ช่ือเรื่อง รูปแบบผลิตภัณฑ์ ในฮูปแต้ม วดั ป่ าเลไลย์ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม : ความสัมพนั ธ์ระหว่างมนุษย์กบั วตั ถุทใี่ ช้สอย ผ้วู จิ ัย นางสาวเอกนารี แก้ววศิ ิษฎ์ รายวชิ า การวจิ ัยทางวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบข้ันสูง รหสั รายวชิ า 890911
คานา รูปแบบผลิตภณั ฑเ์ ป็ นส่ิงที่มนุษยผ์ ลิตข้ึน เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการและอานวยความสะดวก ให้กบั ผูใ้ ชง้ าน ผลิตภณั ฑ์พ้ืนบา้ นท่ีใชใ้ นครัวเรือนเกิดจากภูมิปัญญาของคนในทอ้ งถ่ิน สร้างข้ึนใน รูปแบบเครื่องมือเคร่ืองใชต้ ่างๆ เพื่อการดารงชีวิตในทอ้ งถ่ิน ส่วนมากรูปแบบถูกประดิษฐ์คิดคน้ โดยสรรหาวตั ถุดิบจากธรรมชาติอาทิ ใช้ผา้ ยอ้ มสีท่ีไดจ้ ากธรรมชาติมาท าเครื่องแต่งกาย นาไม้ ไม้ ไผ่ มาทาของใช้ในครัวเรือน เครื่องมือล่าสัตว์ หรือแม้แต่ ใช้ดินเหนียวมาสร้างบ้าน เครื่องมือ เคร่ืองใชท้ ี่มีรูปทรง สีสัน วสั ดุ หนา้ ที่การใชง้ านท่ีแตกต่างกนั แสดงใหเ้ ห็น ลกั ษณะเฉพาะของแต่ละ ชุมชน รวมถึงรูปแบบผลิตภรั ฑ์และเคร่ืองมือเครื่องใชว้ ิถีพ้ืนบา้ น ที่ปรากฏในฮูปแตม้ วดั ป่ าเลไลย์ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม ซ่ึงจากการสันนิษฐานพบว่า ลกั ษณะเฉพาะของชุมชนอาจมีปัจจยั มาจาก สภาพแวดลอ้ มทางภูมิศาสตร์ ระบบนิเวศ การปฏิสัมพนั ธ์กบั ชุมชนภายนอก การคา้ การอพยพยา้ ยถิ่น ความเช่ือ ส่งผลต่อรูปแบบผลิตภณั ฑ์ การศึกษาเคร่ืองมือเครื่องใช้ ไมว่ า่ จะเป็นโดยการตีความ ศึกษา คุณลกั ษณะ วสั ดุ ประวตั ิความเป็ นมา รวมถึงบางแง่มุมของผลิตภณั ฑเ์ หล่าน้ี สามารถ ทาใหเ้ ราเขา้ ใจ สังคม วฒั นธรรม ความสัมพนั ธ์ระหว่างมนุษยก์ ับสิ่งของที่ใช้สอยในชุมชนหรือศิลปะการผลิต เครื่องมือเคร่ืองใชใ้ นสมยั น้นั หากไดพ้ ิจารณาดูส่ิงของเครื่องใช้ ท้งั หมดแลว้ อาจจะสงั เกตเห็นความ แตกต่างหรือคลา้ ยคลึงกนั ของประโยชน์ใช้สอย รูปแบบ วสั ดุ วิธีการทาสิ่งของน้ัน ๆ ตามแต่ละ ทอ้ งถิ่นอีกดว้ ย ผวู้ จิ ยั หวงั วา่ บทความเรื่อง รูปแบบผลิตภณั ฑ์ ในฮูปแตม้ วดั ป่ าเลไลย์ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม : ความสัมพนั ธ์ระหว่างมนุษยก์ บั วตั ถุท่ีใช้สอย จะเป็ นประโยชน์และเป็ นอีกองค์ความรู้หน่ึง ท่ี สามารถสะทอ้ นให้เห็นถึงรูปแบบกบั ความสัมพนั ธ์ของคนในทอ้ งถ่ินกบั ผลิตภณั พเ์ ครื่องมือเคร่ืองใช้ นอกจากน้ี ยงั หมายรวมถึงวฒั นธรรม ประเพณี ความเป็นอยใู่ นยคุ สมยั น้นั ๆซ่ึงส่งผลต่อรูปแบบของ ผลตภณั ฑ์ที่ตอ้ งผลิตข้ึนเพ่ือตอบสนองกบั การใช้งาน โดยเล่าเร่ืองราวผ่านภาพจิตรกรรมฝาผนัง อีสาน ณ วดั ป่ าเลไลย์ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม ผวู้ จิ ยั เอกนารี แกว้ วศิ ิษฎ์
รูปแบบผลติ ภณั ฑ์ ในฮูปแต้ม วดั ป่ าเลไลย์ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม : ความสัมพนั ธ์ระหว่างมนุษย์กบั วตั ถุทใ่ี ช้สอย ผลิตภณั ฑแ์ ละเคร่ืองมือเครื่องใช้ ท่ีปรากฏในฮูปแตม้ วดั ป่ าเลไลย์ อ.นาดูน จ.มหาสารคาม มีหลากหลายรูปแบบ ซ่ึงแต่ละรูปแบบน้นั วดั ป่ า ไดอ้ ธิบายรายละเอียดของตวั วตั ถุ หนา้ ที่การใชง้ าน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่แฝงอยู่ รวมถึงเบ้ืองหลังการคน้ คิดและท่ีมาของการนาวตั ถุเหล่าน้ีมใช้สอย การศึกษารูปแบบผลิตภรั พจ์ ากภาพจิตรกรรมฝาผนงั อีสาน ซ่ึงอาจเรียกไดอ้ ีกอยา่ งหน่ึงว่าเป็ นวตั ถุ ทางวฒั นธรรมประเภทเคร่ืองมือเครื่องใช้ หากไดพ้ ิจารณาดูส่ิงของเครื่องใช้ ท้งั หมดแลว้ อาจจะ สังเกตเห็นความแตกต่างหรือคลา้ ยคลึงกนั ของประโยชน์ใช้สอย รูปแบบ วสั ดุ วิธีการผลิตสิ่งของ เหล่าตามแต่ละทอ้ งถ่ิน รวมถึงบางแง่มุมของวตั ถุเหล่าน้ี ของบางชิ้นหากมองอย่างผิวเผิน อาจเป็ น เพียงของใชธ้ รรมดาสามญั สาหรับผทู้ ี่ ใช้อยู่เป็ นประจาทุกวนั บางชิ้นสามารถพบเห็นไดใ้ นปัจจุบนั ไม่วา่ จะจากภาพถ่าย หนงั สือที่รวบรวมไวแ้ ละพิพิธภณั ฑจ์ ดั แสดง แต่หากมองดว้ ยสายตาของผซู้ ่ึงไม่ เคยเห็นมาก่อน ผลิตภณั ฑ์เหล่าน้ีกลบั เป็ นของแปลกใหม่ ยากต่อการพบเห็นไดท้ วั่ ไป ท้งั รูปแบบ วสั ดุ การใชส้ อย และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษย์ ซ่ึงเป็ นประเด็นท่ีน่าสนใจ เคร่ืองใชท้ ี่สร้างสรรค์ ในบริบทที่แตกต่างกัน จึงเป็ นภาพสะท้อนสังคม วฒั นธรรม ลักษณะการดารงชีวิต ภูมิปัญญา ประเพณี ทกั ษะของคนในทอ้ งถิ่น รวมท้งั ความสามารถใน ประดิษฐ์คิดคน้ ส่ิงใหม่ ๆ (ธันวดี สุข ประเสริฐ) ภาพจิตรกรรมฝาผนงั อีสานวดั ป่ าเลไลย์ ผนงั ดา้ นนอกและดา้ นในของสิมเขียนภาพจิตรกรรม ฝาผนงั อีสาน( ฮูปแตม้ ) ดว้ ยสีฝ่ ุน วรรณะสีเยน็ คือ สีฟ้าคราม น้าเงิน เขียว และขาว เขียนโดยนาย สิงห์ บา้ นคลองจอก อ.พยคั ภูมิพิสัย ฝาผนังด้านในเล่าเรื่องที่เก่ียวขอ้ งกบั พุทธประวตั ิ พระมาลยั ผนงั ดา้ นนอกเขียนเร่ืองพระลกั -พระลาม ( รามเกียรต์ิฉบบั ลาว)และพระเวชสันดรชาดก( ประวตั ิสิม วดั ป่ าเลไลย์ บา้ นหนอพอก ต.ดงบงั อ.นาดูน จ.มาหารคาม) รูปแบบของผลิตภณั ฑ์ปรากฏอยู่ใน เรื่องราวท่ีเล่าเป็นฉากๆ หากสังเกตจะเห็นไดว้ า่ ผลิตภณั ฑเ์ ครื่องมือเคร่ืองใชจ้ ะปรากฏอยใู่ นทุกส่วน ทุกฉาก ท้งั ภายในและภายนอกตวั สิม ไมว่ า่ จะเป็นเร่ืองราวที่เก่ียวขอ้ งกบั ชาวบา้ นหรือชาววงั กษตั ริย์ พระสงฆ์ พ่อคา้ รูปแบบผลิตภณั ฑ์จะแตกต่างกนั ออกไปตามบริบทพ้ืนท่ีและยศศกั ด์ิของผูใ้ ช้งาน ผวู้ จิ ยั จึงขอยกตวั อยา่ ง ผลิตภณั ฑท์ ่ีปรากฏในฮูปแตม้ ในประเดน็ ท่ีผวู้ จิ ยั สนใจ อยา่ งเช่น ภาพแรกภาพกลุ่มชายสามคนนง่ั อยู่ แต่งกายสมยั พ.ศ 2460 ซ่ึงอยูใ่ นสมยั ประมาณรัชกาลที่ 6 ดู จากการแต่งกายสวมเส้ือคลา้ ยทรงราชประแตน คอจีน ตวั ผา้ มลวดลาย จึงสนั นิษฐานไดว้ า่ อาจเป็นขุน
นางในวงั ในมือถือขวดแกว้ ขวดหน่ึง ภาพอยู่ทางทิศเหนือ สันนิษฐานว่าอาจเป็ นภาชนะใส่เหล้า สุราหรือน้าเมาต่างๆ โดยบริบทพ้ืนที่อยูใ่ นชุมชน และมีคนนงั่ อยกู่ นั เป็นกลุ่มอาจกาลงั นงั่ เสาวนากนั และดิ่มสุรา เพราะหากดูอยา่ งตอ่ เนื่องความสัมพนั ธ์ของภาพถดั มาไม่ไกลจะเห็นภาพของชายลกั ษณะ ถกั ผมเปี ย โกนศีรษะดา้ นหนา้ (ราชวงศช์ ิง) ไม่สวมเส้ือ กาลงั ส่งมอบภาชนะคลา้ ยขวดแกว้ ใหก้ บั ชาย คนนึงซ่ึงแต่งกายคลา้ ยกบั ชายสามคนแรกที่กล่าวมา เป็ นไปไดว้ า่ ค่านิยมในสมยั น้นั ชายที่เป็ นชาว วงั นิยมด่ืมสุราในยามวา่ ง และมีพ่อคา้ ชาวจีนมาคา้ ขาย ขายสุราให้กบั ทหารหรือชายในวงั แต่ตอ้ ง แอบซ้ือขายเน่ืองจากมีกฏหา้ ม เป็ นตน้ หรืออีกขอ้ สันนิษฐานหน่ึง สังเกตไดจ้ ากท่ารับมอบขวดแกว้ น้นั ชายไทยจะนง่ั อยู่ต่ากว่าชายชาวจีน อาจเป็ นไปได้ว่า ขวดแก้วหรือขวดสราน้นั อาจเป็ นของ กานลั ใหก้ บั เหล่าขนนางหรือทหาร ภาพพอ่ คา้ ชาวจีนย่นื ผลิตภณั ฑข์ วดแกว้ ใหก้ บั ชายท่ีสนั นิษฐานวา่ เป็นขนุ นาง รูปแบบของขวดแกว้ ท่ีปรากฏในฮูปแตม้ นเ้ ป็ นขวดทรงสูง มีลกั ษณะใส เขา้ ใจวา่ ช่างเขียน ใช้สีขาวเพื่อแทนความใสของแกว้ แต่จากการศึกษาขอ้ มูลแล้ว ลกั ษณะของภาชนะใส่สุราหรือ ของเหลวท่ีนาเขา้ มาจากจีนกม็ ีลกั ษณะเป็นขวดเซรามิกไดเ้ ช่นเดียวกนั จึงสนั นิษฐานไดว้ า่ ผลิตภณั ฑ์ ใส่ใส่ขวดน้ี อาจผลิตมาจากแกว้ หรือเซรามิก เป็นทรงสูง น่าจะบรรจุของเหลวไวด้ า้ นใน
ภาพแสดงขวดเซรามิกใส่เหลา้ ของจีน และขวดแกว้ ทรงสูงแบบใส ผวู้ ิจยั ยงั คงติดตามชายมี่แต่งกายคลา้ ยทหารต่อมาจึงไดเ้ ห็นภาพคลา้ ยกบกลุ่มชายหลายคนนง่ั อยู่และมีหีบในหน่ึงวางอยู่ โดยลกั ษณะของชายกลุ่มน้นั กาลงั คน้ หาสิ่งของบางอย่างจากหีบ และ บริเวณถดั ข้ึนไปเป็ นกลุ่มคนที่แต่งองคท์ รงเครื่อง สันนิษฐานไดว้ า่ อาจเป็ นกษตั ติยแ์ ละเช้ือพระวงศ์ และกลุ่มชายขนุ นางเหล่าน้ีกาลงั คา่ ส่ิงจากบางอยา่ งจากหีบใบน้นั ภาพแสงผลิตภณั ฑร์ ูปแบบคลา้ ยหีบไม้ ในฮูปแตม้ อีสานวดั ป่ าเลไลย์ ลกั ษณะของหีบเป็นหีบไมส้ ีดาหรือน้าตาล ทรงสี่เหลี่ยม สนั นิษฐานจากบริบทท่ีน่าจะเป็ น ภายในวงั ทาให้ผูว้ ิจยั เกิดมิติมุมมองขอสันนิษฐานไดห้ ลายประการ ซ่ึงหากพิจารณาจากรูปแบบ รูปทรงของหีบแลว้ น่าจะเป็ นหีบไมท้ ี่มีการแกะสลกั หรือลงรักปิ ดทองดว้ ยตามแบบศิลปะแบบภาค กลาง ซ่ึงหีบรูปแบบน้ีจะนิยมใช้ในกลุ่มขุนนางหรือชนช้ันสูง ( สันติ เล็กสุขุม,2548)หรือหาก วิเคราะห์จากบริบทพ้ืนท่ีต้งั ของสิม และช่างผูเ้ ขียนซ่ึงเป็ นคนในภูมิภาค หีบใบน้ันอาจมาจาก จินตนาการของช่างซ่ึงอาจมีลกั ษณะคลา้ ยกาปั่นไมห้ รือหีบแบบพ้ืนบา้ นอีสาน และหากมองอีกมุมนึง กลุ่มคนน้ีในมือคลา้ ยกาลงั ถือมว้ นวตั ถุเล็กๆอยู่ แต่ภาพเลือนลางเห็นไม่ชดั เจน อาจเป็ นไปไดว้ ่า ผลิตภณั ฑน์ ้ีอาจเป็ นเช่ียนหมากอีสาน ท่ีไวใ้ ส่หมากพลู บุหรี่ ก็เป็ นได้ หรือในอีกมุมมองหน่ึง หาก เชื่อมโยงกบั ภาพที่ 1 ซ่ึงไดร้ ับอิทธิพลจากจีนที่เขา้ มาคา้ ขาย ซ่ึงปรากฏในฮุปแตม้ อีสานแลว้ นบั วา่ มี ความสาคญั ไม่นอ้ ยในสังคม หีบใบน้ีอาจเป็นหีบไมห้ รือหีบเหล็ก ศิลปะแบบจีน( สุมาลี เอกชนนิยม ,2558)
ภาพแสดงลกั ษณะของหีบไมล้ งรักแบบภาคกลาง เชี่ยนหมากอีสานและหีบไมศ้ ิลปะจีน ท่ีมาภาพ: http://www.dmc.tv/page ต่อมาเป็ นภาพของกลุ่มคนซ่ึงสันนิษฐานจากการแต่งกายวา่ น่าจะเป็ นชาวบา้ น ดารงวถิ ีชีวิต อยู่ตามแบบฉบบั ของตน น่าจะเป็ นกลุ่มชาวบ้านท่ีมีชูชกและนางอมิตาดาอาศยั อยู่ รูปแบบ ผลิตภณั ฑ์ที่ปรากฏเห็นเป็ นลกั ษณะคลา้ ยตะกร้าหรือชะลอมหลายๆใบ แขวนอยูก่ บั ไมห้ าบ ซ่ึงใน สังคมไทยและอีสานในสมยั น้นั มีการใช้ผลิตภรั พเ์ ครื่องจกั สาน และเคร่ืองใชท้ ่ีทาข้ึนจากวิธีการ จกั สาน ถกั ทอจากวสั ดุท่ีมีอยูต่ ามทอ้ งถ่ินทวั่ ไป เช่น หวาย ไมไ้ ผ่ ใบลาน กก ฟาง กา้ น และใบมะพร้าว เป็นตน้ เคร่ืองจกั สานเป็ นหตั ถกรรมที่เก่าแก่ท่ีสุดของมนุษย์ เพราะทาข้ึนจากวสั ดุที่หาง่าย หลกั ฐานท่ี ขดุ พบจากเคร่ืองมือ เคร่ืองใชข้ องมนุษยก์ ่อนประวตั ิศาสตร์พอจะยืนยนั ไดว้ า่ มนุษยร์ ู้จกั ทาเคร่ืองจกั สานมานานและเก่าแก่กวา่ หตั ถกรรมอื่น ๆ ( วบิ ูลย์ ล้ีสุวรรณ,2545) จึงสันนิษฐานไดว้ า่ ผลิตภณั ฑ์น้ี อาจเป็ นผลิตภณั ฑ์เคร่ืองจกั รสาน แต่เน่ืองจากตอ้ งแขวนอยู่บนไมห้ าบอีกทีหน่ึง จึงจาเป็ นตอ้ งมี ความแข็งแรงพอสวมควร ดงั น้ัน เครื่องจกั สานที่สามารถข้ึนรูปไดแ้ ละมีความแข็งแรง รองรับ น้าหนกั ไดพ้ อสมควร กเ็ ห็นจะเป็น ไมไ้ มแ้ ละหวาย
ภาพแสดงรูปแบบผลิภณั ฑท์ ี่สันนิษฐานวา่ อาจเป็ นเคร่ืองจกั สาน ภาพแสดงลกั ษณะตะกร้าหวายแบบอีสาน ที่มาภาพ: http://e-shann.com เป็ นภาพน้ีท่ีต่อเน่ืองจากภาพก่อน อยู่ถดั มาไม่ไกลจะเห็นภาพชูชกนอนเอกขเนกอยู่ใน บ้าน และมีหญิงสาวคนหน่ึงกาลังที่กาลังจัดเตรียมวตั ถุดิบคล้ายกับกาลังจะประกอบอาหาร สันนิษฐานวา่ อาจเป็ นนางอมิตกา ซ่ึงตามตาราชูชกไดน้ างอมิตดามาเป็ นภรรยาอาศยั อยู่ในหมู่บา้ น และนางก็ได้ทาหน้าที่ภรรยาได้อย่างดี ท้งั งานบ้านงานเรือนไม่ขาดตกบกพร่อง ส่วนรูปแบบ ผลิตภัณฑ์ที่ปรากฏในภาพน้ี เดาได้ไม่ยากนัก เพราะรู ปแบบและรู ปทรงชัดเจนว่าเป็ น เครื่องป้ันดินเผา แตป่ ระโยชน์และวตั ถุประสงคก์ ารใชส้ อยน้นั รู้แน่ชดั อาจเป็ นลกั ษณะหมอ้ ดินเผาที่ ใส่น้าหรือของเหลว หรือาจใส่อาหาร หรือขา้ วสาร เป็ นตน้ ซ่ึงในสมยั น้นั นิยมหุง้ ขา้ วใส่หมอ้ ดิน แต่ ในวิถีของอีสานแลว้ จะน่ึงขา้ วเหนียวใส่หวดน่ึงขา้ ว แต่ไม่ปรากฏลกั ษณะของผลิตภณั ฑ์ท่ีคลา้ ย หวดแต่อย่างใด หากภาชนะน้ีใชห้ ุ้งขา้ วจริง ย่อมสะทอ้ นให้เห็นถึงวฒั นธรรมและค่านิยมจากภาค กลาง ที่ส่งอิทธิพลมาถึงภาคอีสาน ภาพแสดงรูปแบบผลิตภณั ฑท์ ี่ปรากฏในฮูปแตม้ วดั ป่ าเลไลย์
สันนิฐานวา่ เป็นเคร่ืองป้ันดินเผา ภาพแสดงหมอ้ ดินเผาท่ีมีลกั าณะคลา้ ยกบั หมอ้ ที่ปรากฏในฮูปแตม้ วดั ป่ าเลไลย์ ภาพต่อมาเป็ นภาพเล่าเรื่องราวต่อเนื่องจากภาพที่ 4 บริเวณใกลๆ้ กบั ชูชกนอนอยู่น้นั จะ สังเกตุเห็นผลิตภณั ฑ์2 ชิ้นวางอยู่ มีความชดั เจนดา้ นรูปแบบว่าเป็ นหมอ้ ดินเผาเช่นเดียวกนั มี 2 มี ลกั ษณะส่วนฐานทรงกลม ปากกวา้ ง ใบวางอยูบ่ นถาดหรือแท่นไม้ ใบหน่ึงมีกระบวยวาง ซ่ึงเดาได้ ไม่นากวา่ เป็ นภาชนะใส่น้าไวใ้ ชห้ รือด่ืม ส่วนอีกใบหน่ึงน้นั ไม่แน่ใจวา่ ใส่อะไรไวภ้ ายใน แต่ต้งั ไว้ ใกลก้ นั ด็อาจเป็ นน้าด่ืมท้งั สองใบ แต่ท้งั สองใบเหมือนจะวางอยู่นอกชานบา้ น จึงเป็ นไปไดว้ ่าอาจ เป็ นน้าท่ีเอาไวต้ อนรับแขก ใชด้ ื่มกินไดแ้ ละใชส้ าหรับลา้ งเทา้ ลา้ งมือก่อนเขา้ บา้ น ซ่ึงปรากฏให้พบ เห็นไดใ้ นวฒั นธรรมภาคกลาง ภาคเหนือ และอีสานในบางพ้ืนท่ี ภาพแสดงรูปแบบผลิตภณั ฑห์ มอ้ ดินเผา ภาชนะใส่น้าไวใ้ ชแ้ ละด่ืม รูปแบบผลิตภณั ฑ์และเครื่องมือเครื่องใชท้ ี่ปรากฏในจิตรกรรมฝาผนงั อีสาน วดั ป่ า เลไลยน์ ้ี เป็ นเพียงบางส่วนของจิตรกรรมฝาผนงั ที่พบเห็น เพราะหากเขา้ ไปดา้ นในตวั สิมจะมีการ เขียนเล่าเรื่องราวพุมธประวตั ิ ก็จะปรากฏรูปแบบผลิตภณั ฑ์อยบู่ า้ ง อาจมีนอ้ ยชิ้นแตเ่ ป็ นลกั ษณะท่ีมี
ความวจิ ิตรมากกวา่ ส่วนภายนอกสิมดดยรอบจะเล่าเรื่องราวเกี่ยวกบั พระเวชสันดรชาดก ซ่ึงมีท้งั ฉาก เมือง ในวงั ในป่ า และฉากชุมชน จากการศึกษาในคร้ังน้ีพบวา่ ผลิตภณั ฑแ์ ละเคร่ืองมือเครื่องใช้มี ความแตกต่างกนั ท้งั ดา้ นรูปแบบ ลวดลาย วสั ดุ การใชง้ าน ตามบริบทพ้ืนท่ีท่ีปรากฏในแต่ละฉาก น้นั ๆ จากการยกตวั อยา่ งมาขา้ งตน้ พบวา่ 1.ผลิตภณั ฑ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ฉากในวงั ขุนนางหรือกษตั ริย์ สันนิษบานจากรูปแบบแลว้ จะมีความละเอียดใกลเ้ คียงกบั งานช่างภาคกลางมากกวา่ เช่น หีบไมล้ ง รักซ่ึงค่านิยมในสมยั น้นั จะใชก้ บั บึคคลท่ีมีฐานนั ดรสูงศกั ด์ิ 2.ผลิตภณั ฑม์ ีวสั ดุที่หลากหลาย ซ่ึงจาก การยกตวั อย่างน้ันสันนิษฐานได้ว่าพบเห็นวสั ดุหลากหลายชนิด ท้งั แก้ว เซรามิก จากจีน ไม้ เครื่องจกั รสารและดินเผา เป็นตน้ 3.รูปและผลิตภณั ฑม์ ีความสัมพนั ธ์กบั วิถีการดารงชีวติ ของมนุษย์ เช่น ภาชนนะท่ีใช้ใส่น้า วางไวน้ อกชานบ้านเพื่อตอ้ นรับแขกหรือมีไวใ้ ห้เจา้ บ้านไวใ้ ช้ด่ืมกิน เครื่องจกั รสานที่เป็ นตะกร้าท่ีแขวนไวบ้ นคานหายหลายๆใบเพ่ือใช้รองรับส่ิงของในปริมาณมาก แสดงถึงบทบาทของเครื่องจกั สารที่ประโยชน์ใชส้ อยหลากหลาย (กรมศิลปากร,(2533)) หรืองานไม้ ที่ใชเ้ ป็ นหีบ ซ่ึงหากมองเพียงมิติของประโยชน์ใชส้ อยในสมยั น้นั จากวฒั นธรรมการใชส้ อยซ่ึงนิยม ใชห้ ีบไมเ้ ก็บสิ่งของมีคา่ แต่หากมองดา้ นรูปแบบอาจไมเ่ ห็นชดั เจนนกั รูปแบบผลิตภณั ฑ์ในฮูปแตม้ อีสานสะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงมิติความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั วตั ถุที่ใช้สอยในบริบทพ้ืนที่ท่ีแตกต่าง รายละเอียดท่ีช่างเขียนใส่ลงไปตามจินตนาการน้ันอยู่ใน จิตสานึกและอิทธิพลทางวฒั นธรรมท่ีเขา้ มามีบทบาทกบั ช่างพ้นื ถ่ิน ส่งผลให้รูปแบบของผลิตภณั พม์ ี ความแตกต่างกนั ในมิติมุมมองของสุนทรียะในงานศิลปะ ผลิตภณั พเ์ ครื่องมือเครื่องใชเ้ หล่าน้ียงั คง มีใหพ้ บเห็นบา้ งในปัจจุบนั แตค่ วามงามอาจถูกแปรเปล่ียนไปตามสภาพสังคม การประยกุ ตแ์ ละการ ออกแบบใหม่เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของคนในสังคมปัจจุบนั มีมากข้ึน รูปแบบ รูปทรง วสั ดุ ที่ก่อเกิดจากภูมิปัญญาก็ถูกปรับให้มีหน้าตาแปลกใหม่ อย่างไรก็ตาม คุณค่าเชิงความหมายที่ สะทอ้ นใหเ้ ห็นความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั วตั ถุที่ใชส้ อยยงั คงอยู่ และควรค่าแก่การอนุรักษแ์ ละ ศึกษาตอ่ ไป อ้างองิ สันติ เล็กสุขมุ .(2548).รวมบทความความคดิ และความหมายงานช่างไทยโบราณ.กรุงเทพมหานคร วบิ ลู ย์ ลีส้ วุ รรณ.(2535).ศลิ ปหัตถกรรมพืน้ บ้าน.กรุงเทพมหานคร:สานกั พมิ พ์บ้านหนงั สือ. สมุ าลี เอกชนนิยม.(2548). ฮปู แต้มในสิมอีสาน.งานศลิ ป์ สองฝ่ังโขง.กรุงเทพมหานคร :สานกั พมิ พ์มตชิ น ศิลปากร,กรม.(2533).จิตรกรรมไทยประเพณี เล่มที่ 1.กรุงเทพมหานคร:กองโบราณคดี กรมศิลปากร
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: