กล่มุ จักสานกระติบข้าวไผ่ตะวัน ต.ยางคา อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น
กระติบ กระตบิ หรือ กระติบข้าว คือ ภาชนะในการเก็บอาหารท่ีเป็นงาน หัตถกรรมอันทรงคุณค่าชนิดหน่ึงท่ีมากด้วยภูมิปั ญญาท้องถ่ิน เป็นของท่ีมีประจาบ้านของชาวไทยทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จแลักะสภาานคทเห่ีทนาือจมากายวาัสวดนุธารนรมใชชา้สตาหิ เรชับ่นบรไรมจ้ไุผข้า่ วใบเหจนาียกว เป็นเคร่ือง ลาน ตน้ คล้า หรือ จากต้นพชื ท่ีมีลกั ษณะยาวเรยี ว ใบตาล ใบ
จ. ขอนแก่น เป็นจังหวัดท่ีมีขนาดพื้นท่ีใหญ่เป็นอันดับท่ี 6 ของภตะวันออกเฉียงเหนือ และมีประชากรมากเปน็ อนั ดับ 3 ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ปัจจุ บันมีมีพน้ื ท่ี 10,886 ตร.กม. 26 อาเภอ 199 ตาบล 2331 หมู่บ้าน จงั หวัดขอนแกน่ มีประชากรทัง้ สิ้น 1,790,055 คน อา้ งองิ จาก : Wikiwand จงั หวัดขอนแก่น (http://www.wikiwand.com/th/จังหวัดขอนแกน่ )
อ. หนองเรอื อาเภอหนองเรือ เดิมมีฐานะเป็นตาบลหน่ึงของ อาเภอเมืองขอนแก่น และมีการยกฐานะเป็นก่ิง อาเภอ เม่ือ พ.ศ. 2502 โดยรวมหมู่บ้าน ตาบล ต่างๆ จากอาเภอเมืองขอนแก่นและตาบลในเขต อาเภอภเู วียง เขา้ ด้วยกนั เป็น 7 ตาบล ต่อมาได้รบั มายกฐานะเป็นอาเภอหนองเรือ เม่ือวันท่ี 31 มกราคม 2506 ปัจจุ บนั มมี พี นื้ ท่ี 673.8 ตร.กม. 10 ตาบล 149 หมูบ่ ้าน อาเภทหนองเรือมีประชากรทัง้ สน้ิ 91,956 คน อา้ งองิ จาก : ศนู ย์บริหารขอ้ มูลอาเภอ (http://www.amphoe.com/menu.php?am=48&pv=5&mid=1)
วธิ ีการเดนิ ทาง จากมหาวิทยาลัยขอนแกน่ สู่กลุ่มจักสานกระติบข้าวไผ่ตะวัน ใช้เส้นทางถนนมิตรภาพมุ่งสสู่ ่แี ยกมะลวิ ลั ย์และ เลย้ี วขวามุ่งสู่ ต.บ้านทมุ่ ดว้ ยระยะ 19 กม. ต่อจาก ต. บา้ นทมุ่ ว่ิงตรงสู่ บ้านดอนโมง ดว้ ยระยะ 18 กม. และเล้ียวซ้าย 4 แยกบา้ นโดน โมง และขบั ตรงไปอกี 10 สู่ ต.ยางคา กลุ่มจักสานกระติบขา้ วไผต่ ะวัน 153 หมู่ 13 ตาบลยางคา อาเภอหนองเรือ จงั หวดั ขอนแกน่ 40240
ตาบลยางคา ตาบลยางคา ไดแ้ ยกออกมาจากตาบลจระเข้ จดั ตัง้ เป็นตาบลยางคาเม่ือปี พ.ศ.2511 ปัจจุ บันเป็น ตาบลท่ตี ัง้ อยู่ในเขตการปกครองของอาเภอหนองเรือ ประกอบด้วย 14 หมู่บ้าน ตาบลยางคามี ประชากรทัง้ สน้ิ 6,104 คน
กระตบิ ขา้ วไผต่ ะวัน กลมุ่ จกั สานกระตบิ ข้าวไผ่ตะวนั หมู่ 13 ต.ยางคา อ.หนองเรอื จ.ขอนแกน่
ประวัตกิ ลุม่ จกั สานกระตบิ ขา้ วไผต่ ะวนั หมู่ 13 เป็นกลุ่มจกั สานกระติบข้าวท่ีมีอายุยาวนานท่ีสดุ ในอาเภอหนองเรือถูกจดั ตงั้ กลุ่มอยา่ งเป็นทางการ เม่อื วนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ.2541 และยังมอี ยูจ่ นถงึ ปัจจุ บนั และลวดลายท่เี ป็นลวดลายประจากลุ่ม คือลาย ไผล่ ้อม ,ไผ่ตะวัน และลายท่ีถกู สืบทอดจากรุน่ ส่รู ุน่ คอื ลาย สาม, สอง, คุก, ข้างกระแต และยงั มลี วดลายท่ถี ูกพัฒนาตามยุคสมัยอีก 23 แบบเช่น รูปหัวใจ เป็นต้น
บา้ นยางคา
บา้ นยางคาหมูท่ ่ี 13
สถานท่ีตงั้ กล่มุ จักสานกระตบิ ข้าวไผ่ตะวนั หมู่13
อุปกรณ์การผลติ กระติบข้าว กลมุ่ จกั สานกระตบิ ขา้ วไผ่ตะวนั หมู่ 13 ต.ยางคา อ.หนองเรือ จ.ขอนแกน่
น้า มีดปะขอ เล่อื ย กบไสไม้ ซากไุ ร กรรไกร ดนิ สอ
ขนั้ ตอนการผลิตกระติบขา้ ว กลุม่ จักสานกระตบิ ข้าวไผ่ตะวนั หมู่ 13 ต.ยางคา อ.หนองเรือ จ.ขอนแกน่
1. การเลือกสรรไมไ้ ผ่ หาไมไ้ ผท่ ่มี อี ายุประมาณ 8-16 เดือน จงึ จะมีคุณภาพและขนาดยาวของปล้องไม้ ไผ่ 45 ซม. เม่ือได้มาตัดไม้ไผ่ออกเป็น ปล้อง แล้วนาไปรนไฟให้เน้ือไม้สุกเพ่ือให้ มีความเหนียวย่ิงขึ้นแล้วนาไปวางในท่ีช้ืน ประมาณ 1-2 ชม.
2. แปลรูปไม้ไผ่ นาเอาปล้องไม้ไผ่ท่ีผ่ารจากขั้นตอนท่ี 1 มาแล้ว ขูดผิวไม้ไผ่ท่ีรนจนดาออกแล้ว นามาผ่าเป็นซีก เพ่ือเอามาทาเส้นตอก พอได้เส้นตอกให้นาไปแช่น้าประมาณ 1-2 ชม. แล้วนามาขูดแลว้ นาไปตอกแห้ง
3. กระบวนการสาน เร่ิมจากการนาเสน้ ตอกท่ีเตรยี มมาขนึ้ รูปสานใหต้ ดิ กันเรียก “กอ่ ” หลงั จากนนั้ ทาตามขนาดความ ยาวของเส้นตามเส้นรอบวงท่ีเราต้องการแลว้ จบั โคง้ เข้ามาประจับกนั แลว้ สานข้นึ ลวดลายและรูปทรง ตามท่ตี ้องการ
3.1 นาเส้นตอกมาสาน เข้าด้วยกันให้เป็นแผ่น ใหญเ่ พ่อื นาไปใช้งานต่อ
3.2 นาเส้นตอกท่ีสาน เ ป็ น แ ผ่ นใ ห ญ่ แ ล้ ว ม า ประกอบให้เป็นรู ปทรง กระติบขา้ ว
4. การใสฝ่ า เรียกจากก่อรูปได้ตามท่ีต้องการแล้ว จะเข้าสู่กระบวนการใส่ฝา หรือใส่หมวกให้กับงาน โดยการนาเส้นตอกท่ีสานกันเป็นแผ่นยาว มาทาบกบั ช้ินงานแลว้ ตดั ตามเสน้ รอบวงเพ่ือให้มีขนาดพอดกี นั
4.1 นาเอาแผ่นไม้ไผแ่ บบ บางมาสานเขา้ ด้วยกันให้ เป็นแผ่นใหญ่และวัดตาม เส้นรอบวงของกระขา้ ว
4.2 ใช้กรรไกรตัดตาม รอยท่ีวัดเอาไว้เพ่ือให้ พอดีกบั ฝากระติบ
4.3 นาฝากระติบมาวัด กบั เส้นตอกท่ีสานกันเป็น แ ผ่ นใ ห ญ่ แ ล ะ ตั ด ต า ม แบบให้เท่ากัน
4.2 นาส่วนท่ีตัด 2 ชิ้น มาใส่ท่ีฝาหรือหัวของหัว ของกระตบิ ขา้ ว
5. การใสฐ่ าน นาไม้ไผ่ท่ีผ่าเป็นช้ินใหญ่-บาง ไปแช่ น้า ก่อนและดัดให้งอแล้วใช้เชือกพันไว้เพ่ือให้ อยู่ทรง หรือ ค่อยดัดตามขนาดของ ช้ินงาน หลังจากได้ฐานตามขนาดแล้วจะ ใช้หวายในการรอ้ ยตวั ฐานเขา้ กบั ตัวงาน
5.1 การใช้กรรไกรตัดหัว เส้นหวายให้มีความคม เพ่อื ใช้ในการสาหรับสาน
5.2 นาไม้ไผ่ท่ีแช่ น้าให้ อ่อนไว้มาวัดขนาดก้น ของกระติบ
5.3 หลังจากได้ขนาดใช้ หวายสานส่วนของไม้ไผ่ เข้าด้วยกัน
5.4 ใช้หวายสานก้นและ กระติบข้าวเขา้ ดว้ ยกัน
สรุป การจักสานกระติบข้าวของชาวบ้านตาบลยางคาหมู่ 13 ถือเป็น กลุ่มคนท่ีมีความสาคัญในการช่ วยอนุรักษ์รักษาวัฒนธรรมและ ศิลปะพ้ืนถ่ินของ บ้านยางคา อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่นเอาไว้ การ ใช้วิถีดั้งเดิมในการสานกระติบข้าวของกลุ่มถือเป็นการยึดใน รูปแบบวิถีชีวิตแบบดัง้ เดิม อาทิ การใช้สีธรรมชาติในการย่อมเส้น ตร วอมกถึ งกกา ราใรชพ้ หั ฒว านยาเ ปล็วนดอุ ลปากยรทณ่ี เ ป์ ใ็ นนเกอากรลเ ยั ก็ บษอณย์่เาฉงพเ ดาี ยะ ตว ั วเแปล็ นะตย้ นั ง สามารถรักษาลวดลายดั้งเดิมของตัวเองไว้ได้และสร้างสรรค์ ลวดลายใหม่ๆ ให้เข้ากับยุค และน้ีคือการรักษาภูมิปัญญาดั้งเดิม เอาไว้พรอ้ มกับการพัฒนาตามยุคสมัยไปในเวลาเดียวกนั
ผู ้ให้ข้อมู ล หม่นื แกว้ นายกองมี ประธานกลมุ่ จกั สานกระติบข้าวไผ่ตะวนั
Search
Read the Text Version
- 1 - 33
Pages: