WILASINEE KHAMPROMMARAT
ภาพและเร่อื งโดย : วิลาสินี ข�ำพรหมราช นักศกึ ษาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศลิ ปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
บรรจุภณั ฑ์จากวัสดธุ รรมชาติ สร้างขึ้นเพื่ออ�ำนวยความสะดวกในการด�ำรงชีวิต ในยุคเร่ิมแรกอาศัยใบไม้ มาห่อหุ้มเพื่อใช้ปกป้อง อาหาร นับเป็นการเลียนแบบผลไม้จากธรรมชาติ ท่ีจะมีเปลือกหุ้มเพ่ือป้องกันแมลง ต่อมาเม่ือ มนุษย์มีวิวัฒนาการเพิ่มมากขึ้น จึงมีการประดิษฐ์ คิดค้นบรรจุภัณฑ์รูปแบบต่างๆ เพ่ือสนองความ ต้องการในแต่ละกรณีของการใช้งาน โดยมีการ ก า ร ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ ใ ห ้ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ ์ มี รู ป แ บ บ ที่ ห ล า ก หลาย เกิดความความสวยงาม และมีความ สอดคล้องกับสิ่งท่ีบรรจุอยู่ภายใน
สารบัญ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ข้อมูลเบื้องต้น 1 อาณาเขตของประเทศ 1 การแบ่งเขตการปกครอง 2 วัฒนธรรม 4 หลวงพระบาง แนะน�ำหลวงพระบาง 5 บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ ความหมาย 13 บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติวัตถุดิบอาหาร 15 บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติอาหารหวาน 19 บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติอาหารคาว 23 การขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ 29 บรรณานุกรม บรรณานุกรม 32
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว Lao People’s Democratic Republic ข้อมลู เบอ้ื งต้น ลาว หรือ สปป.ลาว เป็นประเทศหนึ่งในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีเน้ือท่ีท้ังหมด 236,800 ตร.กม. ภูมิประเทศโดยรวมเป็นภูเขา และพ้ืนที่ ราบสูง กระจายตัวอยู่โดยท่ัวไปของประเทศ มีแม่น้�ำโขงเป็นแม่น้�ำส�ำคัญ มีความยาวตั้งแต่ เหนือจรดใต้ 1,850 กม. และมีข้อด้อยทาง ภูมิศาสตร์ คือเป็นประเทศที่ไม่มีอาณาเขตติด กับทะเล อาณาเขตของประเทศ ทีิศเหนือ ติดกับ จีน ทิศใต้ ติดกับ ไทย และ กัมพูชา ทิศตะวันออก ติดกับ เวียดนาม ทิศตะวันตก ติดกับ ไทย และ พม่า 1
การแบ่งเขตการปกครอง มีทั้งสิน 17 แขวง และ1 นครหลวง 1. นครหลวงเวียงจันทน์ 2. แขวงพงสาลี 3. แขวงหลวงน้�ำทา 4. แขวงอุดมไชย 5. แขวงบ่อแก้ว 6. แขวงหลวงพระบาง 7. แขวงค�ำม่วน 8. แขวงเชียงขวาง 9. แขวงไชยบุรี 10. แขวงไชยสมบูรณ์ 11. แขวงเซกอง 12. แขวงบอลิค�ำไซ 13. แขวงสาละวัน 14. แขวงสะหวันนะเขต 15. แขวงหัวพัน 16. แขวงอัตตะปือ 17. แขวงจ�ำปาสัก 18. แขวงเวียงจันทน์ 2
3
วัฒนธรรม ลาว เป็นประเทศหน่ึงที่มีวัฒนธรรมเก่าแก่และเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะของตนเอง ในสมัยของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ได้มีการ สร้างพระธาตุหลวง และวัดต่างๆมากมาย ซึ่งแสดงให้เห็นถึง รูปแบบของสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมลาวล้างช้างได้อย่าง เด่นชัด ประชากรส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาและฮีตคองเอา ไว้อย่างเหนี่ยวแน่น ซ่ึงได้แสดงออกผ่านวัฒนธรรมและประเพณี ที่สืบทอดต่อกันมา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในเขตพ้ืนท่ีบริเวณเมือง หลวงพระบางที่จนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น “เมืองมรดกโลก” 4
หลวงพระบาง Luangprabang แนะน�ำหลวงพระบาง หลวงพระบาง เป็นเมืองเก่าแก่แห่งหน่ึงของลาว มีอายุ ห ล า ย พั น ก ว ่ า ป ี ม า แ ล ้ ว แ ล ะ เ ค ย เ ป ็ น เ มื อ ง ห ล ว ง ข อ ง อ า ณ า จั ก ร ล ้ า น ช ้ า ง เ ป ็ น ศู น ย ์ ก ล า ง ข อ ง ง า น ด ้ า น สถาปัตยกรรมและศิลปกรรมแบบฉบับล้านช้าง โดย หลวงพระบางมีเน้ือท่ีทั้งหมด 16.875 ตร.กม. ตัวเมืองต้ัง อยู่ริมน้�ำโขง และน้�ำคาน ซ่ึงไหลมาบรรจบกันขนเกิดเป็น ทัศนียภาพท่ีสวยงาม ชาวหลวงพระบางมีบุคลิกย้ิมแย้ม เป็นมิตร มีวิถีชีวิตท่ีเรียบง่าย ศรัทธาในพระพุทธศาสนา และผูกพันกับธรรมชาติ 5
6
พระพุทธรูปไม้ ประดิษฐานอยู่ภายในถ�้ำติ่ง 7
วัดเชียงทอง วัดวิชุน สร้างเมื่อ ค.ศ.1559-1560 สร้างเมื่อ ค.ศ.1503 พุทธศิลป์สกุลช่างหลวง ศิลปะล้างช้าง พุทธศิลป์สกุลช่างไทล้ือสิบสองปันนา ถ�้ำติ่ง ท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปไม้จ�ำนานมาก ที่ชาวบ้านน�ำมาถวายเป็นพุทธบูชา 8
ปัจจุบัน หลวงพระบางเป็นสถานท่ีท่องเท่ียวที่ชาวต่างชาติ นิยมเข้ามาสัมผัส กับประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมประเพณี รวมไปถึงรูปแบบของวิถีชีวิตที่เรียบง่าย ภายใต้การข้ึนทะเบียน เมืองมรดกโลก ซึ่งแตกต่างจากวิถีชีวิตของคนในปัจจุบัน ที่อยู่ ภายใต้การแย่งชิง และการแข่งขันท่ีด�ำเนินไปพร้อมกับความ เจริญทางด้านวัตถุ 9
10
11
วิถีชีวิตในตลาดเช้าหลวงพระบาง ตลาดเช้าหลวงพระบาง เป็นสถานท่ีหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับ ผู้คนในหลวงพระบางเป็นอย่างมาก ซึ่งตลาดเช้าท่าเรือเมล์ และ ตลาดโพสี ต่างก็มีผักและอาหารพ้ืนบ้านท่ีชาวบ้านต่างน�ำมาวาง ขายอย่างมากมายให้เลือกหา ภายในตลาดน้ีสามารถพบเจอ หีบห่อหรือบรจุภัณฑ์ท่ีท�ำจากวัสดุธรรมชาติ ที่ชาวบ้านน�ำมาห่อ หุ้มอาหาร ซึ่งได้สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาในการใช้ประโยชน์ จากธรรมชาติได้อย่างชาญฉลาด 12
บรรจุภณั ฑ์ จากวัสดธุ รรมชาติ ความหมาย บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงห่อหุ้ม บรรจุ และภาชนะบรรจุท่ีใช้ส่วนประกอบต่างๆของ พืช ใช้ประโยชน์ในการขนย้าย เพื่อวัตถุประสงค์ใน การป้องกัน และเก็บรักษา ไม่ให้ผลิตภัณฑ์เสียหาย คนในหลวงพระบางปัจจุบันยังมีการใช้บรรจุภัณฑ์ ที่ท�ำมาจากวัสดุธรรมชาติอยู่อย่างแพร่หลาย วัสดุ ที่ใช้เป็นวัสดุท่ีหาได้ง่ายในพื้นที่ เช่น ใบตอง และตอก ไม้ไผ่ โดยสามารถพบเห็นในการใช้ห่อหุ้มอาหารมาก ที่สุด โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือกลุ่มวัตถุดิบอาหาร กลุ่มอาหารหวาน และกลุ่มอาหารคาว มีรูปแบบ แต่งต่างกันไปขึ้นอยู่กับประโยชน์ในการใช้งาน และ วิธีในการปรุงอาหาร 13
14
วั ต ถุ ดิ บ อ า ห า รบรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ 15
16
17
18
อ า ห า ร ห ว า นบรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ 19
20
21
22
อ า ห า ร ค า วบรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติ 23
24
25
26
27
28
ประเภทการข้ึนรูป ในหลวงพระบาง พบรูปแบบวิธีการขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์ จากวัสดุธรรมชาติจ�ำนาว 5 รูปแบบ คือ 1. พับ ห่อ หุ้ม 2. รองรับ 3. บรรจุ 4. เสียบ หนีบ 5. ผูก มัด รัด ร้อย ซ่ึงบรรจุภัณฑ์บางรูปแบบมีประโยชน์มากกว่าการ ปกป้องอาหาร แต่ยังสามารถเพ่ิมความสะดวกใน การขนย้าย โดยมีการมัดตอก และร้อยเป็นพวง เพื่อ ให้เป็นหูจับ ถือเป็นตัวอย่างของภูมิปัญญาอันชาญ ฉลาดของคนหลวงพระบางในการใช้ประโยชน์จาก ธรรมชาติ ไม่ได้ว่ิงตามกระแสของโลกาภิวัฒน์ที่ขับ เคล่ือนไปอย่างไม่หยุดน่ิง 29
ปัจจุบัน แม้ว่าบรรจุภัณฑ์อาหารจะมีวัสดุ และ เทคโนโลยีอื่นที่ทันสมัย เข้ามามีบทบาทแทนการ ใช้งานบรรจุภัณฑ์ที่ท�ำจากวัสดุธรรมชาติมากมาย แล้วก็ตาม แต่ผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อมท่ีตามมา ก็มากมายด้วยเช่นกัน เพราะเราไม่อาจปฏิเสธได้ว่า บรรจุภัณฑ์ท่ีเป็น ถุงพลาสติก กล่องโฟม ล้วนแต่ เป็นวัสดุท่ีย่อยสลายได้ยาก อีกทั้งยังมีสารตกค้าง ที่มีผลเป็นพิษต่อร่างกาย หากเรารู้จักใช้ประโยชน์ จากส่ิงที่อยู่รอบตัว หันมาใช้บรรจุภัณฑ์ท่ีมาจาก วัสดุธรรมชาติ โดยคิดค้นวิธีการ ห่อ หุ้ม ผูก มัด รัด ร้อย เสียบ หนีบ หรือรองรับ ในงานบรรจุภัณฑ์ อาหารก็จะเกิดรูปแบบความน่าสนใจ และท่ีส�ำคัญ ไม่ท�ำรายส่ิงแวดล้อมอีกด้วย 30
31
บรรณานุกรม จันทนา เพชรสงคราม. งานใบตอง. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ไทยวัฒนา พานิช, 2533. ฉลาดชาย รมิตานนท์. “เนื่องมาแต่ห่อมัดรัดร้อย”. สารคดี. ปีที่7 ฉบับที่ 76 (มิถุนายน 2534). แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย. “ห่อมัดรัดร้อย วิถีชาวบ้านวิถี ธรรมชาติ”. สารคดี. ปีท่ี7 ฉบับท่ี 76 (มิถุนายน 2534). อมรรัตน์ สวัสดิทัต. “บรรจุภัณฑ์...ส�ำคัญไฉน”. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ปีที่6 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2534). ......องค์การท่องเท่ียวแห่งชาติลาว สปป.ลาว. มรดก และแหล่งท่องเท่ียวลาว. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ เพื่อชีวิต. 2538. 32
Search
Read the Text Version
- 1 - 42
Pages: