Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องย่อ:หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

เรื่องย่อ:หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

Published by Library watchanschool, 2019-10-17 11:42:12

Description: เรื่องย่อ:หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี จำนวน 71 เรื่อง

Keywords: เรื่องย่อ:หนังสือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

Search

Read the Text Version

หนงั สือพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี จานวน 71 เรื่อง หนงั สือชดุ เสด็จพระราชดาเนินเยอื นต่างประเทศ (46 เล่ม) เรื่องท่ี 1 เกลด็ หมิ ะในสายหมอก เล่ม 1 ปักกิ่ง เรอ่ื งย่อ พระราชนพิ นธ์ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี คราวเสด็จเยือนประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจนี เป็นครัง้ ท่ี 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครั้งนี้ไดเ้ สด็จเยอื น ทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ของจีน อันเป็นถิ่นกาเนิดของแมนจู ซ่งึ เป็นดินแดนสาคญั ทาง ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐกจิ สังคมและการเมือง จานวนหนา้ : 114 หน้า เร่ืองท่ี 2 เกลด็ หมิ ะในสายหมอก เล่ม 2 เหลยี วหนิง เรื่องย่อ พระราชนพิ นธข์ องสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี คราวเสด็จเยือนประเทศ สาธารณรฐั ประชาชนจนี เป็นครั้งท่ี 3 ระหว่างวันที่ 4-17 มกราคม 2537 โดยครั้งนไ้ี ด้เสดจ็ เยอื น ทางภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของจนี อนั เปน็ ถ่ินกาเนิดของแมนจู ซ่งึ เปน็ ดนิ แดนสาคัญทาง ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง จานวนหนา้ : 140 หนา้ เร่อื งท่ี 3 เกลด็ หมิ ะในสายหมอก เล่ม 3 จีห๋ ลนิ เรอ่ื งย่อ พระราชนพิ นธ์ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี คราวเสด็จเยือนประเทศ สาธารณรฐั ประชาชนจนี เปน็ คร้ังที่ 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครงั้ น้ีไดเ้ สด็จเยอื น ทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือของจีน อันเป็นถ่ินกาเนิดของแมนจู ซ่งึ เป็นดินแดนสาคญั ทาง ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐกจิ สังคมและการเมือง จานวนหนา้ : 228 หนา้ เรื่องที่ 4 เกล็ดหมิ ะในสายหมอก เลม่ 4 เฮยหลงเจียง เร่อื งย่อ พระราชนพิ นธ์ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี คราวเสด็จเยอื นประเทศ สาธารณรฐั ประชาชนจนี เปน็ ครง้ั ท่ี 3 ระหวา่ งวนั ท่ี 4-17 มกราคม 2537 โดยครัง้ น้ไี ด้เสดจ็ เยอื น ทางภาคตะวันออกเฉยี งเหนือของจีน อันเปน็ ถิ่นกาเนิดของแมนจู ซ่งึ เปน็ ดนิ แดนสาคัญทาง ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง จานวนหนา้ : 151 หนา้

เรอ่ื งท่ี 5 เกล็ดหมิ ะในสายหมอก เลม่ 5 ภาคผนวก เรื่องย่อ ภาคผนวกนเี้ ป็นการใหค้ วามรเู้ ก่ียวกบั เมอื งจนี เชน่ ราชวงศ์ทป่ี กครองจีน สสุ านพระจกั รพรรดิ ราชวงศ์ชิง เป็นตน้ จานวนหนา้ : 76 หนา้ เรื่องที่ 6 แกะรอยโสม เรื่องย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ เรื่องแกะรอยโสมเล่มนี้ เปน็ เร่อื งราวการเสดจ็ เยือนประเทศสาธารณรัฐเกาหลี สาธารณรฐั ประชาชนจีน และสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชน เกาหลี (เกาหลีเหนือ) ระหวา่ งวันท่ี 18-29 มนี าคม 2534 ซง่ึ ทรงบันทึกเหตุการณ์ ทีท่ รงพบเหน็ ใน ระหวา่ งการเสดจ็ เยอื นสถานทต่ี ่างๆ ตลอดเวลาทท่ี รงประทบั อยู่ มภี าพประกอบสวยงามท่ไี ด้ทรง บรรยายไวท้ ัง้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ จานวนหนา้ : 265 หนา้ เรอ่ื งท่ี 7 ขอให้เจ้าภาพจงเจรญิ เร่ืองย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ที่ 15 ท่ที รงบนั ทึกไว้เมื่อครั้งเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นสาธารณรฐั ฟิลปิ ปนิ ส์ ระหว่างวันท่ี 27 สงิ หาคม - 2 กนั ยายน 2534 เป็นการเสดจ็ ฯ เยอื นสาธารณรฐั ฟลิ ิปปินสค์ รงั้ แรก ของสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ตามคากราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาล ฟิลิปปนิ ส์ และยงั ได้เสดจ็ ฯ ไปทรงรบั รางวลั ของมลู นธิ ิรามอน แมกไซไซ สาขาบรกิ ารชมุ ชน (Public Service) จานวนหนา้ : 159 หน้า เรอ่ื งท่ี 8 ข้ามฝ่ังแหง่ ฝนั เรอื่ งย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 34 เปน็ บันทกึ การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสหราชอาณาจักร ระหว่าง วันที่ 4-10 กรกฎาคม 2538 หลงั จากท่ีไดเ้ สดจ็ ฯ เยือนสาธารณรัฐฝรั่งเศส ตามรายละเอยี ดใน “สวนสมทุ ร” พระราชนิพนธล์ าดับท่ี 33 การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนสหราชอาณาจกั รครงั้ น้ีได้ เสดจ็ ฯ ไปทรงเปิดงานสาคญั 2 งานในกรงุ ลอนดอน คอื งานดา้ นดนตรไี ทยศกึ ษาท่มี หาวิทยาลัย ลอนดอน และนทิ รรศการเฉลมิ พระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ในวโรกาสฉลองสริ ิราช สมบัตคิ รบ 50 ปี ณ สมาคมภมู ศิ าสตรแ์ ห่งชาติ และไดเ้ สดจ็ ฯ เยือนสถานที่สาคัญอนื่ ๆ ได้แก่ สวนพฤกษศาสตร์ควิ พพิ ิธภณั ฑป์ ระวตั ิศาสตรธ์ รรมชาติ พพิ ิธภณั ฑ์ดนตรี ตลาดปลาบลิ ลงิ สเกต พระราชวังวนิ ด์เซอร์ เป็นต้น จานวนหนา้ : 175 หนา้

เรือ่ งที่ 9 ข้าวไทยไปญป่ี นุ่ เรอื่ งย่อ พระราชนพิ นธ์หนงั สอื เรื่องขา้ วไทยไปญี่ปนุ่ เล่มน้ี เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นประเทศญปี่ นุ่ ระหวา่ ง 23-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 บนั ทกึ การเสด็จฯ เนอื่ งจากการทีส่ มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ ทรงรบั เชิญจากสถาบนั วจิ ัยขา้ วนานาชาติ (IRRI – International Rice Research Institute) ประเทศญ่ีป่นุ เสดจ็ ฯ ไปทรงรว่ มงานและบรรยายพเิ ศษเร่อื งขา้ วไทยในงานวนั Japan-IRRI Day ทีก่ รงุ โตเกียว สาหรับเนอ้ื หาของการบรรยายพเิ ศษน้นั ทรงกลา่ วถงึ ประวตั ิของขา้ วไทยต้ังแต่สมัย โบราณ ความสาคญั ของขา้ ว ต่อเศรษฐกิจของประเทศ พระราชกรณียกจิ ด้านการเกษตรของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว จนถงึ เรอื่ งวถิ ีชวี ติ ประเพณี และวัฒนธรรมต่างๆ ของไทยท่ี เก่ยี วเนื่องกับข้าว เป็นตน้ จานวนหนา้ : 159 หน้า เรอ่ื งที่ 10 เขมรสามยก เรอ่ื งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ เรอื่ งเขมรสามยกเลม่ น้ี ทรงบนั ทึกเรอื่ งราวทรง เสด็จพระราชดาเนนิ เยือนประเทศกมั พูชา 3 ครัง้ ครง้ั แรกระหวา่ ง 25-27 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 ครงั้ ที่ 2 วันท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2536 และคร้งั ท่ี 3 ระหวา่ ง 12-18 มกราคม พ.ศ. 2536 ทรงให้ ความสนใจศกึ ษาเรอื่ งราวของประเทศกมั พูชา โดยเฉพาะในเรอ่ื งอทิ ธพิ ลของศิลปวฒั นธรรม เขมรทีม่ ีต่อไทย เช่น ด้านภาษาและวรรณคดี รูปแบบทางศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม กมั พูชา เป็นดินแดนแหง่ อารยธรรมอนั เก่าแก่ มีมรดกทางศิลปวฒั นธรรม ภาษา ประวตั ศิ าสตรแ์ ละ โบราณคดที ท่ี รงคณุ คา่ มากมาย จึงเหมาะอย่างยิง่ สาหรบั ผู้สนใจศึกษาเร่ืองราวดา้ น ประวัติศาสตร์และโบราณคดี ประวัตศิ าสตร์ศิลปะ อกั ษรศาสตร์ และนาฎศลิ ป์ ทส่ี มเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ า ฯ ทรงพระวริ ิยะบันทึกไวอ้ ยา่ งน่าสนใจ ยังได้เพลดิ เพลนิ ไปกับพระสานวนโวหาร และพระอารมณ์ขนั ทีท่ รงสอดแทรกไว้ จานวนหน้า: 309 หน้า เรอ่ื งท่ี 11 คืนฟ้าใส เรื่องย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 9 จากบันทกึ การเสด็จพระราชดาเนนิ เยือนราชอาณาจักรนอรเ์ วย์ และ ราชอาณาจักรเดนมารก์ ระหวา่ งวนั ที่ 17-26 มิถนุ ายน 2532 พระราชดารเิ ก่ยี วกบั การเดนิ ทาง ครั้งน้ี ได้ทรงพระราชนิพนธไ์ วใ้ นคานาวา่ “หลังจากเครง่ เครยี ดกบั การดูงานวิชาการ ดังทไี่ ด้ พรรณนาไว้ในหนังสือ “ปริศนาดวงดาว” แลว้ ในปีเดียวกันยงั ไดไ้ ปประเทศนอร์เวย์ นบั เปน็ ประสบการณ์ที่ดี คอื ได้ศึกษาพืน้ ทีต่ ่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหนือเส้นอารก์ ติก ดนิ ฟา้ อากาศช่วงน้ี สวา่ งกระจา่ งแจ้ง จงึ เปน็ ท่มี าของชื่อหนงั สอื “คืนฟ้าใส” จานวนหน้า: 483 หน้า

เรื่องที่ 12 เจยี งหนานแสนงาม เร่อื งย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ที่ 42 ในชุดเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ ทรงบนั ทึกไวเ้ ม่อื คร้ังเสด็จ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรัฐประชาชนจนี ระหว่างวันท่ี 2-14 เมษายน 2542 ทรงพระราชนิพนธ์ ใน “คานา” เกี่ยวกบั การเสดจ็ พระราชดาเนนิ คร้ังน้ี ตอนหนงึ่ ว่า “…คนไทยค้นุ เคยกบั คาว่า เจียง หนาน หรือที่ภาษาจีนแตจ้ วิ๋ ออกเสียงวา่ กังนัม้ และภาษาไทยออกเสียงเคลื่อนไปว่า กงั หนา เพราะ มภี าพยนตรเ์ กี่ยวกับจักรพรรดิเฉยี นหลงเสดจ็ ประพาสเจียงหนานมาฉายหลายเร่อื ง ภาพยนตรจ์ ีน กาลังภายในทฉี่ ายกนั ทางโทรทัศนก์ ็มอี ยู่หลายเร่อื งท่ีกล่าวถึงเจียงหนาน เรือ่ ง มังกรหยก ของ กมิ ยง้ กเ็ อาเจยี งหนานมาเป็นฉากสว่ นหนงึ่ ของเรอ่ื ง มผี ู้กล้าหาญท้ังเจด็ แหง่ กังหนา อาจารย์ ของกว๊ ยเจ๋งเปน็ ตัวละครในเรอ่ื งดว้ ย เพลงในภาพยนตรเ์ รอื่ งจอมใจจักรพรรดิ หรอื เจยี งซาน เหมย่ เหริน กร็ อ้ งบรรยายถงึ เจยี งหนานเชน่ กัน จนคาวา่ เจยี งหนานเห่า หรือ เจียงหนานแสนงาม เป็นวลที ชี่ าวจนี พดู กันติดปาก” จานวนหนา้ : 367 หน้า เรื่องท่ี 13 เฉลมิ พระเกียรติและรวมพระราชนพิ นธ์ (พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๒๐) สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจา้ ฟ้า มหาจักรีสิรนิ ธร รฐั สีมาคณุ ากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกุมารี เรอื่ งย่อ เปน็ หนังสอื รวมพระราชนพิ นธ์สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ท้งั รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง และยังไดร้ วบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั พระราชพธิ สี ถาปนาพระราชอิสริยศกั ดิ์ สมเด็จ พระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ สริ ินธรเทพรัตนราชสดุ า ฯ ในการพระราชพิธีเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 ธนั วาคม 2520 หนงั สือเล่มนจ้ี ดั แบง่ งานพระราชนพิ นธอ์ อกเป็นหวั ข้อตา่ งๆ อนั ได้แก่ ชาติ ศาสนา และประเพณี ประวตั ศิ าสตร์ ภาษาและวรรณคดี สารคดี วรรณกรรมร้อยกรองภาษาไทย วรรณกรรมร้อยกรองภาษาตา่ งประเทศ ดนตรี และปกณิ กะ จานวนหนา้ : 299 หน้า เรื่องที่ 14 ชมชอ่ มาลตี เร่อื งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงบันทกึ เมื่อเสดจ็ พระราช ดาเนนิ ประเทศอินโดนีเซยี ระหว่างวนั ที่ 2-16 ตลุ าคม 2527 ภาพแรกเป็นพระบรมฉายาลกั ษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั สง่ เสด็จฯ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ ที่ทรงคกุ พระชานกุ อด “ทูลกระหมอ่ มพอ่ ” ที่ทรงวางพระหัตถท์ ง้ั สองบนพระองั สะและพระปฤษฎางคพ์ ระราชธิดาชา่ ง นา่ รักนกั หนา ทรง “บอกกลา่ วเสียก่อน” เหมอื นคานา ความว่าหนงั สือ “ชมช่อมาลตี” มาจากสมุด บนั ทกึ การเดินทาง ซ่ึงเขยี นขึน้ อย่างเร่งด่วน ในการทพี่ ระองคท์ ่านเสดจ็ ฯ ตา่ งประเทศทุกครั้ง ที่ ทรงใช้ช่อื “ชมช่อมาลตี” เพราะดอกมาลตี คือ ดอกมะลิ ทอี่ นิ โดนเี ซยี ถอื เปน็ ดอกไม้ประจาชาติ จานวนหนา้ : 335 หนา้

เรื่องท่ี 15 ชมดอกไมไ้ กลบ้าน เรือ่ งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงบนั ทกึ เม่อื เสดจ็ พระราช ดาเนนิ ประเทศญป่ี ุ่น จานวนหนา้ : 169 หน้า เรอื่ งที่ 16 ดอยตงุ เชยี งตงุ เรื่องย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ เร่อื งดอยตุง เชยี งตงุ ทรงบนั ทกึ เมอ่ื คร้ังเสดจ็ ฯ เยอื นเชียงตงุ สาธารณรัฐพม่าอย่างไมเ่ ป็นทางการ เม่อื วนั ท่ี 1-3 มีนาคม 2537 จานวนหนา้ : 67 หน้า เรอ่ื งที่ 17 แดร๊กคลู ่าผู้นา่ รัก เรอื่ งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ เร่ืองแดรก๊ คลู า่ ผูน้ ่ารกั ทรงบันทึกไวเ้ มอื่ ครง้ั เสด็จฯ เยือน 3 ประเทศในยุโรปตะวันออก ได้แก่ ประเทศโรมาเนยี สาธารณรฐั ประชาชนฮงั การี สาธารณรัฐออสเตรยี เบลเย่ยี ม และสวติ เซอรแ์ ลนด์ ท้ังทรงเสดจ็ ฯ ไปเฝา้ ฯ สมเดจ็ พระราชนิ ี ฟาบิโอลา ทรี่ าชอาณาจักรเบลเยี่ยม ระหวา่ ง 13-25 มนี าคม พ.ศ. 2537 ทรงเรยี บเรยี งตามลาดบั เหตกุ ารณ์ที่มเี ร่ืองราววฒั นธรรมท่เี กา่ แก่ สถาปตั ยกรรมโบราณที่สวยงาม โดยมภี าพประกอบ พร้อมคาอธบิ ายภาพ และคาบรรยายเร่ืองราวตามลาดับเหตุการณ์นั้นๆ ทา้ ยเลม่ มีรายชอื่ หนงั สอื พระราชนพิ นธ์ชดุ การเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นต่างประเทศ จานวนหนา้ : 334 หนา้ เรือ่ งที่ 18 ต้นนา ภูผา และปา่ ทราย เรอ่ื งย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ที่ 48 ในชุดเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนต่างประเทศ ทรงพระราชนพิ นธค์ ราว เสดจ็ พระราช-ดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นครงั้ ที่ 14 ระหว่างวนั ท่ี 13-27 สงิ หาคม 2544 ในครั้งนี้ทรงบันทึกการเสด็จพระราชดาเนนิ เยอื นมณฑลชิงไห่ เขตปกครองตนเองหนงิ เซีย่ เขตปกครองตนเองทิเบต มหานครปักกิ่ง และมณฑลเหอเปย่ ในพระราชนพิ นธ์ \"คานา\" ทรงกลา่ ว วา่ \"…พ้นื ทีท่ ้งั 3 แหง่ ทเ่ี ป็นจดุ หลักของการไปเยยี่ มเยือนครัง้ น้ี มีลักษณะทางภูมศิ าสตรท์ ่โี ดดเดน่ เรือ่ งภูเขาและที่ราบสูง ทรี่ าบสูงชงิ ไห่-ทเิ บตอยูเ่ หนือกว่าระดบั น้าทะเล 4,000-5,000 เมตร มีพ้ืนที่ ประมาณ 2.3 ลา้ นตารางกิโลเมตร เปน็ ท่รี าบสงู ทีส่ งู สดุ ในโลก จนได้สมญาว่า “หลงั คาโลก” นอกจากน้ัน ยังมพี ืน้ ท่ีทะเลทราย มปี า่ ทราย และโอเอซิสเขยี วขจใี นบางแห่ง ส่วนทหี่ นงิ เซย่ี น้ันมที ่ี ราบสูงดนิ เหลอื งด้วย จานวนหน้า: 275 หน้า

เรอื่ งที่ 19 ใต้เมฆทเ่ี มฆใต้ เรอ่ื งย่อ เร่อื งใตเ้ มฆทีเ่ มฆใต้เลม่ นี้ เป็นชุดเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นต่างประเทศ ลาดบั ท่ี 31 ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทที่ รงพระราชนพิ นธไ์ ว้เมอ่ื ครง้ั เสด็จพระราชดาเนนิ เยือนมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อ พ.ศ. 2538 ซึ่งเป็นปีของการเฉลมิ ฉลอง 20 ปี ความสมั พันธ์ไทย-จนี การเสด็จฯ ครัง้ น้ัน นอกจากจะได้ทอดพระเนตรสถานทีท่ อ่ งเทยี่ วต่างๆ แล้ว ยงั ได้เสดจ็ ฯ ไปทรงเยีย่ มสถาบนั ทางวิชาการทนี่ า่ สนใจ เช่น พิพธิ ภัณฑม์ ณฑลยนู นาน โรงงานผลิตยานครคุนหมงิ มหาวิทยาลยั ยนู นาน สวนพฤกษาศาสตรส์ มนุ ไพร สวนพฤกษา ศาสตรเ์ ขตรอ้ นสบิ สอบปันนา ฯลฯ ซ่งึ เปน็ แหล่งรวบรวมความร้อู นั สาคัญ จานวนหนา้ : 255 หนา้ เรอ่ื งท่ี 20 ทวิภาคสัญจร เรือ่ งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ เร่ืองทวภิ าคสญั จร เมอื่ ครั้งเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนประเทศฝร่งั เศสและสเปน ระหวา่ งวันท่ี 16-31 พฤษภาคม 2535 ทรงเสดจ็ ทอดพระเนตร สถานท่ีสาคญั ของฝร่งั เศสหลายแห่ง อาทิ หอไอเฟล ประสาทแวงแซน ร้านหนงั สือ FNAC และ เสดจ็ ไปยังสานักงานใหญ่องค์การยเู นสโกเพื่อทรงรว่ มงานฉลองวันพระราชสมภพครบรอบ 100 ปี สมเดจ็ พระบรมราชชนก นอกจากนี้ ยังทรงเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสถานทีส่ าคญั ของสเปน เช่น โบสถ์ใหญท่ ีส่ ุดในสเปน วัง Alcazar เป็นต้น จานวน: 245 หนา้ เร่อื งท่ี 21 ทัศนะจากอินเดยี เรอื่ งย่อ เรอื่ งทศั นะจากอินเดยี เป็นบนั ทึกเรื่องราวการเสด็จฯ เยอื นสาธารณรฐั อนิ เดยี ระหวา่ งวนั ที่ 10-28 มีนาคม 2530 ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึง่ ได้เสด็จเยอื นเมือง สาคัญต่างๆ ของอินเดยี ตงั้ แต่นครกัลกัตตา เมอื งโครักขปรุ ะ ปตั นะ พาราณสี ศรีนาคาร์ และกรุง เดลี ทรงทอดพระเนตรสถานทส่ี าคัญทางประวตั ศิ าสตร์ โบราณคดี ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม หลายแห่ง จานวน: 424 หน้า

เรอ่ื งที่ 22 ไทยเท่ียวพมา่ เรอื่ งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ เรือ่ งไทยเท่ยี วพม่าเลม่ น้ี เปน็ พระราชนพิ นธ์ท่ี ทรงบันทกึ ไว้เมอ่ื ครัง้ เสด็จพระราชดาเนนิ เยือนสาธารณรฐั สงั คมนยิ มสหภาพพมา่ หรอื สหภาพ พมา่ ในปจั จบุ ัน เมอ่ื วนั ท่ี 21-31 มีนาคม 2529 ตามคากราบทูลเชญิ ของท่าน อู เนวนิ ประธาน พรรคโครงการสังคมนิยมพมา่ ในขณะน้นั โดยเปน็ การเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นประเทศพม่าเปน็ ครง้ั แรกของพระองค์ เน้อื หาสว่ นใหญท่ รงเลา่ ถึงสภาพบา้ นเมือง ภูมปิ ระเทศ ความเปน็ อยู่ โบราณวตั ถุ โบราณสถาน ซงึ่ งดงามและทรงคุณคา่ ทางประวัตศิ าสตร์ วฒั นธรรม การพฒั นา ประเทศ ฯลฯ แทรกดว้ ยสาระหนา้ ร้แู ละมีภาพประกอบจานวนมาก จานวนหนา้ : 297 หนา้ เร่ืองที่ 23: เบอรล์ นิ สินกาแพง เร่ืองย่อ พระราชนพิ นธ์หนงั สือเรอ่ื งเบอรล์ นิ ส้นิ กาแพงเล่มน้ี สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ พระราช นพิ นธ์เม่ือทรงเสดจ็ ฯ เยอื นสหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมัน ระหว่างวนั ที่ 21-24 พฤษภาคม 2538 การเสด็จฯ เยอื นตา่ งประเทศในครัง้ นค้ี อื การเสดจ็ ฯ ทรงเปดิ งานนทิ รรศการเฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั เน่อื งในวโรกาสฉลองสริ ริ าชสมบัตคิ รบ 50 ปี ณ Kurzentrum นครแฟรงก์เฟรติ์ ซึง่ เปน็ การจดั นิทรรศการคร้ังแรกในทวีปยุโรป และทรงพบประธานาธบิ ดี (Prof. Dr. Roman Herzog) แหง่ สหพนั ธ์สาธารณรฐั เยอรมัน ที่นครเบอร์ลิน จานวนหนา้ : 179 หนา้ เรื่องท่ี 24 ประพาสภาษา เรอ่ื งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อเสดจ็ ฯ ไปทรงเรยี น ภาษาเยอรมนั ทเี่ มอื งเกติ ติงเงน ระหวา่ งวันท่ี 19 กมุ ภาพันธ์ - 20 มนี าคม 2545 ทรงเล่าว่า \"...การเรยี นไม่ได้เป็นไปดงั ท่ีคดิ ไว้ทุกประการ เน่ืองจากมเี วลาไปเขา้ เรียนเพียง 3 สปั ดาห์ แทนท่ี จะเปน็ 3 เดือน ในระหว่าง 3 สปั ดาห์ กม็ ีกิจกรรมต่างๆ แทรกอยู่ ทาใหข้ าดเวลา ที่จะใช้ทบทวน บทเรียน กจิ กรรมนอกหลักสูตรเหลา่ น้ัน บางสว่ นกช็ ่วยใหม้ ีโอกาสใชภ้ าษาเยอรมันมากขึ้น บางอย่างไม่ชว่ ยการเรยี นภาษาเยอรมัน แตช่ ว่ ยใหม้ ีความรู้กว้างขวางข้นึ ทั้งในด้านความรู้ เก่ยี วกบั เยอรมันนี และความรู้อ่นื ๆ...\" จานวนหน้า: 439 หนา้

เรือ่ งที่ 25 ประพาสอทุ ยาน เรอื่ งย่อ เรอื่ งประพาสอทุ ยานเลม่ นบ้ี ันทึกเรอ่ื งราวการเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนประเทศอังกฤษ สก็อต แลนด์ และสวิตเซอรแ์ ลนด์ ระหวา่ งวันที่ 4-17 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 การเสดจ็ ครง้ั น้ี ช่วงเวลา เกือบ 2 สัปดาห์ ที่ประทบั ในยโุ รป ทรงใช้ชวี ติ ในสวนเสยี เปน็ ส่วนมาก นอกจากน้ี ได้เสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสวนพฤกศาสตรห์ ลายแห่ง ทัง้ ในองั กฤษและสก็อตแลนด์ รวมไปถึงการเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรทศั นียธรรมทางธรรมชาตทิ ีง่ ดงามของบรเิ วณ Lake District ในประเทศอังกฤษ นอกจากจะทรงสอดแทรกสาระและเกร็ดความรเู้ กี่ยวกบั พชื พรรณไมแ้ ละธรรมชาติไวอ้ ยา่ ง น่าสนใจแลว้ ยงั มภี าพประกอบทส่ี วยงามเปน็ จานวนมาก จานวนหน้า: 331 หน้า เร่อื งที่ 26 ปรศิ นาดวงดาว เรือ่ งย่อ เรือ่ งปรศิ นาดวงดาว บนั ทึกสาระความรู้ ความสนกุ สนาน เพลิดเพลิน และภาพประกอบที่ สวยงามจากสถานทีต่ า่ งๆ จากการเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นฝรง่ั เศส เนเธอร์แลนด์ และเบล เยย่ี ม เพ่อื ทรงศึกษาดูงานเกีย่ วกบั การสารวจขอ้ มูลระยะทางไกล รวมถึงพระฉายาลักษณใ์ น พระอิริยาบถต่างๆ จานวนหนา้ : 352 หนา้ เรื่องที่ 27 ปา่ สงู นาใส เรอ่ื งย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ที่ 16 จากบนั ทกึ การเสด็จพระราชดาเนนิ เยอื น “เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม” ระหวา่ งวนั ท่ี 7-14 กนั ยายน 2534 ทรงพระราชนิพนธไ์ วใ้ น “ความนา” มีใจความตอนหนึง่ วา่ “เร่อื งนีอ้ าจถือไดว้ ่าเปน็ ภาค 2 ของเรอ่ื ง ‘ลดั ฟา้ ล่าวิชาหาอาจารย’์ เพราะวา่ เมอ่ื วันที่ 24 มกราคม (2534) ข้าพเจา้ ไดไ้ ปทรี่ าชสมาคมภมู ิศาสตร์ (The Royal Geographical Society) ตอนน้ันได้ ทราบเรอื่ งโครงการศึกษาป่าดบิ เมืองรอ้ นทีบ่ รไู น พอได้ยนิ เขา้ ข้าพเจา้ กเ็ กดิ ความสนใจขนึ้ มาทันที เพราะเขาศึกษาปา่ ในหลายแงห่ ลายมมุ นกั วิชาการหลายสาขามาศึกษาและแลกเปลี่ยนความ คดิ เหน็ และประสบการณ์ ทางสมาคมมี Dr. John Hemming ผูอ้ านวยการของสมาคม เขาบอกวา่ ถา้ ไทยจะส่งนักศกึ ษามารว่ มโครงการกไ็ ด้ ข้าพเจา้ เลยถามว่าถา้ ข้าพเจ้าจะไปดูเองก่อนจะเปน็ ไป ไดไ้ หม เขาบอกวา่ ‘ไม่มปี ญั หา’ ขา้ พเจา้ ก็เลยตกลงใจจะไป...” จานวนหนา้ : 159 หนา้

เรอ่ื งที่ 28 เปดิ สะพานมิตรภาพไทย-ลาว เรอ่ื งย่อ หนังสือเปดิ สะพานมิตรภาพไทย-ลาว พระราชนิพนธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยาม บรมราชกมุ ารี สะพานมติ รภาพไทย-ลาวเปดิ เม่อื วนั ที่ 8 เมษายน 2537 สมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสดุ า ฯ โดยเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ การเสดจ็ ฯ ครั้งน้ี โดยเครอ่ื งบินพระทน่ี ง่ั จากท่าอากาศยานกองบญั ชาการ กองทัพอากาศ ไปยังท่าอากาศยานอดุ รธานี ประทบั เฮลคิ อปเตอร์พระที่นั่ง ไปสนามกองรอ้ ย ตารวจตระเวนชายแดนท่ี 245 จงั หวดั หนองคาย ประทบั รถยนตร์พระท่ีนงั่ เสดจ็ ฯ ไปยัง สะพานมิตรภาพไทย-ลาว จานวนหน้า: 155 หน้า เรื่องท่ี 29 มนต์รักทะเลใต้ เร่ืองย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ที่ 37 จากบันทกึ การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นหมู่เกาะทะเลใต้ เรม่ิ จาก สาธารณรฐั สิงคโปร์ สปู่ าปวั นวิ กินี ราชอาณาจักรตองกา หมูเ่ กาะคกุ สาธารณรัฐหมู่เกาะฟจิ ิ และหมู่เกาะโซโลมอน ระหว่างวันท่ี 15-25 เมษายน 2539 จานวนหนา้ : 267 หนา้ เรื่องที่ 30 มว่ นซื่นเมืองลาว เรื่องย่อ หนังสอื พระราชนิพนธ์ม่วนซนื่ เมืองลาว เปน็ บนั ทกึ การเสด็จฯ เยอื นสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ถงึ 4 วาระของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ ครง้ั แรกในวนั ท่ี 11 เมษายน 2535 เสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรเมอื งปากเซ แขวงจาปาสกั โดยผ่านทางช่องเมก็ อาเภอสิรนิ ธร จังหวดั อบุ ลราชธานี ครั้งท่สี อง ระหวา่ งวนั ที่ 16-19 ตุลาคม 2535 ทรงพบประธานประเทศ และผู้นา รฐั บาลลาว และเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสถานท่สี าคัญตา่ งๆ ในแขวงพงสาลี และแขวงหลวงพระ บางครงั้ ทส่ี าม ในวนั ท่ี 27 พฤศจิกายน 2543 ตามเสดจ็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกฎุ ราชกุมาร ไปทรงร่วมพิธีฌาปนกจิ ศพท่านไกสอน พรหมวิหาน อดีตประธานประเทศ และ ครง้ั ท่สี ่ี ระหว่างวนั ที่ 9-14 พฤศจิกายน 2536 ทรงประกอบพิธถี วายผา้ พระกฐินท้ังในกรุง เวยี งจันทนแ์ ละแขวงหลวงพระบาง และเสดจ็ ฯ ทอดพระเนตรสถานท่สี าคญั ตา่ งๆ จานวนหนา้ : 297 หนา้

เรือ่ งท่ี 31 มุ่งไกลในรอยทราย เร่ืองย่อ เรอ่ื งมุ่งไกลในรอยทราย พระราชนพิ นธล์ าดับที่ 11 ในชุดเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนตา่ งประเทศ และเปน็ ครง้ั ที่ 2 ของการเสดจ็ พระราชดาเนินเยอื นสาธารณรัฐประชาชนจนี ทรงบันทึกไว้เมือ่ ครง้ั เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนสาธารณรัฐประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ที่ 7 เมษายน -21 เมษายน 2533 ในครง้ั นไี้ ดเ้ สดจ็ พระราชดาเนนิ ตามเสน้ ทางสายแพรไหม (Silk Road) ซึ่งเป็นเสน้ ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศสมัยกอ่ นท่ีดาเนนิ การ โดยกองคาราวาน เช่อื มการตดิ ต่อคา้ ขายระหวา่ งจนี กบั แควน้ ตา่ งๆ ในเอเชยี และยุโรป เส้นทางสายแพรไหมทางบกเร่ิมข้นึ เม่ือประมาณปลายศตวรรษ ที่ 2 ก่อนคริสตกาล มีจดุ เรมิ่ ตน้ ท่ีเมืองฉางอาน (หรือชีอาน) ผ่านเมอื งตา่ งๆ ทางตะวนั ตกของจนี ผา่ นทะเลทรายโกบี ทะเลทรายตากลามากัน จากนน้ั มีเสน้ ทางต่อไปยังเอเชียกลาง เอเชยี ใต้ เอเชียตะวันตก และยโุ รป เสน้ ทางสายแพรไหมทางบก เป็นเส้นทางท่มี ีความสาคัญยิง่ ต่อ เศรษฐกิจในสมยั โบราณ อีกทงั้ ยงั เป็นเหตใุ ห้จนี และแควน้ ต่างๆ ทางตะวันตกของจนี ได้ แลกเปล่ียนวฒั นธรรม แม้วา่ เสน้ ทางสายแพรไหมจะเส่ือมไป ตั้งแตค่ รสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 10-15 แต่ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปะ หตั ถกรรม ดนตรี และส่ิงต่างๆ ท่ีชนหลายเผา่ สร้างสรรค์ ยังเป็น มรดกอันลา้ คา่ ของมนษุ ยชาติ ท่ีควรศึกษาอย่างยิง่ อีกทั้งยังเป็นมนต์เสนห่ ์ดึงดดู ให้นักท่องเท่ยี ว หลัง่ ไหลมาเยย่ี มชมอยูเ่ สมอ หนังสือเล่มน้ีมีคณุ ค่าตอ่ การศึกษาคน้ ควา้ และ การท่องเทยี่ ว ภาพประกอบที่สวยงาม และภาพฝพี ระหัตถ์ ภาพการ์ตนู ทท่ี รงสอดแทรกไวช้ ่วยเพม่ิ อรรถรสให้ หนังสอื เล่มน้นี า่ อา่ นย่งิ ขน้ึ จานวนหนา้ : 391 หนา้ เรอ่ื งท่ี 32 เม่อื ขา้ พเจา้ เป็นนกั เรยี นนอก เร่ืองย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ที่ 44 ในชดุ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นตา่ งประเทศ ทรงบันทกึ ไวเ้ มือ่ ครง้ั เสด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงศึกษาภาษาจนี ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวนั ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2544 -15 มีนาคม 2544 ในพระราชนพิ นธค์ านาทรงเลา่ ถึงการเสด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงศกึ ษาในครั้งน้ีวา่ “ข้าพเจ้าเรยี นภาษาจนี มา 20 ปีแลว้ แต่ความรยู้ งั ไม่กา้ วหนา้ เท่าทคี่ วร ท้งั ๆทีส่ ถานทูตจีนจดั ครูมาสอนเปน็ ประจา จงึ เกิดความคิดวา่ ถ้าข้าพเจา้ ได้มาอย่ใู นแวดวงคน จีน เรยี นภาษาจีนอย่างเดียวไม่ตอ้ งทางานอนื่ สักพกั หนง่ึ น่าจะดีขน้ึ ปญั หาอยทู่ ่วี า่ ระยะหลงั ๆ นี้ การงานท่ีเมอื งไทยค่อนข้างมาก จะปลีกตวั มาไดน้ านสกั เท่าไร เมอ่ื 3 ปกี อ่ นเคยไป สหรัฐอเมริกาเดอื นหนึ่ง จงึ คิดว่านา่ จะอย่จู ีนไดเ้ หมอื นกนั ไดไ้ ปลองปรกึ ษากบั ใครๆ ที่เมืองจีน ท้งั ทางมหาวทิ ยาลัยและคนอื่น ทุกคนตา่ งเหน็ ดดี ้วย ลองไปสืบราคาทอ่ี ย่แู ละคา่ เลา่ เรียนที่ มหาวทิ ยาลัยปักก่ิง รสู้ ึกวา่ คอ่ นขา้ งแพง แตก่ ็น่าจะสรู้ าคาได้ ภายหลงั ทา่ นทตู ฟเู่ สวยี จัง ทตู จีน ประจาประเทศไทยในขณะน้นั บอกว่ากระทรวงศกึ ษาธิการจนี จะรบั ภาระคา่ ใชจ้ า่ ยทกุ ๆ ดา้ น ทัง้ ด้านทีพ่ กั ในมหาวิทยาลยั การเลา่ เรียน และอาหารการกนิ ” จานวนหนา้ : 282 หน้า

เร่ืองท่ี 33 ยามลมหนาว เล่ม 1 เร่ืองย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 35 บันทกึ เรอื่ งราวหลากหลายที่น่าสนใจระหว่างการเสดจ็ พระราชดาเนิน เยอื นสาธารณรัฐโปแลนด์ สาธารณรัฐเช็ก สาธารณรฐั อิตาลี สาธารณรฐั สโลวัก และสาธารณรฐั ฝรง่ั เศส ระหวา่ งวันท่ี 13-23 กุมภาพนั ธ์ 2539 อันเป็นการเสดจ็ พระราชดาเนนิ แทนพระองค์ เยือนสาธารณรัฐโปแลนด์ ตามคากราบบงั คมทูลเชิญของประธานาธิบดโี ปแลนด์ จานวนหนา้ : 197 หนา้ เรื่องที่ 34 ยามลมหนาว เลม่ 2 เร่ืองย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 35 บันทกึ เรื่องราวหลากหลายท่นี า่ สนใจระหวา่ งการเสดจ็ พระราช ดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั โปแลนด์ สาธารณรฐั เช็ก สาธารณรฐั อติ าลี สาธารณรัฐสโลวกั และ สาธารณรฐั ฝรง่ั เศส ระหว่างวนั ที่13-23 กุมภาพันธ์ 2539 อันเปน็ การเสดจ็ พระราชดาเนินแทน พระองค์เยือนสาธารณรฐั โปแลนด์ ตามคากราบบงั คมทลู เชิญของประธานาธบิ ดโี ปแลนด์ จานวนหนา้ : 179 หนา้ เรอ่ื งท่ี 35 เย็นสบายชายนา เรื่องย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ เรอ่ื งเยน็ สบายชายนา้ เล่มน้ี บันทึกเรือ่ งราวการ เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรัฐประชาชนจนี ระหวา่ งวนั ท่ี 14-27 สิงหาคม 2539 โดยเร่มิ จากคนุ หมงิ ถงึ ฉงชิ่ง แลว้ ประทบั เรอื พระท่ีนงั่ ล่องไปตามแม่น้าแยงซีเกยี ง หรอื ฉางเจียง ซงึ่ เปน็ แม่น้าท่ยี าวทีส่ ดุ ในประเทศจีนและของทวปี เอเซีย และการทอดพระเนตรโครงการซานเสีย ซ่ึง เปน็ โครงการกอ่ สรา้ งเขอ่ื นทใี่ หญ่ท่สี ดุ ในโลก นอกจากผู้อ่านจะไดร้ บั ความรู้ทางประวัตศิ าสตร์ วรรณคดแี ละศลิ ปวัฒนธรรมของสถานท่ตี ่างๆ ทเี่ สด็จฯ ทอดพระเนตร แลว้ ยังไดร้ ่วมชนื่ ชม ทัศนยี ภาพทสี่ วยงามทางธรรมชาตขิ องแมน่ ้าฉางเจยี ง โตรกเขาซานเสีย และเทือกเขาหวงซาน เป็นต้น สาหรบั ผู้ทีส่ นใจ ศกึ ษาเรื่องโครงการก่อสรา้ งเข่ือนขนาดใหญ่อย่างเขอ่ื นซานเสยี กท็ รง บันทึกขอ้ มลู ทางวิชาการต่างๆ จานวนหนา้ : 327 หน้า เรอ่ื งท่ี 36 โรมนั สญั จร เรอ่ื งย่อ พระราชนพิ นธล์ าดบั ที่ 7 จากบันทึกการเสด็จพระราชดาเนนิ เยือนสาธารณรัฐอติ าลี ระหว่างวันที่ 3-16 เมษายน 2531 เพอ่ื ทรงเขา้ ร่วมประชุมคณะกรรมการคดั เลือกผู้สมควรได้รับรางวลั “ฮันส์ คริสเตยี น แอนเดอร์สนั ” จัดโดย IBBY (International Board on Books for Young People) และ เสดจ็ ฯ ไปทรงเย่ียมชมสถานทีท่ ่นี า่ สนใจตา่ งๆ ในอิตาลี จานวนหนา้ : 345 หนา้

เรอ่ื งท่ี 37 ลดั ฟ้าลา่ วิชาหาอาจารย์ เรือ่ งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ เรอ่ื งลดั ฟา้ ล่าวชิ าหาอาจารย์เล่มนท้ี รงเลา่ ถึงการ เสด็จฯ เยือน 4 ประเทศในทวปี ยุโรป ไดแ้ ก่ ประเทศอังกฤษ ฝร่ังเศส เบลเย่ยี ม และ สวิตเซอรแ์ ลนด์ วนั ท่ี 8-30 มกราคม พ.ศ. 2534 กล่าวถงึ การทรงเขา้ ร่วมฟงั บรรยายใน สถาบันการศกึ ษาตา่ งๆ ของประเทศเหล่าน้ัน เพ่อื ทรงศกึ ษาคน้ ควา้ ความรูเ้ พ่มิ เติม และทรง พบปะผ้เู ชีย่ วชาญและนักวิชาการในแขนงวชิ าต่างๆ ที่มหาวทิ ยาลยั อ๊อกซฟอร์ด เสด็จฯ ทอดพระเนตรพิพิธภัณฑ์ และหอสมุดตา่ งๆ ทัง้ ทรงเย่ยี มพิพธิ ภณั ฑ์และสถาบันนา่ สนใจอืน่ ๆ เปน็ ต้น จานวนหน้า: 275 หน้า เรอ่ื งที่ 38 ลาวใกลบ้ า้ น เรื่องย่อ เรอื่ งลาวใกล้บา้ นเล่มน้ี ทรงพระราชนิพนธ์ไวเ้ ม่ือครงั้ เสด็จฯ เยอื นสาธารณรฐั ประชาธิปไตย ประชาชนลาว วนั ท่ี 28 ตุลาคม 2537-1 พฤศจิกายน 2537 ทรงทอดพระเนตรกจิ การและสถานท่ี ต่างๆ ท่ีเวยี งจนั ทน์ แขวงไชยะบุลี เขตพิเศษเชยี งฮอ่ นหงสา แขวงบอ่ แก้ว เปน็ มติ รประเทศเพอ่ื น บ้านทมี่ ีความใกล้ชิดทางขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวฒั นธรรม ศาสนา และภาษากบั ประเทศ ไทยเป็นอยา่ งมาก เป็นอีกประเทศหนงึ่ ที่สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารีทรง ใหค้ วามสนพระราชหฤทยั และได้เสด็จฯ เยอื นหลายครั้ง นอกจากนั้นได้เสด็จฯ เยี่ยมโครงการ ศนู ย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตร หลกั 22 ซง่ึ เปน็ โครงการตามพระราชดารขิ อง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ทพ่ี ระราชทานแก่รัฐบาลและประชาชนลาว จานวนหน้า: 309 หน้า เรื่องท่ี 39 ลาวตอนใต้ เร่ืองย่อ เร่ืองลาวตอนใต้เล่มน้ี เปน็ พระราชนิพนธล์ าดับท่ี 36 ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรม ราชกมุ ารี ทีท่ รงพระราชนิพนธไ์ วเ้ มอื่ คร้ังเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนประเทศลาวทางตอนใต้ เพอื่ น บา้ นทส่ี าคัญและมคี วามผกู พันทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมกับไทยมายาวนาน จานวนหนา้ : 135 หนา้ เรอ่ื งที่ 40 ลาวเหนอื เมอ่ื ปลายหนาว เร่อื งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ เร่ืองลาวเหนอื เมอ่ื ปลายหนาวเลม่ น้ี บันทึก เร่ืองราวการเสด็จฯ เยอื นลาวระหวา่ งวนั ท่ี 21-24 มกราคม 2540 ทาใหส้ มเดจ็ พระเทพ รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารีไดเ้ สด็จฯ เยอื นครบหมดทุกแขวงของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวแล้ว โดยไดเ้ สดจ็ ฯ เยือนแขวงทางตอนเหนือของลาว ไดแ้ ก่ แขวงอดุ ม ไซและแขวงหลวงนา้ ทา เพ่อื ทอดพระเนตรและศกึ ษาสภาพวถิ ี ชีวิตความเปน็ อยู่ ตลอดจน

ศลิ ปวัฒนธรรมของประชาชนลาวในพ้นื ที่ดงั กลา่ วและเสด็จฯ เย่ยี มกจิ การของโรงพยาบาลและ โรงเรียนของท้องถิน่ จานวนหนา้ : 127 หน้า เรื่องที่ 41 ลยุ ปา่ ฝ่าฝน เร่ืองย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ เรอ่ื งลยุ ป่าฝ่าฝน เมื่อคร้ังเสด็จฯ เยอื นประเทศ มาเลเซยี วนั ที่ 11-15 เมษายน 2537 การเสด็จฯ เยอื นในครั้งนน้ั นอกจากกาหนดการเขา้ เฝ้าฯ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดี และพระราชนิ แี ห่งมาเลเซยี และทรงพบผูน้ ารัฐบาลมาเลเซยี แลว้ ไดเ้ สดจ็ ฯ ไปยังเมอื งคชู ิงและเมอื งมริ ิ ในรฐั ซาราวัก เพอื่ ทอดพระเนตรและทรงทัศนศกึ ษาสถานท่ีสาคัญทาง ธรรมชาตแิ ละพฤกษศาสตร์ อีกทัง้ ประเทศมาเลเซียยงั เป็นเพอ่ื นบ้านทสี่ าคญั และมีความผูกพัน ทางด้านศิลปะวัฒนธรรมกบั ไทยมายาวนานโดยเฉพาะอย่างยิง่ กบั ภาคใตข้ องประเทศไทย จานวนหนา้ : 122 หนา้ เรอ่ื งที่ 42 สวนสมุทร เรอื่ งย่อ เรอื่ งสวนสมุทรเลม่ น้ี เปน็ ชุดเสด็จพระราชดาเนนิ เยือนตา่ งประเทศ ลาดบั ท่ี 33 ในสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ที่ทรงพระราชนิพนธ์ไวเ้ มอ่ื คร้งั เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื น ประเทศฝร่ังเศส เมอ่ื พ.ศ. 2538 ทรงเสด็จพระราชดาเนนิ ไปยังสถานที่ทีย่ ังไม่เคยทอดพระเนตร เลย เช่น ศูนย์อนรุ ักษพ์ รรณพชื แหง่ ชาติปอร์เกอรอลส์ พิพิธภณั ฑ์ประวัตศิ าสตรธ์ รรมชาติ สานักงานกาชาดฝร่ังเศส และอน่ื ๆ อกี มากมาย รวมทั้งนอรม์ งั ดีอันเป็นสถานที่สาคญั ทาง ประวตั ิศาสตรส์ มยั สงครามโลกครง้ั ที่ 2 ซง่ึ ผู้อา่ นจะได้รบั ความเพลิดเพลินเสมอื นหนึ่งได้ตามเสดจ็ พระราชดาเนินไปฝรั่งเศส จานวนหน้า: 244 หนา้ เรอ่ื งท่ี 43 หวงเหออู่อารยธรรม เรื่องย่อ เร่ืองหวงเหออู่อารยธรรม พระราชนิพนธล์ าดบั ท่ี 43 ในชุดเสด็จพระราชดาเนนิ เยือน ต่างประเทศ ซ่ึงสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงบนั ทึกไว้เมือ่ ครั้งเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจีน วนั ท่ี 7-20 มนี าคม 2543 ครงั้ นี้ทรงบนั ทึกเปน็ จดหมาย 14 ฉบับ ตามจานวนวนั ของการเสด็จฯ เยือนจีนในคราวนี้ ไดเ้ สด็จพระราชดาเนิน ทอดพระเนตรสถานทีต่ า่ งๆ ที่นา่ สนใจ ในมณฑลสา่ นซี มณฑลซานตง มณฑลเหอหนาน อันเป็นบรเิ วณทแ่ี ม่น้าหวงเหอไหลผา่ น เป็นอ่อู ารยธรรมของจีน จานวนหนา้ : 273 หน้า

เรอ่ื งท่ี 44 แอนตาร์กติกา: หนาวหนา้ รอ้ น เรอื่ งย่อ พระราชนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เปน็ บนั ทกึ เมอื่ ครัง้ เสด็จพระ ราชดาเนนิ เยือนทวปี แอนตารก์ ตกิ า ประเทศนิวซแี ลนด์ หรือข้ัวโลกใต้ ดนิ แดนแหง่ ความหนาว เย็นและทิวทัศน์อนั งดงาม ระหวา่ งวนั ท่ี 17-24 พฤศจกิ ายน 2536 ทรงทอดพระเนตรหน่วยงาน ตา่ งๆ ภายใน Scott Base พพิ ธิ ภณั ฑ์ของศูนยแ์ อนตาร์กติการะหวา่ งประเทศ ถา้ นา้ แขง็ Erebus Glacier Tongue เท่ยี วชมนกเพนกวิน ฯลฯ ซึง่ ทรงเลา่ เหตุ การณว์ า่ เปน็ การเดินทางที่ ตอ้ งผจญภยั ครั้งย่ิงใหญ่ สู่ดินแดนทมี่ ีความแตกตา่ งทางภมู ิศาสตร์และภมู อิ ากาศจากประเทศไทย เป็นอย่างมาก จานวนหนา้ : 211 หน้า เรื่องท่ี 45 ไอรักคืออะไร? เร่ืองย่อ ไอรกั คืออะไร? เล่มนี้ เป็นพระราชนพิ นธล์ าดบั ท่ี 19 ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกมุ ารี ทท่ี รงพระราชนพิ นธไ์ ว้เมอื่ ครั้งเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจีนและ สาธารณรฐั ประชาชนมองโกเลียสองดินแดนทีม่ ีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่น่าสนใจ และถอื เป็นต้นกาเนิดหนง่ึ ของอารยธรรมตะวนั ออกอนั เกา่ แก่ทแ่ี พร่กระจายไปในหลายประเทศ ระหว่างวนั ที่ 3-12 ตลุ าคม 2535 ผู้อา่ นจะได้ทราบขอ้ มลู และเกรด็ ความรตู้ า่ งๆ ที่เกี่ยวกับ ประเทศมองโกเลีย สองดนิ แดนที่มีวฒั นธรรมขนบธรรมเนยี มประเพณที ีน่ ่าสนใจและเปน็ ต้น กาเนิดของอารยธรรมตะวนั ออกอนั เกา่ แก่ ประกอบด้วยภาพถา่ ยท่แี สดงถึงลักษณะทางภูมิ ประเทศและสภาพทางธรรมชาตทิ ่ีสวยงามแปลกตา ศลิ ปวฒั นธรรม และวถิ ชี วี ิตท่มี ีเอกลกั ษณ์ เฉพาะตวั ของชาวมองโกเลีย จานวนหนา้ : 207 หน้า เรื่องที่ 46 ฟื้นภาษาไดอ้ าหาร เรอ่ื งย่อ เรือ่ งฟนื้ ภาษาได้อาหาร พระราชนพิ นธใ์ นสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ลาดบั ท่ี 50 ในชดุ “เสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนต่างประเทศ” มเี นือ้ หาเกยี่ วกับประสบการณ์และ ส่งิ ท่ีทรงพบเหน็ จากการเสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเพม่ิ พูนความรู้ด้านภาษาฝร่ังเศส ณ สถาบนั สอนภาษาตูแรน ที่เมอื งตรู ์ ประเทศฝรั่งเศส ระหวา่ งวันท่ี 13-30 สิงหาคม พ.ศ. 2550 พระราช นิพนธ์ฉบบั น้ีสะท้อนให้เหน็ ความเป็นนกั ศกึ ษาโดยแทจ้ รงิ ท่ีทรงกระตอื รอื ร้นศกึ ษาหาความรู้ ใหมๆ่ อยู่เสมอ และใส่พระราชหฤทัยในสง่ิ ท่ีได้ทอดพระเนตรเหน็ หรอื ที่ได้ทรงฟัง ไม่ว่าจะ เสดจ็ ฯไปในสถานทแ่ี หง่ ใดก็ตาม จานวนหนา้ : 240 หน้า

หนงั สอื พระราชนิพนธ์ท่วั ไป (3 เลม่ ) เร่ืองท่ี 47 เกาะในฝัน เรื่องย่อ หนงั สือพระราชนิพนธ์บนั ทึกการเสดจ็ ฯ เยือนเกาะต่างๆ ในจงั หวัดภูเก็ต พงั งาและกระบี่ วนั ท่ี 16-21 เมษายน พ.ศ. 2516 ในการนี้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ์ อคั รราชกุมารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเยี่ยมโรงเรยี น อาเภอ หมบู่ ้าน และ สถานที่สาคัญตา่ งๆ ทรงเยี่ยมและพระราชทานของแก่ราษฎร นักเรียน เด็ก ผ้ปู ว่ ย และคนยากจน เนือ้ ความบางส่วนจากหมายกาหนดการวนั ท่ี 19 เมษายน พ.ศ. 2516 “…ไม้ไผท่ ี่เห็นเขาคา้ เพดานถา้ ไว้ ไม่ใช่เพ่อื กนั ถา้ ร่วง แทๆ้ เปน็ บนั ไดสาหรับปนี เก็บรงั นก ระหว่างนัง่ ดเู กบ็ รงั นกเห็นนกบินเปน็ พนั ๆ หมนื่ ๆ ตัว จบั แมลง ถ้านีน้ ึกๆ แลว้ เหมือนถา้ ท่ีอเิ หนา พาบุษบามา จะยกกลอนมากลา่ วก็จาไม่ได้ เขาปีนขน้ึ ไปอยา่ ง แคล่วคลอ่ งแลว้ ขนึ้ ไปจุดไฟ ใช้ เทียนไขจดุ แล้วเก็บมาถวายทอดพระเนตร พระราชทานรางวัลไปทัง้ สองคน รงั นกท่ีดตี ้องสะอาด สขี าว ท่นี กมันขากออกมาครัง้ แรก (สงสารนก) รังนกมีประโยชนม์ ากเพราะนกเอาสาหร่าย จาก ทะเลมาสารอก ทานองเดยี วกับผึ้งกบั ดอกไม้ แต่นักเกบ็ รังนกก็ต้องมวี ัฒนธรรมคือตอ้ งเก็บแต่รัง แรกๆ ไม่ง้นั นกแย่…\" จานวนหนา้ : 56 หนา้ เรื่องท่ี 48 สัปดาห์สบายๆ ใกล้ชายหาด เรอื่ งย่อ เป็นหนังสอื พระราชนพิ นธบ์ ันทึกการเสด็จฯ ไปปฏบิ ัติพระราชกรณยี กิจ ณ จังหวดั เพชรบรุ ีและ ประจวบคีรีขนั ธ์ ระหว่างวันอาทิตยท์ ่ี 14-วนั ศุกร์ที่ 19 สงิ หาคม 2537 ในการนี้ ไดเ้ สดจ็ ฯ ไปทรง ปลูกตน้ ไม้และปล่อยปลาลงในอ่างเกบ็ นา้ ค่ายพระราม 6 ทอดพระเนตรพระราชนิเวศน์ มฤคทายวัน ทรงฟังการบรรยายสรุปเก่ียวกบั ภมู ปิ ระเทศบรเิ วณป่าละอู ทรงพระดาเนนิ เขา้ ป่าไปท่ี ท่าน้าเพชรบรุ ี ระหวา่ งทางทอดพระเนตรพรรณไม้ตา่ งๆ ทรงเยย่ี มศูนย์ส่งเสรมิ การศึกษาบา้ น โป่งลกึ ทอดพระเนตรเขอ่ื นแกง่ กระจานและทรงฟังคาบรรยายประกอบสไลดม์ ัลติวิชนั่ เกีย่ วกบั อุทยานแหง่ ชาติแก่งกระจาน ทรงเยีย่ มโรงเรยี นวงั ไกลกังวล วิทยาลัยการอาชพี วงั ไกลกังวล โรงเรียนวงั ไกลกงั วลฝา่ ยประถมศกึ ษา อนบุ าล และชน้ั เด็กเลก็ เสด็จฯ ไปยงั ค่ายพระราม 6 เพื่อ ทรงปลูกปา่ ชายเลน ทรงประกอบพธิ ีผูกพัทธสมี าพระอุโบสถ ณ วัดเขานอ้ ย อาเภอปราณบรุ ี จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ ทรงประกอบพิธเี ปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอบาง สะพาน จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ ทรงเยีย่ มศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยทราย อนั เนือ่ งมาจาก พระราชดาริ อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบรุ ี และทอดพระเนตรโครงการศกึ ษาวจิ ยั และพัฒนา ส่ิงแวดล้อมแหลมผักเบ้ยี ตาบลผักเบย้ี อาเภอบา้ นแหลม จังหวดั เพชรบรุ ี จานวนหน้า: 154 หน้า

เรือ่ งที่ 49 บุหงาราไป เรอ่ื งย่อ เปน็ หนงั สือพระราชนิพนธป์ ระกอบนทิ รรศการเร่ืองศิลปะอินโดนีเซีย ณ พระท่ีนัง่ อศิ รา วินจิ ฉัยพิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร ระหวา่ งวันที่ 1 เมษายน – 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 กรมศลิ ปากรจดั ขนึ้ เนอ่ื งในวโรกาสวนั คล้ายวนั พระราชสมภพครบ 30 พระชันษา หนังสือพระราชนพิ นธ์เลม่ นเ้ี ป็นส่วนขยายของหนังสอื พระราชนพิ นธ์ชดุ เสดจ็ ฯ เยือนตา่ งประเทศเรอ่ื งชมช่อมาลตี ซึง่ ทรงบันทึกเรื่องราวการเดินทางคราวเสดจ็ ฯ เยือนสาธารณรัฐอินโดนีเซยี ในปี 2527 บุหงาราไปประกอบด้วยเน้ือหาและรปู เกี่ยวกบั ศลิ ปวัฒนธรรมของอินโดนีเซยี รวมทง้ั พระฉายาลักษณ์และของที่ระลกึ ท่ีมีผทู้ ลู เกล้าฯ ถวาย ตวั อย่างบางส่วนจาก “ดนตรอี นิ โดนีเซยี ” “…ปพี่ าพทช์ วานีเ้ รยี กว่า กาเมลนั (Gamelan) ประกอบดว้ ย เคร่อื งบรรเลงที่มีลกั ษณะไมแ่ ตกต่างกับปีพ่ าทยข์ องไทยเทา่ ใด ต่างกนั แตว่ ่าปี พาทย์ชวาใชส้ ่งิ ท่ที าดว้ ยโลหะมาก เสียงจึงมกี งั วานกระหึ่มครึมครางไปตามแบบอยา่ งอัน เหมาะสมกับสาเนยี งเพลงชวา ทผี่ ดิ กันมากก็คือระดบั เสยี ง ปี่พาทย์ชวาน้ันมเี สียงพ้ืน โดยทว่ั ไปอยเู่ พยี ง 5 เสยี งเทา่ นน้ั คือ ทุกๆ ช่วงคู่ 8 จะมแี ตเ่ สยี งที่ 1, 2, 3 และ 5, 6 ไมม่ ี เสยี งท่ี 4 และ 7 แม้เพลงของชวาเอง หากจะตอ้ งบรรเลงเพลงทีเ่ กิน 5 เสยี งนี้แล้ว เขามี เครอ่ื งดนตรอี กี ชิ้นหนง่ึ ซึ่งเทยี บเสยี งแตกตา่ งออกไปเป็นผูเ้ ตมิ เสยี งให้ ดงั น้นั ปี่พาทยช์ วา จึงไม่เหมาะสมท่จี ะใชบ้ รรเลง เพลงไดโ้ ดยทั่วไปเหมอื นอยา่ งของชาติอื่นๆ…\" จานวนหนา้ : 150 หน้า หนงั สือพระราชนิพนธ์บทกวี (6 เลม่ ) เรื่องที่ 50 กาลเวลาท่ีผา่ นเลย เร่อื งย่อ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน พระราชานญุ าตแกบ่ รษิ ัท หนงั สือสรุ ิวงศบ์ ๊คุ เซนเตอร์ จากัด จัดพมิ พห์ นังสือกาลเวลาที่ผ่านเลย เพอื่ จดั พมิ พ์เปน็ ท่รี ะลกึ เปิดอาคารเลขที่ 54 ถนนศรีดอนไชย อาเภอเมอื งเชียงใหม่ จงั หวัด เชียงใหม่ เม่ือวนั ที่ 12 มนี าคม 2540 และจาหนา่ ยเพ่ือนารายไดห้ ลังหกั ค่าใช้จา่ ยทลู เกล้าฯ ถวาย โดยเสดจ็ พระราชกุศลสมทบทนุ สรา้ งโรงเรยี นทีจ่ งั หวดั ตาก หนงั สอื รวมพระราชนพิ นธบ์ ทกวี “กาลเวลาทีผ่ ่านเลย” รองศาสตราจารย์ ศภุ รัตน์ เลิศพาณชิ ย์กุล เป็นผูร้ วบรวม ซง่ึ ได้คัดบทรอ้ ย กรองและบทเพลงพระราชนพิ นธ์ 60 บท มาจดั พมิ พ์ในครัง้ น้ี สาหรบั ช่ือหนังสือ “กาลเวลาท่ีผ่าน เลย” นามาจากชอ่ื บทกวแี ปลภาษาฝรงั่ เศส “กาลเวลาท่ีผ่านเลย” (Le temps qui passe) จากพระ ราชนพิ นธค์ วามคิดคานงึ จานวนหนา้ : 130 หน้า เรอื่ งที่ 51 REFLEXIONS ความคิดคานึง เรอื่ งย่อ พระราชนพิ นธบ์ ทกวีภาษาฝรง่ั เศส 'Réflexions ความคิดคานึง' ฉบบั พมิ พ์ครง้ั แรก 2522 เป็นการ จดั พิมพร์ วมพระราชนพิ นธ์บทกวภี าษาฝร่ังเศส 14 บท ท่สี มเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรม ราชกมุ ารที รงพระราชนพิ นธร์ ะหว่าง พ.ศ. 2514-2519 ต่อมาในการจดั พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2 ไดเ้ พ่ิมพระราช นพิ นธ์บทกวีอีก 6 บท รวมเปน็ 20 บท หลังจากน้ันได้พระราชทานพระราชานุญาตใหจ้ ดั พิมพอ์ กี หลายคร้งั และในการพมิ พใ์ หม่ครง้ั ท่ี 5 เมอื่ พ.ศ. 2545

สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารไี ดพ้ ระราชทานพระราชนพิ นธบ์ ทกวี ชื่อ 'Châteaux de sable' หรอื 'ปราสาททราย' ทีท่ รงแตง่ ใน พ.ศ. 2525 ใหน้ ามารวมพมิ พเ์ ป็นคร้ังแรก ใน พ.ศ. 2550 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานพระราชานญุ าตให้ จัดพมิ พ์ Réflexions ความคิดคานึง ฉบับพมิ พค์ รัง้ ที่ 10 พร้อมบทแปลภาษาอังกฤษ โดยรอง ศาสตราจารยส์ จุ ติ รา จงสถิตยว์ ฒั นา และดอ็ กเตอรป์ เี ตอร์ สกิลลิง่ (Dr. Peter Skilling) จานวนหน้า: 192 หนา้ เรื่องที่ 52 ฝากฝนั กลอนกานท์: รวมพระราชนิพนธ์ร้อยกรองในสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรม ราชกมุ ารี เรอื่ งย่อ หนังสอื รวมพระราชนพิ นธ์ร้อยกรองเล่มนป้ี ระกอบด้วยบทพระราชนพิ นธ์รอ้ ยกรองบทสน้ั ๆ ท่มี เี นอื้ หา หลากหลายจานวน 16 บท อาทิ นกขมิน้ รกั จนี เดด็ ดอกไม้ เมนไู ข่ สนั โดษ ลมุ พนิ ี และปรนิ ิพพาน เปน็ ตน้ นอกจากนน้ั ยังมภี าพการต์ นู และจติ รกรรมฝีพระหัตถ์ท่ีขอพระราชทานอัญเชิญมาประกอบ บทพระราชนพิ นธร์ ้อยกรองต่างๆ อาทิ ภาพนก ความฝันสคี ราม ทอสเี ทียบฝนั แม่นา้ โขง และภาพจาก บตั รอวยพรวันวิสาขบูชา เป็นตน้ เนอื ความบางส่วนจาก “นกขมนิ ” “โอ้เจา้ นกขม้ินสีเหลืองออ่ น ถงึ ยามคา่ เจ้าจะจรนอนรงั ไหน ท้องทุง่ นาสุมทมุ พุ่มไม้ไพร ได้อาศัยพักผ่อนแตก่ ่อนมา ...................................... หรือเจา้ มีค่ชู มภิรมย์ชิด ขอม่ิงมติ รเฉลยคาทีร่ า่ ขาน ข้าจะได้ตัดอคั คีทเ่ี ผาลาญ มิให้ผลาญจนชอกชา้ ระกาทรวง” จานวนหนา้ : 72 หนา้ เรื่องท่ี 53 พุทธศาสนสุภาษิต คาโคลง เรือ่ งย่อ เป็นบทกวพี ระราชนพิ นธ์ทท่ี รงพระราชนพิ นธ์ตง้ั แต่เม่อื ครง้ั ยงั ทรงศึกษาอยู่ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ทรงศึกษาพุทธศาสนสภุ าษติ จากหนังสือพทุ ธศาสนสุภาษติ ของ สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสแลว้ ทรงผกู เป็นโคลงขนึ้ ธนาคารนครหลวง ไทย จากดั จดั พิมพ์ขน้ึ เพื่อทลู เกล้าฯ ถวายโดยเสดจ็ พระราชกศุ ลในมูลนธิ ิสายใจไทยในพระบรม ราชปู ถัมภต์ ัวอย่างจาก “กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก” หรือ “ทาดีได้ดี ทาช่ัวไดช้ ่ัว” “กสกิ รหวา่ นพชื แล้ว รอผล ปลูกถว่ั ยอ่ มไดผ้ ล ถั่วแท้ หว่านขา้ วที่นาตน ข้าวงอก จกั ผดิ ประเภทแม้ หนึ่งครงั้ ฤามี เปรยี บบุคคลผซู้ งึ่ ทาดี

กศุ ลสง่ บญุ ทวี สวสั ด์ิได้ ทาชว่ั อเวจี แหลง่ รบั รองนอ รอู้ ย่างน้แี ลว้ ไซร้ คิดสรา้ งแต่กุศล\" จานวนหนา้ : 45 หนา้ หนังสือพระราชนิพนธแ์ ปล (2 เลม่ ) เรื่องที่ 54 นารนี ครา เรอ่ื งย่อ เร่อื งนารีนครา พระราชนพิ นธแ์ ปลในสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เลม่ น้ี เป็นนวนิยายสมยั ใหม่ของ “ฉอื ลี่” นกั เขียนหญงิ ผมู้ ีช่อื เสยี ง สรา้ งวรรณกรรมรว่ มสมัยของจีนหลาย เรือ่ ง เนื้อหาในเล่ม เป็นเร่อื งราวสะท้อนสงั คม ในขณะเดียวกันกแ็ สดงให้เห็นความงดงาม ของ “ความเป็นหญงิ ” ซง่ึ มิได้หมายถงึ รูปลกั ษณภ์ ายนอกอันชวนให้หลงใหล หากแต่อยใู่ นพลังและ บทบาทหน้าที่อันยงิ่ ใหญ่ของความเปน็ แม่ ความเป็นภรรยา และทสี่ าคญั ทส่ี ุดคือความเป็นเพอ่ื น แท้ ผา่ นตวั ละครสาคญั 3 ตวั ซ่ึงเปน็ ตวั แทนหญิงรุ่นเก่า รนุ่ กลาง ร่นุ ใหม่ ทไี่ ดม้ ปี ฏิสมั พนั ธ์ตอ่ กัน ในมิติตา่ งๆ และไดถ้ ่ายทอดเรียนร้ซู ึ่งกันและกัน ในกระแสสังคมทม่ี ีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว และซบั ซอ้ น การเชดิ ชู “ความเป็นหญิง” ในนวนยิ ายนี้ ทวคี วามลึกซึ้งยงิ่ ข้ึน เม่ือผเู้ ขยี นใช้ฉาก สาคัญคอื นครอฮู๋ ่ัน ซ่ึงเปน็ นครทีม่ ีประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมยาวนาน การบรรยายฉากอยา่ ง ละเอียดใหเ้ หน็ ชวี ิต ความงาม และ ความยง่ิ ใหญข่ องนครอฮู๋ น่ั น้ี จึงเป็นฉากทเ่ี พมิ่ ความหมาย ลกึ ซึ้งให้กบั ชื่อเรอื่ งนารีนครา จนอาจกลา่ วได้วา่ “นารนี ครา” เป็นนวนยิ ายทีส่ ะท้อนวรี กรรมอนั เกดิ จากดวงใจแกร่งแท้ด่ังเหล็กกล้าของหญงิ ซ่ึงได้ดาเนนิ มาแลว้ ในอดีต ดารงอยู่ในปจั จบุ ัน และจะ สบื เน่ืองต่อไปในอนาคต จานวนหน้า: 160 หน้า เร่อื งที่ 55 ตลอดกาลน่ะนานแคไ่ หน เรอ่ื งย่อ เร่อื งตลอดกาลนะ่ นานแคไ่ หน พระราชนิพนธแ์ ปลนวนิยายจนี ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารสี ะท้อนภาพสงั คม วิถชี ีวติ วัฒนธรรม และประเพณขี องสงั คมจนี ยุคปัจจบุ นั ผา่ นตัวละครทีม่ ชี ีวิตโลดแลน่ อยู่ในหูท่งสายหนงึ่ อนั เปน็ ชุมชนย่านตรอก ซอยดัง้ เดมิ ของกรุงปกั กิ่ง ซงึ่ กาลงั ถูกคา่ นยิ มของสังคมสมยั ใหมร่ ุกไล่ เฉกเช่นเดียวกบั คณุ ธรรมของสังคมยคุ เก่าที่ถกู ท้าทาย จากความเปล่ียนแปลงของโลกยุคใหม่ไปตา้ สิ่ง ตัวละครหลกั มีคุณธรรมเป็นเลศิ มจี ติ งดงาม ซื่อสัตย์ ยอมเสียเปรียบทกุ คน เธอจงึ ต้องทนทุกข์กับตัวตนท่เี ธอเปน็ อยู่ ความทุกข์อันสาหสั ของ ไป๋ตา้ ส่งิ คือ ความผิดหวงั จากความรักท่ีฝา่ ยชายผูไ้ ม่จริงใจทงิ้ เธอไปคนแลว้ คนเล่า แต่เธอก็ยงั คง “ตกหลมุ รกั ” และ “รักอย่างหัวปกั หวั ปา” โดยมอิ าจจะชว่ ยตวั เองไดเ้ ลย เพราะไปต๋ ่าสิง่ เหน็ วา่ ความ รักเป็นสง่ิ สงู สง่ และความรักคือการให้และเสยี สละอยา่ งไมส่ นิ้ สุด จานวนหน้า: 109 หนา้

หนังสอื พระราชนิพนธว์ ิชาการ (17 เลม่ ) เรอื่ งที่ 56 การพัฒนานวัตกรรมเสริมทักษะการเรียนการสอนภาษาไทย สาหรับนกั เรยี นชันมัธยมศึกษาตอน ปลาย เรอ่ื งย่อ ปรญิ ญานิพนธท์ ่ที รงเสนอตอ่ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร เพอื่ เป็นสว่ นหนึง่ ของการศกึ ษา ตามหลกั สตู รปรญิ ญาการศกึ ษาดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาพฒั นศึกษาศาสตร์ เมื่อ เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2529 มูลนธิ ิสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าจัดพิมพเ์ นือ่ งในวโรกาสท่ีสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี องคอ์ ปุ ถมั ภ์ของมูลนิธิ ทรงมีพระชนมายุครบ 3 รอบ และเนือ่ งในโอกาสครบรอบ 10 ปี ของมูลนธิ ิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าใน พ.ศ. 2534 เน้อื ความบางสว่ นจากปรญิ ญานพิ นธ์ “…นกั เรียนในระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลายที่มี ความร้ภู าษาไทยอ่านออกเขียนได้เปน็ อย่างดี มักมีความตอ้ งการทจี่ ะศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ตอ้ งการใช้ความคิดท่ีมีเหตุผล แต่ก็ยงั ตอ้ งการความรักและการแนะนาของผ้ใู หญ่ การจดั การ ศกึ ษาวชิ าภาษาไทยในระดบั น้ี จงึ ควรใหม้ ีกจิ กรรมทใ่ี ห้โอกาสผู้ศกึ ษาได้คน้ คว้าหาเหตอุ ย่าง อสิ ระ ในขณะเดียวกันครกู ็มสี ว่ นท่จี ะชว่ ยแนะนา และให้ขอ้ คดิ แก่นกั เรียน ชว่ ยให้นกั เรียนมี ความคิดกวา้ งขวางยง่ิ ขึ้น ดงั นน้ั ครูภาษาไทยควรจะมีความรูร้ อบตัวมาก ต้องสนใจวชิ าอ่นื ๆ ท่ี นอกเหนอื ไปจากตาราเรียน ต้องอธบิ ายได้ ยิ่งถ้าปฏบิ ัตไิ ด้ยง่ิ ดี…\" จานวนหนา้ : 440 หน้า เรือ่ งท่ี 57 การศึกษากับการพัฒนาประเทศ เรอ่ื งย่อ ปาฐกถาพระราชทานเนอื่ งใน “วนั สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ครง้ั ท่ี 9” ณ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมติ ร ในวันที่ 7 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2538 โดย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒจดั งาน “วันสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี” เป็นประจาทกุ ปี เพือ่ สานกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ ทพี่ ระราชทานแก่มหาวิทยาลัยและปวงชน ชาวไทย และเพื่อเป็นอนสุ รณร์ ะลกึ ถงึ โอกาสทที่ รงสาเร็จการศกึ ษาในระดบั ดษุ ฎีบัณฑติ สาขา วชิ าพัฒนศกึ ษาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ เม่ือ พ.ศ. 2529 เนือ้ ความบางสว่ น จากปาฐกถา“...อาหารเปน็ สงิ่ ท่ีช่วยให้ส่งิ มีชวี ิตโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ มนษุ ยใ์ ห้ดารงชีวติ อยู่ ได้ เรย่ี วแรงและมันสมองท่ีจะคดิ การต่างๆ นอกจากเร่อื งอาหารแล้ว ขา้ พเจ้าอยากจะเพิม่ เตมิ สิทธิ พนื้ ฐานอกี อย่างหน่ึงคือเรื่องการศกึ ษา เพราะเป็นเรอื่ งท่ีเกี่ยวเน่ืองกับการเรียนรู้ ชว่ ยให้คนเรา สามารถทาอะไรได้ นอกเหนอื จากธรรมชาติหรอื ทเ่ี ป็นสัญชาตญาณ การไดอ้ าหารเลย้ี งรา่ งกาย หรือการไดศ้ กึ ษาเรียนรู้นน้ั เปน็ เร่ืองทว่ี า่ ยิง่ ไดเ้ รว็ เทา่ ไรกย็ ิ่งดี สิ่งทไี่ ด้จะเป็นพน้ื ฐานของการ พฒั นาของคนเราไปตลอดชวี ติ ...” จานวนหน้า: 35 หนา้

เร่ืองที่ 58 การศกึ ษาของผ้ดู อ้ ยโอกาส เรือ่ งย่อ ปาฐกถาพระราชทานเนื่องใน “วนั สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครง้ั ท่ี 15 ประจาปี พ.ศ. 2544” ณ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร วันจนั ทรท์ ่ี 12 พฤศจกิ ายน 2544 โดยมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒจดั งาน “วนั สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ าร”ี เปน็ ประจาทกุ ปี เพ่ือสานึกในพระมหากรณุ าธิคณุ ทีพ่ ระราชทานแก่ มหาวิทยาลยั และปวงชนชาวไทย และเพือ่ เปน็ อนสุ รณ์ระลกึ ถึงโอกาสท่ีทรงสาเรจ็ การศึกษาใน ระดบั ดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาพฒั นศกึ ษาศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ เมอ่ื พ.ศ. 2529 เนอ้ื ความบางสว่ นจากปาฐกถา “...การจัดการศกึ ษาแก่ ผูด้ ้อยโอกาสในปจั จุบันและ อนาคตคงต้องมหี ลายแนว เพราะเปน็ โลกสมัยโลกาภิวฒั น์ ต้องเปดิ กวา้ งหลายๆ อยา่ ง ตอ้ ง มองดวู า่ ในตา่ งประเทศเขาเปน็ อย่างไร มีปรชั ญาความคิด คา่ นิยมทว่ั ๆ ไปเปน็ อยา่ งไร ไม่ใช่ เฉพาะของกลมุ่ หรอื ท่ีเราจะไปให้ความชว่ ยเหลอื เทา่ น้นั ไม่ใชค่ วามเมตตาแตเ่ ฉพาะพวกเรา คนอ่ืนชา่ งเขา...” จานวนหนา้ : 35 หน้า เรือ่ งท่ี 59 ข้าวไทย เรื่องย่อ พระราชนพิ นธท์ ี่ทรงจดั ทาข้ึนไวเ้ มื่อคร้งั เสดจ็ ฯ ไปทรงบรรยายเร่อื งขา้ วไทยทสี่ ถาบนั International Rice Institute เมอ่ื วันท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2537 ณ กรงุ โตเกยี ว ประเทศญป่ี ุน่ กระทรวงพาณิชยจ์ ดั พิมพ์เผยแพรแ่ ละจาหนา่ ยหารายไดท้ ูลเกล้าฯ ถวาย โดยเสดจ็ พระราช กศุ ลตามพระราชอธั ยาศยั เนอื้ หาของบทพระราชนพิ นธ์มีทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ได้แก่ \"...‘ขา้ พเจ้ามโี อกาสไดศ้ กึ ษาและทดลองทานามาบา้ ง และทราบดวี ่าการทานานั้นมี ความยากลาบากเปน็ อปุ สรรคอยูไ่ มใ่ ช่น้อย จาเปน็ ตอ้ งอาศัยพันธ์ุขา้ วท่ีดแี ละตอ้ งใชว้ ิชาการ ตา่ งๆ ดว้ ย จงึ จะได้ผลเป็นลา่ เป็นสนั อกี ประการหน่งึ ท่นี านัน้ เมื่อสน้ิ ฤดูทานาแลว้ ควรจะปลกู พืชอ่นื ๆ บ้าง เพราะจะเพ่มิ รายไดใ้ ห้อกี ไมน่ ้อย ทัง้ จะชว่ ยให้ดินร่วน ช่วยเพม่ิ ป๋ยุ กากพชื ทาให้ ลักษณะเนือ้ ดินดีขนึ้ เหมาะสาหรบั จะทานาในฤดูต่อไป’ ข้อความขา้ งตน้ เป็นพระราชดารสั ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ภูมิพลอดลุ ยเดช พระราชทานแกก่ ลุม่ ผนู้ าชาวนา แสดงถงึ ความ สนพระทยั ท่ีทรงมตี อ่ พสกนิกรอันเป็นชาวนาชาวไร่โดยตรง....” จานวนหนา้ : 76 หนา้ เรื่องท่ี 60 งานของสภากาชาดไทย เรื่องย่อ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในฐานะอุปนายิกาผู้อานวยการ สภากาชาดไทย ทรงบรรยายพเิ ศษ “งานของสภากาชาดไทย” ในพธิ เี ปดิ งานชมุ นุมกาชาด ครง้ั ที่ 7 เฉลมิ พระเกียรติเนือ่ งในวโรกาสพระราชพธิ ีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ ซิต้ี จอมเทยี น จงั หวดั ชลบรุ ี เมือ่ วันท่ี 24 มิถนุ ายน 2552 เนอ้ื ความบางส่วนจากบทบรรยายพิเศษ “...แต่กอ่ นเรยี นมาในด้านของ การศึกษากย็ อ่ มอยากทางานเร่อื งของโรงเรยี น อยากชว่ ยเรื่องสุขภาพอนามยั กท็ าในเรอื่ ง

ของนกั เรียน หรือโรงเรยี น แต่ก็มีผูท้ ักขน้ึ มาว่า มาถึงในยุควยั เลา่ เรยี น หรือเด็กก่อนวัยเรยี นก็ อาจจะไมเ่ พียงพอแลว้ คงจะต้องถอยการทางานลึกไปถึงสตรผี เู้ ปน็ มารดา ผ้ตู ง้ั ครรภ์ ผ้หู ญงิ ใหน้ มบุตร ในลักษณะนี้ท่ีจะตอ้ งใสใ่ จในเรอื่ งของสุขภาพอนามัย ซ่งึ มีผลกระทบไปถงึ ทารก หรือวา่ เดก็ เยาวชนทจี่ ะเตบิ โตเป็นผู้ใหญ่อกี ...” จานวนหน้า: 14 หน้า เร่ืองท่ี 61 จารึกปราสาทหนิ พนมวนั เร่อื งย่อ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระราชนิพนธ์ จารกึ ปราสาทหนิ พนม วัน ครั้งยังทรงดารงพระยศเปน็ สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟา้ สิรนิ ธรเทพรตั นราชสดุ าฯ นบั เป็น งานพระราชนิพนธช์ น้ิ แรกที่ทรงอ่านและทรงแปลจารกึ ภาษาเขมรโบราณ กรมศิลปากร กระทรวงศกึ ษาธิการ จัดพิมพใ์ นโอกาสเปดิ นทิ รรศการพเิ ศษ เมือ่ วันที่ 2 สงิ หาคม พ.ศ. 2520 คาแปลจารกึ บางสว่ นทัง้ ในส่วนของภาษาไทยและภาษาฝร่ังเศส “ศักราช ๘๑๓ ข้ึน ๑๐ ค่า เดอื นมาฆะมีอาชญาธลู ีเชง (พระบรมราชโองการ ?) ของพระกัมมรเตงอัญศรียโศวรัมมเทวต่อมร เตญโกลญวนและวาปโคซงึ่ เปน็ โกลญวีมาและวาปศรี ซึง่ เปน็ ปตปิ รตั ยะให้ฉลองหอ้ งพระเพลิง และพระศาลา (ถ้า) คนผซู้ ึ่งตอ้ งทาตามพระอาชญาธลู เี ชงของพระกมั มรเตงอัญศรีนทรวรมั ม เทวะและพระอาชญาธลู เี ชงของพระกัมมรเตงอัญศรยี โศวรมั มเทวะ เขา้ กับฝา่ ยอธรรมกจ็ ะเสวย นรกเพราะการฝา่ ฝนื นนั้ …” จานวนหนา้ : 10 หน้า เรื่องที่ 62 ทศบารมีในพทุ ธศาสนาเถรวาท เร่อื งย่อ วิทยานิพนธ์เล่มน้เี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รปรญิ ญาอกั ษรศาสตรมหาบัณฑติ ภาควชิ าภาษาตะวันออก บัณฑติ วทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2524 ทรงวิจยั เร่ือง บารมใี นพุทธศาสนาเถรวาท ทรงศึกษาความเปลี่ยนแปลงทางความหมายของศพั ทว์ ่าบารมี ตามท่ีปรากฎในคมั ภรี ์ทางพทุ ธศาสนาเถรวาททแ่ี ต่งข้นึ ในยุคต่างๆ มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ใน พระบรมราชปู ถัมภ์ จัดพมิ พเ์ ผยแพร่เนอ่ื งในโอกาสสมโภชเฉลิม 200 ปี พระบรมราชวงศจ์ กั รี และกรุงรตั นโกสินทร์ เนือ้ ความบางส่วนจากวทิ ยานพิ นธ์ “…ขอ้ ความนี้ เปน็ พระมตขิ องสมเด็จพระสังฆราชเจา้ ฯ เกี่ยวกับบารมโี ดยละเอียด พรอ้ มท้ัง วเิ คราะหค์ าสอนและขอ้ แสดงธรรมะของเก่าด้วย มีพระดารวิ ่า บารมี ซึ่งพระโพธสิ ัตวบ์ าเพ็ญ แล้วจะบรรลพุ ระโพธญิ าณ น่าจะออกจากศพั ท์ ปรมะ แปลวา่ อย่างยิ่ง (ตรงกับพระดาริของ สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ท่ีได้กล่าวมาแล้ว) ความหมายของศพั ท์ คงจะมุ่งวา่ เป็นทางไปในทางท่ดี ีขึน้ ความหมายทช่ี ัดเจนคอื “เกบ็ ดีเก็บถูก” น่าจะตรงกนั ขา้ ม กับคาว่า “อาสวะ” ซึ่งแปลวา่ ของหมัก ดอง มคี วามหมายว่า “การเกบ็ ชวั่ เกบ็ ผิด” คนเขาเม่ือ ทาบญุ และบาป จะไดผ้ ลดผี ลชวั่ หมดไปเป็นคราวๆ ตามกฎแห่งกรรม แตจ่ ะหลงเหลือ ความคนุ้ เคยในทางดีและช่ัว อยู่ ชกั นาให้เลอื กทางดีหรอื ชั่วต่อไป เรียกว่า บารมี และอาสวะ ตามลาดบั …\" จานวนหน้า: 183 หนา้

เรอ่ื งที่ 63 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพฒั นาคุณภาพชีวิตของคนพิการ เร่อื งย่อ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเป็นประธานในพิธเี ปดิ งาน และทรงแสดง ปาฐกถาพิเศษเร่ือง “เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของคน พิการ” ในวันพฤหัสบดที ่ี ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ณ หอ้ งเพลนิ จติ ต์ โรงแรมอมิ พีเรียล ถนน วิทยุ กรุงเทพมหานคร ในงานสมั มนาและนทิ รรศการเรือ่ ง “เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื คน พิการ ครง้ั ที่ ๑” ระหวา่ งวันท่ี ๒๓-๒๗ พฤษภาคม ๒๕๓๙ ณ โรงแรมอิมพเี รยี ล ซึ่งทาง โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราช กุมารี วิทยาลยั ราชสุดา มหาวทิ ยาลยั มหิดล คณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแหง่ ชาติ และศนู ยเ์ ทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอรแ์ ห่งชาติ ร่วมกนั จดั ขนึ้ เนอ้ื ความบางสว่ น จากปาฐกถา “…คนบางคนน้ันอาจมคี วามสามารถน้อยหรอื มากไมเ่ ทา่ กนั แต่ว่าสว่ นที่สาคัญ ท่ีสดุ คอื โอกาส เช่น โอกาสในการศกึ ษาน้นั เปน็ เรื่องทสี่ าคญั ทสี่ ุด ควรจะเปิดโอกาส แตว่ ่า ความสามารถของคนทจ่ี ะรบั โอกาสท่ีเปดิ ใหน้ ัน้ อาจจะไม่เท่ากัน แตโ่ อกาสกค็ วรจะใหเ้ ทา่ เทียมกัน…” จานวนหน้า: 16 หน้า เรอื่ งท่ี 64 เทคโนโลยีสารสนเทศทเ่ี ป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาประเทศ เร่อื งย่อ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ งาน “ไอทีเฉลมิ พระเกยี รติ: เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ประชาชน” วนั พฤหสั บดีท่ี 1 มิถุนายน 2538 และทรงบรรยายปาฐกถาพิเศษเร่อื ง “เทคโนโลยีสารสนเทศทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นา ประเทศ” วันศกุ รท์ ่ี 2 มิถุนายน 2538 ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรงุ เทพมหานคร คณะกรรมการอานวยการปแี หง่ เทคโนโลยีสารสนเทศไทยไดจ้ ัดงานข้ึนเพอ่ื รว่ มเฉลมิ ฉลองเนือ่ งในวโรกาสที่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงครองสิรริ าชสมบัติครบ 50 ปี และทางศนู ยเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาตไิ ดจ้ ดั พิมพแ์ ละเผยแพรป่ าฐกถา น้ีเพือ่ ใหเ้ ปน็ เอกสารทบี่ นั ทึกเหตกุ ารณ์ประวตั ิศาสตร์ครั้งหน่งึ ของปแี ห่งเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไทยทีจ่ ะเผยแพรแ่ กห่ น่วยงานและผู้ทีส่ นใจเน่อื งในโอกาสขึ้นปีใหม่ 2539 และเพื่อร่วมเฉลิม ฉลองในวโรกาสที่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงครองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ 50 ปี เนอ้ื ความ บางส่วนจากปาฐกถา “…แต่เราก็ควรมหี ลักในการใช้เทคโนโลยีอยา่ งรอบคอบในทางสร้างสรรค์ ไมใ่ ช่ว่าเป็นทาสของสง่ิ ท่เี ราจัดทาข้นึ เราต้องไมท่ าลายธรรมชาติ ตอ้ งใหธ้ รรมชาติอยูย่ ่งั ยืนนาน ไมใ่ ชแ่ ค่ช่วั ลูกชวั่ หลาน หรือแค่ตัวเรา คือทาแล้ว โกยเอา โกยเอา โกยเอา รวยแลว้ เลกิ อยา่ งน้ีก็ จะอยไู่ มไ่ ดน้ าน มนุษย์เราน้ันควรมีความเปน็ อสิ ระ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความเปน็ อิสระใน ความคิด รจู้ ักพินิจเรอื่ งตา่ งๆ ด้วยปญั ญาทร่ี อบคอบ การพัฒนาประเทศที่ดนี ัน้ ควรดาเนนิ ไป พร้อมๆ กนั อยา่ งกลมกลนื ทัง้ ทางด้านวตั ถุที่องิ อยกู่ ับเร่อื งเทคโนโลยีและทางด้านจิตใจ เพื่อให้ เกิดการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน (sustainable)…\" จานวนหนา้ : 24 หน้า

เรอ่ื งที่ 65 บันทึกเรอ่ื งการปกครองของไทยสมยั อยุธยาและต้นรัตนโกสินทร์ เรื่องย่อ เมือ่ คร้งั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงศึกษาอยูช่ น้ั ปที ี่ ๑ คณะอักษร ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทรงศึกษาเพ่มิ เตมิ เรื่องการเมืองการปกครอง กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม กับหม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ์ ปราโมช หนังสือเลม่ น้ีเปน็ พระราช นพิ นธท์ ีท่ รงเรียบเรยี งเน้ือหาจากคาสอนในเร่ืองดังกลา่ ว เน้อื ความบางส่วนจาก “การปกครอง ในแตล่ ะหวั เมือง” “…ในเมอื งตา่ งๆ มักจะมชี าวต่างประเทศมาอย่ใู นพระนครศรอี ยธุ ยกาหนดให้ อยใู่ นเขตพระนครเท่านัน้ ภายหลังกาหนดเขตให้เปน็ ที่อยเู่ ฉพาะบางสว่ นในพระนคร ผปู้ กครอง ใช้คนเชอ้ื ชาติศาสนาเดียวกันเรยี กวา่ นายอาเภอ มีตาแหนง่ คล้ายกงศุลและขน้ึ กบั กรมทา่ ในบาง กรณีมชี าวต่างประเทศเดนิ ทางไปค้าขายตามหวั เมืองทางราชการจะตอ้ งระวัง เพราะกลัวจะเปน็ สายของขา้ ศกึ เดนิ ทางไปทาแผนทีด่ ลู าดเลาดูเรอ่ื งเสบียงอาหาร ถ้าไม่จาเปน็ จริงๆ จะไม่ อนุญาต ถา้ อนุญาตจะชว่ ยเหลอื โดยออกคา่ เดินทางจากเสนาบดใี นกรุงไปถึงเจ้าเมอื งที่จะผา่ น บอกถงึ กิจธุระและใหเ้ จา้ เมืองอนเุ คราะห์ หมายความทางราชการไวใ้ จและเหน็ ประโยชนจ์ ากการ เดินทางนน้ั ถา้ ชาวตา่ งชาตไิ ปหวั เมอื งใดโดยไมม่ ีหนังสือ ให้เจา้ เมอื งจับส่งเข้ากรงุ ทั้งหมดน้ี แสดงวา่ คนไทยสมยั กอ่ น เหน็ ความสาคัญในการรักษาความลับของประเทศมาก…\" จานวนหนา้ : 187 หน้า เรื่องท่ี 66 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมยั รตั นโกสินทร์: การปฏิรูปการปกครอง เรื่องย่อ เป็นหนังสอื ประกอบการสอนวชิ า HI 452 ประวตั ิศาสตร์ไทย ณ โรงเรยี นนายรอ้ ยพระ จุลจอมเกลา้ จังหวัดนครนายกเน้ือความบางสว่ น “…รัชกาลท่ี 5 ก็มิได้ทรงทอดทง้ิ การศึกษาท่ี มีอยู่แลว้ เชน่ โรงเรียนของพวก ครสิ เตยี น และการศกึ ษาของพระ ซ่ึงมีการเรียนพระธรรมวนิ ัย อย่แู ลว้ บุตรเจ้านายที่เรียนดี ทรงส่งไปศกึ ษาวิชาภาษาอังกฤษท่ีสิงคโปร์ สาหรบั การศกึ ษาของ สตรี ทรงตัง้ โรงเรยี นสุนันทาลัยข้นึ ใน พ.ศ. 2423 ตอ่ มาไดท้ รงจัดตัง้ โรงเรยี นนายรอ้ ย นายสิบข้นึ เพอ่ื ฝึกหัดเป็นทหารโดยเฉพาะ คร้นั มีนักเรียนเพิม่ ขึ้นมาก จงึ ทรงมีพระราชดาริวา่ การศึกษาไม่ ควรจากดั อยู่ในกรมทหารมหาดเลก็ ใน พ.ศ. 2425 ทรงตั้งโรงเรียนเฉพาะนายทหารมหาดเล็ก ใหโ้ รงเรียนทม่ี ีอยเู่ ดิมสอนวชิ าทัว่ ๆ ไป ผ้ตู ้องการศกึ ษาวิชาทหารซึ่งถือวา่ เปน็ วิชาเฉพาะ ให้ แยกไปเรียนทีหลงั …\" จานวนหนา้ : 89 หน้า เร่อื งท่ี 67 ภูมปิ ญั ญาไทยด้านอาหารและโภชนาการ เรื่องย่อ ปาฐกถาพระราชทานเนอื่ งใน “วนั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครงั้ ที่ 16 ประจาปี พ.ศ. 2545\" ณ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ องครกั ษ์ ในวันศกุ ร์ที่ 22 พฤศจิกายน 2545 โดยวันสมเดจ็ พระเทพ-รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นวันที่มหาวิทยาลยั ศรนี คริ นทรวิโรฒจดั งานวิชาการเปน็ ประจาทกุ ปตี ง้ั แต่ พ.ศ.2530 เปน็ ตน้ มา เพอ่ื นอ้ มระลึกถงึ โอกาสที่ ทรงสาเร็จการศกึ ษาในระดบั ดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวชิ าพฒั นศึกษาศาสตร์ จากมหาวิทยาลยั ศรี นครนิ ทรวโิ รฒ เมอื่ พ.ศ. 2529 และดว้ ยสานึกในพระมหากรุณาธิคณุ

ทพี่ ระราชทานแก่มหาวทิ ยาลยั และปวงชนชาวไทย เนอ้ื ความบางส่วนจากปาฐกถา “…ท่ีว่ามี อาหารลดน้าหนัก อาหารแคลอรีต่า พลังงานตา่ ก็เป็นอาหารฝร่งั ทงั้ นั้นท่ีเขาแนะนา แต่ถา้ ดูเอา จริงๆ จากทแี่ สดงเมอ่ื กน้ี ก้ี จ็ ะเหน็ วา่ อาหารอย่างไทยๆ เราน่ี ถ้าเลือกบางอยา่ งก็ จะมแี คลอรตี า่ อยา่ งกะปทิ าดว้ ยกงุ้ หรอื ปลา สตั ว์เล็กๆ เน่ยี เอามาทาให้ละเอยี ด ก็จะมแี คลเซียมอย่ดู ว้ ย ที่เราบน่ กนั ว่า เราไม่ด่ืมนม เดยี๋ วน้กี ด็ ื่มมากขนึ้ แลว้ ตอนสมยั กอ่ นไมค่ อ่ ยดืม่ นม ก็จะมปี ญั หานิดหนึ่งเรอื่ ง แคลเซยี ม ตอนทไ่ี ปทาโภชนาการตามโรงเรียนน้ี ก็ไปใหน้ มถว่ั เหลือง ผงถ่วั เหลอื ง ซ่งึ ก็มี ประโยชน์หรือได้โปรตนี แต่ว่าจะมปี ญั หาเร่อื งแคลเซียมนดิ หน่อย แคลเซียมน้มี าจากปลาเลก็ ปลา นอ้ ย ถา้ เปน็ เร่ืองของน้าพริกนกี่ ็จะได้แคลเซียมจากกะปิ…\" จานวนหนา้ : 89 หนา้ เรอ่ื งท่ี 68: ภูมิศาสตร์กบั วถิ ีชีวิตไทย เร่อื งย่อ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จฯ ไปทรงเปดิ การสัมมนาเร่อื ง “ภูมศิ าสตร์ กับวถิ ีชวี ติ ไทย” และไดท้ รงปาฐกถาพเิ ศษเรอ่ื ง “ภูมศิ าสตรก์ ับวถิ ีชวี ิตไทย” ณ ศูนยม์ านษุ ยวทิ ยา สริ ินธร (องค์การมหาชน) เขตตลิ่งชนั กรุงเทพมหานคร เมือ่ วนั ที่ 12 กันยายน 2543 ศูนย์ มานษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธรไดจ้ ัดสัมมนาข้ึนระหวา่ งวนั ที่ 12-14 กันยายน 2543 เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ทปี่ รึกษาคณะกรรมการบริหารศนู ย์ ฯ ใน วโรกาสวนั คล้ายวนั พระราชสมภพ 2 เมษายน 2543 เนอื้ ความบางสว่ น จากปาฐกถา “…ทะเล อาจเปน็ อปุ สรรคกับการคมนาคมไดเ้ หมอื นกัน บางแหง่ เดินทางไปไดเ้ ฉพาะน้าขึน้ เคยไปเยีย่ มชม บางโรงเรียน ถามว่าทาไมถึงมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาค่อนข้างต่า ครบู อกว่าเดก็ ไปโรงเรยี นถา้ น้าขึ้นจะไปได้ ถา้ เผลอไปนดิ ก็จะไปไมไ่ ดแ้ ลว้ เพราะพอนา้ ลงเรอื ติดตม แบบนี้ก็แย่ กระทรวงศกึ ษาธิการก็จะบ่นกนั ว่าผูท้ ีอ่ ยู่ตามเกาะ ส่งเสริมการศึกษาได้ยาก การรกั ษาพยาบาลก็ ยาก สภาพเกาะบางแหง่ ไปถงึ ได้เฉพาะในเวลาฝนไม่ตก ในฤดูมรสุมถกู ตัดขาดจากโลกภายนอก เวลารักษาพยาบาลตอ้ งอาศยั เทคโนโลยีสมัยใหม่คอื การพูดวทิ ยุ…\" จานวนหนา้ : 72 หน้า เรอ่ื งที่ 69 วดั พระศรีรัตนศาสดาราม เรื่องย่อ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ได้จดั การแสดงปาฐกถาชุดสริ นิ ธรข้นึ เป็นประจาทุกปี เพื่อสนอง วตั ถปุ ระสงค์เงินทนุ เฉลิมฉลองสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ในการทานุ บารุงสง่ เสรมิ ถ่ายทอดความรู้เกยี่ วกับอารยธรรมของชนชาวไทย โดยสมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี รบั เป็นองคท์ ่ีปรกึ ษากิตตมิ ศกั ดใิ์ นคณะกรรมการบริหาร เงินทุน รวมทั้งเสดจ็ พระราชดาเนินทรงฟงั ปาฐกถา โดยผทู้ รงคณุ วฒุ ใิ นสาขาต่างๆ ทอี่ ยู่ใน ความสนพระราชหฤทยั นอกจากน้ี ยงั ได้จดั พมิ พป์ าฐกถาเปน็ หนังสือออกเผยแพรท่ ุกปี การ แสดงปาฐกถาครง้ั แรก สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารีพระราชทานปาฐกถา เรื่อง “วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม” เป็นประเดมิ ณ หอประชุมจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย เมอ่ื วนั ที่ 26 มีนาคม 2525 จานวนหนา้ : 54 หนา้

เรื่องท่ี 70: สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี กบั พระราชกรณยี กจิ พระราชจริยาวัตรด้านการศึกษา เรือ่ งย่อ เน่อื งในวโรกาสเฉลมิ ฉลอง 100 ปี วันคลา้ ยวนั พระราชสมภพสมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราช ชนนี มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ไดจ้ ดั งานวชิ าการ “วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมาร”ี คร้งั ที่ 14 ประจาปี 2543 โดยจัดนิทรรศการเพอ่ื เผยแพรผ่ ลงานทาง วิชาการของสถาบันภายใต้หวั ขอ้ “100 ปี สมเดจ็ ยา่ ” เมอ่ื วันที่ 21 พฤศจกิ ายน 2543 ในการนี้ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาพระราชทานคาบรรยายเรือ่ ง “สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี กับพระราชกรณียกิจพระราชจรยิ าวตั รดา้ นการศกึ ษา” โดยเน้อื หาสาระที่ทรงบรรยายแสดงใหเ้ หน็ ถึงพระวริ ิยะ พระอุตสาหะ และพระปณธิ านอนั แนว่ แนข่ องสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในการทรงงานด้วยอุดมการณ์ “การศึกษาเพื่อ ทกุ คน” จานวนหนา้ : 30 หนา้ เรื่องท่ี 71 พระราชดารสั สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เรอ่ื งโครงการอาหารกลางวัน ในโรงเรยี นประถมศกึ ษา เร่อื งย่อ เป็นพระราชดารสั พระราชทานในพระราชวโรกาสเปดิ การประชมุ ผูว้ ่าราชการจังหวดั ทั่ว ราชอาณาจกั ร เรอ่ื งโครงการอาหารกลางวนั ในโรงเรียนประถมศึกษาและทรงบรรยายเรอ่ื งพระราช ภารกิจและพระราชกรณียกจิ อนั เกย่ี วกบั งานโครงการเกษตรเพือ่ อาหารกลางวันในโรงเรยี นตารวจ ตระเวนชายแดน ณ ตกึ สนั ติไมตรี ทาเนยี บรัฐบาล วนั ศกุ รท์ ี่ 19 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2530 เนื้อความ บางส่วนจากพระราชดารัส “…เร่อื งทสี่ อง คือ เรือ่ งของครู คอื เทา่ ท่ีทามาจะเห็นได้ชัดวา่ ครูทกุ คน เปน็ เจา้ ของบา้ น เปน็ เจ้าของโครงการ เปน็ โรงเรียนของตัวเอง ทางครตู ารวจตระเวนชายแดนก็ เขม้ แข็ง มีวินยั พอตกลงจะทาโครงการเกษตร เขาก็มารว่ มแรงร่วมใจกันขุดดนิ พรวนดิน เอาเดก็ มา ช่วย อันนเี้ ห็นว่า อยูท่ ี่การมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ของครแู ต่ละคนเหมือนกัน ถา้ ครูคนไหนมีมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ ดมี ากๆ ชาวบ้านมาช่วยเอง หรือว่ามหี นว่ ยชลประทานทางานอยูข่ า้ งๆ หรือกรมทางทาอยู่ เขากม็ า ช่วยกัน…\" จานวนหนา้ : 10 หน้า ### หมายเหตุ: = 46 เลม่ = 3 เลม่ - หนงั สอื ชดุ เสด็จพระราชดาเนนิ เยือนต่างประเทศ = 4 เลม่ - หนังสอื พระราชนพิ นธ์ทั่วไป = 2 เล่ม - หนงั สือพระราชนิพนธ์บทกวี = 16 เล่ม - หนงั สือพระราชนพิ นธแ์ ปล - หนงั สือพระราชนพิ นธ์วิชาการ 71 เลม่