กระติบข้าวที่สานจากต้นคา่ (ต้นคล้า) บ้านหนองก้านเหลือง ภมู ิปัญญาและศลิ ปะพืน้ ถ่นิ 890 712 พฤศจกิ ายน 2562
โดย นายสุนทร ฝ่ ายที บณั ฑติ ศกึ ษา(มหาบณั ฑติ ) คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขา ศิลปกรรมวฒั นธรรมและ การออกแบบ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ภูมปิ ัญญาและศิลปะพืน้ ถิิน่ ถ วิชาภมู ิปัญญาและศิลปะพืน้ ถ่นิ 890712 และแผนท่เี ส้นทางในการ เดนิ ทาง เพ่อื เข้าไปหาภมู ิ ปัญญา การสานกระตบิ ข้าว ด้วยไม้คล้าของกลุ่มจักสาน บ้านหนองก้านเหลือง
☞ความหมายคาวา่ ภูมปิ ัญญา ☞ความหมายคาวา่ ศิลปะ ������������ มนตรี โคตรคนั ทา 2550 ได้ให้ความให้มาย ภูมปิ ัญญา ว่า ภูมิ ปัญญาหรือภูมปิ ัญญาชาวบ้านในแต่ละท้องถ่นิ เกดิ จากการท่ชี าวบ้านแสวงหา ความรู้ เพ่ือเอาชนะ ธรรมชาติ ทางสังคมถอื ว่าเป็ นเร่ืองท่จี าเป็ นต่อการ ดารงชีวติ ภูมปิ ัญญา จงึ เป็ นส่งิ ท่เี ก่ียวข้องกับวถิ ชี ีวติ ชุมชน สังคมมาจนถงึ ปัจจุบัน ������������ ศิลป์ พีระศรี ได้ให้ความหมาย ศิลปะ ไว้วา่ ศิลปะหมายถึงการงานอนั เป็นความพากเพียรของมนษุ ย์ ซงึ่ ต้องใช้ความพยามด้วยมือและความคิดเห็น เชน่ ช่างตดั เสอื ้ สร้างเคร่ืองเรือน ปลกู ต้นไม้เป็นต้น น่ีคือความหมายศิลปะอย่างกว้างท่ี นา่ จะให้คาตอบกบั ผ้ทู ่ีสงสยั ในเบือ้ งต้น
พ้นื ท่ี: บา้ นหนองกา้ นเหลือง หมู่ท่ี 2 ตาบลนาข่า อาเภอมญั จาคีรี กล่มุ จกั สานถ บ้านถหนถองก้านถเหลือง
หมู่บ้านถหนถอง ก้านถเหลือง หมู่ท่ี 2 ตาบล นาข่า อาเภอ มญั จาครี ี จงั หวัด ขอนแก่น
แผนถที่ บ้านถหนถองก้านถเหลือง หมู่ที่ 2 ตาบล นถาข่า อาเภอ มัญจาครี ี จงั หวัดขอนถแก่นถ 40160 2 3 1.วดั พระธาตุเจดยี ์สิริปุญญา 1 6 ราม (ดอนป่ ตู า) 4 2.โรงเรียนบวั เหลอื ง วิทยาคม 5 3.หนองนา้ หนองก้านเหลือง 4.ศาลาประชาคม 5.สถานีอนามยั 6.วดั โนนศลิ า
ลกั ษณะกายภาพและชัยภูมิ บ้านถหนถองก้านถเหลือง • บ้านหนองก้านเหลอื ง มพี ืน้ ที่สว่ นใหญ่เป็นท่ีราบสงู และต่า ภมู อิ ากาศเป็นแบบร้อนชืน้ ชมุ ชนบ้านหนองก้านเหลอื งไมค่ ่อย ย้ายถ่ินฐานไปไหนเพราะชยั ภมู มิ ีแต่ความอดุ มสมบรู ณ์ มแี ต่คน ถ่ินอนื่ ย้ายเข้ามาพานกั อาศยั
เส้นถทางไปกล่มุ จกั สานถ บ้านถหนถอง ก้านถเหลือง 1 นบั จากตวั เมืองมนั จาคีรีไป จงั หวดั ชยั ภูมิ จะเห็นป้ายบอก ทางวา่ ไปชยั ภูมิ 70 กิโลเมตร 2 พอถึงหลกั กิโลเมตรที่ 9 ให้ เล้ียวขวา ตรงทางแยกทางร่วม 3 ป้ายบอกทางวา่ อ่างเกบ็ น้า หว้ ยยาง และระยะทางต้งั แต่ทาง แยกทางร่วม 3 กิโลเมตร ถึง กลมุ่ จกั สาน ภูมิปัญญาและ ศิลปะพ้นื ถ่ิน 4 ทางหลวงที่ 3010
อ่างเกบ็ นถา้ ห้วยยาง (หนถองโดนถ)
พ้นื ที่: บา้ น ความเป็นคนพืน้ ถิ่นของชาวบา้ นหนองกา้ นเหลือง หนองกา้ นเหลือง และทีไ่ ปทีม่ าจนถึงปัจจบุ นั ตาบลนาข่า บรรพบรุ ุษของชาวบา้ หนองกา้ นเหลือง มีถ่ินกาเนิด อาเภอมญั จาคีรี อยู่ทีเ่ ดิม เป็นชนพืน้ ถ่ินมาชา้ นานโดยมีหนองน้าหนอง กา้ นเหลืองดง้ั เดิมเป็นประจกั ษ์หลกั ฐานโดยมีความ เป็นกายภาพของพืน้ ทีท่ ีเ่ หมาะสมของคนเผ่าอีสาน เช่น นา โนน น้า บรรพบรุ ุษจึงไม่เคยยา้ ยถิ่นฐานไป ไหน มีแต่คนถิ่นอืน่ ยา้ ยเขา้ มาพานกั พกั พิงเพือ่ การ ดาเนินชีวิตทีพ่ ออยู่พอกินตลอดฤดูกาล จนถึงปัจจบุ นั
พืน้ ที่และจำนวน ประชากร (สารวจ 2561) ประชำกรบ้ำนหนอง จานวนประชากรท้ังหมด 703 ชาย 369 ก้ำนเหลืองหม่ทู ี่ 2 หญิง 334 ตำบลนำข่ำ อำเภอ มญั จำคีรี จังหวดั ขอนแก่น ข้อมลู จำกนำยบุญเลิศ คำ วังแคน ผ้ใู หญ่บ้ำน บ้ำน หนองก้ำนเหลือง หม่ทู ี่ 2 ตำบล นำข่ำ อำเภอ มญั จำคีรี จังหวดั ขอนแก่น 40160
ลกั ษณะต้นถคล้าทน่ี ถามาสานถ กระตบิ ข้าว • ต้นคล้ามีลกั ษณะลาต้นคล้ายๆต้นไผ่แตม่ ีลา ต้นขนาดเล็กมากกวา่ ต้นไผ่ • ต้นคล้ามีลกั ษณะลาปล้องยาวกวา่ ลาปล้อง ของไม้ไผ่ • ต้นคล้ามีลกั ษณะใบที่ใหญ่กวา่ ใบไผ่ • ต้นคล้าสายพนั ธ์ุนีป้ ลกู งา่ ยใช้เวลาหนงึ่ ปีก็ใช้ ประโยชน์ได้
เตรียมวตั ิุดบิ • เริ่ม เตรียมคดั สรรวตั ถดุ ิบ ท่ีปลกู ไว้ เฉพาะลาทีใหญ่ และพอเหมาะเทา่ นนั้
ข้นั ถตอนถในถการเตรียม 1 แขง็ ไปก็ไมเ่ หมาะ 2 อ่อนไปก็ไมด่ ี 3 แก่ไปก็ไม่เอา 4 จบั บิดดกู ่อนวา่ อ่อนหรือแข็ง
การเตรียมเหลาตอก ขนั้ ตอนการเตรียมเหลา ตอกด้วยไม้คล้า เพ่ือ เตรียมสานกระตบิ ข้าว
วดี ีโอการใชเ้ คร่ืองมือ
วธิ ีการเหลาตอกและเคร่ืองมือ • ข้ันตอนในการเหลาตอก เป็ น ขั้นตอนเดยี วกับการเหลา ตอกสานกระด้ง ตะกร้า หวด มวย ข้องและไซ โดยจาเป็ น มากจะต้องมีผ้ามาพันรอบๆ นิ้วช้ีดังทป่ี รากฏในภาพ
มดี งั ต่อไปนถี้ เคร่ืองมือสาหรับการจกั สานกระติบข้าว 1 มดี ตอก สาหรับเหลาตอก 1 2 กรรไกรตดั กิ่งใช้ตดั ลาคล้า 23 6 3 ปลอกผ้าไว้รองรับการเหลาตอก 5 4 กรรไกรใช้สาหรับตดั ตอก 4 5 ไมไ่ ผ่ใช้จดั และดนั ตอกให้แนน่ 6 ข้อนใช้ทบุ กระติบข้าวให้เข้ารูป 7 เข็มและด้ายเอาไว้เย็บกระตบิ ข้าว ตอนสดุ ท้ายก่อนเสร็จสมบรู ณ์
ปราชญ์ชาวบ้านถ คณุ ตาปัน แก้ว น้อย และคณุ ตา มวย นักทานา ได้ แลกเปลยี่ นองค์ ความรู้การสาน กระติบข้าวเพอื่ พฒั นาและถ่าย โอนให้ชุมชนและ บุตรหลาน
ปราชญ์ชาวบ้านถ ผู้รู้เร่ืองการสานถ • คุณตามวย นักทานา ( อายุ 75 ปี ) • บ้านเลขท่ี 76 หมู่ 2 ตาบล นาข่า • อาเภอ มัญจาครี ี จังหวัด ขอนแก่น • 40160 คุณตามวย นักทานากาลังทาการสาน ก้นกระติบข้าว
ฝาปิ ดกระตบิ ข้าว (อยู่วงตรงกลาง)
ฝาปิ ดก้นถกระติบข้าว
ดูในถภาพ 1 ฝากระตบิ ข้าว 2 ก้นกระตบิ ข้าว
ข้นั ถตอนถในถการสานถกระตบิ ข้าว
การสานถกระตบิ ข้าว การสานกระตบิ ข้าว ต้องสานตามลายทีก่ าลัง เป็ นที่นิยม ส่วนมากจะใช้ลายสองขัด
การเตรียมขารอง กระตบิ หรือทช่ี าวบ้าน เรียกกนั ว่า(ตีน)กระตบิ ข้าวเหนยี ว โดย ส่วนมากได้มาจากก้าน ของต้นตาล
ใส่ตนี ถกระตบิ ข้าว 1 เตรียมดดั กา้ นตาล 2 ดดั ตามขนาด กระติบขา้ ว 3 ตาแหน่งของกน้ กระติบข้าว 4 ลกั ษณะการตง้ั และวาง
ผู้นถากล่มุ จกั สานถแลกเปลย่ี นถความรู้ในถการสานถกระตบิ ข้าว
ความหมายของกระติบ ขา้ ว ความหมายของกระตบิ ข้าว กระตบิ ข้าวเป็ นประเภท เคร่ืองมอื จัก สานอกี ประเภทหน่ึงซงึ่ มีลักษณะกลมๆ และมฝี าปิ ดทพ่ี อดกี ับขนาดของแต่ละอัน ซงึ่ ชาวบ้านเรียกว่า ”กระตบิ ข้าว” ใช้บรรจุ ข้าวเหนียวทน่ี ่ึงสุกและเกบ็ ไว้กนิ ได้ตลอด ทง้ั วัน เป็ นภมู ปิ ัญญาพืน้ ถนิ่ ด้ังเดมิ ตั้งแต่ โบราณกาล สืบทอดถ่ายโอนจากรุ่นสู่รุ่น จวบจนปัจจุบัน
การประชุมแลกเปล่ียนองคค์ วามรู้ภูมิปัญญาพ้ืนบา้ นประจาปี 2562
ครูภูมปิ ัญญา อาจารย์วาล ยืนยาว ข้าราชการครูบานาญ ได้ ช้ีแนะ องค์ความรู้ และ ภมู ปิ ัญญา ให้ชุมชนชาวบ้านและกลุ่ม จักสานบ้านหนอง ก้านเหลืองได้เข้าใจ เร่ืองภมู ปิ ัญญาและศิลปะ พื้นถน่ิ ของตนเอง
เสร็จสมบูรณ์
เสร็จสมบูรณ์
เสร็จสมบูรณ์
เสร็จสมบูรณ์
สรุป การสานกระติบขา้ วไม่วา่ จะใชไ้ มไ้ ผห่ รือไมค้ ลา้ กเ็ ป็นภูมิปัญญาและศิลปะพ้นื ถิ่นท้งั สิ้น เป็นท้งั ศาสตร์ และศิลป์ ที่บรรพบุรุษไดถ้ ่ายโอนองคค์ วามรู้ใหเ้ ป็น มรดกตกทอดท่ียงิ่ ใหญ่มีความจาเป็นและสาคญั อยา่ งยงิ่ ในการใชป้ ระโยชนต์ ่อการดาเนินชีวติ ต้งั แต่อดีต จนถึงปัจจุบนั
ประวตั ิผเู้ ขียน นายสุนทร ฝ่ ายที บณั ฑิตศึกษา (มหาบณั ฑิต) คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาศิลปกรรมวฒั นธรรมและการ ออกแบบ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ท่ีอยผู่ เู้ ขียน1 หมู่ 2 บา้ นหนอง กา้ นเหลือง ตาบลนาข่า อาเภอมญั จาคีรี จงั หวดั ขอนแก่น 40160 0833428678 ผรู้ ่วมเขียน นายศุภชยั สนธิกิจการ บณั ฑิตศึกษา (มหาบณั ฑิต) Khon kaen Thyological Seminary 236/3 Theparak Rd. Khon Kaen 40000 0834363773
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: