Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

DM

Published by NATTHANSA YINGYONGMETEE, 2018-08-16 23:57:32

Description: DM

Search

Read the Text Version

อาการและอาการแสดง5. อาการหายใจหอบลึก (Kussmaul ’s breathing) ซ่ึงเปน การปรบั ตวั เพอื่ ชดเชยภาวะ ความเปนกรดจากการเผาผลาญในรา งกายเพือ่ ขับคารบ อนไดออกไซด และสาร อะซีโตนออกมาทางลมหายใจ6. อุณหภูมิรางกายต่าํ ลงเนอ่ื งจากมีการขยายตวั ของหลอดเลือดสวนปลายและ จากภาวะรางกายเปน กรดจากสารคีโตนค่ัง ทาํ ใหส ูญเสยี ความรอนในรา งกาย ออกไป7. มีอาการขาดนํา้ อยา งรนุ แรง ตาลกึ โบ เยื่อบภุ ายในปากแหง ริมฝป ากแตก ผิวหนา แหง8. ความดนั โลหติ ตา่ํ ลง เนอื่ งจากมภี าวะขาดนาํ้ อยา งรุนแรง9. ระดบั ความรสู กึ ตัวลดลงโดยมอี าการซึมและอาจหมดสตจิ ากการสูญเสยี นาํ้ ออกจากรางกายมากเกนิ ไป จากภาวะไมส มดุลของอิเลคโตรไลทและภาวะกรดทเ่ี พิ่มมาก ขึ้นได

การประเมนิ สภาพผูปว ย1. การซกั ประวัติ : อาการและอาการแสดง ประวัตกิ ารเปน โรคเบาหวาน ประวัติการใชยา ประวัตคิ วามเจ็บปว ยท่ีเกย่ี วขอ งและเปน เหตุ สงเสริมใหเ กิดอาการ2. การตรวจรางกายระบบผวิ หนัง : ขาดน้ํา ไดแ ก ผิวหนังแหง ความตึงตวั ลดลง ตาลึกระบบทางเดินหายใจ : หายใจหอบลกึ มีกล่นิ อะซีโตนและคีโตนระบบหัวใจและหลอดเลือด : ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตลดลงระบบทางเดนิ ปสสาวะ : ปส สาวะจํานวนมากระบบประสาท : การสับสน หรือหมดสติระบบทางเดินอาหาร : คลื่นไส อาเจียน ทอ งอืด ปวดทอง

การตรวจทางหองปฏิบตั ิการและการตรวจอืน่ ๆ- ตรวจระดบั นา้ํ ตาลในเลอื ด พบวา สูงกวา 300 mg/dl- ตรวจพบสารคีโตนในเลอื ด- ตรวจพบนํา้ ตาลและสารคีโตนในปสสาวะ- คากา ซในเลอื ดแดง พบ pH นอ ยกวา 7.3 และ HCO3- นอยกวา 18 และ PaCO2 ลดลง- พบของเสียคงั่ ในรางกาย BUN Cr สูงกวาปกติ- ผลอิเลคโตรไลทผ ดิ ปกติ โดยเฉพาะ K และ Na ตํา่- ผล CBC พบ Hb และ Hct สูงกวา ปกติ เนอ่ื งจากภาวะขาดน้ํา

การรักษา เปาหมาย1. เพ่มิ ปรมิ าณการไหลเวยี นเลือดใหเ พยี งพอ2. ลดปรมิ าณกลูโคสในเลือด3. แกไ ขภาวะอเิ ลก็ โทรไลตใหสมดุล4. แกไ ขภาวะกรดจากสารคีโตนคัง่5. คนหาปจจยั กระตุน และแกไ ข

การรกั ษา1. ใหสารนาํ้ ทางหลอดเลอื ดดาํ2. ใหอินซลู นิ จะให Regular insulin3. ใหโซเดียมไบคารบ อเนต (NaHCO3)4. ใหโปรแตสเซียม (KCL) ผสมสารน้าํ หยดเขา ทางหลอดเลอื ดดาํ5. คนหาปจ จยั ชกั นํา เชน ภาวะติดเช้อื6. ติดตามการรกั ษา ในชวงแรกควรตรวจระดบั พลาสมากลูโคสทกุ ชวั่ โมง และตรวจอเิ ลก็ โตรลัยตทกุ 2 ชัว่ โมง7. ติดตาม vital signs และ I/O ทุกช่ัวโมง

การพยาบาล1. ประเมินผูปว ยอยางใกลช ดิ- ระดบั น้ําตาลในเลือด- บนั ทึกสารนาํ้ เขา ออก- บนั ทกึ สญั ญาณชีพ- ประเมินระดบั ความรสู ึกตัว- ตรวจและตดิ ตามอเิ ล็กโตรลยั ท- ติดตามผล arterial blood gas- ตดิ ตามผลการตรวจคีโตนในปสสาวะ- ตดิ ตามผลการตรวจคลน่ื ไฟฟา หัวใจ

การพยาบาล2. ดูแลทางเดนิ หายใจใหโลง ในกรณีที่ผูป วยไมรูสกึ ตัว3. ใหสารน้ําทางหลอดเลือดดํา ในระยะแรกจะให isotonic saline 0.9% NSS กอนเพราะผูปวยมกั มภี าวะโซเดียมตํ่า4. ใหอ นิ ซลู ิน5. ใหโปแตสเซียม6. ติดตามผลการตรวจทางหอ งปฏิบัติการอยางตอเนือ่ ง7. ดูแลเรื่องความสะอาดของรา งกาย ปาก ฟน ส่ิงแวดลอม8. ปองกันภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้นโดยเฉพาะการติดเช้ือทางเดนิ หายใจ การตดิ เชื้อบริเวณผิวหนังทีใ่ หสารนํา้ และการติดเช้อื ในระบบทางเดินปสสาวะ

การพยาบาล9. เมอ่ื ผา นพน ภาวะวกิ ฤตไปแลว ดแู ลใหผ ูปวยไดร ับสารอาหารทเี่ หมาะสมกบั โรคเบาหวาน10. ใหขอ มลู เกี่ยวกับภาวะความเจ็บปว ยกับผูปวยและญาติ11. ประเมนิ ความรูในการดแู ลตนเองเพอื่ ควบคุมระดับน้าํ ตาลในเลอื ด การปองกันภาวะแทรกซอ นจากโรคเบาหวานและปอ งกันการเกิด DKA ซ้ํา12. กระตุน ใหญ าตมิ ีสวนรว มในการดูแลสุขภาพของผูป ว ยเพ่ือควบคมุ ระดับน้ําตาลในเลือด ภาวะแทรกซอ นจากโรคเบาหวานและการปอ งกนั การกลบัเปน DKA ซํ้า

ภาวะนา้ํ ตาลในเลอื ดสงู ทีไ่ มม ีกรดคโี ตนคงั่(Hyperglycemic Hyperosmolar Nonketotic Syndrome :HHNS ) คือภาวะที่มีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงมาก 600 mg/dl จนเลือดมีความเขมขนสูงมาก (serum osmolarity สูงกวา 340 mOsm/L เรียกภาวะน้ีวาฮัยเปอรออสโมลาร)แตไมมีภาวะเลือดเปนกรดจากสารคีโตนคั่ง มักพบในผูปวยเบาหวานชนิดท่ี 2 ท่ีควบคุมน้ําตาลไดไมคอยดี เม่ือมีภาวะติดเช้ือหรือเจ็บปวยรุนแรงจะมีการหลั่งฮอรโมนตาง ๆ ซ่ึงทําใหรางกายตองการอินซูลินเพ่ิมข้ึน จึงเกิดภาวะขาดอินซูลิน มีผลใหระดับนํ้าตาลในเลือดสูงมาก ผูป ว ยมักมาดวยอาการหมดสติรวมกับภาวะขาดนาํ้ รุนแรง



Hyperglycemic Hyperosmolar Nonketotic syndrome (HHNS )• สาเหตุและปจ จยั ชกั นํา HHNS มักพบในผูป วยเบาหวานชนดิ ท่ี 2 โดยเฉพาะผูสูงอายุ เน่อื งจากมี การทํางานของศูนยรับความรูสกึ กระหายน้ํา ( thirst center ) ลดลงจงึ ไม รูสกึ กระหายนํ้ามีความสามารถในการจดั หานาํ้ ด่ืมเองลดลงซงึ่ เปน ผลให ผปู ว ยสูงอายุดื่มนา้ํ นอ ยและมีภาวะขาดนํา้ รุนแรงเกดิ ข้นึ และมกี ารทาํ งาน ของไตเส่อื มลงซ่ึงทาํ ใหก ารขบั นา้ํ ตาลกลโู คสออกทางปสสาวะลดลงและ เปน ผลใหระดับนาํ้ ตาลในเลอื ดสูงมากขึ้น

อาการและอาการแสดงของ HHNS1. ภาวะน้ําตาลในเลือดสงู ไดแ ก ปส สาวะมาก กระหายนํ้า มีภาวะขาดน้าํ โดยตรวจ พบ รมิ ฝปากแหง poor skin turgor หลอดเลอื ดดาํ jugular แฟบ และความดนั เลือดต่าํ เปน ตน2. ภาวะฮยั เปอรออสโมลาร ซ่ึงไดแ ก การรูสติเปลย่ี นแปลงในระดับตา ง ๆ ตั้งแตก ารรู สติยังเปนปกติ เริ่มมีอาการซึมลงทีละนอ ย และหมดสตใิ นรายท่ีเปน รุนแรง อาจ พบ อาการแสดงทางระบบประสาทอยางใดอยางหน่ึงหรอื หลายอยางซึ่งหายไดเมื่อ ไดร บั การรักษาจนระดับนํ้าตาลในเลอื ดลดลง ไดแ ก ชกั เกร็งแบบ ,อัมพาต, เพอ , เปนตน ในผปู วยมคี วามผดิ ปกตทิ างสมองเฉพาะที่อยกู อน ภาวะ HHNS จะกระตุน ใหเกิดความผิดปกติของระบบประสาทดังกลาวชัดเจนขึ้น

การประเมินสภาพผูปว ย1. การซกั ประวัติ เหมือนผูปวย DKA2. การตรวจรางกาย ความรุนแรงของส่ิงที่ตรวจพบจะรุนแรงกวา DKA3. การตรวจทางหอ งปฏบิ ัตกิ าร - ระดับนํ้าตาลในเลอื ดสูง > 600 mg/dl - ความเขม ขน ของเลอื ดสูงกวา 340 mOsm/L - การตรวจหาสารคีโตนในเลอื ดในปส สาวะไมพบ - โซเดียมตาํ่ - คา BUN, Creatinine สูงเน่อื งจากหนา ทีข่ องไตเสื่อมลงเนื่องจากภาวะขาด น้ํา

การรักษาและการพยาบาลเหมอื นกบั ภาวะ DKA- ประเมินอาการผปู วยอยา งใกลช ิด- ดูแลใหไ ดสารน้าํ เพื่อแกไ ขภาวะขาดน้าํ- ใหอ นิ ซลู ินเพ่ือลดระดบั นาํ้ ตาลในเลือด- เฝา ระวงั ภาวะแทรกซอนจากการไดรับสารน้ําอยา งรวดเรว็ และจํานวนมากโดยเฉพาะในผูสูงอายุหรือผูที่มีประวตั ิเปนโรคหัวใจ เฝาระวังภาวะน้าํ ตาลในเลอื ดต่ําจากการไดรับอินซลู นิเฝา ระวังภาวะเสียสมดุลของอิเล็กโตรลยั ตแ ละการแกไข และการใหคาํ แนะนําเพื่อควบคุมระดบั น้ําตาลในเลอื ด และการปองกนั ภาวะแทรกซอ นจากโรคเบาหวานรวมท้งั การปอ งกนัไมใหก ลบั มาเปนซํ้า

2 . ภาวะแทรกซอ นเรอ้ื รงั (Chronic complication of DM)2.1 ภาวะแทรกซอ นซ่งึ เกิดท่หี ลอดเลือด (Vascular disease) 2.1.1 ภาวะแทรกซอนเกดิ ท่ีหลอดเลือดขนาดใหญ( Macrovascular complications) - Peripheral artery disease (PAD) - Coronary artery disease (CAD) ไดแ ก angina pectoris/myocardial infarction/sudden cardiac death - Cerebrovascular disease (CVD) ไดแ ก transient ischemic attack/stroke 2.1.2 ภาวะแทรกซอ นเกดิ ทีห่ ลอดเลือดขนาดเล็ก(Microvascular complications) - ไต Diabetic nephropathy - เรตินา Diabetic retinopathy2.2 ภาวะแทรกซอนซึ่งเกดิ ขนึ้ ทีเ่ สนประสาท (Diabetic neuropathy)





การใชแ พทยแบบผสมผสานในการดแู ลผูปวย เบาหวาน

รา งกายจะแข็งแรง หายจากโรคภยั และฟนฟตู วั เองไดจ าก.... • การทําหนาท่ีและโครงสรางตองสมดุล สมดลุ ท่เี กิดจากการปรับดวยอาหาร สมดลุ ทีเ่ กดิ จากการปรับของจิตใจ สมดุลทเ่ี กิดจากการปรับโครงสรางของรางกาย เชน การนวด อบประคบ โยคะ ชีก่ ง ไทเกก็ • สามารถกาํ จัดของเสยี /สารพษิ ไดด ี • มกี ารบาํ รุงและเสริมสราง • มีการเยียวยารกั ษา ฟนฟู

สมนุ ไพรสมาธบิ าํ บดั การนวด

ตัวอยางสมนุ ไพรเดี่ยวทีม่ ฤี ทธิล์ ดนํ้าตาลในเลือดท่มี งี านวิจัยและแสดงผลบวกตอ การลดระดบั นํา้ ตาลในเลือดกระเพราชา พลูตําลึง การใชสมนุ ไพรในผูปวยเบาหวานบอระเพด็ 1. การใชสมุนไพรเดี่ยวมะตูม 2. การใชสมุนไพรตํารับมะระข้ีนกอนิ ทนิลนํ้าอบเชยแฮม

กะเพราช่ือวิทยาศาสตร Ocimum tenuiflorum L.ช่ือวงศ Labiatae กระเพรา มี 2 ชนิด กระเพราแดง กระเพราขาวตํารายาไทย/ยาพืน้ บานรากกะเพรา แกธาตุพกิ าร แกไ ข ขบั ลมกะเพราทั้งตน แกทองอดื เฟอ แกป วดฟนในกะเพรา ขบั ลม แกธ าตุพิการ ขบั เสมหะ แกโรคผวิ หนงั แกลมพษิ แกไ อ

การศกึ ษาทางเภสัชวิทยา กะเพรามีฤทธก์ิ ระตุนภูมิคุมกนั รักษาหืด ตานความเครียดย้บั ยั้งการเกิดมะเรง็ ตา นอนุมลู อิสระ ตานการอกั เสบ แกไ ข แกป วดลดคลอเลสเตอรอล และมฤี ทธ์ิลดนาํ้ ตาลในเลือดการวิจัยสรรพคุณของใบกะเพราตอฤทธล์ิ ดน้ําตาลในเลอื ด พบวาใบกะเพรามีฤทธิล์ ดนํ้าตาลในเลอื ดท้ังในหนูปกตแิ ละหนูเบาหวานใบกะเพรามีฤทธิล์ ดนํ้าตาลในเลือดกระตายปกตแิ ละกระตายเบาหวาน

ชาพลูชอื่ วิทยาศาสตร Piper sarmentossum Roxb.ช่อื วงศ Piperaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร

การศกึ ษาดา นเภสชั วิทยา ป 2541 งานวิจยั ของ รุงระวี เต็มศิริฤกษและคณะเร่อื งการพฒั นายารกั ษาโรคเบาหวาน พบวา สารสกัดชาพลมู ีฤทธล์ิ ดนาํ้ ตาลในเลอื ดในหนปู กติ และหนูเบาหวานโดยการเพิ่มการหล่ังอนิ ซลู ินและยับย้ังการดดู ซึมกลโู คสผา นลาํ ไสเ ลก็

ตาํ ลึงชอ่ื วทิ ยาศาสตร Coccinia grandis (L.)ชื่อวงศ Cucurbitaceaeลักษณะทางพฤกษศาสตร

การศกึ ษาทางเภสัชวิทยาสารสกัดจากตําลึง (ราก เถา ใบ ผล) มฤี ทธลิ์ ดนาํ้ ตาลในเลือดในสัตวทดลองและในผูป วยเบาหวานสารสกัดจากตาํ ลึงชวยใหความสามารถในการใชนํา้ ตาลดขี ึ้นทาํ ใหเกิดการลดการสังเคราะหก ลโู คส และสลายกลโู คสในรางกาย

บอระเพ็ดชื่อวิทยาศาสตร Tinosposa crispa (L.)  Miers ex Hook.f.&  Thomsonชอ่ื วงศMenispermaceaeลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

การศึกษาทางเภสัชวิทยาในองั กฤษ สารสกัดบอระเพ็ดดว ยน้ําทาํ ใหสตั วท ดลอง (หนูขาว)มรี ะดบั นํ้าตาลในเลือดลดลง ระดับ Insulin ในเลอื ดเพมิ่ ขน้ึในไทย มีการนําสารสกัดบอระเพด็ มาทดลองฤทธิล์ ดนํ้าตาลในเลอื ดในหนขู าว พบวาสามารถลดนํ้าตาลในเลือดหนูขาวทเ่ี ปน เบาหวานไดด ี

มะตมูชอ่ื วทิ ยาศาสตรAegle marmelos (L.) Correa ex Roxb.ช่อื วงศRutaceaeลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

การศึกษาดา นเภสชั วทิ ยาในอินเดีย และศรลี ังกา มกี ารศึกษาฤทธิล์ ดน้ําตาลในเลอื ดของใบมะตูมพบวา สารสกัดใบมะตูมดวยนาํ้ มีฤทธิ์ลดนํ้าตาลในเลอื ดของหนูปกติ และหนูเบาหวาน โดยมฤี ทธ์ิคลายอินซูลิน สามารถลดนาํ้ ตาล ในเลือดของหนไู ด และยงั พบวา สารสกัดของใบมะตูม ทาํ ให ความผิดปกตขิ อง Beta‐cells ของตับออน กลบั ฟน คืน สภาพปกติได เพิ่มระดับอินซลู ินในเลือดของหนูเบาหวานได

มะระขนี้ กชอื่ วทิ ยาศาตรMomordica charantia L.ชอื่ วงศCucurbitaceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร มะนะขี้นก หรือมะระไทย เปนผักพ้นื บานของไทย มีวิตามนิ เอและซสี ูง

การศกึ ษาทางดานเภสชั วทิ ยางานวิจัยการลดน้าํ ตาลในเลอื ดของผลมะระข้ีนกพบวา ผลมะระขน้ี กมฤี ทธลิ์ ดนํ้าตาลในเลือด ทง้ั ในสัตวท ดลองและคนผลมะระขี้นกมฤี ทธิล์ กน้าํ ตาลในเลือด ชวยกระตุนการทํางานของอนิ ซลู ิน และลดการดดู ซึมกลูโคสในทางเดินอาหาร พบวา ในเด็กทเี่ ปน เบาหวานจะใหผลดกี วา ผูสูงอายุ

อินทนิลนาํ้ชอ่ื วิทยาศาสตรLagertroemiaspeciosa (L.) Pers.ช่ือวงศLythraceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร

การศึกษาทางเภสัชวทิ ยาการศึกษาใน ไทย ฟลิปปนส อินเดีย พบวาสารสกัดอนิ ทนลิสามารถลดน้าํ ตาลในเลือดได และออกฤทธเ์ิ หมอื น อนิ ซูลิน

อบเชยช่อื วทิ ยาศาสตรCinnamomum spp.ชือ่ วงศLauraceae ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร

การศกึ ษาทางดานเภสชั วทิ ยา งานวิจัยของอเมรกิ า พบวา อบเชยมฤี ทธลิ์ ดนํ้าตาลในเลือดทาํ ใหฮอรโมนอินซูลนิ ทาํ งานไดด ี และยังมฤี ทธล์ิ ดคลา ย insulinทชี่ ว ยลดระดบั นา้ํ ตาลในเลอื ดได อบเชยชวยลดtriglyceride,chloresterol ได

แฮมชื่อวทิ ยาศาสตรCoscinium fenestratum(Gaertn) Colebr.ช่อื วงศMenispermaceaeลักษณะทางพฤกษศาสตร

การศกึ ษาทางเภสัชวิทยา ในไทยมกี ารศึกษาฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลอื ด พบวาแฮมสามารถลดน้ําตาลในเลือดของหนูเบาหวาน แตไมสามารถลดนํา้ ตาลในเลือดของหนูปกติ และไมมผี ลตอภาวะนํา้ ตาลในเลือดสูงอยางเฉียบพลันท้งั ในหนูเบาหวานและหนูปกติ และพบวา แฮมทาํ ใหเ ซลลตบัและเซลล islets ของตบั ออ นของหนูท่ีถกู ทาํ ลายฟนกลับมาดวย

สมาธิบําบดั สมาธคิ ือ ความมจี ติ ตง้ั มนั่ หรือจติ มีอารมณหน่ึงเดยี วหมายความวา จะคดิ จะกาํ หนด จดจออยูก ับเร่ืองใดเรอื่ งหน่งึเรอื่ งเดียวในขณะนน้ั ไมฟงุ ซา น ไมหลดุ ลอยไปเรอ่ื งอนื่

การปฏิบัติสมาธิ หมายถงึ เทคนิค วธิ กี าร หรือกระบวนการท่ใี ชจดั ระเบยี บกาํ กับ ควบคุมการทํางานของระบบประสาทสัมผัสทั้งทางตา หู จมูก ลิน้ การเคลื่อนไหว ความนกึ คิด และสัมผัส เพ่ือปรบัสมดลุ ใหระบบประสาทสวนกลาง ระบบประสาทอตั โนมัติ ระบบประสาทสวนปลาย และระบบอน่ื ๆ ของรางกายใหมีการทํางานอยางพอดี เปน กระบวนการสรางเสริม ปอ งกนั รกั ษาและฟนฟูสุขภาพโดยใชกระบวนการองครวม หรือจิตประสานกาย ไดแก การทาํ สมาธิการสวดมนตนั่งสมาธิ การทาํ สมาธแิ บบ SKT เปนตน

ดร.เฮอรเบิรต เบนสนั สถาบันจติ วทิ ยา ในมหาวิทยาลัยฮารวาด และโรงพยาบาลบอสตนั พบวา การทาํ สมาธิทําใหเ กดิ การเล่ยี นแปลงสารเคมีบางอยา งใน รา งกาย จนทาํ ใหเกดิ ระยะของการผอ นคลาย (Lazer et al.,2003) โดยระยะผอนคลายทาํ ใหเ กิดการเปลี่ยนแปลงของการเผาผลาญ ในรางกาย การเตน ของหัวใจ ความดนั โลหิต และส่อื เคมใี น สมอง

จอน กาเบตซินและคณะ ในมหาวทิ ยาลัยแมตซาจเู ซต พบวา ผลของการทาํ สมาธชิ ว ยลดความเครียดได (Kabat-Zinn et al., 1985;Davidson et al.,2003)

สมพร กนั ทรดษุ ฎี‐เตรียมชัยศรี ไดทําการวิจยั และศกึ ษาคนควาเทคนิคการปฏิบัติ SKT เพ่ือบาํ บัดโรคเรื้อรัง พบวา สามารถลดนาํ้ ตาลในเลือดของผปู วยเบาหวานไดรอยละ 100  สมาธิบาํ บดั จึงเปนศาสตรทางเลอื กอีกศาสตรท่ีผูปว ยเบาหวานนาํ มาใชเ สรมิ ในการบาํ บดั รกั ษาไดผ ลดี ไมม ีคาใชจา ย ไมมภี าวะแทรกซอน ปฏบิ ัตไิ ดเ อง เม่ือปฏิบัติอยางตอเน่ืองแลว จะทําใหผ ูปวยมีคุณภาพชีวิตท่ดี ขี ึ้น

การนวดเทา สาํ หรับผปู ว ยเบาหวานประโยชนของการนวดเทา ชว ยสงเสริมสขุ ภาพ กระตนุ การไหลเวียนของโลหิตและนา้ํ เหลือง ทําใหอ วยั วะตา งๆ ทําหนา ท่ีสมดลุ ชว ยปอ งกันโรค เชน ทองผกู ปวดศรี ษะ ไมเกรน โรคเครียด หืด ไซนัสสงผลทีด่ ใี นดานสุขภาพจติ ชวยใหผ อนคลาย

จากการศกึ ษาของศศินี อภิชนกิจและจารุวรรณ พาณชิ พันธุ (2552 )เรอื่ งประสทิ ธิผลของการนวดเทา ดวยวิธีหัตถบาํ บัดแบบแพทยแผนไทยเพ่อื ลดอาการเทา ชาในผปู ว ยเบาหวาน โรงพยาบาลอดุ รธานี พบวา ผูปว ยเบาหวานทม่ี อี าการเทา ชาต้ังแต 1 จดุ ขนึ้ ไป เมื่อไดรับการบาํ บัดรักษาดวยวธิ ีหัตถบาํ บดั แบบแพทยแผนไทยมอี าการดีข้ึนคือจํานวนจุดทช่ี าหรือไมรูสึกของเทา ลดลงอยา งมีนยั สําคัญ

การนวดกดจดุ สะทอ นฝา เทา จากการศกึ ษาของลดาวัลย อุนประเสริฐพงศ นิชโรจน และคณะพบวา การนวดกดจุดสะทอนฝาเทา เปนเวลา 2 เดอื น ผลการศึกษาพบวากลมุ ทดลอง มีคาเฉล่ยี ระดับHbA1Cน้ําตาลในเลือด และแรงกดท่ีเทาลดลงอยา งมีนัยสาํ คัญทางสถิติ

สวสั ดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook