เช่ียนหมาก หรือ ขันหมาก จัดแสดง ณ ศูนย์ศิลปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น อีสานเราลักษณะขันหมากหรือกระบะหมาก เร่ิมเข้ามาสักประมาณช่วงรัชกาลท่ี๔ โดยช่างไม่แถบ มหาสารคามแล้วค่อยๆแพร่หลายไปยังจังหวัดอื่นๆ ซ่ึงสมัยนั้นจะทาไว้ใช้เองบ้างหรือมีผู้จ้างวานให้ทาเพื่อ นาไปมอบให้คู่หมั่น สมัยรัชกาลที่๕ พระสงฆ์นิยมทาขันหมากแบบน้ีไว้ให้พ่อแม่หรือผู้มีบุญคุณ จึงทาให้เป็นที่ นยิ มกนั ในหมู่ช่างพระในเวลาต่อมา การกินหมากในสมัยโบราณนั้นถือว่าเป็นสิ่งดีงามเป็นเหมือนการต้อนรับ ยกตัวอย่างเช่น เวลาแขกมา บ้านเจ้าบ้านก็จะยกขันหมากมาต้อนรับ ในขันหมากจะมีทั้งยาสูบมี ทั้งหมากมีท้ังพลู นอกจากขันหมากยังมีสารับอาหารว่างอีกด้วย และในสมัยก่อนคนฟันดาเป็นลักษณะของคนสวย นอกจากน้ีการ เคี้ยวหมากยังใหค้ วามเพลิดเพลิน ช่วยฆ่าเวลาและทาให้ฟันแข็งแรง ทนทานอีกด้วย ซ่ึงในสมัยก่อนผู้ชายก็เค้ียวหมาก ผู้หญิงก็เคี้ยว หมากผู้หญิงบางคนเคย้ี วหมากตงั้ แต่เปน็ สาว ขนั หมากท่ีเราเหน็ โดยทัว่ ไปลกั ษณะจะเป็นรูปสเ่ี หลยี่ มมีช่อง3ช่องหรือ4ช่องแล้วแต่ขนาด ขันหมากใช้ สาหรับว่างเครื่องหมากพลูและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการกิน เช่น เต้าปูน หรืออีสานเราเรียก บอกปูน นิยมทาเป็น ทรงกระบอกหรือเป็นเหล่ียมๆ ไม้ควักปูน ซองพลู สาหรับใส่พลูหรือพลูที่ม้วนไว้ นิยมฉลุโปร่งเพ่ือไม่ให้ใบพลู ตายน่ึง จอกหมากใช้ใส่หมากสดหรือแห้ง นอกจากน้ียังมีตลับหรือผอบใส่เคร่ืองปรุงอ่ืนๆ เช่น การบูร พิมเสน และก็กรรไกรหนีบหมาก แถวทางภาคเหนือนิยมเรียกมีดยับ ภาคอีสานเรียกมีดสะนากก็ใช้สาหรับฝานหมาก มีดเจียนหมากใช้สาหรับผ่าหมากดิบและเจียนพลูและก็มรครกตาหมากหรือตะบันหมาก รวมกันทั้งหมดนี้เรา เรียกว่าเครอ่ื งเซี่ยน และสิ่งที่สาคัญอีกอยา่ งคือขา มีขาและต้องมีลาตัว และการสลักลวดลายลงไปบนขนั หมาก
เราจะสังเกตเห็นได้ว่าขันหมากแต่ละใบจะแกะลวดลายไม่เหมือนกัน บ้างจะเป็นลายดอกไม้ ลายประแจจีน และอีกมากมายของแตล่ ะรูปแบบ มีไม้หลายชนิดท่ีนามาทาข้ึนอยู่กับเชิงชั้นของช่างแต่ละคน เป็นไปได้ว่าอาจ ใชว้ สั ดุทีห่ าได้งา่ ยจากทอ่ งถิน่ ขันหมากในภาคอีสานจะมีการแบ่งชนชั้น ผู้ดีสมัยก่อนขันหมากจะเป็นลักษณะของกระบะมุก ส่วน ของไทยบ้านจะเป็นธรรมดาแกะลวดลาย และอีกอย่างขันหมากยังเป็นเคร่ืองบอกยศถาบรรดาศักดิ์ของ เจ้านายในอดีตดูได้จากเครื่องราชบรรณาการ เคร่ืองประดับพระยศของกษัตริย์ จะมีการถวายขันหมาก มีกระบะ มีหบี พลู มกี ระบะหมากลงยา ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามประกาศห้ามกินหมาก เพราะเห็นว่าการกินหมาก ทาให้บ้านเมือง สกปรก และลา้ สมัยการกินหมากจึงเริ่มเส่ือมความนิยมต้ังแต่นน้ั เป็นตน้ มา ลกั ษณะของเชี่ยนหมาก หรือ ขันหมาก รูปแบบของเช่ยี นหมากอีสานมีสองแบบ คอื ทรงกลอ่ ง และทรงคางหมู ( https://www.kaidee.com/product-348377113 )
ลวดลายของเชี่ยนหมาก หรือ ขนั หมากลกั ษณะจะแตกต่างกันออกไป
ข้อมูลสัมภาษณ์จาก นางสาววราลักษณ์ มะชัย นักศกึ ษาวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ ผู้ให้ข้อมูล อาจารย์วิทยา วุฒไิ ธสง นักวชิ าการวฒั นธรรม ศนู ย์ศิลปวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: