล์มเชิงบวกและเชงิ ลบของซิลิกอนทีว่ างอยู่ใต้แผ่นกระจกบางๆ เมื่อโฟ
49 ตอนของแสงอาทิตย์กระทบกับเซลล์เหล่านี้พวกมันจะกระแทกอิเล็กตรอนออกจากซิลิคอน อิเลก็ ตรอนอสิ ระทีม่ ีประจุลบ จะถูกดงึ ดดู ไปท่ดี ้านหนง่ึ ของเซลล์ซิลิกอน ซึ่งสร้างแรงดันไฟฟ้าที่สามารถ รวบรวมและนำมาใชง้ านได้ อปุ กรณ์โซลา่ เซลล์ แผ่นโซล่าเซลล์ ทำหนา้ ที่แปลงพลังงานแสงอาทิตยเ์ ปน็ พลังงานไฟฟ้า โซล่าชาร์จเจอร์คอนโทรลเลอร์ ทำหน้าที่ควบคุมการชาร์จไฟฟ้าทีไ่ ด้รับจากแผงโซล่าเซลล์ มาจัดเก็บใน แบตเตอรอี่ ย่างเหมาะสมและโซล่าร์ชารจ์ เจอร์ทำหน้าที่คอยควบคุมการจา่ ยไฟให้กับอุปกรณ์ไฟฟา้ แบตเตอรี่โซลา่ เซลล์ ทำหน้าท่เี กบ็ พลังงานไฟฟ้ากระแสตรงทีไดจ้ ากแผงโซล่าเซลล์ โดยผา่ นการควบคุม การประจุไฟฟ้าจากชารจ์ คอนโทรลเลอร์ ควบคุมการทำงานของไฟกระแสตรงจะถูกแปลงเป็นไฟกระแสสลับที่สามารถปรับขน าดแรงดันและ ความถีไ่ ด้โดยวงจรอนิ เวอร์เตอร์ (Inverter Circuit)
50 ปั๊มนำ้ ดซี ีเปน็ อปุ กรณห์ รือเคร่ืองสบู น้ำท่แี บ่งประเภทตามเกณฑก์ ารใช้พลังงานในการขบั เคลอื่ นมอเตอร์ โดยปัม๊ น้ำแบบนี้จะใช้ไฟฟา้ กระแสตรง ซง่ึ เป็นกระแสคนละแบบกับไฟฟ้าท่เี ราใช้กนั ตามบา้ นเรอื นหรือ ท่ีมาจากสายสง่ ของการไฟฟ้า ด้วยคณุ สมบตั นิ เ้ี อง ทำให้ปั๊มน้ำประเภทนไ้ี ด้รับความนยิ มนำมาต่อพ่วง เข้ากับแผงโซล่าเซลล์ การฝึกตอ่ อุปกรณ์โซลา่ เซลล์ ปญั หาและอุปสรรค 1. ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมสว่ นมากไม่มีความร้พู ้นื ฐานเก่ียวระบบไฟฟ้าและระบบโซล่าเซลล์ 2. ผู้เข้าอบรมมีปัญหาเรื่องการลงทุน เพราะในการลงทุนระบบโซล่าเซลล์ครั้งแรกใช้ทุนเยอะ แต่เทียบกบั ระยะยาวแลว้ คมุ้ ค่าทำให้ผ้เู ข้าอบรมมีความสนใจมาก 3. ผเู้ ขา้ อบรมให้ความสนใจเพราะพนื้ ทโ่ี คกหนองนาไฟฟา้ เขา้ ไม่ถงึ แต่ติดทกี่ ารคำนวนการใช้ งานนำ้ และไฟฟ้ายังคำนวนไม่ได้ 10. ฐานคนเอาถา่ น วิทยากร นายแสนศักด์ิ สทุ ธิวิเศษ ตำแหนง่ พนักงานจ้างท่ัวไป ระยะเวลา 3 ชัว่ โมง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อใหผ้ ู้เข้ารบั การฝึกอบรมรูแ้ ละเข้าใจถึงการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั และสามารถปฏบิ ตั ิจนเป็นวิถชี ีวติ 2. เพ่ือนำความรแู้ ละเทคนิคไปประยุกต์ใชใ้ นครวั เรือนให้พ่ึงพาตนเองได้ ประเด็นเนอ้ื หาทว่ี ิทยากรบรรยายให้ความรู/้ ฝึกปฏิบตั ิ 1. การเลอื กสถานท่ีถาวรในการตั้งเตาเผ่าถ่าน/การทำเตาเผา่ ถ่าน 2. การเลอื กไมม้ าเผา่ ถ่าน 3. ขนั้ ตอน/วธิ ีการเผา่ ถ่าน
51 วัสดุอุปกรณ์ 1. ถงั 200 ลิตร (ถังนำ้ มันหรือถังเหล็ก) ราคาไมเ่ กิน 500 บาท 2. ท่อซเี มนตใ์ ยหิน ขนาดเสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 4 น้ิว ยาว 1 เมตร ความยาวของ เส้นผ่าศูนย์กลาง อาจเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม) 3. ข้องอ ขนาด 95 องศา มเี สน้ ผ่าศนู ยก์ ลางเท่ากบั ขนาดกลางท่อซเี มนต์ใยหิน 4. อิฐบล็อก จำนวน 4-5 กอ้ น สำหรับเรยี งทำเป็นหอ้ งเช้ือเพลงิ หนา้ เตา 5. เสาไม้คำ้ ยนั 8 ทอ่ น เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 3 นว้ิ ยาว 120 เซนติเมตร 6. เศษกระเบ้ือง สังกะสี หรอื ไม้แก่ เพื่อกักดินด้านข้าง ดา้ นหน้า และดา้ นหลงั 7. ดนิ เหนยี วหรอื ดนิ ทราย เพ่ือเป็นฉนวนกันความรอ้ น 8. กระบอกไมห้ รือกระบอกไม้ไผ่ สำหรบั เก็บน้ำสม้ ควนั ไม้ ยาวประมาณ3-5 เมตร ตามความ เหมาะสม 9. ไม้ทกุ ประเภทท่ีใชใ้ นการนำมาเผาถ่านได้ ส่วนใหญ่จะใช้กิ่งไมท้ ่ไี ด้จากการตัดแต่งต้นไม้ใหญ่ ภายในครวั เรือน ข้นั ตอน/วธิ ที ำ 1. การเลือกสถานท่ีก่อสร้างเตา เนน้ การสรา้ งบนพ้ืนท่ีดอน เมือ่ ฝน ตกแลว้ นำ้ ไม่ทว่ ม และควร เป็นพื้นที่อยู่ห่างไกลจากบ้านอย่างน้อยประมาณ 50 เมตร และควรสร้างให้ อยู่ใกล้กับแหล่งไม้ท่ี สามารถจัดหาได้ง่าย 2. การติดต้ังเตาเผาถ่าน จะตอกเสาคำ้ ยนั ไม้ที่พ้นื เป็นส่มี มุ ขนาด 80x80 เซนติเมตร ตอกเปน็ หลกั หา่ งดา้ นขา้ งเตา ประมาณ 250 เซนตเิ มตร 3. นำถัง 200 ลิตร มาเจาะขอบถังให้ฝาถังเปิดได้แล้วทำการเจาะรูข้างหน้า 20x20 เซนตเิ มตร สว่ นก้นถังเจาะรูวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลางมากกวา่ 4 นิว้ สำหรับใส่ขอ้ งอ 4. ตั้งเตาให้ดา้ นหนา้ ถึงแหงนขึน้ เล็กน้อย เพื่อให้ระบายน้ำออก ด้านหลังยัง ไม่ต้องปิด แล้วเท ดินเหนยี วประคองดา้ นขา้ งเตาพอประมาณเพื่อไมใ่ หเ้ ตาขยบั เขย้ือน 5. ประกอบของอใยหิน 90 องศา โดยให้ด้านที่ใหญ่ที่สุดสวมเข้าไปในช่องที่ เจาะไว้ในด้าน ท้ายของตวั เตา และสวมทอ่ ตรงใยหนิ ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางเดยี วกนั กับขอ้ งอทป่ี ระกอบ ไวท้ ้ายเตา 6. ประสานรอยต่อระหว่างตัวเตา ข้องอฉาก 90 องศา และท่อตรง ซึ่งเป็น ปล่องควันให้สนิท เพอ่ื ป้องกันไม่ให้เกดิ รอยร่วั ขณะเผาถา่ น
52 7. ปดิ ผนงั เตาดา้ นหลงั โดยใหผ้ นงั เตาดา้ นหลังหา่ งจากข้องอประมาณ 1015 เซนตเิ มตร 8. นำดนิ เหนยี วประสานรอยรว่ั ใหห้ มด เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ให้อากาศเข้าไปข้างใน และป้องกันไม่ให้ เกิดการลกุ ติดไฟ 9. นำดินเหนียวหรือดินทรายที่เตรียมไว้เทลงให้เต็มด้านข้างและด้านหลัง ใน ช่องว่างระหว่าง เตากับผนังเตาด้านหลังพอประมาณทั้ง 3 ด้าน เพื่อเป็นฉนวนกันไฟให้กับตัวเตา และ ไม่ให้ความร้อน ระเหยออกไป โดยเว้นชอ่ งฝาหนา้ เตาเอาไวเ้ พ่ือปดิ /เปิด 10. นำกระเบ้อื งหรือสงั กะสีหรือแผ่นไม้เก่ามากั้นดนิ ดา้ นหน้าและด้านหลงั พร้อมทั้งปิดเสาค้ำ ยนั ด้านละ 2 ทอ่ น 11. ตัดไม้เพื่อนำเป็นหมอนหนุนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 นิ้ว ยาว 20-25 เซนติเมตร จำนวน 3 ท่อน วางขวางด้านล่างของตัวเตา โดยมีระยะห่างเท่ากัน เพื่อให้มีการไหลเวียน ของลมร้อน ภายในเตา 12. การคัดเลือกไม้เข้าเตาถ่าน จะมีการจัดแยกกลุ่มของขนาดไม้เป็น 3 กลุ่ม คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ โดยเรียงไม้ขนาดเล็กไว้ด้านล่างของเตา ทับไม้หมอนไว้ ไม้ ท่อนใหญ่ไว้ ด้านบน เนื่องจากอุณหภูมิในเตาขณะเผาถ่านไม้ เท่ากัน โดยอุณหภูมิด้านล่างสุดของเตาจะต่ำ และ อณุ หภูมดิ า้ นบนจะสงู กว่าอุณหภมู ทิ ้ายเตา 13. เมื่อเรยี งไมเ้ สรจ็ แล้วให้ปิดฝาเตาถึงด้านหน้า โดยให้ช่องทีเ่ จาะไวอ้ ยู่ ดา้ นล่างของตัวเตาถัง แลว้ นำดนิ มาประสานขอบถังและฝาถัง เพ่อื ไม่ให้อากาศเข้าไปในถัง เพราะถ้า อากาศเขา้ ไปในเตาถึงจะ ทำใหถ้ า่ นไหม้จนหมด 14. นำอิฐบลอ็ กวางต้งั ตามแนวยาวบนพ้นื หนา้ เตาขนาบสองข้างๆละ 1 กอ้ น เว้นระยะให้พอดี กบั ช่องท่ีเจาะเอาไวบ้ นฝาหน้าเตา 15. นำอฐิ บล็อกอีก 2 ก้อน วางทับด้านบนของอิฐทตี่ ้งั ไว้ โดยวางตอ่ กันใน แนวราบ และนำดิน เหนียวที่เตรยี มไว้มาประสานรอยต่อระหว่างฝาหน้าเตากับอิฐบลอ็ กและรอยต่อ ระหว่างอิฐบลอ็ กทั้ง 4 กอ้ น เพ่ือไม่ใหเ้ กิดรอยรัว่ 16. การเข้าสู่ขั้นตอนการเผาถ่าน จะเริ่มจุดไฟหน้าเตาเพื่อให้ความร้อนแก่เตา โดยจุดบริเวณ ชอ่ งจดุ ไฟทีอ่ ิฐก้อนแรก โดยเชอื้ เพลงิ ที่นำมาจุดไฟควรเปน็ เชอื้ เพลงิ แห้ง เชน่ เศษไม้ เศษ หญ้า หรอื วสั ดุ อน่ื ที่จดุ ไฟตดิ ได้ หรือใชว้ ัสดทุ ี่มสี ว่ นประกอบของสารสงั เคราะห์ เช่น พลาสตกิ หรือโฟม เป็นตน้ 17. ใส่เชื้อเพลิงทีละน้อย เพื่อความร้อนจะกระจายเข้าไปในเตาเพื่อไล่อากาศ เย็นและ ความช้นื ท่อี ยใู่ นเตา โดยใช้เวลาประมาณ 2-4 ชัว่ โมง 18. เมื่อไล่ความชื้นในเตาแลว้ อุณหภูมจิ ะสูงขึ้นจนทำให้เน้ือไม้ในเตารักษา อุณหภูมิภายในได้ เอง โดยไม่ต้องใส่เช้ือเพลิงเข้าไปอีก โดยสังเกตจากควนั ท่ีออกมาจากปลอ่ งด้านหลงั จะพุ่งแรงกว่าปกติ เรียกว่า “ควนั บ้า” มสี ขี าวขนุ่ ชว่ งนีส้ ามารถหรีไ่ ฟหนา้ เตาลงได้ครงึ่ หน่งึ 19. การทำถ่านให้บริสุทธิ์ ซึ่งเป็นการทำอุณหภูมิในเตาให้สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว สังเกตต่อ จนกระทั่งควันที่ปากปลอ่ งกลายเป็นสีฟ้าให้เริม่ เปดิ หนา้ เตาเพื่อใหอ้ ากาศร้อนเข้าไปไลส่ าร ตกค้างหรือ แก๊สท่ีค้างในเตา โดยเปิดหน้าเตาออกประมาณ 50 เปอรเ์ ซน็ ต์ หรอื 1 ใน 3 ของพ้ืนท่ี หนา้ เตาทั้งหมด สังเกตสีของควัน ถ้ามีสีฟ้าใสได้แสดงว่าไม้ทั้งหมดกลายเป็นถ่านไม้ทั้งหมด ให้ปิดหน้า เตาให้สนิท เอา ดินเหนียวประสานรอยต่อใหส้ นิท เกลี่ยดินบนเตาออกให้เห็นหลังเตาเป็นการระบาย ความร้อน โดยท้ิง ไว้ 1 คืน หรอื 8 ช่ัวโมง กจ็ ะสามารถนำถา่ นออกมาใช้ได้
53 9. วชิ า ถอดบทเรยี นผา่ นส่อื “วิถีภมู ปิ ญั ญาไทยกับการพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤต” วทิ ยากร นางสาวพรรณธภิ า นกั รบ และคณะวทิ ยากรศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนชลบรุ ี ระยะเวลา 2.00 ชั่วโมง วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือทบทวนความรคู้ วามเข้าใจในแตล่ ะฐานการเรยี นรแู้ ละนำไปปฏิบตั ิไดจ้ รงิ 2. เพอื่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ วิถีภมู ปิ ญั ญาไทย ทีย่ งั ใช้ในชีวติ ประจำวนั ขอบเขตเนือ้ หา 1. องค์ความรจู้ ากวิชา หลกั กสกิ รรม ธรรมชาติ 2. องค์ความรูจ้ าก 10 ฐานการเรียนรู้ 3. ประสบการณข์ องผ้เู ข้ารบั การอบรม และคณะวทิ ยากร ส่ือเอกสาร/อปุ กรณ์ 1. กระดาษฟลิบชาร์ท 2. อปุ กรณเ์ คร่อื งเขยี น เทคนคิ วธิ ีการ 1. วิทยากรกระบวนการ 2. เปิดคลิปทบทวนหลักการ 3. การถอดบทเรียน 4. การแลกเปล่ียนเรียนรรู้ ว่ มกัน สรปุ เน้อื หาวิชา 1. วิทยากรกล่าวทกั ทาย และเกรินนำเข้าสูก่ ระบวนการเรียนรู้ 2. เปิดคลิปทบทวนหลักกสิกรรมธรรมชาติ ของอาจารย์วิวัฒน์ ศันยกำธร โดยมีเนื้อสรุปคือ พระเจ้าอยู่หัวของเราเคยตรัส ความสำคัญของการเกษตร ประเทศไทยเดิมขึ้นอยู่กับภาคการเกษตร ความเจริญของประเทศต้องอาศัยภาคการเกษตร ทกุ วนั น้กี ารเกษตรเป็นการผลิตอาหารให้กับโลก และ ยงั เปน็ แหลง่ สร้างพลงั งานให้กบั โลก กสิกรรมธรรมชาติ เป็นวัฒนธรรม เป็นศาสตร์ในการผลิตอาหารของชาวนาไทย กสิกรรมคือ การสอดคล้องกับธรรมชาติ ไม่ต้องใช้ปุ๋ย ใช้ยา ต้นทุนต่ำ จะทำให้สามารถอยู่ได้อย่างมั่งคั่ง แต่ปัจจุบัน คนรุ่นใหม่เรียนรู้การเกษตรจากต่างชาติ ที่พึ่งพิงสารเคมี หวังแต่จะรวย จนทำให้เกิดปัญหาต่างๆ มากมาย คนปัจจุบันไม่ค่อยสนใจแนวทางของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงให้ แนวทางไว้มากมาย อ.วฒั น์ ศนั ยกำธร ตอ้ งการพสิ ูจนใ์ ห้ชาวบ้านเห็นให้ได้แนวทางของพระองค์ใช้ได้ผล จริง การทำเกษตรได้ผลสำคัญอยู่ที่การทำดินให้อุดมสมบูรณ์ การปลูกป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ทำใหร้ ะบบนิเวศน์ดี เกิดการกักเกบ็ น้ำทีด่ ี เมื่อมนี ้ำการเกษตรทผี่ ลิตอาหารกจ็ ะดี แนวคิดของพระเจ้าอยู่หัวจะสำเร็จได้ต่อเมื่อ ลงมือทำโดยไม่ต้องสนใจคำตำหนิของใครทั้งส้ิน เพราะเส้นทางนี้คนมักจะไม่เห็นด้วย เราวิ่งสนกระแสของโลก แต่สุดท้ายแล้วคนจะอดอยาก อีกไม่เกิน 30 ปี คนจะทำตามเรา ดงั นั้นเราต้องเพียรทำไปเล่ือยๆ
54 เมื่อเราทำตัวอย่างความสำเร็จเสร็จแล้ว เราต้องกระจายตัวอย่างออกไปให้แพร่หลายเป็นศูนย์ ฝึก โดยให้เกิดความร่วมมือทุกภาคส่วน 5 ภาค ภาคราชการ ภาควิชาการ ภาคประชาชน ภาคเอกชน สือ่ มวลชน ถ้าเราร่วมมือกันทุกภาคส่วนเราจะเผชญิ กบั ภยั พบิ ตั ไิ ด้ อาจารย์ยักษ์ ทำงานมาหลายที่ กับหลายหน่วยงาน สุดท้ายได้ติดตามพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทำให้มีโอกาสทำงานสนองพระราชดำริ ซึ่งปัจจุบันมีพระราชดำริกว่า 4000 โครงการ แต่กระแสของคนไทยยังไม่เห็นความสำคัญของโครงการพระราชดำริเท่าไหร่ ทุกคนมุ่งแสวงหาแต่เงิน ถงึ ปัจจบุ ันคนจะยังไม่ใส่ใจแต่อีกไม่นานคนต้องพึ่งพาอาศัยแนวทางของพระองค์เป็นทางรอด เกษตรกร ถูกหลอกว่าถ้าทำตามแนวทางนายทุนแลว้ จะรวย แต่สุดท้ายก็ไปไม่รอด ไม่มีกิน ไม่มีน้ำ ไม่มีอากาศที่ดี คำสอนของพระองคท์ า่ นเร่ิมเห็นชดั ขนึ้ ว่างเกิดวกิ ฤตมากมาย การสั่งสอนของพ่อแม่ ให้ตั้งใจเรียน เพื่อเป็นเจ้าคนนายคน แต่สุดท้ายแล้วก็ตัดสินใจลาออก เพราะเชื่อมั่นในปรัชญาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผมจึงตั้งใจสร้างตัวอย่างให้ชาวบ้านเห็นโดย การเริ่มทำโครงการในพื้นที่ที่กันดารที่สุด โดยใช้เวลาในการพิสูจน์เกือบ 3 ปี จนประสบความสำเร็จ สามารถปลูกข้าวได้เป็นตัน สามารถสร้างป่า กักเก็บน้ำ และชักชวนคนมาทำตาม จึงต้องเริ่มตั้งเป็น มูลนิธิ เพื่อทำงานวิจัย ตั้งใจที่จะตั้งโรงเรียน เพื่อเป็นศูนย์ฝึก ตั้งใจจะตั้งวิชชาลัยเพื่อสอนคนตาม แนวทางของพระองค์ เพ่อื สร้างมั่นคงใหก้ ับมนุษย์ เป็นความตงั้ ใจท่จี ะทำกรรมดีให้กบั เพ่ือนมนษุ ย์ ความเข้าในการทำเกษตรกรรมหรือเกษตรกร ซึ่งวิถีของคนไทยในอดีตเป็นไปตามแนวทาง เดียวกับธรรมชาติ ปู่ย่าตายาย จะสอนให้เราเก็บน้ำฝน ปุ๋ยไม่ต้องใส่ เพราะปุ๋ยมีอยู่ในนำ้ ฝน สังเกตเห็น ไดว้ ่าความต้นไม้จะชุ่มชื่นมาก เราอาจจะผลิตข้าวแบบอินทรยี ์เทา่ กบั เคมีไม่ไดก้ ็จริง แต่เราได้อย่างอื่นท่ี มากกว่า เช่น ปลาในท้องนา ปู พืชผัก ทำให้คนโบราณมีกินมีใช้ไม่เคยอดอยาก ในคณะที่การทำเกษตร แบบเคมี ต้องเอาสุขภาพเข้าแรก เพื่อให้นายทุนรวย คนทำจน เราต้องช่วยกันสร้างตัวอย่างความสำเร็จให้ กระจายไปทั่ว ดังคำสอนของพระองค์ท่าน คือ คำว่าพอเพียง ต้องทำให้คนเข้าใจและเข้าถึง และพร้อมที่ จะเดนิ รอยตามพระองคท์ ่านดว้ ยความอดทนและตั้งใจ ภูมิปัญญาของไทย เราเคยเป็นที่ยอมรับของคนทัง้ โลก ข้าวของเราหอมที่สดุ ส่งออกได้มาที่สุด ในโลก รวมถงึ สมุนไพรก็เป็นทน่ี ิยม แตป่ ัจจบุ นั เราไม่เหลืออะไรแล้ว แมแ้ ตล่ ูกหลายทีเ่ ราจะให้เขาอยู่กับ เรายังรักษาไว้ไม่ได้ เป้าหมายสูงสุด คือ ทำให้คำสอนของพระองค์ท่านเป็นที่ยอมรับและเดินตาม แนวทาง เรามีอาหารเพียงพอ แบ่งบัน เรามีธรรมชาติ อากาศที่ดี สุดท้ายคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน จรงิ ๆ 3. วทิ ยากรแบง่ กลมุ่ ถอดบทเรียน 10 ฐาน เพอ่ื ให้ทุกทา่ นไดท้ บทวนซึ่งกนั และกัน จากน้ันให้ออกมา นำเสนอกลุ่มละ 10 นาที เมื่อนำเสนอเสร็จให้เพื่อกลุ่มอื่นและวิทยากรประจำฐานเติมเต็มข้อมูล และ เปดิ โอกาสให้มีการแลกเปลีย่ นความรูใ้ นเรื่องทเ่ี กย่ี วข้องกับฐานนัน้ จนครบท้งั 10 ฐาน สรุปผลการเรียนรู้ 1. ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมีความรู้ความเขา้ ใจหลักกสิกรรม ธรรมชาติมากย่ิงขน้ึ 2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงของศูนย์ศึกษาและพัฒนา ชมุ ชลบุรี เพราะสามารถนำองค์ความรู้ไปปรับใช้ได้
55 10. วิชา เรยี นรู้ผา่ นสือ่ การออกแบบเชิงภมู สิ งั คมไทย วทิ ยากร ว่าที่ ร.ต.ปยิ ะวฒุ ิ ทพิ ยม์ ณี ตำแหนง่ นกั ทรพั ยากรบุคคล ระยะเวลา 3.00 ชัว่ โมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบพื้นที่เชิงภูมิสังคมไทย ตามหลักการพฒั นาภูมสิ งั คมอย่างยงั่ ยนื เพ่ือการพง่ึ ตนเองและรองรับภัยพิบัติ “โคก หนอง นา โมเดล” สรปุ เนอ้ื หาวชิ า สถานการณ์และภาวะวิกฤตของโลก จำเป็นต้องมีการออกแบบและจัดการพื้นที่ มีหลักการ สำคัญๆ ๖ ขอ้ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ ป่า(พืช) และคน ดงั นี้ ๑.การจดั การดนิ ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ทรงสอน ว่า \"ถึงแม้ว่าดินจะมีหินและทราย แต่หินและทรายมีธาตุอาหารสำหรับพืชพอสมควร เพียงแต่ไม่มี จลุ ินทรีย์มาชว่ ยกันทำใหด้ นิ มจี ลุ ินทรียโ์ ดยการอย่างปอกเปลือกเปลือยดินให้ หม่ ดนิ ” ทรงมีรับสั่งเรื่องน้ี ที่ศูนย์ศึกษา การพัฒนาที่ห้วยทราย อ.ชะอำ จ.เพชรบุรี ทรงสอนว่า ให้ทำให้ดินมีจุลินทรยี ์ด้วยการห่ม ดนิ การห่มดิน ก็คอื การคลุมดินด้วยเศษวัสดุอินทรีย์จากการเกษตร เป็นวัสดุอินทรียอ์ ะไรก็ได้ท่ีมีอยู่ตาม ภูมิสังคมของแต่ละพื้นที่ ทางภาคเหนือปลูกข้าวโพดเยอะ ให้ใช้ซังข้าวโพด ภาคใต้ใช้กากกาฟ ทะลาย ปาล์มหรือใบปาลม์ ภาคกลาง ภาคอีสานใช้ฟางข้าว แตกต่างกันไป หรืออาจใช้เศษใบไม้ที่มีอยู่ เมื่อดนิ ถูกห่มไว้ ไม่ให้แสงแดดเผาดนิ จะร้อนและชื้นเหมาะสมให้จุลินทรยี ์ทีอ่ าศัยในอากาศมาอาศยั อยู่ แบ่งตัว ขยายพันธุ์กันและอาศัยอยู่ในดิน ๒. การจัดการน้ำ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงมีพระราชดำรัสว่า \"น้ำฝน ทุกหยด ตอ้ งเก็บไว้ใช้\" เกบ็ ไว้ในพื้นที่ ต้องจดั การพ้ืนท่ี ใหส้ ามารถเก็บน้ำฝนได้ท้ังหมด โดยมีหลักการ คำนวณและออกแบบสระเก็บน้ำ 3. การจัดการลม ประเทศไทยอยู่ในเขตพื้นที่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มี ๓ ฤดู ฝน หนาว และร้อน มีลมหนาว พัดลงมาทางตะวันออกเฉียงเหนือ มีลมฝนและลมร้อนขึ้นมาทาง ตะวันตกเฉียงใต้ หลักการสำคัญในการจัดการลม มีดังนี้ เช่น เวลาสร้างบ้านควร หันหน้าบ้านรับลมฝน โดยทำชานบ้านให้ยาวเพื่อป้องกันฝนสาด ในหน้าร้อนลมจะพัดเข้าบ้านทำให้เย็นสบายไม่ร้อนมาก โดยเฉพาะถ้าทำบ่อน้ำไว้หน้าบ้าน เวลาลมผ่านจะพัดเอาความชื้นมาด้วย ช่วยเย็นสบายมากขึ้น ไม่ต้อง เปลอื งแอร์ 4. การจดั การไฟ (แสงแดดและแสงจนั ทร์) แสงแดดมีผลต่อพืชแตล่ ะชนิดแตกตา่ งกัน พชื ไร่ เช่น ข้าว ออ้ ย ขา้ วโพด ต้องการแสงมาก พชื ผักสวนครวั ต้องการแสงน้อยกวา่ พืชบางชนดิ เกดิ ใตต้ ้นไม้ได้ เกดิ ในป่าได้ ดงั น้นั การออกแบบแนวการปลกู ตน้ ไม้ หรอื การกำหนดพนื้ ที่ปลูกป่าจึงเปน็ สง่ิ สำคัญจำเป็น โดยมีหลักสำคัญๆ คือ ต้องไม่ปลูกต้นไม้ตามแนวขวางตะวัน 5. การจัดการพืช (ป่า) ให้ปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ได้แก่ ป่าพออยู่ คือไม้เนื้อแข็งไว้สร้างบ้านหรือทำเครื่องเรือนต่าง ๆ เช่น ไม้ สกั ไมย้ างนา ตะเคยี นทอง ไม้พยุง เป็นตน้ ป่าพอกิน คอื ไมผ้ ล หรือพชื ผัก หรือไมก้ ินใบตา่ ง ๆ ป่าพอใช้ คือ ไม้โตเร็ว เอามาทำถ่าน ทำฟืน เช่น กระถิน สะเดา ฯลฯ ประโยชน์ที่สี่ก็คือ ความร่มรื่น ร่มเย็น 6. การจัดการคน คือการพัฒนาคน ควรมีการศึกษาทฤษฎีให้เข้าใจในเบื้องต้น สืบค้นหาความรู้ และลงมือ ปฏิบัติ ต้องฝกึ ฝนฝกึ ตนให้มคี วามเพยี ร ขยนั อดทน ถ่อมตน ควรไปอบรมตามศนู ย์ต่าง ๆ ฝึกตน ตืน่ เช้า ไมด่ ื่มเหล้า ไมเ่ ทย่ี วกนิ ไรส้ าระ ฯลฯ
56 เทคนคิ /วธิ กี าร 1. ชมสื่อวิดีทัศน์ การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืนเพื่อการ พง่ึ ตนเองและรองรบั ภยั พบิ ตั ิ 2. แบง่ กลมุ่ มอบหมายงาน 3. ถอดบทเรียนจากสอื่ ประเด็นได้ขอ้ คดิ /มุมมองอะไรบ้าง 4. มอบโจทยป์ ระเดน็ คำถาม ขอ้ ท่ี 1. ส่ิงทไ่ี ดเ้ รยี นรู้จากการชมส่ือ ข้อที่ 2. การนำไปปรับใช้ใน ชีวิตของท่าน 5. นำเสนอ/แลกเปลย่ี นเรียนรู้ สรุปผลการเรยี นรู้ 1. เข้าใจหลักการการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืนเพื่อการ พึ่งตนเองและรองรบั ภัยพิบัติ 2. การแกไ้ ขและรองรับภยั พิบตั ดิ ว้ ยการบริหารจัดการทรัพยากร เช่น ดิน น้ำ ลม ไฟ พืช และคน 11. วิชา การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืนเพื่อการพึ่งตนเอง และรองรับภยั พิบัติ วทิ ยากร นางอังศมุ า ปติ ริ ตั นวรนาท ระยะเวลา 3 ชวั่ โมง วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ความเข้าใจในการออกแบบพื้นท่เี ชิงภูมสิ งั คมไทยตาม หลกั การพัฒนาภูมสิ งั คมอย่างย่งั ยืนเพ่ือการพึง่ ตนเองและรองรับภัยพบิ ตั ิ“โคก หนอง นา โมเดล” ขอบเขตเน้ือหาวิชา 1. หลักพื้นฐานในการออกแบบพื้นท่ีดว้ ยภมู สิ ังคมไทยตามหลักการพัฒนา 2. การบริหารจัดการในรปู แบบ “โคก หนอง นา” โมเดล ส่ือ/เอกสาร 1. Power Point บรรยาย 2. ภาพประกอบการบรรยาย infographic 3. ส่ือวีดีทัศน์ 4. คอมพิวเตอร์ เคร่ืองฉาย และจอภาพ 5. กระดาษฟลิปชาร์ท 6. ปากกา 7. กระกาษกาวยน่ 8. บอร์ด
57 เทคนคิ วิธีการ วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรใู้ นประเด็น ดงั นี้ 1. หลักพ้นื ฐานในการออกแบบ (โคก หนอง นา โมเดล) ประกอบด้วย 1.1 ศกึ ษาทิศ : การดูทิศทางจากพระอาทติ ย์ รทู้ ิศทางแสงแดด เพื่อออกแบบ โรงเรือนทพี่ ักอาศัย สวน ไร่ นา ใหเ้ หมาะกับสภาพภมู สิ งั คมฯลฯ 1.2 ศกึ ษานำ้ : รู้จักคำนวณปรมิ าณน้ำฝน เพื่อกักเก็บน้ำฝนในพน้ื ท่ใี หเ้ พียงพอในการ ใช้งานตลอดฤดูกาลต้องทำอย่างไร ซ่งึ การกักเกบ็ นำ้ มี 3 วิธี คอื 1. เก็บไว้ในหนอง 2. เก็บไวใ้ นโคก และ 3. เก็บไวใ้ นนา (ขดุ หนองนำ้ , คลองไส้ไก่ หลมุ ขนมครก) 1.3 ศกึ ษาลักษณะของดิน : ตอ้ งรูล้ ักษณะของดนิ ในพ้นื ทีเ่ พอ่ื วเิ คราะหห์ าแนว ทางแก้ไขปรบั ปรุงให้เหมาะสมกับสภาพ(หมอดนิ ,ปรับดิน,ทำปุย๋ ) 1.4 ศกึ ษาทิศทางลม : ศึกษาทิศทางของลม ประเภทของลม เชน่ ลมตามฤดกู าล ลม ร้อน ลมฝน ลมหนาว (ลมตามทศิ ทางต่างๆเพื่อประกอบการสรา้ งโรงเรอื น การปลกู ปา่ เลย้ี งสัตว์ หรอื โคกหนองนา) 1.5 ศึกษาพืน้ ท่ีโคก : จัดสรรพนื้ ทสี่ งู เพื่อสร้างโคก ซึ่งโคกจะต้องอยู่สูงพน้ นำ้ ท่วม และจะต้องปลูกปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง 1.6 ศึกษาคน : ศกึ ษาผคู้ นที่รอบขา้ งพืน้ ที่กอ่ นการออกแบบอาคารโรงเรือนต่างๆ เพ่อื ลดปญั หาและอยรู่ ว่ มกนั ได้อย่างมคี วามสุขโดยทุกคนไม่เดือดร้อน เช่น เพื่อนบ้าน ผ้อู ยู่อาศยั อน่ื ๆ รอบพน้ื ท่ี ฯลฯ 2. การบรหิ ารจดั การในรปู แบบของ “โคก หนอง นา โมเดล” “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นโมเดลต้นแบบที่สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง และมูลนิธิกสิกรรม ธรรมชาติน้อมนำพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ด้าน การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บริหารจัดการน้ำและพื้นที่การเกษตร ผสมผสานกับภูมิสงั คมไดอ้ ย่างสอดคล้องกนั โดยแบง่ พน้ื ท่ี เป็นสัดส่วน 30 : 30 : 30 : 10 ดังนี้ 30% สำหรบั แหลง่ นำ้ โดยการขุดบอ่ ทำหนองและคลองไสไ้ ก่ 30% สำหรบั ทำนา ปลูกข้าว
58 30% สำหรับทำโคกหรอื ป่า ปลูกป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง กค็ ือปลกู ไม้ใช้สอย ไม้กนิ ได้ และไม้เศรษฐกิจ เพ่ือใหไ้ ด้ประโยชน์ คอื 1. มีกนิ คือ มีผกั มีอาหารไวก้ ิน 2. มอี ยู่ คือ สามารถตดั ไมไ้ ปสร้างบา้ น ทำท่ีอยู่ได้ 3. มใี ช้ คือ มไี วใ้ ชส้ อยในครวั เรอื น ใช้เปน็ ยาและสมุนไพร ใช้เปน็ ฟืน เปน็ เคร่ืองมือใชส้ อยในบ้าน 4. มีความสมบูรณ์ และความร่มเย็น 10% สำหรับที่อยู่อาศัย และเลี้ยงสัตว์ เช่น ไก่ ปลา วัว และควาย เป็นต้นทุกอย่างทั้งหมดนี้อยู่รวมกันบูรณาการเป็นวรรณะเกษตร อธิบายให้ชาวบ้านเข้าใจ แนวคิดนี้อย่างง่ายๆ โดยเรียกว่า “โคก หนอง นา” 10% สำหรับที่อยู่อาศัย และเลี้ยงสัตว์ ปลูกพืชผัก สวนครัวไว้บรโิ ภค สรุปผลการเรียนรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความสนใจในเนื้อหาวิชาการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการ พฒั นาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน เพื่อการพ่ึงตนเองและรองรับภยั พบิ ัติเป็นอย่างดี เพราะทุกคนต้องนำความรู้ ไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบพัฒนาจรงิ ในพืน้ ท่ขี องตนเอง และผู้เขา้ รับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความรู้ พื้นฐานในการทำเกษตรกรรมอยู่แล้วจึงมีความรู้ในเรื่องหลักการพื้นฐานในการออกแบบมาบ้างแล้วทำ ให้วิทยากรบรรยายแลว้ ทกุ คนมีความรคู้ วามเขา้ ใจที่ชัดเจนย่งิ ข้ึน 12. วิชา ฝกึ ปฏิบตั ิ/นำเสนองานการสรา้ งหนุ่ จำลอง (กระบะทราย) การจดั การพื้นท่ีตามหลักทฤษฎี ใหม่ ประยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล” วทิ ยากร นางองั ศมุ า ปติ ิรัตนวรนาท ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเรื่องศาสตร์พระราชากับการบริหารจัดการดิน น้ำ ป่า อย่างยั่งยืน ตลอดจนมีความเข้าใจในการจัดการพื้นที่เชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิ สงั คม อย่างย่งั ยืนเพอื่ การพึง่ ตนเองและรองรับภัยพิบัติ “โคก หนองนา โมเดล”
59 ขอบเขตเนอ้ื หา 1. การออกแบบเชิงภมู สิ ังคมไทยตามหลักการพฒั นาภมู สิ ังคมอย่างยั่งยืน 2. ฝึกปฏิบัติการสร้างโมเดลจำลองการบริหารจดั การพื้นท่ี ดนิ นำ้ ปา่ คน ส่อื /เอกสาร 1. กระดาษฟลิปชารท์ 2. กระดาษกาวย่น/ปากกาเคมี 3. บอร์ด เทคนิควิธีการ 1. วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ รอ่ื งการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมสิ งั คม อยา่ งย่งั ยืน เพอ่ื การพ่ึงตนเองและรองรับภยั พบิ ตั ิ 2. วิทยากรมอบหมายให้ผเู้ ขา้ อบรมไดล้ องฝึกปฏบิ ัตกิ ารสรา้ งโมเดลจำลองการบรหิ ารจดั การ พ้ืนที่ ดิน น้ำ ป่า คน ตามโจทย์ที่แตล่ ะกลุม่ สไี ด้ออกแบบไว้กระบะทราย 3. วทิ ยากรจดั เตรียมวัสดุอุปกรณ์จัดเตรียมไวใ้ ห้กับทกุ กลุม่ สี ดงั นี้ 3.1 กระบะไมอ้ ดั ขนาด 120 x 120 ม. 1 ถาด 3.2 ดินปลกู บัว 25 กอ้ น 3.3 นำ้ (ตามตอ้ งการ) 3.4 ถังนำ้ 1 ใบ 3.5 บวั รดนำ้ 1 ใบ 3.6 กรรไกร 1 เลม่ 3.7 กอ้ นหนิ กรวด 1 ถุง นอกจากนี้ผู้เข้าอบรมสามารถเก็บกิ่งไม้สด/แห้ง ดอกไม้ ต้นไม้ และต้นหญ้าที่มีขนาดเล็ก มาตกแต่งเพิ่มเติมให้มีสีสันสวยงามและมีลักษณะคล้ายของจริง โดยทุกกลุ่มมีเวลาในการสร้างโมเดลฯ จำนวน 1 ชวั่ โมง 4. วิทยากรให้แต่ละกลุ่มสีส่งตัวแทนนำเสนอที่กลุ่มสีของตนเอง กลุ่มละ 5 นาที หลังจากนั้น วิทยากรจะใหค้ ำแนะนำ/ขอ้ เสนอแนะ เพือ่ ปรบั ปรุงแก้ไข สรปุ ผลการเรยี นรู้ ผู้เข้าอบรมให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี ทุกคนสนุกสนาน มีการแบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจน ตามความถนัดของตนเองมีการนำความรู้เดิมและความรู้ท่ีได้จากวิทยากรมาปรับปรับใช้แล้วสร้างโมเดล จำลองการบริหารจัดการพ้นื ท่ี ดนิ นำ้ ป่า ตามทีไ่ ดอ้ อกแบบไวอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
60 13. วชิ า ถอดบทเรียนการจดั การพนื้ ท่ีตามหลักทฤษฎีใหมป่ ระยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” วิทยากร นางสาวพรรณธภิ า นกั รบ และคณะวทิ ยากรศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนชลบุรี ระยะเวลา 2.00 ชว่ั โมง วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ ระดมความรู้ ความเขา้ ใจเรือ่ งศาสตร์พระราชากบั การบรหิ ารจดั การ ดิน นำ้ ปา่ อย่าง ย่งั ยืน ตลอดจนมคี วามเขา้ ใจในการจดั การพื้นทีเ่ ชิงภมู ิสงั คมไทย ตามหลกั การพฒั นาภูมิสังคม อย่าง ย่งั ยืน ขอบเขตเนอื้ หา 1. องคค์ วามรูจ้ ากวชิ าการเรียนรผู้ า่ นส่อื การออกแบบเชิงภมู ิสังคมไทย 2. องคค์ วามรจู้ ากวชิ าการออกแบบเชงิ ภูมิสังคมไทย ตามหลกั การพัฒนาภูมิสังคมอยา่ งยั่งยืน เพอื่ การพึ่งตนเองและรองรบั ภยั พิบตั ิ 3. องค์ความรจู้ ากการฝึกปฏิบัติการสรา้ งหุ่นจำลอง การจัดการพืน้ ทต่ี ามหลักทฤษฎใี หม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล 4. นำเสนองาน สรา้ งห่นุ จำลองการจดั การพื้นที่ตามหลกั ทฤษฎใี หม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล สื่อเอกสาร 1. โจทยใ์ บงาน 2 ใบ 2. คลปิ วดี ิโอ เทคนคิ วธิ กี าร 1. วทิ ยากรเปิดคลิป “หลกั การออกแบบพ้ืนทต่ี ามหลกั ภมู ิสังคม” 2. มอบโจทยใ์ บงาน 3. นำเสนอ สรุปเนอ้ื หาวิชา 1. จากคลิปวีดิโอ “หลักการออกแบบพื้นที่ตามหลักภูมิสังคม” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเชฐ โสวิทยสกุล คณบดี คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง การโคก หนอง นา คือการทำหลุ่มขนมครกให้เต็มพื้นที่ เพื่อกักเก็บน้ำที่ไหลผ่านจากปริมาณ น้ำฝนที่ตกลงมา ไม่ให้น้ำทะลักเกิดปัญหาน้ำท่วม โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เป็นภูเขา ควรทำหนองน้ำเพื่อ ป้องกันการไหลบ่าของน้ำลงสู่ด้านล่าง กลายเป็นป่า เป็นการชะลอน้ำไว้ให้เกิดความชุมชนชื้นบนภูเขา และเก็บไว้ใช้ได้ตลอดทั้งนี้ หลักการออกแบบจะต้องทราบว่าใน 1 ปี จำเป็นต้องใช้น้ำปริมาณเท่าไหร่ และเราต้องเก็บน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการใช้น้ำ โดยไม่พึ่งพิงระบบชลประทาน เป็นการพึ่งพา ตนเองเร่อื งนำ้ 100 % หรือ 120 % เพอื่ เกบ็ น้ำของเพือ่ นขา้ งเคยี ง การออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย คำว่าภูมิสังคม เป็นคำพระราชทานของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว “ภูมิ” คือกายภาพ ดิน น้ำ ลม ไฟ “สังคม” คือ วัตนธรรม ความเชื่อ ภูมิปัญญาดั่งเดิม
61 การออกแบบต้องให้ความสำคัญกับสังคมมากกว่า ภูมิ เป็นการออกแบบพื้นที่ตามความต้องการของผู้ อาศัยเปน็ หลกั เพราะความต้องการของคนแต่ละที่แตกตา่ งกนั ภมู ิ คอื หลักทใ่ี ชเ้ หมอื นกันทกุ ประเทศ เชน่ หลักในการคำนวณปรมิ าณน้ำฝน ทิศทางลม ทิศทางของ แดด การออกแบบหลมุ ขนมครก หรือ โคก หนอง นา ต้องคำนึงถงึ ดนิ นำ้ ลม ไฟ และคน - ดนิ ลักษณดนิ ทีแ่ ตกตา่ งกันต้องออกแบบแตกต่างกัน รวมปรบั ปรุงสภาพดนิ เช่น การห่มดนิ - น้ำ ควรเก็บน้ำฝนไว้ให้มากที่สุด หลักการทำหนองน้ำ ต้องดูทิศทางการเข้า และออกของน้ำ และต้องดูทศิ ทางลม เพอ่ื นำความเย็นเข้าบ้าน การขดุ หนองน้ำตอ้ งคดเค้ียว ให้มรี ะดบั ความสงู ไม่เท่ากัน รวมถงึ การทำแซนวชิ ปลา เพ่อื เป็นอาหารให้กบั สตั ว์นำ้ - ลม ตอ้ งดทู ศิ ทางลม โดยปรกติดลมฝนจะพดั พาเขา้ มาทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ลมหนาวจะพัด มาทางทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ จงึ จำเป็นตอ้ งว่างทิศทางของบ้านและลานตากข้าวไม่ให้ขวางทิศทางลม หนาว - ไฟ คือแสงจากดวงอาทศิ รวมถงึ ความร้อยตอ้ งสำรวจทศิ ทางข้ึน และตกของพระอาทติ ย์ - คน คือ ออกแบบให้เหมาะกบั คนทอ่ี าศัยอยใู่ นพน้ื ทใี่ ห้มากที่สดุ การวางโคก ดนิ จากขนุ หนองควรนำมาถมทำโคก โคก ควรอยู่ทางทิศตะวันตก บนโคกควรปลูก ป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ปลูกไม้ใช้สอย ไม้กินได้ ไม้เศรษฐกิจ ซึ่งให้ประโยชน์คือความพอกิน พอใช้ พออยู่ และรักษาระบบนิเวศน์ ต้นไม้ที่ปลูกควรมี 5 ระดับ คือ ไม้สูง ไม้กลาง ไม้เตี้ย ไม้เรี่ยดิน พชื หัว ในการทำงานโคก หนอง นา ต้องทำแล้วให้เกิดผล 3 อย่าง คือ ทำงานแล้วต้องได้งาน ต้องได้ เพื่อน ต้องได้พัฒนาตนเอง ดังนั้นในการออกแบบตามหลักโคกหนองนา จะต้องทำให้เกิดกิจกรรมท้ัง 3 อย่าง เพือ่ ให้เกดิ ความย่งั ยืนท่ีแทจ้ รงิ 2. วทิ ยากรเกรนิ นำทบทวนกระบวนการเรียนรูเ้ รื่องหลักการออกแบบตามหลักภมู สิ ังคม ตลอด ท้ังวนั จากนั้นมอบโจทยใ์ บงาน - จากการเรียนรู้เรื่องการออกแบบเชิงภูมิสังคมไทย ตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน เพอื่ การพ่งึ พาตนเองและรองรับภัยพิบตั ิ ทา่ นเรยี นรอู้ ะไรบ้าง - จากนำเสนองาน สร้างหุ่นจำลองการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล วิทยากรได้ใหข้ อ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ อะไรบ้าง 3. วทิ ยากรใหค้ วามรเู้ รอื่ งหลักการตรวจแปลงตามหลักกสกิ รรมธรรมชาติ 4. วิทยากรให้ผู้เข้าอบรมระดมความคิด ร่วมกันออกแบบแปลงที่จะต้องลงมือขุดจริงใน กิจกรรมเอามื้อสามัคคีในวันถัดไป พร้อมทั้งวางแผนปฏิบัติการอย่างเป็นระบบอย่างน้อยภายใต้หัวข้อ ดังนี้ - การเตรียมความพร้อม ก่อนดำเนินการ เช่น การบริหารคน/บริหารเวลา/บริหารวัสดุ อุปกรณ/์ มาตรการป้องกนั ความเสยี่ ง ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ระหว่างการทำกิจกรรม/อืน่ ฯ - การเตรียมความพร้อม ระหว่างดำเนินงาน (ขั้นตอนการทำงาน) เพื่อให้ทุกคนได้เข้าใจและ ช่วยกนั ทำงานได้อย่างถูกตอ้ ง - การเตรียความพรอ้ ม หลงั ดำเนินการ เชน่ ใครเป็นคนนำเสนอ รปู แบบการนำเสนอ
62 สรุปผลการเรยี นรู้ ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมให้ความร่วมมือกนั เป็นอย่างดี ทกุ คนสนุกสนาน ช่วยกันระดมความคดิ ความ เข้าใจเรื่องศาสตร์พระราชากับการบริหารจัดการ ดิน น้ำ ป่า อย่างยั่งยืน และเรื่องต่างๆที่ได้รับความรู้ จากคณะวิทยากรเพราะต้องนำความรู้ไปปรับใช้จริงในพน้ื ท่ีของตนเอง 14. วชิ า “สขุ ภาพพง่ึ ตน พัฒนา 3 ขุมพลงั ” พลังกาย พลงั ใจ พลังปัญญา วทิ ยากร นายวริ ชั เจริญดี ตำแหนง่ นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชำนาญการ ระยะเวลา 1 ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รับการฝกึ อบรมได้ยดื เสน้ ยดื สาย ออกกำลงั กายก่อนการฝกึ อบรม ๒. เพ่อื พฒั นาพลังกาย พลงั ใจ และพลังปัญญา ๓. เพอ่ื ศกึ ษาแนวคดิ และทฤษฎีวา่ ด้วยการสรา้ งคุณคา่ ในการดำเนนิ ชวี ิต ขอบเขตเนอื้ หา ๑. การพัฒนาพลงั กาย การพัฒนาพลังใจ การพฒั นาพลังปัญญา ๒. แนวคิดการพัฒนาเพ่ือพงึ่ ตนเองของเกษตรกร/การปรับเปลย่ี นชวี ติ ตามสถานการณ์ สื่อ/เอกสาร 1. PowerPoint บรรยาย 2. สื่อวีดีทัศน์ 3. คอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย และจอภาพ 4. บอร์ด 5. กระดาษฟลปิ ชาร์ท 6. ปากกา 7. กระกาษกาวย่น เทคนคิ /วธิ กี าร วิทยากรบรรยายให้ความรู้เรื่องสุขภาพ“พลังกาย พลังใจ พลังปัญญา” โดยใช้หลัก 5 อ. ประกอบด้วย อาหาร อากาศ อารมณ์ อุจจาระ และ ออกกำลังกาย เปิดวีดีทัศน์ เล่นเกมส์ ฝึกปฏิบัติ และแบ่งกลุ่มมอบใบงานพรอ้ มนำเสนอ โดยมีวธิ ีการดงั นี้ 1. พลังกาย ใหค้ วามรู้เรื่องอาหาร กนิ ขา้ วเป็นหลัก กินผักเป็นยำ กนิ ปลาเป็นอาหาร การนวด นวดเทา้ เพ่อื สุขภาพ ออกกำลังกายเลก็ น้อย 2. พลงั ใจ ให้ความรู้เรอื่ งสุขภาพจติ 3. พลงั ปัญญา ใหค้ วามรูเ้ รือ่ งสมองซีกซ้าย สมองซกี ขวา การคดิ เชงิ บวก วิทยากรเชิญชวน ใหผ้ ู้เขา้ รับการฝกึ อบรมทกุ คนฝึกปฏิบตั เิ พอ่ื เสริมสร้างพลังกาย พลังใจ และพลังปญั ญา ดังน้ี 3.1 พลงั กาย ใชก้ ารนวดเพ่อื สขุ ภาพ โดยให้ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมทกุ คนนวดบริเวณต้น คอ นวดบรเิ วณฝา่ เท้า และการยืดเส้นบริเวณหลงั 3.2 พลงั ใจ ใช้สมาธิบำบัด โดยใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมทุกคนนัง่ สมาธิ 3 นาที
63 3.3 พลังปัญญา ใช้วิธีการบวกเลข เกมส์ และวาดรูป โดยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ทกุ คนบวกเลขสองหลกั เลน่ เกมสพ์ ฒั นาสมอง และวาดรูปชา้ ง วทิ ยากร แบ่งกลุ่มผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม เป็น 5 กลุม่ ระดมความคิด และนำเสนอทลี ะ กลุ่ม จำนวน 4 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นที่ 1 ทา่ นอยากมสี ุขภาพอยา่ งไร ประเดน็ ท่ี 2 ปัจจุบนั สขุ ภาพของท่านเปน็ อยา่ งไร ประเด็นท่ี 3 ทำไมถึงเปน็ อย่างนน้ั ประเดน็ ที่ 4 แลว้ จะทำอย่างไรใหเ้ รามีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง สรปุ ผลการเรยี นรู้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่ง ทุกคนได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ทั้งพลังกาย พลังใจ และพลังปัญญา ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความสุข และสนุกสนานครื้นเครง โดยท่ี สมาชิกมีความพร้อมและร่วมกิจกรรมอย่างคึกคัก 15. วิชา ฝกึ ปฏบิ ตั ิ “จติ อาสาพฒั นาชุมชน เอามอ้ื สามคั คี พฒั นาพ้ืนท่ีตามหลกั ทฤษฎใี หม่” วิทยากร 1. นายเทวนิ ชชู ีพ วทิ ยากรจากเครือข่ายกสกิ รรมธรรมชาติ 2. คณะวิทยากรศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรี ระยะเวลา 6 ชว่ั โมง วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ใหเ้ กดิ การแลกเปลี่ยนแรงงานเอามื้อสามัคคี และเป็นการแลกเปลยี่ นองคค์ วามรู้ในด้านการ พัฒนาพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรู้จักในชื่อ กิจกรรม “ลงแขก” หรือ เอา แรง” ซึ่งเป็นวัฒนธรรมชุมชนที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน โดยในช่วงหลังมานี้นอกจากจะเป็น การแลกเปลี่ยนในด้านแรงงานแล้วยงั ได้เน้นใหเ้ กดิ การสรา้ งความรทู้ ่เี หมาะสมกับสภาพพนื้ ท่ี ขอบเขตเน้ือหา การทำกจิ กรรมร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมพลงั กนั ในการประยกุ ต์ใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พัฒนาพน้ื ทีต่ ามหลักทฤษฎใี หม่ เทคนิค/วธิ ีการ 1. สำรวจพนื้ ที่ 2. วางแผนการดำเนนิ งาน 3. วทิ ยากรใหค้ วามรเู้ รื่อง 10 ข้ันตอน การตรวจแปลงตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ ดงั น้ี 3.1 การจดั กลุ่ม สำรวจพื้นที่ แบ่งหนา้ ท่ี แบ่งคน ความสามคั คี 3.2 การเตรยี มดินขุดหลุมขนมครก คลองไสไ้ ก่ ฝาย 3.3 การปลกู ป่า 5 ระดับ 3.4 การปลกู แฝกอนุรักษ์ดนิ และน้ำ 3.5 การปลูกดอกไมเ้ พ่อื บริหารแมลง 3.6 การห่มดิน ฟาง เศษใบไม้แหง้ ฯลฯ 3.7 การเล้ียงดิน ใส่ป๋ยุ อินทรยี ์ (แหง้ ชาม-น้ำชาม)
64 3.8 การท่องคาถาเลี้ยงดนิ 5 ภาษา 3.9 ศิลปะความสวยงามเรยี บร้อยของแปลง 3.10 การจดั เกบ็ อุปกรณ์ ลา้ งทำความสะอาดจัดวางให้เปน็ ระเบียบ 4. ลงมือปฏิบตั โิ ดยมีกิจกรรมทดี่ ำเนนิ ตามบรบิ ทของพน้ื ที่ เชน่ ขดุ คลองไส้ไก่ ห่มดิน ปลูกปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง 5. วิทยากรลงตรวจแปลงและให้แต่ละกลุ่มสีส่งตัวแทนนำเสนอที่กลุ่มสีของตนเอง กลุ่มละ 5 นาที หลงั จากนัน้ วิทยากรจะให้คำแนะนำ/ข้อเสนอแนะ เพ่ือปรับปรุงแกไ้ ข 6. วทิ ยากรให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมสรปุ บทเรียนของแตล่ ะกลุม่ สี สรุปผลการเรียนรู้ ผู้เข้าอบรมให้ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี ทุกคนสนุกสนาน มีการแบ่งหน้าที่กันอย่างชัดเจนตาม ความถนัดของตนเองมีการนำความรู้เดิมและนำความรู้เรื่อง 10 ขั้นตอน การตรวจแปลงตามหลัก กสิกรรมธรรมชาตทิ ไี่ ด้จากวิทยากรมาประยกุ ต์ใชใ้ ห้เข้ากบั บรบิ ทพน้ื ท่แี ละโจทย์ทแ่ี ต่ละกลมุ่ สีได้รบั 16. วิชา Team Building ฝึกปฏิบตั ิการบรหิ ารจัดการในภาวะวกิ ฤต (หาอยู่ หากิน) วทิ ยากร 1. นายเทวนิ ชชู ีพ วทิ ยากรจากมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ระยะเวลา 2. คณะวิทยากรศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบรุ ี 2 ช่ัวโมง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมเขา้ ใจการพง่ึ ตนเองและการใชท้ รพั ยากรทีม่ ีอยอู่ ย่างจำกดั ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ ในการดำรงชีวิต 2. เพื่อให้ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมรจู้ ักการดำรงชวี ิตในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พิบัติ 3. เพื่อใหผ้ ู้เขา้ รับการฝึกอบรมร้จู กั การวางแผนการทำงานเป็นทมี ไดฝ้ ึกวนิ ัยและคุณธรรม 4. การพึง่ พาตนเอง และการใชท้ รัพยากรธรรมชาตทิ ี่มีอยู่อยา่ งจำกัดให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ 5. เพอ่ื เสรมิ สรา้ งปฏสิ ัมพันธ์ การทำงานเปน็ ทมี ขอบเขตเนื้อหา 1. การทำกิจกรรมแบบพึ่งตนเอง และใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดำรงชีวติ ในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พิบัติ,วางแผนการทำงานเป็นทมี ฝึกวนิ ยั และคุณธรรม 2. การดำรงชวี ิตในภาวะวิกฤต/การประสบภยั พิบัติ 3. ร้จู ักการวางแผนการทำงานเปน็ ทมี ไดฝ้ ึกวนิ ยั และคณุ ธรรม 4. ความหมาย/เป้าหมาย/รูปแบบ/ความสำคญั Team Building 5. กติกาการทำกิจกรรม 6.สภาพพ้ืนท่ใี นการดำเนนิ กจิ กรรม เทคนคิ /วิธกี าร วิทยากรเกรินนำเขา้ สู่บทเรยี น และบรรยายใหค้ วามรู้ในหวั ข้อวชิ าต่อไปนี้ 1. อธิบายถึงรปู แบบการเรียนรู้แบบ Team Buliding
65 1.1 ความหมาย Team Buliding การรวบรวมรปู แบบของกจิ กรรมหลายๆ ประเภท เพอ่ื ใช้ในการสร้างความสัมพันธ์ของผู้คนในกลุ่มคน หรือสังคมท่ีอย่รู ่วมกัน หรือในท่ีทำงาน 1.2 เปา้ หมายของการสร้าง Team Building มี 4 อยา่ งก็คือ 1) ทำความเข้าใจในเรื่องเป้าหมายใหต้ รงกัน 2) สร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คลให้เกิดประสิทธภิ าพอันดี 3) ลดความเข้าใจทคี่ ลาดเคลอื่ น/ไม่ถกู ต้อง ให้หมดไป 4) ร่วมกนั หาหนทางสกู่ ารแก้ปญั หาร่วมกัน 1.3 รปู แบบของกิจกรรม Team Building มรี ูปแบบไดห้ ลากหลายตามที่องค์กร และ ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมสนใจ ผมขอยกตวั อยา่ งให้ชม ดังนี้ 1) การทำกิจกรรมในห้องสมั มนา เป็นกจิ กรรมเบาๆ เนน้ ความคดิ ความสนุก 2) การทำกจิ กรรมในสถานทีก่ ลางแจง้ เปน็ กิจกรรมหนกั เนน้ ความอดทน ความ ตืน่ เต้น ความไวว้ างใจ ความเข้าใจ อย่างเช่น การเขา้ ฐานกิจกรรม หรอื การฝึกในค่ายทหาร 1.4 สิ่งสำคญั ท่ไี ดเ้ รียนร้ผู ่านการทำกิจกรรม Team Building นัน้ จำเป็นต้องมกี าร 1) รู้จักเพื่อนรว่ มทมี ทุกคน 2) รู้จักบทบาทของผูน้ ำ และผตู้ าม (สลับกนั ในเเตล่ ะภารกิจได้) 3) เขา้ ใจจดุ หมายร่วมกัน 4) ทุ่มเทร่วมกัน เพ่ือไปสจู่ ดุ หมาย 5) แลกเปลย่ี น มมุ มอง ความคิด วิธกี ารของทุกคน 6) สรปุ ทางออกทท่ี ุกคนเหน็ ชอบรว่ มกนั 7) แกป้ ัญหา/อุปสรรค ร่วมกัน 8) เข้าใจมุมมองของผูอ้ ื่น เขา้ ใจความตา่ งของแต่ละบุคคล 9) ขจัดความขัดแยง้ ระหว่างบคุ คลทิง้ ไป 10) สรปุ การเรยี นรู้ที่ผ่านมา เพอื่ พัฒนาสู่การดำเนินการต่อไป 2. กติกาการทำกจิ กรรม 2.1 วิทยากรแบ่งกลมุ่ เปา้ หมายตามกลุ่มสี 2.2 วทิ ยากรแจง้ ภารกจิ ในการทำกิจกรรมหาอย่หู ากิน - ให้แต่ละกลุ่มสีหาวัตถุดิบในศูนย์การศึกษาและพัฒนาชุมชนชลบุรีมา ทำอาหารกนิ เองภายในกลุม่ ของตน โดยมีอุปกรณ์บางอยา่ งให้เท่าทีจ่ ำเป็น - ต้องทำอาหารให้ทุกคนในกลมุ่ ทานเพยี งพอ แตต่ อ้ งทานใหห้ มด - ตอ้ งมีการแบ่งหน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ - ดำเนินกจิ กรรมใหแ้ ล้วเสร็จภายในเวลาทกี่ ำหนด - ในการดำเนินกิจกรรมใดๆก็ตามตอ้ งไมเ่ กดิ ความเสยี หายต่อสถานที่ - เมื่อดำเนินกิจกรรมแล้วเสร็จต้องเก็บกวาดสถานที่ พร้อมทั้งทำความสะอาด อปุ กรณ์ให้เรยี บรอ้ ย 2.3 วิทยากรบอกขอบเขตพืน้ ที่ทสี่ ามารถหาวัตถดุ ิบได้
66 วัสด/ุ อุปกรณ์ 1.อุปกรณเ์ ครือ่ งครัว 2.อุปกรณร์ อ้ งรำทำเพลง 3.อุปกรณ์หาปลา 4.เครอื่ งปรุงอาหาร เช่น นำ้ ปลา น้ำมนั พริก เกลือ 5.อปุ กรณ์ทานข้าว เช่น ถว้ ย จาน ช้อน ให้เพียงพอทกุ คน 6.ไมข้ ดี ไฟ กลอ่ งละ 2 กา้ น 7.เตาและถา่ นทำครวั สรุปผลการเรียนรู้ ผูเ้ ขา้ อบรมเข้าใจการพ่ึงพาตนเองและใช้ทรัพยากรทีม่ ีอย่างจำกัดให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ ในภาวะ วิกฤต ผู้เข้าอบรมได้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามความสามารถของแต่ ละคนมีการแสดงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ร่วมกันแก้ไขปัญหาข้อจำกัดในการทำกิจกรรม รวมถึงร่วม สนุกสนานกับการรับประทานอาหารร่วมกัน ทำให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเกิดความรักความ สามัคคภี ายในกลุ่มมากยิ่งขึ้น 17. วิชา ถอดบทเรียน ฝึกปฏิบัติการบริหารจัดการในภาวะวฤต หาอยู่ หากิน และฝึกปฏิบัติ จิตอาสาพัฒนาชมุ ชน วทิ ยากร 1. นายเทวิน ชูชพี วิทยากรจากมูลนธิ กิ สิกรรมธรรมชาติ 2. คณะวทิ ยากรศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนชลบรุ ี ระยะเวลา 1 ชั่วโมง วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ให้ผเู้ รียนไดส้ งั เคราะห์ความรู้ท่ีไดร้ ับจากวทิ ยากรที่ได้มาบรรยาย 2. เพอื่ ให้ผ้เู รียนไดส้ ังเคราะห์ปัญหาอปุ สรรค วิธแี ก้ไขปญั หา และสิ่งทไ่ี ด้รบั จาก กิจกรรมน้ี ขอบเขตเน้อื หา 1. ปัญหาอุปสรรคในการฝึกปฏบิ ัติ 2. วธิ ีการแก้ไขปัญหา 3. สง่ิ ทไี่ ดร้ บั จากการฝึกปฏิบัติ วัสดุ/อปุ กรณ์ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ เคร่ืองฉาย และจอภาพ 2. บอร์ด กระดาษฟลิปชาร์ท ปากกาเคมี เทคนิค/วธิ กี าร 1. แบง่ กลุม่ มอบหมายงาน 2. ถอดบทเรยี น การฝึกปฏิบัต“ิ จติ อาสาพัฒนาชมุ ชน เอาม้อื สามัคคี พฒั นาพนื้ ท่ีตาม หลกั ทฤษฎีใหม”่ 3. นำเสนอ/แลกเปลีย่ นเรียนรู้
67 ผลการเรียนรโู้ ดยสรปุ การแกไ้ ขปญั หา สิง่ ทีไ่ ดร้ ับ กลมุ่ สชี มพู ปญั หาและอปุ สรรค -การดำเนินการไม่เป็นไปตาม -คิดและปรับเปลี่ยนแผนใหม่ -ความสามัคคี แผน -เปดิ นำ้ ใส่ให้หน้าดินน่มิ -ไดป้ ระสบการณ์ -พื้นที่ดินแข็งยากต่อการขุด -ปรับเปลย่ี นกันทำงาน -ได้ความรู้จากการทำโคกหนอง ปรบั -ปรบั ปลูกใหม่ นา -อปุ กรณช์ ำรดุ และไมเ่ พยี งพอ -การหม่ ดิน -ผู้ที่รับหน้าที่ทำหน้าที่ไม่ -การทำฝายน้ำล้น สำเรจ็ (เหนอื่ ย) -ได้ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ -ปลกู ตน้ ไมผ้ ิดวแี ละตำแหน่ง 4 อยา่ ง -ได้รถู้ งึ ประโยชนข์ องคลองไส้ไก่ กลุ่มสมี ว่ ง ปัญหาและอุปสรรค การแกไ้ ขปัญหา สิง่ ท่ไี ดร้ ับ -พน้ื ท่ี เรื่องดิน ดินแขง็ -พื้นที่ ดินแข็ง ใช้น้ำมารดก่อน -ความสามคั คี -นำ้ ทิศทางการไหลของน้ำ ขุด ปรับสภาพดิน ห่มดิน ใส่ปุ๋ย -การแก้ปญั หา ฝายชะลอนำ้ แห้งชาม/น้ำขาม การบรหิ ารจัดการในทุกๆดา้ น -ลม ลมแรง -นำ้ ทำฝายชะลอนำ้ -ไฟ/แสงอาทิตย์ -ลม ปลูกต้นไม้ใหญ่เพื่อลด -ป่า ไม่ได้รับต้นไม้/ในพื้นท่ีมีอยู่ ความแรงของลม บ้าง -ไฟ แสงอาทติ ย์ หม่ ดนิ -คน ไม่พบปัญหา -ป่า ใชไ้ ม้ในพืน้ ท่ี กลุ่มสสี ม้ การแก้ไขปัญหา สงิ่ ท่ีได้รับ ปัญหาและอุปสรรค -สภาพพื้นที่ พบปัญหามีชั้นปูน -เลือกใช้อุปกรณ์ที่ให้มา -ได้การร่วมแรงรว่ มใจในการเอา ใต้ดนิ แกป้ ัญหา มือ้ สามัคคี -ขาดความชำนาญในการใช้ -ทดลองใช้บ่อยๆเพื่อให้ถนัดใน -รู้จักการแบ่งเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กับ อุปกณ์ไม่ตรงกบั งาน เครอ่ื งมือนัน้ พนื้ ท่ขี ้างเคียง -เวลาที่จำกัดทำให้งานไม่ -ศึกษาและวางแผนใหม่ในเรื่อง -ได้ความรู้จากการเอาม้ือ สมบูรณ์ การบรหิ ารเวลา สามัคคีและไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวนั
68 กลมุ่ สเี ขียว การแก้ไขปญั หา ส่งิ ทไี่ ด้รับ ปญั หาและอุปสรรค -ดนิ แขง็ -ใช้กำลังกาย+เพิ่มอุปกรณ์ -ความสามคั คี -ความแตกต่างระหว่างฝาย,กับ อสี เตอร์+เอามอ้ื สามคั คี -การวางแผน ทดี่ ักตะกอน -ฝายคือการจัดเก็บน้ำให้อยู่เมื่อ แบ่งหนา้ ท่ีการทำงาน เต็มมีการล้นที่ดักตะกอนคือมี น้ำผ่านได้โดยดักขยะ กลมุ่ สีนำ้ เงนิ การแก้ไขปญั หา สิง่ ที่ได้รบั ปัญหาและอปุ สรรค -ไมเ่ ป็นไปตามท่วี างแผนไว้ -ปรับเปลี่ยนหน้างานตามภูมิ -ได้แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ -ดนิ แข็ง -ฝายชะลอน้ำมีนอ้ ย สงั คมและบคุ ลากร -ไดค้ วามสามัคคี+ความรกั -วสั ดุ+อปุ กรณ์ไมเ่ พยี งพอ -ต้นไมใ้ หญ่ไมม่ ี -รดนำ้ เพ่มิ จำนวนคนขดุ -วางแผนในการทำงานร่วมกัน -เพ่มิ ฝายชะลอนำ้ ให้มากขึน้ -ความสนกุ สนาน -ไดจ้ ดั คนให้เหมาะสมกบั งาน -ได้ความรู้จากการลงมอื ทำ -รจู้ กั การแบง่ ปนั 18. วชิ า กตญั ญูตอ่ สถานทีพ่ ฒั นาจิตใจ วิทยากร 1. นายบัญญตั ิ อาจหาญ ตำแหน่ง เจา้ พนักงานโสตทศั นชำนาญงาน 2. วา่ ที่ ร.ต.ปยิ ะวฒุ ิ ทพิ ย์มณี ตำแหน่ง นักทรพั ยากรบุคคล ระยะเวลา 2.00 ชว่ั โมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรู้จักการวางแผนการทำงานเป็นทีม ได้ฝึกวินัยและคุณธรรมกตัญญู ต่อสถานท่ี ร้คู ณุ ของที่อยู่อาศยั รูค้ ณุ ของการศึกษาวิชาความรู้ที่ทำให้เราเข้าสู่ภาวะมีวิชาความรู้ รู้คุณท้ัง ที่ประกอบอาชีพการงาน และสืบสานมรดกวัฒนธรรมแล้ว การทำบุญตักบาตรเพิ่มความเป็นสิริมงคลแก่ ชวี ิต เทคนิค/วิธีการ บรรยายใหค้ วามรู้ เล่นเกม/กิจกรรมนันทนาการ การแบ่งกลมุ่ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
69 สรปุ เน้ือหาวชิ า 1. วทิ ยากรนำกิจกรรมนันทนาการสรา้ งบรรยากาศดว้ ยการนำทา่ บริหารสมอง ดังนี้ 1.1 จบี -แอล มือขวาจบี มือซ่ายทำเป็นตวั แอล เม่ือบอกสลับให้เปล่ียนจากแอลเปน็ จบี เปลย่ี นจากจีบเป็นแอล ฝึกให้สมองมีการตน่ื ตวั ก่อนการเรียนรู้ 1.2 นับเลข 1-10 ประกอบท่าทาง นบั 1 ให้มือข้างนึงชูนิ้วชี้ แลว้ มอื อีกข้างนึงช้ไี ปท่ี นวิ้ ชี้ นับ 2 ให้มอื ที่ชสี้ ลับมาชู 2 น้วิ (นวิ้ ชกี้ ับนิว้ กลาง) มือที่ชนู ิ้วช้ีสลับมาช้ีไปที่มือทีช่ ู 2 นวิ้ นับ 3 ให้ สลบั มอื มาชู 3 นวิ้ (น้วิ ช้ี นิ้วกลาง นวิ้ นาง) นบั 4 สลบั มาชู 4 นิ้ว นับ 5 สลับมาชู 5 นว้ิ นับ 6 ใหน้ ิ้วท่ี ชีเ้ ปลีย่ นมาเปน็ นิ้วโป้งเตะทีน่ ้ิวก้อย นับ 7 สลบั มอื ทีช่ ีใ้ หเ้ ป็นน้วิ โป้งแตะกับนว้ิ นาง นับ 8 นวิ้ โปง้ แตะกับ นวิ้ กลาง นบั 9 นิ้วโป้งแตะกับนวิ้ ชี้ นับ 10 ให้สลบั มอื มาเปน็ กำกำปน้ั 2. ร้องเพลงประกอบท่าทางเพือ่ ละลายพฤติกรรมให้ผ้เู ข้าอบรมได้มีส่วนรว่ มกับกิจกรรมมากข้ึน 2.1 เพลงดอกลน่ั ทม 2.2 ฉนั และเธอเจอกนั พร้อมท่าประกอบ และสลับคไู่ ปเร่ือยๆ 3. เกมสน์ ันทนาการ เพอื่ ให้ได้รู้จักวางแผนและทำงานเป็นทีม 3.1 เกมส์ ปู 3.2 เกมส์ใบ้คำด้วยการกระซิบ เพือ่ ใหร้ ้จู กั วางแผนและทำงานเปน็ ทีม 3.3 จับมอื ลอ้ มเปน็ วงกลมแล้วใหห้ ลังชนกนั โดยไม่ปล่อยมือ 4. ร่วมกันทำเสวียน ภายในพื้นที่ ศพช.ชลบุรี เพื่อนเป็นการกตัญญูต่อสถานที่ รู้คุณของ ที่อยูอ่ าศยั สรุปผลการเรียนรู้ 1. ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมได้มีการกระตุ้นสมอง พัฒนาสมองยามเชา้ 2. ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมรูจ้ กั วางแผน การทำงานเป็นทีม 3. ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมมีการชว่ ยเหลือกันในกลมุ่ และการแบง่ หน้าท่ีกันและกัน 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไดแ้ สดงความกตัญญตู ่อสถานที่ รูค้ ุณของท่อี ยอู่ าศยั 19. วิชา การขบั เคล่ือนสบื สานศาสตร์พระราชากลไก 357 วทิ ยากร นายสรุ พล สอนจติ ต์ ระยะเวลา 1.30 ชั่วโมง วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการประชุมได้รับทราบ ตระหนักรู้และเข้าใจความหมายที่แท้จริงของการ ขบั เคลือ่ นศาสตรพ์ ระราชา ด้วยกลไก 357 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการประชุมได้มองเห็นถึงการเชื่อมโยงการขับเคลื่อนศาสตร์พระราชาด้วย กลไก 357 กับการขับเคลอ่ื นงานกรมการพฒั นาชุมชน
70 ขอบเขตเน้ือหา 1. กลไกการขบั เคล่อื นศาสตร์พระราชา 357 2. ปรัชญา 3 ระบบ 3. ทฤษฎีใหม่กวา่ 40 ทฤษฎีตามศาสตร์พระราชา 4. แนวทางในการปฏบิ ตั ิในการใช้ชีวติ ในการทำงานตามศาสตรพ์ ระราชา 5. นวัตกรรม เคล็ดวชิ ากว่า 48,000 นวัตกรรม 6. การบรหิ ารแบบคนจน การทำงานแบบคนจน เทคนคิ /วธิ กี าร 1. การบรรยาย 2. การตง้ั คำถามเพ่ือการแลกเปล่ียนประสบการณ์ 3. การเสริมความชดั เจนของเนอ้ื หาดว้ ยสไลด์ กรณศี กึ ษา และคลิป 4. การเติมเต็มใหข้ อ้ คิด และขอ้ เสนอแนะ วัสดุ/อปุ กรณ์ ๑. Power point ประกอบการบรรยาย ๒. คลิป VDO ๓. อปุ กรณเ์ คร่ืองเสียง 4. สมดุ โนต๊ และเครอ่ื งเขยี น 5. บทความ 6. กรณศี ึกษา 7. คอมพวิ เตอร์ เครือ่ งฉาย และจอภาพ 8. บอรด์ , ปากกา สรปุ เนื้อหาวชิ า นิยามคำว่า \"ศาสตร์พระราชา\" เป็นคำที่มีการใช้กันแพร่หลายเมื่อไม่นานมานี้ ประมาณ ๔ -๕ ปีที่ผ่านมา จากการสืบค้นท่ีมาของคำว่า \"ศาสตร์พระราชา\" ไม่อาจทราบได้แน่ชัดว่าผู้ใดใช้คำนี้เป็นครั้ง แรกเมื่อใดและใช้เนื่องในโอกาสใด อย่างไรก็ตามคำคำนี้นับว่าเป็นคำทีม่ ีความเหมาะสมกับการนำมาใช้ ให้ความหมายกิจท้ังหลายท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธบิ ดี จักรีนฤบดินทรสยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงงานเพื่อพสกนิกรชาวไทย นับตั้งแต่พระองค์ ครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่ราชอาณาจักรไทยเป็นต้นมา การสืบค้นหาความหมายของคำว่า \"ศาสตร์พระราชา\" ในคร้งั นี้เป็นการจัดทำเพอ่ื นำมากำหนดความหมายสง่ิ ท่ีพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ทรงดำเนินการเพื่อพสกนกิ รตลอดมา ฉะนั้น ความหมายในที่นี้ จึงเป็นการจำกัดความของ คำว่า \"ศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดช บรมนาถบพิตร\" เท่านั้น การที่จะให้ความหมายคำว่า \"ศาสตร์พระราขา\" ให้มีความครอบคลุมตาม ความหมายที่บรรดานักปราชญ์ ราชบัณฑิต นักวิชาการ นักบริหาร ตลอดจนประชาชนทั่ว ๆ ไปให้การ ยอมรับว่าเป็นความหมายถูกต้องตรงกัน เป็นสิ่งที่ยากยิ่งที่จะกระทำให้เป็นที่ยอมรับจากทุกกลุ่ม
71 เนอ่ื งจากเป็นคำท่ปี ระชาชนทุกหมู่เหลา่ ท่ีไดร้ ับประโยชน์จากพระราชกรณีกจิ ท้งั หลายที่พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลยเดช บรมนาถบพิตรได้ทรงงานเพื่อพสกนิกรของพระองคน์ ัน้ มีหลากหลาย และมากมาย ซ่งึ กระจายไปทัว่ ทุกสารทิศ ส่งผลตอ่ ความเปน็ อยขู่ องราษฎรในทุกสาขาอาชพี จากการสืบ ค้นหาความหมายของคำว่า \"ศาสตร์พระราชา\" เท่าที่ได้มีผู้รู้ได้ให้ความหมายไวใ้ นที่ต่าง ๆ ที่ผ่านมา ซ่ึง อาจจะนำมาอา้ งองิ ได้ มดี ังต่อไปน้ี หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ได้ให้คำนิยามองค์ความรู้ที่สำคัญ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ว่าเป็น \"ศาสตร์พระราชา\" โดย กลา่ วว่า \"ศาสตร์พระราชา คือ การลงไปศกึ ษาเรียนร้จู ากชุมชน... \" ศาสตราจารย์ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย องคมนตรี กล่าวถึงศาสตร์พระราชาว่า\"ศาสตร์ พระราชา คือ โครงการตามพระราชดำรสิ ีพ่ นั กว่าโครงการ...\" พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ \"ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนา อย่าง ยั่งยืน\" เมื่อวันที่ ๒1 ตุลาคม 2๕๕๙ โดยรัฐบาลได้น้อมนำศาสตร์พระราชามาบริหารประเทศ เพอื่ สรา้ งการ พฒั นาทย่ี ง่ั ยนื โดยประขาชนทุกคนร่วมมือกันสานต่อพระราชปณิธาน ขบั เคล่ือนประเทศ ไทยสคู่ วามม่นั คง ม่ังค่งั และย่ังยนื ว่า \"ศาสตร์พระราชาของพระองค์ ได้แก่ พระราชดำริ คือ แนวคิดปรัชญา และพระราชดำรัส คือ คำสั่งสอน ตักเตือน ให้สติ พระราชกรณียกิจ คือ หลักการทรงงาน รวมทั้ง พระราชจริยาวัตรของ พระองค์ คือ การประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี แก่ปวงพสกนิกรชาวไทยซึ่งจะยังคงอยู่คู่แผ่นดินไทย ตลอดไป สามารถน้อมนำไปประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ตั้งแต่การประกอบกิจวัตรประจำวัน และ สัมมาชีพของแต่ละบุคคลไปจนถึงการบริหารราชการแผ่นดิน เพื่อสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน ซึ่งเป็น แนวทางให้กับรัฐบาลและข้าราชการทุกคนทั้งนี้ ศาสตร์พระราชายังได้รับการยกย่องในเวทีระดับโลก และสอดคล้องกับวาระของโลก คือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ (SDGs 2030) คือ อีก ๑๕ ปีข้างหน้า ได้แก่ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย มากว่า ๔๐ ปี และ ได้รับการเชิดชสู ูงสุดจากองคก์ ารสหประชาชาติ โดย นายโคฟี่ อันนัน เลขาธิการองคก์ ารสหประชาชาติ ได้ทลู เกลา้ ฯ ถวายรางวัลความสำเรจ็ สูงสดุ ดา้ นการพัฒนามนุษย์ เน่ืองจากเหน็ ว่าเป็นปรชั ญาท่ีสามารถ สร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่ชุมชน สู่สังคม ในวงกว้างขึ้นในที่สุด โดยองค์การสหประชาชาติได้สนับสนุน ให้ประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิกทั่วโลก ได้ยืดถือเป็นแนวทางสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืนตลอด ระยะเวลากว่า ๒ ปที ี่ผ่านมา รัฐบาลไดส้ ง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนไดน้ อ้ มนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในหลาย ๆ รูปแบบ เช่น การจัดทำบัญชีครัวเรือน เพื่อลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ สร้างความ เข้มแข็งให้กับครอบครัว ซึ่งเป็นสถาบันที่มีความสำคัญที่เล็กที่สุด แต่เป็นสถาบันที่มีความสำคัญที่สุด เพราะเป็นหน่วยสังคมแรกที่เลี้ยงดูอบรมส่ังสอนและหล่อหลอมชีวิตของคนในครอบครัวเป็นแหล่ งผลติ คนเขา้ สสู่ ังคมต่อไป\" ศาสตราจารย์กิตติคุณ วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ได้ให้ความหมาย ศาสตร์พระราชา ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ซง่ึ สามารถสรปุ ได้ว่า ....... องค์
72 ความรสู้ ำคัญท่ีทรงศึกษา สัง่ สม พฒั นา เพอ่ื การพฒั นาประเทศให้ประชาชนอยดู่ ีกนิ ดี มีความ สงบสุข ตั้งอยู่บนพื้นฐานของกิจที่ทรงทำ คำที่ทรงแนะ/สอนจากพระประสบการณ์ ๓ มิติ คือ มิติที่ 1 ศาสตร์ แห่งการพัฒนา มิติที่ 2 ศาสตร์ แห่งความประพฤติ การครองตนในสังคมอย่างสงบสุข มิติที่ ๓ ศาสตร์ แห่งการอยู่ร่วมกัน ปรองดองและสงบสขุ ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก ๓ ป. ได้แก่ ปฏิบัติ ปริยัติ และปฏิเวร... \" สำหรับความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งไม่ได้กำหนดเป็นคำเต็มของคำว่า \"ศาสตร์พระราชา\" จึงได้ค้นหาแยกเป็น ๓ คำ คือ คำว่า \"ศาสตร์\" \"พระ\" และ \"ราชา\" ซึ่งมีความหมาย ดังน้ี ศาสตร์ : น. ระบบวิชา ความร\"ู้ พระ : น. ใชป้ ระกอบหนา้ คำอื่นแสดงความยกยอ่ ง ราชา : น. พระเจา้ แผน่ ดนิ ,พระมหากษตั ริย์' รวมความหมายจากพจนานกุ รมจึงมคี วามหมายวา่ \"ระบบวชิ าความรขู้ องพระมหากษัตริย\"์ จากที่ได้กล่าวมา จะเห็นได้ว่าการให้ความหมายของคำว่า \"ศาสตร์พระราชา\" จากผู้รู้แต่ละท่านทุกทา่ น ได้นำเอากิจท้ังหลาย รวมถึงการครองตนของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรม นาถบพิตรมาประกอบกัน เพ่ือกำหนดให้เป็นข้อความสั้น ๆ ทอี่ ธิบายความหมายให้ได้ครอบคลุมในส่ิงท่ี พระองคท์ รงทำมาหมด ซึ่งเป็นความยากที่จะหาถ้อยคำมาใช้ได้อยา่ งครอบคลุม ครบถ้วน เนื่องจากส่ิงที่ พระองค์ทรงทำประกอบด้วยการใช้ศาสตร์ในหลายๆ ด้าน เพื่อประโยชน์สุขของพสกนิกรของพระองค์ และผ้รู ู้แตล่ ะท่านก็ไดม้ องเน้นไปในด้านตา่ ง ๆ ในมุมมองท่สี นใจตา่ งกนั สว่ นความหมายตามพจนานกุ รม ฉบับราชบณั ทติ ยสถานก็เป็นความหมายแบบทั่ว ๆ ไป แบบกว้าง ๆ ไม่ได้เปน็ การเพาะใช้สำหรับกษัตริย์ พระองค์ใด จึงไม่อาจนำมาอธิบายตามความหมายที่ต้องการ คือ สิ่งที่สามารถกำหนดความหมายคำว่า \"ศาสตร์พระราชาของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร\" ได้ ฉะน้ัน เพ่ือใหก้ ารใหค้ วามหมายตรงตามวัตถปุ ระสงค์ การดำเนนิ การครัง้ นี้ จึงจำเป็นจะต้องพิจารณาจากความ เป็นมาและลกั ษณะกจิ ท่ีพระองคท์ รงดำเนนิ การรวมถงึ ความหมายที่มผี ู้รู้ไดแ้ สดงไว้ แล้วนำมากำหนดคำ เพ่อื สรา้ งความหมายทีเ่ ห็นวา่ สมควร การขบั เคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชาสู่เปา้ หมายความยง่ั ยนื ของโลก
73 สรปุ ผลการเรียนรู้ ผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมใหค้ วามสนใจการขับเคลอื่ นสบื สานศาสตร์พระราชากลไก 357 เป็นอย่าง มากเพราะเป็นประโยชน์ในการนำแนวคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิต และเพื่อนำความรู้ไปเผยแพร่ให้กับคน ในชุมชนตอ่ ไป 20. วชิ า จดั ทำแผนปฏบิ ัติการ/นำเสนอ ยุทธศาสตรก์ ารขบั เคล่อื นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูก่ ารปฏิบัติ วิทยากร นายพีฏาวธุ นาโควงค์ ตำแหนง่ นกั ทรัพยากรบคุ คลชำนาญการ ระยะเวลา 3.00 ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์ 1. ยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคล่ือนสบื สานศาสตร์พระราชาเพ่ือการปฏิรปู ประเทศ 3 5 7 2. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาคน 3. ยทุ ธวิธีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล 4. การสร้างพื้นท่ีเรียนรู้ตน้ แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (HLM=Household Lap Model For Quality of Life ระดับครัวเรือน) 5. การสรา้ งพ้ืนท่ีเรยี นรตู้ น้ แบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (CLM= Community Model For Quality of Life ระดับตำบล) 6. การทำแผนปฏบิ ตั กิ าร ประเดน็ เนอ้ื หา จดั ทำแผนปฏบิ ัติการ พร้อมนำเสนอ ยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สู่การปฏบิ ัติ เทคนิค/วธิ ีการ 1. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ เรื่องยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชาเพื่อการ ปฏิรูปประเทศ กลไก 3 5 7 โดยบรรยายใหค้ วามรู้ จากบทเรียนที่ผ่านมา การปฏิบัติโดยความไม่รู้ถงึ ความลึกส่งิ ท่ีแท้จรงิ ของศาสตร์พระราชาและปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทำใหก้ ารขับเคลื่อนไม่ไปถึง ไหน การขับเคลื่อนโดยการเสนอแผนและตัวชี้วัด ผลคือ KPI ของแต่ละหน่วยงานเต็ม 100 แต่ปัญหา ยงั มีอยู่ 2. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาใหม่ในการพัฒนา มนษุ ย์ ใหเ้ ปลยี่ น Mindset จากการแขง่ ขนั ไปเปน็ การสรา้ งสรรค์ แบ่งบัน ยง่ิ ใหไ้ ป ยงิ่ ไดม้ า 3. วิทยากรบรรยายให้ความรู้การสร้างครูกระบวนการ/ครูพาทำ/ครูประจำฐานเรียนรู้เพื่อให้ ตระหนักถึงหน้าที่ในการส่งต่อภูมิปัญญาบรรพบุรุษด้วยการพาทำ ปฏิบัติจริง เชื่อมร้อยคนทุกช่วงวัย สร้างนวัตกรรมจากสถานการณ์จริง ขณะเดียวกันครูกระบวนการต้องสร้างแรงบันดาลใจ (Facilitator Inspirator) กระตุ้นความสนใจ 4. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ทฤษฎีเตาหลอมเหล็กเป็นหลักการพัฒนาคนต้องสร้างจิตสำนัก ประกอบด้วย ตัวหลักสูตร ครู วิธีการเรียนรู้ เครื่องมือ สภาพแวดล้อม และเงื่อนเวลา จุดมุ่งหมายเพ่ือ
74 เปลี่ยนคนจากคนไร้วินัยเป็นคนมีวินัย จากคนทำอะไรไม่เป็นต้องเป็นงาน จากคนหาจุดเด่นตนเองไม่มี เป็นมีความรับผิดชอบ จดุ มุ่งหมาย ศูนยก์ ลางการพฒั นาคนตลอดชีวิต “โรงเรยี นชมุ ชน” 5. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ “ยุทธวิธี ทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา โมเดล” เน้น ระบบโครงสร้างสังคมพัฒนาชุมชนใหม่ เติมความรู้ให้คนเพื่อให้คนกลับไปพัฒนาบ้านเกิด และฟื้นฟูดิน น้ำ ป่า วิถีวัฒนธรรม เป็นการสร้างความสามัคคี จิตอาสา พัฒนาชุมชน เพื่อก่อเกิด “พออยู่ พอมี พอ กิน” ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศ ตามทฤษฎี 3 ขัน้ (1) ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น เน้นการสร้างเสถียรภาพของการผลิต อาหาร ของใช้ใน ชีวติ ประจำวนั เน้นความมัน่ คงของชมุ ชนชนบท (2) ทฤษฎใี หมข่ ัน้ กลาง เนน้ ความรว่ มมือการผลติ ข้ันต้น เชน่ ขน้ั ตอนเตรียมดิน การ ทำปุ๋ย การทำน้ำหมกั ร่วมมือทำการตลาด รว่ มกันสรา้ งปัจจยั การผลติ ขนั้ พืน้ ฐาน ความร่วมมือทาง สวัสดิการ (3) ทฤษฎใี หม่ขัน้ กา้ วหนา้ เน้น ติดต่อประสานงาน เพ่ือหาทุน หรอื แหลง่ เงนิ ในการ ทำธุรกจิ และพัฒนาคุณภาพชีวิต 6. วทิ ยากรมอบหมายให้ทุกคนจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ าร พรอ้ มนำเสนอ 7. วิทยากรสรุปผลการนำเสนอเปน็ ภาพรวม สรุปผลการเรยี นรู้ 1. ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมได้เรียนรู้ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาคน” 2. ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมได้ยุทธวิธีใหม่ประยกุ ตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล” 3. ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมได้เรียนรู้การขับเคล่ือนศาสตร์พระราชาเพ่ือการปฏริ ปู ประเทศ กลไก 357 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ยทุ ธวธิ ีระดบั พน้ื ท่ีและจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อนำไปพฒั นางาน ตอ่ ไป
สว นท่ี 3 การประเมินผลโครงการ โครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมยอยที่ 1 สรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขับเคลื่อนหมูบาน เศรษฐกิจพอเพียง กลุมเปาหมายประกอบดวย ครัวเรือนเปาหมาย จังหวัดชลบุรี สระแกว และ สมุทรปราการ จำนวน 107 คน การประเมนิ ผลโครงการฯ ใชการประเมินผลแบบแจกแบบสอบถาม จำนวน 2 ชุด คือ แบบประเมินผลโครงการฯ และแบบประเมินผลรายวิชา โดยจัดเก็บขอมูลจาก จำนวนผูเขารับการฝกอบรมจริง จำนวน 107 คน ผลการจัดเก็บขอมูลไดจำนวน 107 คน คดิ เปน รอยละ 100 3.1 รูปแบบและวธิ กี ารประเมิน โดยแบบประเมินภาพรวมโครงการ แบงออกเปน 3 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอมลู ทัว่ ไป (ผตู อบแบบสอบถาม) ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นตอ โครงการ แบงออกเปน 5 สว น ไดแ ก สวนที่ 2.1 การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคของโครงการ สวนที่ 2.2 ความรคู วามเขาใจและทักษะกอนและหลังฝก อบรม สวนท่ี 2.3 ประโยชนของหัวขอวชิ าตอการนำความรูไปใชในการปฏิบตั งิ าน สวนท่ี 2.4 ความพึงพอใจตอภาพรวมโครงการ ตอนท่ี 3 ความคดิ เห็นและขอเสนอแนะอ่ืนๆ 3.2 การเกบ็ รวบรวมขอมูล เก็บรวบรวมขอมูลจากผเู ขารับการฝก อบรมทุกคน ดวยแบบประเมินผลโครงการพัฒนาหมูบาน เศรษฐกจิ พอเพียง ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2564 กจิ กรรมยอ ยที่ 1 สรางและพฒั นากลไกขบั เคลื่อน ในระดบั พ้นื ท่ี กจิ กรรมยอ ยท่ี 1.1 สรางแกนนำขบั เคล่อื นหมบู านเศรษฐกิจพอเพยี ง 3.3 การวเิ คราะหข อมูล กอนวิเคราะหขอมูล ผูวิเคราะหตองตรวจสอบความถูกตอง ความสมบูรณของขอมูล จากแบบสอบถามทรี่ วบรวมขอ มูลใหเ สร็จเรียบรอ ย จากนั้นทำการเปลี่ยนสภาพขอมูลที่รวบรวมไดใหอยูใ นรูปแบบท่ีสะดวกตอการนำไปประมวลผล หรอื วเิ คราะหข อมูลโดยการเปลี่ยนสภาพขอมลู มวี ิธกี ารดังน้ี 1. การสรางรหัสขอมูลและจัดทำคูมือรหัส เปนการเปลี่ยนรูปแบบของขอมูลใหเปนตัวเลขหรือ รหัสเพือ่ ใหสามารถจำแนกลกั ษณะขอมูลได และการจดั ทำตารางบันทึกรหัสขอมูลที่ออกแบบไว 2. การแกไขเปน การตรวจสอบความถูกตอ งของขอมูลที่แปลงใหอ ยูในรปู ของตัวเลขหรือรหัสแลว และทำการแกไขปรบั ปรุงใหถูกตองเมื่อพบขอผิดพลาด 3. การประมวลผล เปนการนำขอมูลที่แปลงเปนรหัสและทำการตรวจสอบความถูกตอง ของขอมูลแลวมาทำการวิเคราะหขอ มูลดว ยโปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิติ
76 ในสวนของการวิเคราะหขอมูลที่รวบรวมไว ใชโปรแกรม SPSS for Window และวิธีการ ทางสถิติ เพื่อวิเคราะหและหาความสัมพันธของขอมูลและผลการศึกษา สถิติที่ใชเปนสถิติพรรณนา ซึง่ ผลการวิเคราะหอยูในรูปแบบของการบรรยายเกี่ยวกับคุณลักษณะเบื้องตนของประชากรที่ศึกษา ประกอบดวย การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions) ไดแก การแสดงจำนวน (Amount) รอยละ (Percentages) การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง (Measures of Central Tendency) ไดแก คา เฉลยี่ (Mean) 3.4 เกณฑก ารประเมนิ ดานการแปลผลไดกำหนดมาตรการวัดระดับความคิดเห็นออกเปน 5 ระดับ (Likert Scale) คือ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอย และนอ ยที่สุด โดยแบง เกณฑการใหคะแนนเปน ดงั น้ี ระดับความพึงพอใจ คะแนน มากทส่ี ดุ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอย 2 นอ ยทีส่ ดุ 1 เกณฑก ารแปลความหมายคาเฉลี่ย มีดงั น้ี คะแนนเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ ระดบั ความคิดเหน็ มากทีส่ ดุ /ความพงึ พอใจมากท่ีสดุ คะแนนเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดบั ความคิดเหน็ มาก/ความพงึ พอใจมาก คะแนนเฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถงึ ระดับความคิดเห็นปานกลาง/ความพงึ พอใจปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถงึ ระดบั ความคดิ เห็นนอย/ความพงึ พอใจนอย คะแนนเฉล่ยี 1.00 – 1.50 หมายถงึ ระดบั ความคิดเหน็ นอยที่สุด/ความพึงพอใจนอยทส่ี ุด 3.5 ผลการประเมนิ 1) การประเมินผลภาพรวมโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมยอยที่ 1 สรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กจิ กรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขบั เคล่อื นหมบู านเศรษฐกิจพอเพียง ตอนที่ ๑ ขอมูลทว่ั ไป จากการประเมินผลโครงการพัฒนาหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมยอยที่ 1 สรางและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่ กิจกรรมยอยที่ 1.1 สรางแกนนำขบั เคลอ่ื นหมบู านเศรษฐกจิ พอเพียง ขอ มลู ทวั่ ไป พบวา เพศ ผูเขาอบรมสว นใหญเปน เพศชาย จำนวน 60 คน คิดเปนรอยละ 56.10 และ เพศหญิง จำนวน 47 คน คดิ เปนรอยละ 43.90 ตำแหนง ผูเขาอบรมสวนใหญม ีตำแหนงครัวเรือนพัฒนาพื้นที่แหลงเรียนรู จำนวน 95 คน คดิ เปนรอยละ 88.80 และตำแหนง อนื่ ๆ จำนวน 12 คน คิดเปน รอยละ 11.20 การศึกษา ผูเขาอบรมสวนใหญจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 30 คน คดิ เปนรอยละ 28.00 รองลงมาจบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี จำนวน 27 คน คดิ เปนรอ ยละ 25.20 จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 23 คน คิดเปนรอยละ 21.50 จบการศึกษาระดับอื่น ๆ
77 (ประถมศึกษา, ประกาศนียบัตรวิชาชีพ, ปริญญาโท) จำนวน 18 คน คิดเปนรอยละ 16.80 และ จบการศกึ ษาระดบั อนปุ รญิ ญาตรี จำนวน 9 คน คดิ เปนรอ ยละ 8.40 อายุ ผูเขาอบรมสวนใหญมีชวงอายุ 51 ปขึ้นไป คิดเปนรอยละ 55.10 รองลงมา ชวงอายุ 41 – 50 ป คิดเปนรอยละ 29.90 ชวงอายุ 31 – 40 ป คิดเปนรอยละ 10.30 และ ชว งอายุทต่ี ่ำสุด คอื ชวงอายุ 25 – 30 ป คดิ เปน รอยละ 4.70 รายละเอยี ดตามตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 แสดงขอมลู ทั่วไปของผูเขาอบรมโครงการฯ ประเดน็ จำนวน (คน) รอยละ 1. เพศ 60 56.10 - ชาย 47 43.90 - หญงิ 107 100.00 รวม 95 88.80 2. ตำแหนง 12 11.20 107 100.00 - ครวั เรอื นพฒั นาพืน้ ทแ่ี หลงเรยี นรู - อน่ื ๆ 23 21.50 30 28.00 รวม 9 8.40 3. การศึกษา 27 25.20 18 16.80 - มธั ยมศึกษาตอนตน 107 100.00 - มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - อนปุ รญิ ญาตรี 5 16.70 - ปริญญาตรี 11 13.80 - อนื่ ๆ 32 29.00 59 28.30 รวม 107 100.00 4. อายุ - 25 – 30 ป - 31 – 40 ป - 41 – 50 ป - 51 ปขึน้ ไป รวม
78 ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจตอโครงการ ตารางท่ี 2 แสดงขอมูลความพึงพอใจตอ ภาพรวมของโครงการฯ ระดับความพึงพอใจ นอ ยที่สดุ คา เฉลี่ย ระดบั หัวขอ มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอย ความพงึ - (������) พอใจ - 1. กระบวนการ ข้ันตอนการใหบ ริการ 1 (0.60%) 1.1 ความเหมาะสมของสถานที่ 76 26 5 - - 4.66 มากทส่ี ุด (3.00%) (64.50%) (15.70%) 4 - 8 (2.40%) - 1.2 ความเหมาะสมของระยะเวลา 45 50 (4.80%) - 4.27 มาก 3 - (27.10%) (30.10%) 12 (1.80%) (7.20%) - 1.3 ความเหมาะสมของชว งเวลา 55 36 2 - 4.32 มาก - (1.20%) - (33.10%) (21.70%) - 1 - 1.4 การจัดลำดบั ขั้นตอนของการจัด 65 40 (0.60%) - 4.57 มากทส่ี ุด 1 - กิจกรรม (39.20%) (24.10%) 1 (0.60%) - (0.60%) 1 2. วทิ ยากร - (0.90%) 4 2.1 ความรอบรูใ นเน้ือหาของวิทยากร 82 24 (2.40%) 1 4.76 มากทสี่ ดุ (0.60%) 4.69 มากท่สี ดุ (49.40%) (14.50%) - 4.67 มากที่สดุ - 4.71 มากที่สุด 2.2 ความสามารถในการถา ยทอด 77 28 2 (1.90%) - ความรู (46.40%) (16.90%) 2 - 2.3 การเปดโอกาสใหซักถามแสดงความ 76 27 (1.20%) 1 คิดเห็น (45.80%) (16.30%) 5 (0.90%) (3.00%) 2.4 การสรา งบรรยากาศการเรยี นรู 78 28 - 4 (47.00%) (16.90%) (3.70%) - 3. เจาหนาที่ผูใหบริการ/ผูประสานงาน (ของหนว ยงานท่ีจัด) 9 - (8.40%) 3.1 การแตงกาย 79 26 1 4.72 มากทสี่ ดุ 7 (0.90%) 4.72 มากทส่ี ดุ 73.80%) (24.30%) (6.50%) 4.69 มากทส่ี ุด 4.66 มากที่สุด 3.2 ความสุภาพ 79 26 8 (7.50%) (47.60%) (15.70%) 9 3.3 การตอบคำถาม 79 23 (8.40%) (73.80%) (13.90%) 3.4 การประสานงาน 77 25 (72.00%) (23.40%) 4. การอำนวยความสะดวก (ของหนวยงานทีจ่ ดั ) 4.๑ เอกสาร 71 27 4.58 มากท่สี ุด 4.55 มากที่สดุ (66.40%) (25.20%) 4.63 มากทส่ี ุด 4.48 มาก 4.๒ โสตทัศนูปกรณ 66 34 (61.70%) (31.80%) 4.๓ เจาหนาทีส่ นบั สนุน 75 24 (70.10%) (22.40%) 4.๔ อาหาร, เคร่อื งดม่ื และสถานท่ี 65 31 (60.70%) (29.00%)
79 ตารางท่ี 2 แสดงขอมูลความพงึ พอใจตอภาพรวมของโครงการฯ (ตอ ) หวั ขอ ระดบั ความพงึ พอใจ คา เฉลี่ย ระดับ ความพึง มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ ย นอยทสี่ ุด (������) พอใจ 5. ความพึงพอใจของทา นตอภาพรวมโครงการ 5.๑ ทานไดรับความรู แนวคิด ทักษะ 79 26 2 - - 4.72 มากทส่ี ุด (1.90%) - และประสบการณใหม ๆ จากโครงการ/ (73.80%) (24.30%) - - 1 - กิจกรรมน้ี (0.90%) 1 - (0.90%) 5.๒ ทานสามารถนำสิ่งที่ไดรับจาก 74 32 1 4.68 มากท่สี ุด (0.90%) - โครงการ/กิจกรรมนี้ไปใชในการเรียน/ (69.20%) (29.90%) 3 - การปฏิบัติงาน (2.80%) 5.๓ สิ่งที่ทานไดรับจากโครงการ/ 78 27 1 4.69 มากทส่ี ุด (0.60%) กิจกรรมครั้งนี้ตรงตามความคาดหวังของ (72.90%) (25.20%) ทานหรือไม 5.๔ สัดสวนระหวางการฝกอ บรม 63 41 4.56 มากท่ีสุด ภาคทฤษฎีกับภาคปฏิบัติ (ถามี) มีความ (58.90%) (38.30%) เหมาะสม 5.5 ประโยชนที่ทานไดรับจากโครงการ/ 86 20 4.79 มากที่สดุ 4.62 มากท่สี ดุ กิจกรรม (80.40%) (18.70%) ภาพรวม จากตารางที่ 2 แสดงความพึงพอใจตอภาพรวมของโครงการ พบวา ประเด็นความพึงพอใจ ตอโครงการ ในภาพรวมมีคาเฉลี่ย 4.62 อยูในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเปนรายดานมีผล การประเมนิ ดังนี้ ดานกระบวนการ ขั้นตอนการใหบริการ ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความเหมาะสมของสถานท่ี มีคาเฉลี่ย 4.66 รองลงมา การจัดลำดับขั้นตอนของการจัดกิจกรรม มีคาเฉลี่ย 4.57 และประเด็นที่มีความพึงพอใจนอยที่สุด คือ ความเหมาะสมของระยะเวลา มีคา เฉลีย่ 4.27 ดานวิทยากร ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ความรอบรูในเนื้อหาของวิทยากร มีคาเฉลี่ย 4.76 รองลงมา การสรางบรรยากาศการเรียนรู มีคาเฉลี่ย 4.71 และประเด็นที่มี ความพงึ พอใจนอยทสี่ ดุ คอื การเปด โอกาสใหซักถามแสดงความคิดเห็น มีคา เฉลี่ย 4.67 ดานเจาหนาที่ผูใหบริการ/ผูประสานงาน (ของหนวยงานที่จัด)ประเด็นที่มี ความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ คอื การแตง กาย และ ความสุภาพ มีคาเฉล่ยี 4.72 รองลงมา การตอบคำถาม มีคาเฉล่ยี 4.69 และประเดน็ ที่มคี วามพึงพอใจนอยท่สี ดุ คือ การประสานงาน มีคาเฉล่ยี 4.66 การอำนวยความสะดวก (ของหนวยงานที่จัด) ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากทีส่ ุด คือ เจา หนาท่ีสนับสนุน มีคา เฉล่ยี 4.63 รองลงมา เอกสาร มีคาเฉล่ยี 4.58 และประเดน็ ทม่ี ีความพึงพอใจ นอยทีส่ ุด คอื อาหาร, เครอ่ื งด่ืมและสถานท่ี มีคา เฉลยี่ 4.48 ความพึงพอใจตอ ภาพรวมโครงการ ประเด็นที่มีความพึงพอใจมากที่สุด คือ ประโยชนท่ี ทานไดรับจากโครงการ/กิจกรรม มีคาเฉลี่ย 4.79 รองลงมา ทานไดรับความรู แนวคิด ทักษะและ
80 ประสบการณใหม ๆ จากโครงการ/กจิ กรรมน้ี มคี าเฉลย่ี 4.72 และประเด็นทม่ี คี วามพึงพอใจนอยทส่ี ุด คือ สัดสวนระหวา งการฝกอบรมภาคทฤษฎีกับภาคปฏบิ ัติ (ถามี) มีความเหมาะสม มีคาเฉลี่ย 4.56 ตามลำดับ ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะ 3.1 สิง่ ทีท่ านพงึ พอใจในการรวมโครงการ/กิจกรรมครงั้ นี้ - คณะวิทยากร เจาหนาที่ของศูนยฯ มีความเปนกันเอง ใจดีมาก ใหบริการดีมาก นารกั ทุกคน - ไดเ ครอื ขา ยจากเพือ่ นใหม - ไดรบั ความสนกุ สนาน ความรัก และความสามคั คีจากการฝกอบรมครงั้ น้ี - วิทยากรมีความรูความเชี่ยวชาญ สามารถถายทอดความรูไดดี ชัดเจน เขาใจงาย และเปดโอกาสใหแ ลกเปลยี่ นเรยี นรเู ปน อยางดี - มคี วามพงึ พอใจมาก เปน โครงการทีด่ มี าก สามารถนำความรไู ปใชป ระโยชนไ ดจริง - ไดเรียนรูจากการปฏิบัติ ทำใหเขาใจอยางชัดเจน สามารถนำไปตอยอดและ ประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจำวันไดเปนอยา งดี - อาหารอรอ ย สถานท่ีฝกอบรม ทพี่ กั ดี สะอาด สะดวกสบาย 3.2 ส่ิงที่ควรเสนอแนะนำไปพัฒนาการจดั โครงการ/กจิ กรรมครงั้ ตอไป - กิจกรรมควรเร่ิมเวลา 08.00 และไมค วรเกินเวลา 19.00 น. เพื่อใหมีเวลาพักผอน ท่เี พียงพอ จะทำใหสมองพรอ มทจ่ี ะเรยี นรสู ิ่งใหม ๆ ในทกุ วัน - ขอใหมโี ครงการแบบนีต้ อไปอีก เพ่ือสรา งโอกาสใหก ับคนรนุ ตอไป - ควรมเี สอ้ื รุนแจกใหฟรี - วิทยากรควรมปี ายชอื่ ตดิ ประจำตวั เพอื่ ใหผ เู ขา อบรมจำชอ่ื วิทยากรไดงายข้นึ
81 2) ความคิดเห็นเกย่ี วกับเนือ้ หาวิชา ตารางที่ 3 แสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับวิชาเรยี นรตู ำราบนดิน : กจิ กรรมเดนิ ชมพน้ื ท่ี ประเด็น มากท่ีสุด ระดับความคดิ เห็น คาเฉลี่ย ระดบั มาก ปานกลาง นอ ย นอยทีส่ ดุ (������̅) ความ 1. ความคิดเห็นเกยี่ วกับเนอื้ หา คดิ เหน็ วิชาการ 31 56 20 - - 4.10 1. การบรรลุวัตถปุ ระสงคข องวชิ า (29.00%) (52.30%) (18.70%) มาก 2. ความชัดเจนของเนื้อหาวิชา 40 49 15 3 - 4.18 มาก (37.40%) (45.80%) (14.00%) (2.80%) 4.15 มาก 3. ความรู ทกั ษะ ท่ไี ดร บั เพิ่มเตมิ จาก - วิชาน้ี 38 50 16 3 มาก (35.50%) (46.70%) (15.00%) (2.80%) มาก 4. ความสามารถนำไปประยุกตใ ช 46 41 18 2 - 4.22 มาก มาก (43.00%) (38.30%) (16.80%) (1.90%) มาก ภาพรวม 4.16 มาก 4.27 มาก 2. ความพงึ พอใจตอ วทิ ยากร 42 54 9 2 - 4.25 มาก 1. ความรู ความสามารถในการ (39.30%) (50.50%) (8.40%) (1.90%) 4.14 มาก ถายทอด/บรรยาย - 2. เทคนิคและวธิ ีการทีใ่ ชในการ 39 60 4 4 4.21 ถายทอดความรู (36.40%) (56.10%) (3.70%) (3.70%) - 4.32 4.24 3. การเปดโอกาสใหผูเขาอบรม 41 44 18 4 2 4.20 ซกั ถาม แสดงความคดิ เห็น (38.30%) (41.10%) (16.80%) (3.70%) (1.90%) 4.การสรางบรรยากาศในการเรยี นรู 42 50 12 1 - (39.30%) (46.70%) (11.20%) (0.90%) 5. บุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง น้ำเสียง) 45 51 1 - (42.10%) (47.70%) (10.30%) ภาพรวม ภาพรวมรายวิชา จากตารางที่ 3 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชาเรียนรูตำราบนดิน : กิจกรรมเดินชมพื้นที่ ผลการประเมนิ ภาพรวมรายวิชา มคี า เฉลีย่ 4.20 อยใู นระดับมาก แบงการประเมินผล ดังนี้ ตอนที่ 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.16 อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเดน็ ที่มีคาเฉลีย่ สูงสุด คอื ความสามารถนำไปประยกุ ตใ ช มคี าเฉลีย่ 4.22 รองลงมา ความชัดเจนของเนื้อหาวิชา มคี าเฉล่ีย 4.18 และประเด็นที่มีคาเฉล่ียต่ำสุด คือ การบรรลุ วัตถปุ ระสงคข องวิชา มคี าเฉลย่ี 4.10 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.24 อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณา เปน รายดา น ประเด็นที่มีคาเฉลยี่ สงู สดุ คอื บุคลิกภาพ มคี าเฉลี่ย 4.32 รองลงมา ความรู ความสามารถใน
82 การถายทอด/บรรยาย มคี าเฉลี่ย 4.27 และประเดน็ ที่มีคาเฉลี่ยต่ำสุด คือ การเปดโอกาสใหผูเขา อบรม ซกั ถาม แสดงความคดิ เห็น มคี า เฉลยี่ 4.14 3. สง่ิ ที่ทานประทับใจในวิทยากรทา นนี้ คอื - สามารถถา ยทอดความรไู ดช ัดเจนเขา ใจงา ย - มคี วามเปน กนั เอง พูดจาดี นา รกั สนกุ สนาน - เน้อื หาชัดเจน สามารถนำความรูไ ปปฏิบตั ไิ ดจ ริง - เสยี งดังฟงชัด 4. สงิ่ ท่วี ทิ ยากรควรปรับปรุง คอื - ไมม ี 5. ขอ เสนอแนะเพ่ิมเติมอ่ืน ๆ - ตองการดูตัวอยางที่เปน แปลงจรงิ ทม่ี คี วามสมบรู ณ ตารางท่ี 4 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวชิ า เขาใจ เขา ถงึ พัฒนา ศาสตรพ ระราชากับการพฒั นา ทยี่ ั่งยนื ฯ ประเด็น มากท่ีสุด ระดบั ความคิดเหน็ นอ ย นอ ย คา เฉลย่ี ระดบั มาก ปานกลาง - ทสี่ ดุ (������̅) ความคิดเหน็ 1. ความคดิ เห็นเกยี่ วกับเนือ้ หาวิชาการ 42 3 (39.30%) (2.80%) 1. การบรรลุวัตถปุ ระสงคของวิชา 62 - 4.55 มากทสี่ ุด (57.90%) 2. ความชัดเจนของเนอ้ื หาวิชา 65 42 - - - 4.61 มากทส่ี ุด (60.70%) (39.30%) - - - 4.60 มากท่สี ุด 3. ความรู ทกั ษะ ท่ีไดร ับเพิ่มเตมิ จาก วิชาน้ี 64 43 (59.80%) (40.20%) 4. ความสามารถนำไปประยุกตใช 62 45 - - - 4.58 มากทส่ี ุด (57.90%) (42.10%) ภาพรวม 4.58 มากที่สดุ
83 ตารางที่ 4 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชา เขาใจ เขาถึง พัฒนา ศาสตรพระราชากับ การพฒั นาท่ีย่ังยนื ฯ (ตอ) ประเดน็ มากที่สดุ ระดบั ความคดิ เหน็ นอย คาเฉลี่ย ระดบั มาก ปานกลาง นอ ย ท่ีสดุ (������̅) ความคิดเหน็ 2. ความพงึ พอใจตอวิทยากร 1. ความรู ความสามารถในการ 62 45 - - - 4.58 มากท่สี ุด ถายทอด/บรรยาย (57.90%) (42.10%) - - 2. เทคนิคและวธิ กี ารท่ใี ชในการ 59 48 - - - 4.55 มากท่ีสุด ถายทอดความรู (55.10%) (44.90%) - - 4.57 มากทีส่ ุด 1 3. การเปดโอกาสใหผูเขา อบรม 62 44 (0.90%) ซักถาม แสดงความคิดเหน็ (57.90%) (41.10%) 4. การสรางบรรยากาศในการเรยี นรู 63 44 - - 4.59 มากทส่ี ุด (58.90%) (41.10%) 5. บุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง นำ้ เสยี ง) 69 38 - - 4.64 มากทส่ี ุด (64.50%) 35.50%) ภาพรวม 4.59 มากท่สี ุด ภาพรวมรายวชิ า 4.59 มากที่สดุ จากตารางที่ 4 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชา เขาใจ เขาถึง พัฒนา ศาสตรพระราชากับ การพัฒนาที่ยั่งยืนและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎีบันได 9 ขั้น สูความพอเพียง” ผลการประเมินภาพรวมรายวิชา มีคาเฉลี่ย 4.59 อยใู นระดบั มากที่สดุ แบงการประเมินผล ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกบั เนือ้ หาวชิ าการ ในภาพรวม มคี า เฉล่ีย 4.58 อยูในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ความชัดเจนของเนื้อหาวิชา มีคาเฉลี่ย 4.61 รองลงมา ความรู ทักษะ ที่ไดรับเพิ่มเติมจากวิชานี้ มีคาเฉลี่ย 4.60 และประเด็นที่มีคาเฉล่ียตำ่ สุด คือ การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคของวชิ า มีคา เฉลย่ี 4.55 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.59 อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคา เฉลี่ยสูงสุด คือ บคุ ลิกภาพ มีคาเฉลี่ย 4.64 รองลงมา การสราง บรรยากาศในการเรยี นรู มีคาเฉลี่ย 4.59 และประเด็นที่มีคาเฉลี่ยต่ำสุด คือ เทคนิคและวิธีการที่ใชใน การถายทอดความรู 4.55 3. สิ่งที่ทานประทับใจในวิทยากรทา นนี้ คือ - มคี วามเปน กนั เอง รา เรงิ ยม้ิ เกง นารักมาก - สามารถถายทอดความรไู ดชัดเจน สอนเขาใจงายดีมาก ใชภาษาทเ่ี ขาใจงาย สบาย ๆ ไมเครยี ด
84 4. ส่ิงที่วิทยากรควรปรับปรุง คือ - ไมม ี 5. ขอ เสนอแนะเพ่ิมเติมอืน่ ๆ - ไมม ี ตารางที่ 5 วชิ า การแปลงปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏบิ ัตแิ บบเปนข้ันเปน ตอน ประเดน็ มากท่ีสุด ระดับความคิดเหน็ นอย คา เฉลีย่ ระดับ มาก ปานกลาง นอย ท่ีสุด (������̅) ความคดิ เห็น 1. ความคดิ เหน็ เก่ียวกับเนอ้ื หา วิชาการ 72 34 1 - - 4.66 มากทสี่ ุด 1. การบรรลุวัตถปุ ระสงคของวชิ า - (67.30%) (31.80%) (0.90%) - - 4.68 มากทส่ี ุด 2. ความชัดเจนของเนอ้ื หาวิชา - - 4.64 มากท่สี ุด 74 32 1 3. ความรู ทกั ษะ ทีไ่ ดรับเพ่ิมเตมิ จาก (69.20%) (29.90%) (0.90%) - - 4.70 มากทส่ี ุด วชิ านี้ - 69 37 1 - 4.67 มากทส่ี ุด 4. ความสามารถนำไปประยกุ ตใช (64.50%) (34.60%) (0.90%) - - 4.75 มากท่สี ุด - - 4.75 มากที่สุด 2. ความพงึ พอใจตอวิทยากร 76 30 1 - 4.70 มากทส่ี ุด 1. ความรู ความสามารถในการ ถายทอด/บรรยาย (71.00%) (28.00%) (0.90%) - 4.75 มากที่สุด 2. เทคนิคและวธิ กี ารที่ใชใ นการ - 4.76 มากที่สุด ถายทอดความรู ภาพรวม 4.74 มากทส่ี ุด 3. การเปด โอกาสใหผูเขา อบรม 81 25 1 4.71 มากท่สี ุด ซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ (75.70%) (23.40%) (0.90%) 4. การสรา งบรรยากาศในการเรียนรู 80 27 - 5. บุคลิกภาพ (การแตง กาย ทาทาง (74.80%) (25.20%) น้ำเสียง) - 75 32 (70.10%) (29.90%) 80 27 - (74.80%) (25.20%) - 81 26 (75.70%) (24.30%) ภาพรวม ภาพรวมรายวิชา
85 จากตารางที่ 5 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู การปฏบิ ัตแิ บบเปนขั้นเปนตอน ผลการประเมิน ภาพรวมรายวิชา มีคาเฉลี่ย 4.71 อยูใ นระดบั มากทีส่ ุด แบง การประเมนิ ผล ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวม มีคา เฉลี่ย 4.67 อยูในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นทีม่ คี าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความสามารถนำไปประยุกตใช มีคาเฉลี่ย 4.70 รองลงมา ความชัดเจนของเน้ือหาวิชา มคี าเฉลี่ย 4.68 และประเด็นท่ีมีคาเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความรู ทักษะ ที่ไดรับเพ่ิมเตมิ จากวิชาน้ี มีคา เฉลี่ย 4.64 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.74 อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉล่ียสูงสุด คือ บุคลิกภาพ มีคาเฉลี่ย 4.76 รองลงมา ความรู ความสามารถในการถายทอด/บรรยาย, เทคนิคและวิธีการที่ใชในการถายทอดความรู และ การสรา ง บรรยากาศในการเรยี นรู มคี า เฉล่ยี 4.75 และประเด็นที่มีคาเฉลีย่ ต่ำสุด คือ การเปด โอกาสใหผ ูเขาอบรม ซกั ถาม แสดงความคดิ เห็น มคี า เฉลยี่ 4.70 3. สง่ิ ที่ทานประทับใจในวิทยากรทานน้ี คือ - วทิ ยากรมคี วามเปน กันเอง นา รัก สนกุ สนาน ไมเ ครยี ด - ไดรบั ความรูด มี าก สามารถนำไปปรบั ใชในชีวิตประจำวนั ได - สามารถถายทอดความรูไ ดด ีมาก ชดั เจน เขาใจงา ย - กจิ กรรมการอบรมและวทิ ยากร 4. สงิ่ ท่ีวิทยากรควรปรับปรุง คอื - ไมมี 5. ขอเสนอแนะเพิ่มเติมอื่น ๆ - ไมม ี ตารางที่ 6 วชิ าปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎี บันได 9 ขัน้ สูความพอเพียง ประเดน็ มากท่ีสุด ระดบั ความคดิ เห็น นอย คา เฉลยี่ ระดับ มาก ปานกลาง นอ ย ทีส่ ดุ (������̅) ความคดิ เหน็ 1. ความคดิ เห็นเกี่ยวกับเน้ือหา วิชาการ 53 51 3 - - 4.47 มาก 1. การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคของวชิ า (49.50%) (47.70%) (2.80%) 2. ความชัดเจนของเน้อื หาวิชา 56 47 3 1 - 4.47 มาก (52.30%) (43.90%) (2.80%) (0.90%) 3. ความรู ทกั ษะ ที่ไดร ับเพิ่มเตมิ จาก 48 55 4 - - 4.41 มาก วชิ านี้ (44.90%) (51.40%) (3.70%) 4. ความสามารถนำไปประยกุ ตใช 47 56 4 - - 4.40 มาก (43.90%) (52.30%) (3.70%) ภาพรวม 4.44 มาก
86 ตารางท่ี 6 วชิ าปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง “ทฤษฎี บันได 9 ขั้น สูค วามพอเพยี ง (ตอ) ประเดน็ มากท่ีสุด ระดับความคดิ เหน็ คาเฉลี่ย ระดบั มาก ปานกลาง นอ ย นอ ยท่สี ุด (������̅) ความคดิ เห็น 2. ความพงึ พอใจตอ วิทยากร 1. ความรู ความสามารถในการ 58 46 3 - - 4.51 มากที่สุด ถายทอด/บรรยาย (54.20%) (43.00%) (2.80%) 2. เทคนิคและวธิ กี ารที่ใชในการ 56 45 5 1 - 4.45 มาก ถายทอดความรู (52.30%) (42.10%) (4.70%) (0.90%) - 4.35 มาก 3. การเปด โอกาสใหผ ูเขาอบรม 50 44 13 - 1 4.44 มาก ซักถาม แสดงความคิดเหน็ (46.70%) (41.10%) (12.10%) (0.90%) 1 4.การสรางบรรยากาศในการเรยี นรู 56 45 4 (0.90%) (52.30%) (42.10%) (3.70%) 5. บุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง 53 46 8 - - 4.42 มาก น้ำเสียง) (49.50%) (43.00%) (7.50%) ภาพรวม 4.43 มาก ภาพรวมรายวิชา 4.44 มาก จากตารางที่ 6 แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับวิชา วิชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎี บันได 9 ขั้น สูความพอเพียง ผลการประเมิน ภาพรวมรายวิชา มีคาเฉลี่ย 4.44 อยูในระดับมาก แบงการประเมนิ ผล ดงั นี้ ตอนที่ 1 ความคดิ เห็นเกี่ยวกับเนือ้ หาวิชาการ ในภาพรวม มีคาเฉลยี่ 4.44 อยูใ นระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การบรรลุวัตถุประสงคของวิชา และ ความชัดเจนของเนื้อหาวิชา มีคาเฉลี่ย 4.47 รองลงมา ความรู ทักษะ ที่ไดรับเพิ่มเติมจากวิชานี้ มีคา เฉลี่ย 4.41 และประเด็นทมี่ คี า เฉล่ียตำ่ สดุ คอื ความสามารถนำไปประยุกตใช มีคาเฉลยี่ 4.40 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.43 อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเดน็ ทม่ี คี า เฉลีย่ สงู สุด คือ ความรู ความสามารถในการถายทอด/บรรยาย มคี า เฉลีย่ 4.51 รองลงมา เทคนคิ และวิธกี ารท่ใี ชในการถายทอดความรู มีคาเฉล่ีย 4.45 และประเด็น ที่มีคา เฉล่ยี ต่ำสุด คือ การเปด โอกาสใหผูเขา อบรมซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ มคี า เฉลย่ี 4.35 3. ส่งิ ทท่ี านประทับใจในวิทยากรทานน้ี คือ - สามารถถายทอดความรไู ดดี เน้ือหาชดั เจน เขา ใจงา ย - มอี ัธยาศัยดี มคี วามเปนกนั เอง - มีความรูความเชยี่ วชาญในเนอ้ื หาวิชาไดดี - ไดร ับความรูใหม ๆ เพิม่ ข้นึ 4. สงิ่ ท่วี ิทยากรควรปรับปรุง คอื - ไมม ี
87 5. ขอ เสนอแนะเพ่มิ เติมอ่ืน ๆ - ไมมี ตารางท่ี 7 วิชาหลักกสกิ รรมธรรมชาติ ประเด็น มากที่สุด ระดับความคดิ เห็น นอยทส่ี ดุ คา เฉลย่ี ระดบั 1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนอื้ หา มาก ปานกลาง นอ ย (������̅) ความคดิ เหน็ วิชาการ - 1. การบรรลวุ ัตถุประสงคของวชิ า 59 45 3 - 1 4.52 มากทส่ี ุด (0.90%) 2. ความชัดเจนของเนอื้ หาวิชา (55.10%) (42.10%) (2.80%) - 4.49 มาก 4.43 มาก 3. ความรู ทักษะ ท่ไี ดร บั เพิ่มเตมิ จาก 60 42 3 1 - วชิ าน้ี (56.10%) (39.30%) (2.80%) (0.90%) 4.42 มาก - 4. ความสามารถนำไปประยุกตใ ช 52 51 3 1 - 4.47 มาก (48.60%) (47.70%) (2.80%) (0.90%) - 4.56 มากทสี่ ุด 2. ความพงึ พอใจตอ วทิ ยากร - 4.50 มาก 1. ความรู ความสามารถในการ 54 44 9 - - 4.44 มาก ถายทอด/บรรยาย 2. เทคนิคและวธิ ีการที่ใชในการ (50.50%) (41.10%) (8.40%) 4.47 มาก ถายทอดความรู 4.43 มาก ภาพรวม 4.48 มาก 3. การเปด โอกาสใหผูเขาอบรม 4.48 มาก ซักถาม แสดงความคดิ เหน็ 61 45 1 - (57.00%) (42.10%) (0.90%) - 4. การสรา งบรรยากาศในการเรยี นรู - 5. บุคลิกภาพ (การแตง กาย ทาทาง 54 52 1 น้ำเสียง) (50.50%) (48.60%) (0.90%) - - 54 46 7 (50.50%) (43.00%) (6.50%) 56 45 6 (52.30%) (42.10%) (5.60%) 54 45 8 (50.50%) (42.10%) (7.50%) ภาพรวม ภาพรวมรายวิชา จากตารางที่ 7 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชา หลักกสิกรรมธรรมชาติ ผลการประเมิน ภาพรวมรายวิชา มีคาเฉล่ยี 4.48 อยูในระดบั มาก แบง การประเมนิ ผล ดังน้ี ตอนที่ 1 ความคดิ เห็นเก่ียวกับเนื้อหาวชิ าการ ในภาพรวม มีคาเฉลยี่ 4.47 อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การบรรลุวัตถุประสงคของวิชา มีคาเฉล่ีย 4.52 รองลงมา ความชัดเจนของเนื้อหาวิชา มีคาเฉลี่ย 4.49 และประเด็นที่มีคาเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความสามารถนำไปประยุกตใ ช มคี า เฉล่ีย 4.42
88 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.53 อยูในระดับมากที่สุด เมอื่ พิจารณาเปนรายดาน ประเดน็ ทมี่ คี าเฉลี่ยสงู สุด คือ ความรู ความสามารถในการถายทอด/บรรยาย มีคา เฉล่ยี 4.56 รองลงมา เทคนคิ และวธิ กี ารท่ีใชใ นการถายทอดความรู มคี า เฉลี่ย 4.50 และประเด็น ทม่ี คี า เฉล่ยี ต่ำสุด คือ บคุ ลิกภาพ มคี าเฉลย่ี 4.43 3. สิง่ ทีท่ านประทับใจในวิทยากรทานน้ี คือ - สอนดี อธิบายเขาใจงา ย เขาถงึ ผฟู ง - วิทยากรมคี วามเปนกนั เอง ใจดี - เนือ้ หาแนน ไดค วามรู สามารถนำไปใชป ระโยชนไ ดจ รงิ - วิทยากรมีประสบการณจ ริง ชดั เจน กระจางในการใหค วามรู 4. สิง่ ทีว่ ทิ ยากรควรปรบั ปรงุ คอื - ไมม ี 5. ขอ เสนอแนะเพ่ิมเติมอ่ืน ๆ - ไมมี ตารางที่ 8 วิชา ฝกปฏบิ ัติฐานการเรียนรู ประเดน็ มากที่สดุ ระดับความคิดเหน็ คาเฉล่ีย ระดบั 1. ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเนอ้ื หา มาก ปานกลาง นอย นอยทส่ี ดุ (������̅) ความคิดเห็น วิชาการ 1. การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคของวิชา 70 37 - - - 4.65 มากทีส่ ุด (65.40%) (34.60%) 4.57 มากทส่ี ุด 2. ความชัดเจนของเนอ้ื หาวิชา 4.49 มาก 68 35 2 1 1 3. ความรู ทักษะ ทีไ่ ดร ับเพ่ิมเตมิ จาก (63.60%) (32.70%) (1.90%) (0.90%) (0.90%) 4.42 มาก วิชานี้ 4. ความสามารถนำไปประยุกตใช 58 44 4 1 - 4.53 มากทส่ี ุด (54.20%) (41.10%) (3.70%) (0.90%) 59 39 6 1 2 (55.10%) (36.40%) (5.60%) (0.90%) (1.90%) ภาพรวม
89 ตารางท่ี 8 วิชา ฝก ปฏิบัตฐิ านการเรียนรู (ตอ ) ประเดน็ มากท่ีสดุ ระดับความคิดเห็น นอ ย คา เฉลีย่ ระดบั มาก ปานกลาง นอย ทส่ี ุด (������̅) ความคดิ เหน็ 2. ความพงึ พอใจตอ วทิ ยากร 1. ความรู ความสามารถในการ 72 32 2 1 - 4.63 มากที่สุด ถายทอด/บรรยาย (67.30%) (29.90%) (1.90%) (0.90%) 2. เทคนิคและวธิ ีการที่ใชใ นการ 65 37 4 1 - 4.55 มากทส่ี ุด ถายทอดความรู (60.70%) (34.60%) (3.70%) (0.90%) - 4.50 มาก 3. การเปด โอกาสใหผ เู ขา อบรม 59 43 4 1 ซักถาม แสดงความคิดเห็น (55.10%) (40.20%) (3.70%) (0.90%) 64 39 2 2 - 4.54 มากท่สี ุด 4.การสรางบรรยากาศในการเรยี นรู (59.80%) (36.40%) (1.90%) (1.90%) 5. บุคลิกภาพ (การแตง กาย ทาทาง 63 37 6 1 - 4.51 มากท่สี ุด นำ้ เสียง) (58.90%) (34.60%) (5.60%) (0.90%) ภาพรวม 4.55 มากทส่ี ุด ภาพรวมรายวิชา 4.54 มากทส่ี ุด จากตารางที่ 8 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชา ฝกปฏิบัติฐานการเรียนรู ผลการประเมิน ภาพรวมรายวิชา มคี าเฉลีย่ 4.54 อยูในระดบั มากทส่ี ุด แบงการประเมนิ ผล ดังน้ี ตอนที่ 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.53 อยูในระดับ มากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การบรรลุวัตถุประสงคของวิชา มีคาเฉลีย่ 4.65 รองลงมา ความชดั เจนของเน้อื หาวิชา มคี าเฉลย่ี 4.57 และประเด็นท่ีมีคาเฉล่ียต่ำสุด คือ ความสามารถนำไปประยุกตใช มคี า เฉล่ีย 4.42 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.55 อยูในระดับมากที่สุด เมอ่ื พจิ ารณาเปนรายดาน ประเดน็ ทมี่ คี า เฉลยี่ สงู สดุ คอื ความรู ความสามารถในการถา ยทอด/บรรยาย มคี า เฉลีย่ 4.63 รองลงมา เทคนคิ และวธิ กี ารทีใ่ ชในการถายทอดความรู มคี า เฉลี่ย 4.55 และประเด็น ท่มี ีคา เฉล่ยี ต่ำสุด คอื การเปด โอกาสใหผูเขา อบรมซกั ถาม แสดงความคดิ เหน็ มคี า เฉลี่ย 4.50 3. สงิ่ ที่ทานประทับใจในวิทยากรทา นน้ี คือ - วทิ ยากรแตละฐานอธบิ ายเขา ใจงา ย - ไดความรดู มี าก ไดร ับความรูแ นน มาก - วทิ ยากรแตละฐานมคี วามรูแ นน เน้ือหาชัดเจน - สอนเทคนิค ความรูท่ีเปนประโยชนนำกลบั ไปใชไดจรงิ - เปน กระบวนการเรียนรูท สี่ นุกและไดความรู - เปน ความรทู ี่สามารถนำไปใชและเผยแพรได
90 4. สิง่ ท่ีวิทยากรควรปรับปรงุ คือ - ไมม ี 5. ขอ เสนอแนะเพ่ิมเติมอืน่ ๆ - ไมมี ตารางท่ี 9 วชิ าถอดบทเรียนผา นสอ่ื ตอน “วิถีภูมปิ ญญาไทยกับการพ่งึ ตนเองในภาวะวกิ ฤต”ิ ประเด็น ระดบั ความคิดเห็น คา เฉลี่ย ระดับ 1. ความคิดเหน็ เกย่ี วกับเน้ือหา มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ ย นอยท่สี ดุ (������̅) ความคิดเห็น วิชาการ 1. การบรรลุวัตถปุ ระสงคข องวิชา 80 25 - 2 - 4.69 มากทส่ี ุด (74.80%) (23.40%) (1.90%) 2. ความชัดเจนของเนือ้ หาวิชา 74 31 - 2 - 4.64 มากท่ีสุด (69.20%) (29.00%) (1.90%) - 4.63 มากทส่ี ุด 3. ความรู ทักษะ ท่ไี ดรบั เพิ่มเตมิ จาก 3 วชิ าน้ี 76 26 (2.80%) 2 (71.00%) (24.30%) (1.90%) 4. ความสามารถนำไปประยกุ ตใช 73 28 4 2 - 4.59 มากท่สี ุด (68.20%) (26.20%) (3.70%) (1.90%) ภาพรวม 4.64 มากทส่ี ุด มากทส่ี ุด 2. ความพงึ พอใจตอวทิ ยากร 76 27 2 - 2 4.64 มากท่สี ุด 1. ความรู ความสามารถในการ (71.00%) (25.20%) (1.90%) (1.90%) 4.65 มากท่สี ุด ถายทอด/บรรยาย - 4.61 2. เทคนิคและวธิ กี ารทใ่ี ชใ นการ 78 25 2 2 มากทีส่ ุด ถายทอดความรู (72.90%) (23.40%) (1.90%) - (1.90%) 4.62 มากทส่ี ุด 4.64 มากทส่ี ุด 3. การเปด โอกาสใหผูเขา อบรม 74 28 3 2 2 4.63 มากท่ีสุด ซักถาม แสดงความคิดเห็น (69.20%) (26.20%) (2.80%) (1.90%) (1.90%) 4.64 4.การสรางบรรยากาศในการเรียนรู 77 23 5 2 - (72.00%) (21.50%) (4.70%) (1.90%) 5. บุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง - นำ้ เสยี ง) 77 25 3 (72.00%) (23.40%) (2.80%) ภาพรวม ภาพรวมรายวชิ า
91 จากตารางที่ 9 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชา ถอดบทเรียนผานสื่อตอน “วิถีภูมปิ ญญาไทย กับการพึ่งตนเองในภาวะวิกฤติ” ผลการประเมิน ภาพรวมรายวิชา มีคาเฉล่ีย 4.64 อยูใ นระดับมากที่สุด แบง การประเมนิ ผล ดังนี้ ตอนที่ 1 ความคิดเห็นเกี่ยวกบั เนือ้ หาวชิ าการ ในภาพรวม มคี าเฉล่ีย 4.64 อยูในระดับมากท่ีสดุ เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การบรรลุวัตถุประสงคของวิชา มีคาเฉลี่ย 4.69 รองลงมา ความชดั เจนของเนื้อหาวิชา มีคาเฉลี่ย 4.64 และประเด็นที่มีคาเฉลีย่ ต่ำสุด คอื ความสามารถ นำไปประยุกตใช มีคาเฉล่ีย 4.59 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.63 อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เทคนิคและวิธีการที่ใชในการถายทอดความรู มีคาเฉลี่ย 4.65 รองลงมา ความรู ความสามารถในการถายทอด/บรรยาย และ บุคลิกภาพ มีคาเฉลย่ี 4.64 และประเด็นที่มีคาเฉลี่ยต่ำสุด คือ การเปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม แสดงความคิดเห็น มีคา เฉล่ยี 4.61 3. สงิ่ ท่ที านประทับใจในวิทยากรทานนี้ คือ - มคี วามเปนกนั เอง - ความรูแนน เน้ือหาชดั เจน และอธิบายไดเขาใจงา ย - ไดร บั ความรใู หม ๆ สามารถนำความรไู ปปรบั ใชไดจริงในชีวิตประจำวันและอนาคต 4. ส่งิ ทว่ี ิทยากรควรปรับปรุง คือ - ไมมี 5. ขอเสนอแนะเพิ่มเติมอนื่ ๆ - ไมมี
92 ตารางท่ี 10 วิชาเรยี นรผู า นส่ือ การออกแบบเชิงภมู ิสังคมไทย ประเดน็ มากท่ีสุด ระดับความคิดเห็น คา เฉลย่ี ระดบั 1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับเน้อื หา มาก ปานกลาง นอย นอยท่สี ดุ (������̅) ความคิดเหน็ วิชาการ 1. การบรรลวุ ัตถุประสงคข องวิชา 80 25 - - 2 4.89 มากท่สี ุด (74.80%) (23.40%) - (1.90%) 4.79 2. ความชัดเจนของเนอ้ื หาวิชา - 4.91 มากทส่ี ุด 74 31 2 - 2 4.67 มากท่สี ุด 3. ความรู ทักษะ ทไี่ ดรับเพิ่มเตมิ จาก (69.20%) (29.00%) (1.90%) (1.90%) 4.82 วชิ านี้ - มากทส่ี ุด 76 26 3 - 2 4. ความสามารถนำไปประยกุ ตใ ช (71.00%) (24.30%) (2.80%) - (1.90%) มากทส่ี ุด มากทส่ี ุด 2. ความพึงพอใจตอ วทิ ยากร 73 28 4 - 2 มากท่สี ุด 1. ความรู ความสามารถในการ (1.90%) มากท่สี ุด ถายทอด/บรรยาย (68.20%) (26.20%) (3.70%) - 2. เทคนิคและวิธกี ารทใ่ี ชในการ มากทส่ี ุด ถายทอดความรู ภาพรวม มากท่สี ุด มากทส่ี ุด 3. การเปด โอกาสใหผ ูเขาอบรม 76 27 2 2 4.88 มากท่ีสุด ซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ (71.00%) (25.20%) (1.90%) (1.90%) 4.89 4.90 4. การสรา งบรรยากาศในการเรียนรู 78 25 2 2 5. บุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง (72.90%) (23.40%) (1.90%) (1.90%) 4.75 น้ำเสียง) 4.90 74 28 3 2 4.86 (69.20%) (26.20%) (2.80%) (1.90%) 4.84 77 23 5 2 (72.00%) (21.50%) (4.70%) (1.90%) 77 25 3 2 (72.00%) (23.40%) (2.80%) (1.90%) ภาพรวม ภาพรวมรายวิชา จากตารางที่ 10 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชา ถอดบทเรียนผานสื่อตอน “วิถีภูมิปญญาไทย กับการพึ่งตนเองในภาวะวิกฤติ” ผลการประเมิน ภาพรวมรายวิชา มีคา เฉลี่ย 4.84 อยูใ นระดับมากที่สุด แบง การประเมนิ ผล ดังนี้ ตอนที่ 1 ความคิดเหน็ เก่ียวกับเน้ือหาวิชาการ ในภาพรวม มีคา เฉล่ยี 4.82 อยูใ นระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ความรู ทักษะ ที่ไดรับเพิ่มเติมจากวิชานี้ มีคาเฉลี่ย 4.91 รองลงมา การบรรลุวัตถุประสงคของวิชา มีคาเฉลี่ย 4.89 และประเด็นที่มี คาเฉล่ียต่ำสดุ คอื ความสามารถนำไปประยุกตใช มีคาเฉลี่ย 4.67
93 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตอวิทยากร ในภาพรวม มีคาเฉลี่ย 4.86 อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเปนรายดาน ประเด็นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การเปดโอกาสใหผูเขาอบรมซักถาม แสดงความคิดเห็น และบคุ ลิกภาพ มคี าเฉล่ยี 4.90 รองลงมา เทคนคิ และวิธีการท่ีใชในการถายทอดความรู มคี า เฉลย่ี 4.89 และประเด็นทม่ี ีคา เฉล่ียตำ่ สุด คอื การสรางบรรยากาศในการเรยี นรู มีคา เฉลย่ี 4.75 3. สิง่ ที่ทานประทับใจในวิทยากรทา นน้ี คอื - ใหความรทู ชี่ ดั เจน - ส่อื วดี ที ศั นทีน่ ำมาถายทอดดมี าก - เนือ้ หาเขาใจงา ย - ใหคำแนะนำทดี่ ชี วยทำใหไดร ับความรูม าก - ไดค วามรูเ ร่อื งการออกแบบพืน้ ท่ที ถ่ี ูกตอ ง ดมี าก 4. ส่ิงท่ีวทิ ยากรควรปรับปรุง คอื - ไมม ี 5. ขอเสนอแนะเพ่ิมเติมอนื่ ๆ - ไมม ี ตารางท่ี 11 วชิ า การออกแบบเชิงภมู ิสังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมสิ ังคมอยางย่งั ยืนฯ ประเดน็ มากที่สุด ระดับความคดิ เห็น นอย คาเฉลี่ย ระดับ มาก ปานกลาง นอ ย ทส่ี ดุ (������̅) ความคดิ เหน็ 1. ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเนอื้ หา วิชาการ 88 18 1 - - 4.81 มากที่สุด 1. การบรรลุวัตถปุ ระสงคข องวิชา (82.20%) (16.80%) (0.90%) 2. ความชัดเจนของเนื้อหาวิชา 86 21 - - - 4.80 มากท่สี ุด (80.40%) (19.60%) - - 4.76 มากท่สี ุด 3. ความรู ทกั ษะ ท่ไี ดร บั เพิ่มเตมิ จาก 2 วชิ าน้ี 83 22 (1.90%) (77.60%) (20.60%) 4. ความสามารถนำไปประยุกตใ ช 84 23 - - - 4.79 มากทส่ี ุด (78.50%) (21.50%) ภาพรวม 4.79 มากทส่ี ุด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138