Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิทรรศการพลังงาน-พลังงานทดแทน

นิทรรศการพลังงาน-พลังงานทดแทน

Published by 945sce00458, 2020-04-30 02:49:29

Description: ในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกพยายามศึกษาและค้นหาพลังงานทดแทนในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ และมีประสิทธิภาพดียิ่งกว่าพลังงานแบบเดิม เพื่อช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ลดปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อมของโลก รวมทั้งช่วยประหยัดพลังงาน ดังนั้นพลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือก จึงเป็นพลังงานที่สามารถนำมาใช้ทดแทนพลังงานแบบเดิมได้อย่างไม่จำกัด ทั้งยังหาได้จากธรรมชาติและสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เพื่อช่วยลดปัญหาการขาดแคลนพลังงาน รวมทั้งลดมลพิษอีกด้วย

Search

Read the Text Version

นทิ รรศการพลังงาน (พลงั งานทดแทน) ENERGY EXHIBITION (ALTERNATIVE ENERGY) ศนู ย์วิทยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมเพอื่ การศึกษาร้อยเอ็ด สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

บทนา หลักการและเหตุผล ในปัจจุบันหลายประเทศทั่วโลกพยายามศึกษาและค้นหาพลังงานทดแทนในรูปแบบต่างๆ อย่าง ต่อเน่ือง เพื่อให้สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ และมีประสิทธิภาพดียิ่งกว่าพลังงานแบบเดิม เพ่ือช่วยประหยัด ค่าใช้จ่าย ลดปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อมของโลก รวมท้ังช่วยประหยัดพลังงาน ดังน้ันพลังงานทดแทนหรือ พลังงานทางเลือก จึงเป็นพลังงานท่ีสามารถนามาใช้ทดแทนพลังงานแบบเดิมได้อย่างไม่จากัด ทั้งยังหาได้จาก ธรรมชาตแิ ละสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ เพ่ือชว่ ยลดปัญหาการขาดแคลนพลงั งาน รวมท้งั ลดมลพิษอีกดว้ ย จึงได้มีการศึกษา ค้นคว้า ทดสอบ พัฒนา และสาธิต พลังงานทดแทนในรูปแบบต่างๆ ตลอดจน ส่งเสริมและเผยแพร่ข้อมูลที่หลากหลายนามาใช้ในการพัฒนาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ทาให้มีความรู้ความ เข้าใจท่ถี กู ต้องเกีย่ วกับการนาพลังงานทดแทนมาใช้ประโยชน์อย่างแพร่หลาย การดูแลรักษา และที่สาคัญอย่าง ย่ิงคือ นาความรู้ไปใชใ้ ห้มคี วามเหมาะสมทง้ั ทางด้านเทคนิค เศรษฐกิจ และสงั คม นิทรรศการพลังงานทดแทน เป็นนทิ รรศการท่ีใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั พลงั งานทางเลอื ก ดังเช่น พลังงานน้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนได้พิภพ พลังงานชีวมวล ดังนั้นศูนย์ วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอ็ด จึงจัดแสดงนิทรรศการพลังงานทดแทนเพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุน การเรียนรู้เรื่องพลังงานทดแทน สาหรับเด็ก เยาวชน นักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนท่ัวไป เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ทดลอง เรียนรู้ด้วยตนเอง ถือเป็นอีกแนวทางหน่ึงท่ีช่วยเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ประสบการณ์ และกระตุ้นความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ให้เกิดแนวทางด้านการพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อสนองต่อ ความต้องการของเดก็ เยาวชน นกั เรยี น นิสติ นักศกึ ษาและประชาชนทัว่ ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ พน้ื ท่จี ดั นทิ รรศการ พน้ื ท่ีอาคารจดั แสดงนิทรรศการพลังงาน ณ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมเพื่อการศึกษาร้อยเอด็ ข้อมูลนิทรรศการพลังงาน(พลังงานทดแทน) นิทรรศการพลังงาน(พลังงานทดแทน) ประกอบดว้ ย 9 โซน ดงั นี้ 1. อาคารจัดแสดงนิทรรศการพลงั งาน 2. อาคารสาธติ พลังงานทดแทน 3. น้าตกจาลองพลังงานน้า 4. ป๊ัมนา้ พลงั งานแสงอาทติ ย์ 5. ไฟถนนโซลา่ เซลล์ 6. ไฟสนามโซล่ ่าเซลล์ 7. ต้นไมพ้ ลังงานแสงอาทิตย์ 8. ชนิดของแสงโซลา่ เซลล์ 9. กังหันลมพลงั งานลม การเปิด/ ปดิ นิทรรศการและอุปกรณ์ 1. การเปดิ -ปิดระบบควบคุมนิทรรศการทั้งหมด ให้ตรวจสอบระบบไฟของนิทรรศการพลังงาน ปล๊ักไฟ สวิตซ์ไฟแสงสว่าง และเคร่ืองปรับอากาศ ทกุ ครัง้ เมอ่ื เปดิ หรือปิดนทิ รรศการ

1. อาคารจัดแสดงนิทรรศการพลงั งาน อาคารจดั แสดงนิทรรศการหลัก เป็นอาคารผลิตไฟฟ้าด้วยโซล่าเซลลแ์ บบออฟกริด มกี ารเกบ็ พลงั งานไฟฟา้ ไวใ้ นระบบ ESS (Energy System Storage)

พลังงานชวี มวล เชื้อเพลงิ ที่มาจากชีวะ หรือสง่ิ มีชีวิตเช่น ไม้ฟนื แกลบ กากออ้ ย เศษไม้เศษหญา้ เศษเหลอื ท้ิงจาก การเกษตร เหล่านี้ใช้ เผาให้ความรอ้ นได้และนาความรอ้ นนี้ไปป่ันไฟฟ้า นอกจากนย้ี งั รวมถึงมูลสัตวแ์ ละของ เสียจากโรงงานแปรรปู ทางการเกษตร เชน่ เปลอื กสบั ปะรดจากโรงงานสบั ปะรดกระป๋อง หรือนา้ เสียจาก โรงงานแป้งมัน ทน่ี ามาหมักและผลิตเปน็ ก๊าซชวี ภาพ เนือ่ งจาก ประเทศไทยเปน็ ประเทศเกษตรกรรม จึงมวี สั ดุ เหลอื ใช้จาก การเกษตร เช่น แกลบ ขีเ้ ลือ่ ย ชานออ้ ย กากมะพร้าว จานวนมาก พลังงานความร้อนใต้พภิ พ เปน็ พลังงานตามธรรมชาติทเี่ กดิ และเกบ็ สะสมตัวอยภู่ าย ใตผ้ ิวโลก เช่นเดยี วกบั นา้ มันดิบปิโตรเลียม หากแต่แหลง่ พลังงาน เหลา่ นเ้ี ก็บอยู่ในรูปของน้าร้อนหรือไอนา้ ร้อนลักษณะท่ีปรากฏออก มาให้เห็นบนผวิ โลก ได้แก่ บ่อโคลนเดือด พุก๊าซ บ่อน้าร้อน และ น้าพรุ อ้ น ในประเทศไทยมปี รากฏการณ์ตามธรรมชาติในลกั ษณะ นา้ พรุ อ้ นกวา่ 60 แหง่ ตามแนวเหนือ-ใต้แถบชายแดนตะวนั ตกของ ประเทศไทย (แนวเทือกเขาตะนาวศร)ี นา้ รอ้ นทถ่ี ูกนาไปใช้ในการ ผลติ ไฟฟ้าแลว้ นั้น แม้อุณหภมู ิจะลดลงบา้ ง แตก่ ย็ ังสามารถนาไป ประยกุ ตใ์ ช้ในการ อบแห้ง และใชใ้ นหอ้ งเย็นสาหรับเก็บรกั ษาพืช ผลทางการเกษตรได้

นอกจากนั้น นา้ ทีเ่ หลอื ใชแ้ ล้วยงั สามารถนา ไปใช้ในกิจการเพอ่ื กายภาพบาบดั และการท่องเทีย่ วได้ อกี ท้ายทสี่ ุด คอื น้าทง้ั หมดซ่ึงยงั มีสภาพเปน็ น้าอ่นุ อยู่เล็กน้อย จะถูกปลอ่ ยลง ไปผสมกับนา้ ตามธรรมชาตใิ นลา นา้ ซงึ่ นับเป็นการเพิ่มปริมาณนา้ ให้กบั เกษตรกรในฤดแู ลง้ ไดอ้ ีกทางหนง่ึ ด้วย พนื้ ผวิ โลกถงึ รอ้ ยละ 70 ถูกปกคลุมดว้ ยนา้ ซ่ึงมีความ สาคญั ยิ่งต่อส่ิงมชี ีวิตทั้งหลาย นา้ มีการเปลยี่ นสถานะ และ หมนุ เวียนอยู่ตลอดเวลาระหว่างผวิ โลกและบรรยากาศอยา่ งต่อ เน่ืองซึง่ เรยี กว่า วัฏจกั รของนา้ นา้ ท่ีกาลัง เคล่อื นท่ีมีพลังงานสะสม อยู่มาก และมนุษย์รจู้ กั นาพลังงานน้ีมาใช้หลายรอ้ ยปแี ล้ว เชน่ ใช้ หมนุ กงั หันนา้ ปัจจุบันมีการนาพลังงานนา้ ไปหมนุ กังหนั ของเครอ่ื ง กาเนิดไฟฟา้ ในโรงไฟฟา้ พลังน้าเพื่อผลิตไฟฟ้า พลังงานจากขยะ พลงั งานจากขยะจากบา้ นเรือนและกิจการตา่ งๆ เปน็ แหลง่ พลงั งานที่มศี กั ยภาพสงู ขยะเหลา่ นส้ี ว่ น ใหญเ่ ป็นมวลชีวภาพเชน่ กระดาษ เศษอาหาร และไม้ซง่ึ สามารถใช้เป็นเชือ้ เพลิงในโรง ไฟฟา้ ที่ถูกออกแบบให้ ใช้ขยะเป็นเช้ือเพลงิ ไดท้ ่เี มืองบัลโมประเทศ สวีเดนไฟฟ้าทใี่ ช้ประมาณร้อยละ20มาจากการเผาขยะ โรงไฟฟ้า ทีใ่ ชข้ ยะเป็นเชื้อเพลิง จะนาขยะมาเผาบนตะแกรง ความร้อนที่ เกดิ ขน้ึ ใช้ตม้ น้าในหม้อน้าจนกลายเป็นไอน้า เดือด ซง่ึ จะไปหมุน กงั หันของเครอ่ื งกาเนดิ ไฟฟ้า

2. อาคารสาธติ พลงั งานทดแทน เป็นอาคารสาธิตพลังงาน ผลิตไฟฟ้าด้วยโซล่าเซลล์แบบออฟกริด มีการเก็บพลังงาน ไฟฟ้าไว้ในระบบ ESS (Energy System Storage) 3. นา้ ตกจาลองพลงั งานนา้ น้าท่ไี หลลงมาจากน้าตกจะถูกสูบด้วยปัม๊ นา้ ภายในนา้ ตกจาลอง และปล่อยลงมาด้านหน้า นา้ ตก และไหลออกทางดา้ นข้างจากทสี่ ูงลงสทู่ ่ีต่าเพื่อเพ่ิมแรงดันให้กบั นา้ และทาให้กงั หันหมนุ เนื่องจากใบพัดกงั หันนา้ ไดต้ ่อเข้ากับเครอื่ งกาเนิดไฟฟา้ เม่ือใบกังหนั นา้ หมนุ กจ็ ะทาใหแ้ กนของเคร่ือง กาเนดิ ไฟฟ้าหมนุ ดว้ ย และผลิตไฟฟา้ ออกมา ไฟฟา้ ท่ีได้นาไปต่อเข้ากบั ไฟส่องสว่างโดยมีเสาสูง 4 เมตร เพ่ือให้เห็นภาพของขน้ั ตอนการผลิตไฟฟา้ ได้อยา่ งสมบูรณ์

4. ปมั๊ น้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบสูบนา้ พลังงานแสงอาทติ ย์ เป็นระบบแบบอิสระ (PV Stand Alone System) อีกรปู แบบหน่งึ ทอี่ อกแบบมาใหเ้ หมาะสมกับ การใช้งานเพ่ือการสูบน้าด้วยพลังงานแสงอาทติ ย์ในพ้ืนท่ีที่กาหนด โดยมกี ารจาลองแหล่งน้าบริเวณด้านล่าง ของถงั สูงรปู โหวด สาหรบั การอุปโภคและบริโภค หรอื เพ่ือการปลูกพชื ผกั สวนครัว ซง่ึ จาลองการใชป้ ระโยชน์ อยา่ งยง่ั ยืน

5. ไฟถนนโซลา่ เซลล์ ระบบผลิตไฟฟ้าแสงสวา่ งเสาไฟสตรีทไลท์ เป็นระบบแบบอิสระ (PV Stand Alone System) อกี รปู แบบหน่ึงทอ่ี อกแบบใหส้ ามารถรองรบั การใช้งานดา้ นแสงสวา่ ง ใชใ้ นเวลากลางคืนสาหรบั ถนน ท่ีไม่ไดต้ ่อ ระบบไฟฟ้าจากระบบจาหนา่ ยไฟฟา้ ของการไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค 6. ไฟสนามโซล่ ่าเซลล์ ระบบผลิตไฟฟ้าแสงสว่างเสาไฟสตรีทไลท์ เป็นระบบแบบอิสระ (PV Stand Alone System) อกี รปู แบบหนึง่ ทอ่ี อกแบบใหส้ ามารถรองรับการใช้งานด้านแสงสว่าง ใช้ในเวลากลางคืนสาหรับถนน ท่ไี มไ่ ด้ตอ่ ระบบไฟฟา้ จากระบบจาหน่ายไฟฟา้ ของการไฟฟา้ สว่ นภูมิภาค

7. ต้นไมพ้ ลังงานแสงอาทติ ย์ ขนั้ ตอนการใช้งานระบบผลิตไฟฟ้าแสงสวา่ งรูปทรงต้นไม้ (Solar Tree) 1. ตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์ ซึ่งระบบจะทางานโดยอตั โนมตั ิ 2. แผงโซล่าเซลล์ถกู ติดตั้งไว้ในสว่ นทเ่ี ป็นใบของตน้ ไม้ แผงโซลา่ เซลลจ์ ะทาหน้าทเี่ ปล่ียนพลงั งาน แสงอาทติ ย์เปน็ พลงั งานไฟฟ้ากระแสตรงมาเกบ็ ไวท้ แ่ี บตเตอรี่ โดยผา่ นเคร่ืองควบคุมประจุ 3. กระแสไฟท่ีออกจากเครอ่ื งควบคุมประจจุ ะถูกนามาใช้งาน 2 สว่ น คอื ส่วนทห่ี นง่ึ นาไปใชส้ าหรับ ชารจ์ แบตโทรศพั ท์ ผ่านช่อง USB สว่ นทส่ี อง นาไปใชก้ บั หลอดไฟสอ่ งสว่างในเวลากลางคนื โดยผ่านเครอ่ื ง ควบคมุ ประจุเป็นตัว เปิด – ปิด เม่ือไม่มีแสงสวา่ งจากดวงอาทติ ย์ ตน้ ไม้เสมือนจริง (Solar Tree) ตดิ ตั้งระบบไฟฟา้ ดว้ ยเซลล์แสงอาทติ ย์ ออกแบบเปน็ รูปทรงตน้ ไม้ เสมือนจรงิ (Solar Tree) จานวน 3 ตน้ ความสงู ประมาณ 3 – 6 เมตร มที ่พี ักผอ่ นโดนรอบ ไฟฟ้าทีผ่ ลติ ไดจ้ าก Solar Tree สามารถชาร์จโทรศพั ท์มอื ถอื ผา่ น Port USB ได้ ไมน่ ้อยกวา่ จานวน 50 จุด พรอ้ มไฟสวา่ งในตอน กลางคืนเพ่ือความสวยงาน

8. ชนดิ ของแผงโซล่าเซลล์ ชนดิ ของเซลลแ์ สงอาทิตย์ หรอื โซลา่ เซลล์ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด 1. เซลลแ์ สงอาทิตย์ที่ทาจากซิลิคอน ชนิดผลึกเดี่ยว (Single Crystalline Silicon Solar Cell) หรอื ทร่ี จู้ ัก กันในช่ือ Monocrystalline Silicon Solar Cell และชนิดผลกึ รวม (Polycrystalline Silicon Solar Cell) ลกั ษณะเปน็ แผ่นซิลิคอนแขง็ และบางมาก เซลล์แสงอาทติ ย์ชนิดผลกึ ซิลคิ อน Crystalline Silicon (c-Si) ผลติ จากแทง่ ผลกึ ซิลคิ อน ที่เกิดจากการหลอมละลายซลิ ิคอนบริสทุ ธ์ิ ทีอ่ ณุ หภูมิสูงถึง 1,500 องศาเซลเซียส ผา่ น กระบวนการตกผลึกอยา่ งช้า ๆ และนามาตัดเป็นแผน่ บางๆ เรยี กวา่ เวเฟอร์ โดยมีประสิทธิภาพในการแปลง พลงั งานประมาณร้อยละ 13-15 โดยที่ตน้ ทุนในการผลิตแผงเซลลช์ นดิ นีค้ อ่ นขา้ งสูง Single Crystalline Silicon Solar Cell 2. เซลล์แสงอาทิตย์ที่ทาจากอะมอร์ฟสั ซิลคิ อน (Amorphous Silicon Solar Cell) เซลลแ์ สงอาทติ ยช์ นิดอะ มอรฟ์ สั ซิลิคอน Amorphous Silicon (a-Si) เปน็ การผลติ เซลล์แสงอาทิตย์อกี ชนดิ หนงึ่ โดยใช้สารซิลิคอน สาร โบรอน และสารฟอสฟอรสั ที่อยใู่ นรปู ก๊าซท้งั หมด นามาเคลอื บเปน็ ฟลิ ์มบาง (Thin film) ลงบนแผ่นแก้ว แผน่

พลาสติก หรือแผ่นโลหะ มปี ระสทิ ธิภาพในการเปล่ียนรปู พลังงานตา่ กวา่ ชนดิ ผลึกซลิ คิ อน แตป่ จั จบุ ันได้มีการ นาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการผลติ ทาให้สามารถลดต้นทนุ การผลติ ลง และเพ่มิ ประสิทธภิ าพสูงข้ึน ซึง่ ให้ ประสิทธภิ าพสูงประมาณร้อยละ 6-8 Amorphous Silicon Solar Ce 3. เซลลแ์ สงอาทิตย์ท่ีทาจากสารกงึ่ ตวั นาอ่ืนๆ เซลล์แสงอาทิตย์ชนดิ สารประกอบของคอปเปอร์อินเดียมได เซเลไนด์ (Copper Indium (Gallium) Di-Selenide) เปน็ เซลล์แสงอาทิตย์ใช้สารผสมของ Copper Indium Gallium และ Selenium โดยมีท้ังท่ใี ช้ Cadmium Sulphide และไม่ใช้ Cadmium Sulphide เป็นบฟั เฟอร์ ในเซลล์แสงอาทติ ย์ มที ้งั ชนดิ ผลึกเด่ยี ว (Single Crystalline) และผลกึ รวม (Polycrystalline) เซลล์ แสงอาทติ ย์ชนิดนี้มีประสิทธภิ าพสูงใกล้เคยี งกบั ชนดิ ผลกึ ซิลคิ อน อยู่ทีป่ ระมาณ 9-13 (Copper Indium (Gallium) Di-Selenide)

9. กงั หันลมพลงั งานลม พลังงานลม เปน็ พลงั งานธรรมชาตทิ ่สี ะอาดและบริสุทธ์ิ ใช้แล้วไมม่ วี ันหมดส้นิ ไปจากโลก จงึ ทาให้พลังงานลมได้รบั ความสนใจในการศกึ ษาและพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชน์กนั อย่างกว้างขวาง ใน ขณะเดยี วกนั กังหนั ลม ก็เป็นอุปกรณ์ชนิดหน่งึ ทีสามารถนาพลังงานลมมาใชใ้ หเ้ ป็นประโยชนไ์ ดโ้ ดยเฉพาะใน การผลติ กระแสไฟฟ้าและการสูบน้า ซึ่งมีการใช้งานกนั มาแล้วอยา่ งแพรห่ ลายในอดตี ท่ีผา่ นมา กังหันลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เป็นกังหนั ลมที่มีแกนหมนุ ขนานกบั ทิศทางของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตงั้ ฉากรับแรงลม มีอปุ กรณ์ควบคุมกงั หนั ใหห้ นั ไปตามทศิ ทางของกระแสลม เรยี กวา่ หางเสือ และมีอุปกรณป์ ้องกันกงั หันชารดุ เสียหายขณะเกดิ ลมพดั แรง เชน่ ลมพายุและตั้งอยู่บนเสาทีแ่ ข็งแรง กังหนั ลมแบบแกนนอน ได้แก่ กังหนั ลมวินดม์ ลิ ล์ ( Windmills) กงั หนั ลมใบเสื่อลาแพน นยิ มใชก้ ับเครื่องฉดุ น้า กังหันลมแบบกงลอ้ จักรยาน กงั หนั ลมสาหรบั ผลิตไฟฟ้าแบบพร อบเพลเลอร์ (Propeller)

ชิ้นงาน ขอ้ มลู ชิ้นงาน 1. อาคารจัดแสดงนิทรรศการ ขอ้ มูล อาคารจัดแสดงนิทรรศการหลัก เปน็ อาคารผลติ ไฟฟ้าดว้ ยโซลา่ เซลลแ์ บบออฟกริด มีการเกบ็ พลังงานไฟฟ้าไว้ในระบบ ESS (Energy System Storage) 1. อาคารจดั แสดงนิทรรศการ เชอ้ื เพลิงท่ีมาจากชีวะ หรือสง่ิ มีชวี ิตเช่น ไมฟ้ นื แกลบ กาก พลงั งานชีวมวล ออ้ ย เศษไม้เศษหญา้ เศษเหลือทง้ิ จากการเกษตร เหลา่ นใี้ ช้ เผา ให้ความร้อนไดแ้ ละนาความร้อนน้ไี ปปั่นไฟฟ้า นอกจากนีย้ ัง 1. อาคารจัดแสดงนิทรรศการ รวมถึงมลู สตั วแ์ ละของเสียจากโรงงานแปรรูปทางการเกษตร พลงั งานความร้อนใต้พิภพ เชน่ เปลอื กสบั ปะรดจากโรงงานสบั ปะรดกระปอ๋ ง หรอื นา้ เสีย จาก โรงงานแปง้ มัน ที่นามาหมกั และผลติ เปน็ กา๊ ซชวี ภาพ เนื่องจาก ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม จงึ มวี สั ดุเหลือ ใชจ้ าก การเกษตร เชน่ แกลบ ข้เี ลื่อย ชานอ้อย กากมะพร้าว จานวนมาก พลังงานความร้อนใต้พิภพ เปน็ พลงั งานตามธรรมชาติท่ีเกิดและเก็บสะสมตวั อยภู่ าย ใต้ผวิ โลก เชน่ เดียวกับนา้ มนั ดิบปิโตรเลียม หากแต่แหล่งพลังงาน เหลา่ นเี้ ก็บอยใู่ นรูปของน้าร้อนหรอื ไอนา้ ร้อนลักษณะท่ปี รากฏ ออก มาให้เห็นบนผวิ โลก ได้แก่ บอ่ โคลนเดือด พุกา๊ ซ บ่อน้ารอ้ น และ นา้ พรุ ้อน ในประเทศไทยมปี รากฏการณต์ ามธรรมชาตใิ น ลกั ษณะ นา้ พรุ ้อนกวา่ 60 แห่งตามแนวเหนือ-ใต้แถบชายแดน ตะวนั ตกของ ประเทศไทย (แนวเทือกเขาตะนาวศรี) นา้ รอ้ นที่ ถกู นาไปใช้ในการ ผลติ ไฟฟา้ แลว้ นั้น แม้อุณหภูมิจะลดลงบ้าง แตก่ ย็ งั สามารถนาไป ประยกุ ต์ใชใ้ นการอบแหง้ และใช้ในห้อง เยน็ สาหรบั เกบ็ รักษาพืช ผลทางการเกษตรไดน้ อกจากนั้น น้าท่ี เหลือใชแ้ ล้วยงั สามารถนา ไปใชใ้ นกิจการเพอื่ กายภาพบาบัด และการทอ่ งเทีย่ วได้อีกท้ายท่ีสุด คือ น้าทงั้ หมดซ่ึงยังมสี ภาพ เปน็ น้าอนุ่ อยู่เล็กนอ้ ย จะถูกปล่อยลง ไปผสมกบั น้าตาม ธรรมชาติในลานา้ ซ่ึงนับเปน็ การเพิ่มปริมาณน้า ให้กับเกษตรกร ในฤดูแล้งได้อีกทางหนงึ่ ด้วย

1. อาคารจัดแสดงนิทรรศการ พน้ื ผวิ โลกถึงร้อยละ 70 ถกู ปกคลมุ ดว้ ยนา้ ซึ่งมคี วาม สาคัญย่งิ พลังงานไฮโดรเจน ตอ่ สิง่ มชี ีวิตทง้ั หลาย น้ามีการเปลี่ยนสถานะและ หมนุ เวียนอยู่ ตลอดเวลาระหว่างผิวโลกและบรรยากาศอยา่ งต่อ เนอ่ื งซง่ึ 1. อาคารจดั แสดงนิทรรศการ เรียกวา่ วฏั จกั รของนา้ นา้ ทีก่ าลังเคล่ือนที่มพี ลังงานสะสม อยู่ พลังงานจากขยะ มาก และมนษุ ยร์ ู้จักนาพลังงานนีม้ าใช้หลายร้อยปีแลว้ เชน่ ใช้ หมนุ กงั หนั น้าปจั จบุ ันมีการนาพลังงานน้าไปหมนุ กังหนั ของ 2. อาคารสาธติ พลงั งานทดแทน เคร่อื ง กาเนิดไฟฟา้ ในโรงไฟฟ้าพลงั น้าเพอื่ ผลติ ไฟฟ้า พลงั งานจากขยะจากบ้านเรือนและกิจการตา่ งๆ เปน็ แหลง่ พลังงานท่ีมีศกั ยภาพสงู ขยะเหล่าน้สี ่วนใหญเ่ ปน็ มวลชวี ภาพเชน่ กระดาษ เศษอาหาร และไม้ซึ่งสามารถใช้เปน็ เชื้อเพลงิ ในโรง ไฟฟา้ ที่ถกู ออกแบบให้ใชข้ ยะเปน็ เช้ือเพลิงได้ทีเ่ มอื งบัลโม ประเทศ สวีเดนไฟฟ้าท่ีใช้ประมาณร้อยละ20มาจากการเผาขยะ โรงไฟฟ้า ท่ีใชข้ ยะเป็นเชื้อเพลิง จะนาขยะมาเผาบนตะแกรง ความร้อนที่ เกดิ ข้นึ ใชต้ ม้ น้าในหม้อน้าจนกลายเปน็ ไอนา้ เดือด ซ่ึงจะไปหมุน กังหนั ของเครือ่ งกาเนดิ ไฟฟา้ เป็นอาคารสาธิตพลังงาน ผลิตไฟฟ้าด้วยโซลา่ เซลล์แบบออ ฟกรดิ มีการเก็บพลังงานไฟฟ้าไวใ้ นระบบ ESS (Energy System Storage) 3. น้าตกจาลองพลังงานนา้ น้าท่ไี หลลงมาจากนา้ ตกจะถกู สูบดว้ ยป๊ัมน้าภายใน น้าตกจาลอง และปลอ่ ยลงมาดา้ นหนา้ นา้ ตก และไหล ออกทางด้านข้างจากที่สงู ลงสู่ท่ีตา่ เพื่อเพ่มิ แรงดนั ใหก้ ับ นา้ และทาให้กังหันหมนุ เน่ืองจากใบพดั กังหันน้าได้ต่อ เข้ากับเครือ่ งกาเนดิ ไฟฟ้า เม่ือใบกังหันนา้ หมุนกจ็ ะทา ให้แกนของเครอื่ งกาเนดิ ไฟฟ้าหมุนด้วย และผลติ ไฟฟา้ ออกมา ไฟฟ้าที่ได้นาไปตอ่ เข้ากบั ไฟส่องสวา่ งโดยมเี สา สงู 4 เมตร เพื่อใหเ้ หน็ ภาพของขัน้ ตอนการผลิตไฟฟ้าได้ อยา่ งสมบูรณ์

4. ป๊ัมน้าพลงั งานแสงอาทิตย์ เปน็ ระบบแบบอสิ ระ (PV Stand Alone System) อีก รปู แบบหน่งึ ที่ออกแบบมาให้เหมาะสมกบั การใชง้ านเพื่อการสบู นา้ ดว้ ยพลงั งานแสงอาทิตย์ในพ้นื ท่ีที่กาหนด โดยมกี ารจาลอง แหล่งนา้ บรเิ วณดา้ นลา่ งของถังสงู รปู โหวด สาหรับการอปุ โภค และบริโภค หรอื เพื่อการปลูกพืช ผักสวนครวั ซึง่ จาลองการใช้ ประโยชนอ์ ยา่ งย่งั ยนื 5. ไฟถนนโซล่าเซลล์ ระบบผลติ ไฟฟา้ แสงสวา่ งเสาไฟสตรที ไลท์ เปน็ ระบบแบบ อิสระ (PV Stand Alone System) อีกรปู แบบหน่งึ ที่ออกแบบ ใหส้ ามารถรองรบั การใชง้ านด้านแสงสว่าง ใชใ้ นเวลากลางคืน สาหรับถนน ท่ไี ม่ได้ต่อระบบไฟฟา้ จากระบบจาหนา่ ยไฟฟ้าของ การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าค 6. ไฟสนามโซล่ ่าเซลล์ ระบบผลิตไฟฟ้าแสงสวา่ งสนามโซล่าเซลล์ เป็นระบบแบบ 7. ต้นไมพ้ ลังงานแสงอาทิตย์ อิสระ (PV Stand Alone System) อีกรูปแบบหนึง่ ที่ออกแบบ ใหส้ ามารถรองรับการใช้งานด้านแสงสว่าง ใชใ้ นเวลากลางคืน สาหรับสนาม ท่ไี ม่ไดต้ ่อระบบไฟฟา้ จากระบบจาหน่ายไฟฟ้าของ การไฟฟ้าสว่ นภมู ิภาค ตน้ ไม้เสมือนจรงิ (Solar Tree) ตดิ ตั้งระบบไฟฟา้ ดว้ ยเซลล์ แสงอาทิตย์ ออกแบบเป็นรูปทรงตน้ ไม้เสมอื นจรงิ (Solar Tree) จานวน 3 ตน้ ความสูงประมาณ 3 – 6 เมตร มที ี่พกั ผ่อนโดน รอบ ไฟฟ้าทผี่ ลิตไดจ้ าก Solar Tree สามารถชาร์จ โทรศพั ท์มือถอื ผ่าน Port USB ได้ ไม่นอ้ ยกว่า จานวน 50 จดุ พรอ้ มไฟสว่างในตอนกลางคืนเพื่อความสวยงาน

8. ชนิดของแผงโซลา่ เซลล์ ชนิดของเซลลแ์ สงอาทิตย์ หรือโซล่าเซลล์ แบง่ ออกเป็น 3 ชนดิ 1. เซลล์แสงอาทิตย์ทท่ี าจากซิลิคอน ชนดิ ผลึกเดี่ยว (Single Crystalline Silicon Solar Cell) หรอื ทร่ี จู้ กั กนั ในช่ือ Monocrystalline Silicon Solar Cell และชนดิ ผลึกรวม (Polycrystalline Silicon Solar Cell) ลักษณะเปน็ แผ่น ซลิ ิคอนแข็งและบางมาก เซลลแ์ สงอาทติ ย์ชนิดผลกึ ซลิ ิคอน Crystalline Silicon (c-Si) ผลติ จากแท่งผลึกซลิ คิ อน ทเี่ กิดจาก การหลอมละลายซิลคิ อนบรสิ ุทธ์ิ ทีอ่ ุณหภูมสิ ูงถึง 1,500 องศา เซลเซยี ส ผ่านกระบวนการตกผลึกอย่างช้า ๆ และนามาตัดเปน็ แผ่นบางๆ เรียกว่า เวเฟอร์ โดยมีประสทิ ธภิ าพในการแปลง พลังงานประมาณร้อยละ 13-15 โดยทตี่ น้ ทุนในการผลติ แผง เซลล์ชนดิ น้ีค่อนข้างสงู Single Crystalline Silicon Solar Cell 2. เซลลแ์ สงอาทิตยท์ ที่ าจากอะมอร์ฟสั ซลิ ิคอน (Amorphous Silicon Solar Cell) เซลล์แสงอาทติ ย์ชนดิ อะมอร์ฟัสซลิ ิคอน Amorphous Silicon (a-Si) เปน็ การผลิตเซลลแ์ สงอาทิตย์อกี ชนดิ หนึง่ โดยใชส้ ารซิลิคอน สารโบรอน และสารฟอสฟอรัสท่ีอยู่ ในรปู กา๊ ซท้ังหมด นามาเคลอื บเป็นฟลิ ม์ บาง (Thin film) ลงบน แผ่นแกว้ แผ่นพลาสตกิ หรือแผน่ โลหะ มีประสิทธิภาพในการ เปลี่ยนรปู พลงั งานต่ากว่าชนิดผลึกซิลิคอน แต่ปจั จุบันได้มีการ นาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใชใ้ นการผลิต ทาใหส้ ามารถลดตน้ ทนุ การผลติ ลง และเพิ่มประสิทธิภาพสงู ขน้ึ ซ่งึ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพสูง ประมาณร้อยละ 6-8 Amorphous Silicon Solar Ce 3. เซลลแ์ สงอาทติ ยท์ ท่ี าจากสารก่ึงตัวนาอืน่ ๆ เซลล์ แสงอาทิตยช์ นิดสารประกอบของคอปเปอร์อินเดยี มไดเซเลไนด์ (Copper Indium (Gallium) Di-Selenide) เป็นเซลล์ แสงอาทติ ย์ใช้สารผสมของ Copper Indium Gallium และ Selenium โดยมที งั้ ท่ีใช้ Cadmium Sulphide และไม่ใช้ Cadmium Sulphide เป็นบฟั เฟอรใ์ นเซลลแ์ สงอาทิตย์ มีทัง้ ชนดิ ผลึกเด่ียว (Single Crystalline) และผลึกรวม

9. กังหนั ลมพลงั งานลม กงั หนั ลมแนวแกนนอน (Horizontal Axis Wind Turbine) เป็นกงั หนั ลมที่มแี กนหมุนขนานกับทิศทางของลมโดยมใี บพดั เป็นตัวตง้ั ฉากรบั แรงลม มีอุปกรณค์ วบคุมกังหนั ให้หนั ไปตาม ทศิ ทางของกระแสลม เรียกว่า หางเสอื และมีอปุ กรณป์ ้องกนั กงั หันชารดุ เสยี หายขณะเกิดลมพัดแรง เชน่ ลมพายุและตง้ั อยู่ บนเสาท่แี ข็งแรง พลังงานลม เปน็ พลงั งานธรรมชาตทิ ่ีสะอาดและบรสิ ทุ ธ์ิ ใช้ แล้วไมม่ วี ันหมดสิ้นไปจากโลก จงึ ทาให้พลงั งานลมไดร้ บั ความ สนใจในการศึกษาและพัฒนาให้เกดิ ประโยชน์กนั อยา่ งกว้างขวาง ในขณะเดียวกัน กังหนั ลม ก็เปน็ อปุ กรณ์ชนดิ หน่งึ ทีสามารถนา พลังงานลมมาใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ไดโ้ ดยเฉพาะในการผลิต กระแสไฟฟ้าและการสูบน้า ซึ่งมีการใชง้ านกันมาแลว้ อย่าง แพร่หลายในอดีตท่ผี ่านมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook