การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่ม 2 รวมบทความนวัตกรรมประเภท งานสร้างสรรค์ด้านสารสนเทศทางการพยาบาล การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หัวของการจัดงาน “วิจัยและพัฒนา บนพื้นฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal “ ระหว่างวันที่ 13-14 กรกฎาคม 2566 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 15 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม หวั ข้อการจดั งาน \"วิจัยและพฒั นา บนฐานเศรษฐกจิ BCG สกู่ ารพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยนื \" และการประชมุ สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวิจยั เชิงสขุ ภาพ สร้างดุลยภาพชีวติ ในยุค Next Normal” แบบประเมินการประกวดการนำเสนอนวตั กรรม “ประเภทเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการพยาบาล” วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 ชื่อนวัตกรรม.................................…………………………………………………………………………………… ชอ่ื ผูน้ ำเสนอ........…………………………………………………………………………………………………………….. สถาบนั .......................................................................................................................................... เกณฑก์ ารประเมิน หมายถึง เห็นดว้ ยเปน็ อยา่ งยิง่ 4 คะแนน หมายถงึ เหน็ ด้วยมาก 3 คะแนน หมายถึง เหน็ ด้วยพอสมควร 2 คะแนน หมายถึง ไม่เหน็ ดว้ ย 1 คะแนน หวั ขอ้ การประเมิน คะแนน 1 4 32 1. มคี วามนา่ สนใจ ดงึ ดดู ใจในการนำไปใช้ 2. ใช้งานง่าย ไมย่ ุ่งยาก 3. มีการนำไปทดลองใช้ และเกดิ ผลลพั ธ์จากการนำไปใช้ 4. มคี วามเป็นไปได้ของการนำไปใช้ 5. เปน็ ประโยชนต์ ่อการประเมนิ /การดูแลสุขภาพของผรู้ บั บรกิ าร 6. หลกั การและเหตุผลสอดคลอ้ งกับการพัฒนานวัตกรรม 7. ใช้วัสดแุ ละงบประมาณไม่สิ้นเปลอื ง รวม ................................................. () กรรมการผ้ปู ระเมนิ วันท่ี .......................................
บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” กับความรอบรู้ทางสุขภาพ ในการใช้กัญชาทางการแพทย์ “MED CAN” Online Lesson for Medical Cannabis Health Literacy กัญตพชิ ญ์ พรมดอนกลอย1*, นพสั พร แคลว้ ทนง1, ภานุวฒั น์ สสี ุข1, ศริ ดา เตมิ พร้อม1, ศิริวรรณ ฉตั รพุก1, สริ ีพร ธีระกลุ 1, สดุ ารัตน์ มีทรพั ย์1, จุไรรตั น์ ดวงจนั ทร์2 1นักศึกษาหลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ช้นั ปีท่ี 3 วิทยาลยั พยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวดั เพชรบรุ ี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก 2อาจารย์ท่ีปรึกษา วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกลา้ จังหวดั เพชรบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก *ผู้รับผิดชอบบทความ: [email protected] บทคดั ยอ่ การดูแลผู้ป่วยท่ีได้รับการรักษาโดยใช้กัญชาทางการแพทย์เป็นอีกบทบาทหน่ึงของพยาบาลในการร่วมมือกับสหสาขา วิชาชีพในการดูแลรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสมสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย พยาบาลจึงควรได้รับการพัฒนาให้มีความ รอบรู้ทางสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ตั้งแต่อยู่ในสถาบันการศึกษา บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” สร้างข้ึนตาม องค์ประกอบของแนวคิดความรอบรู้ทางสุขภาพ ได้แก่ การเข้าถึงข้อมูล ความรู้ความเข้าใจ ทักษะการส่ือสาร ทักษะ การ ตัดสินใจ ทักษะการจัดการตนเอง และการรู้เท่าทันส่ือ (Nutbeam, 2000) มีเนื้อหา 4 โมดูล ได้แก่ รู้ลึกกัญชาทางการแพทย์ วิเคราะห์ทัน เข้าใจ รู้เร่ืองกัญชา ก้าวทันข่าวสารสื่อกัญชาไทย และ สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ รู้ทันเรื่องกัญชา ออกแบบการ เรียนการสอนผ่านระบบบรหิ ารจดั การการเรยี นรู้ Google classroom ผลการทดลองใช้บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” กับนักศึกษาพยาบาล ช้ันปีท่ี 2 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มทดลองจานวน 32 คน เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมซึ่งได้รับเพียงการสอนบรรยายให้ความรู้ท่ัวไปพบว่า นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉล่ียความรอบรูท้ างสภุ าพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ ได้แก่ ความรู้ความเข้าใจ การเข้าถึง ข้อมูล ทักษะการส่ือสารข้อมูล การตัดสินใจ การจัดการตนเอง และการรู้เท่าทันส่ือ ภายหลังจากการใช้ บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” สูงกว่าการทดลองและสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคะแนนเฉล่ียความพึง พอใจต่อการใชบ้ ทเรียนออนไลน์อยใู่ นระดับมากทีส่ ุด ผลการศกึ ษาสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” สามารถนาไปใชใ้ นการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อพฒั นา ความรอบรทู้ างสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์สาหรบั นกั ศกึ ษาพยาบาลได้ คาสาคัญ: บทเรียนออนไลน์ ความรอบรูท้ างสขุ ภาพ กญั ชาทางการแพทย์ นกั ศึกษาพยาบาล 1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา จากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) ทาให้สามารถใช้กัญชาเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ได้อย่างถูกกฎหมาย (พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.2562, 2562) ไดแ้ ก่ ภาวะคลื่นไสอ้ าเจยี นจากเคมบี าบดั โรคลมชักทีร่ ักษายาก และ โรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา ภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็งในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ภาวะปวดประสาทส่วนกลาง ภาวะเบื่อ อาหารในผู้ป่วยเอดส์ท่ีมีน้าหนักตัวน้อย และการเพ่มิ คุณภาพชวี ติ ในผ้ปู ่วยท่ีไดร้ บั การดูแลแบบประคับประคอง เนอ่ื งจากมีหลักฐาน เชิงประจักษ์ทางวิชาการที่มีคุณภาพและชัดเจน (ปัทมา พลอยสว่าง และคณะ, 2559; นริศา คาแก่น และเจริญ ตรีศักด์ิ, 2562; กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ , 2565) แต่บคุ คลากรสาธารณสุขยังมีความรเู้ ก่ียวกบั การใชก้ ัญชาทางการแพทย์น้อย (Zolotov
et al., 2021; Mekrungrongwong, 2022; โกวิท สีหาคม และ วิภาวรรณ สีหาคม, 2565) การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโดยใช้ กัญชาเป็นอีกบทบาทหนึ่งของพยาบาลในการร่วมมือกับสหสาขาวิชาชีพในการดูแลรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสมสอดคล้องกับ ปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย (กรพินทุ์ ปานวิเชียร, 2563) โดยเฉพาะการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ป่วยและครบครัว เพื่อการ จัดการทางพยาบาลทีเ่ หมาะสม (มณฑกา ธีรชัยสกุล และคณะ, 2559) มีข้อเสนอแนะให้สถาบนั การศึกษานาองค์ความรู้ เกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์และการดูแลผู้ป่วยที่มีการใช้กัญชาเข้าไปบรรจุไว้ในหลักสูตรการศึกษาพยาบาลเพื่อรองรับ ความต้องการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่มีเพิ่มมากขึ้น ( Pereira et al., 2020; Parmelee et al., 2022) ทั้งนี้ หาก สถานศึกษาพยาบาลไม่ได้ดาเนินการในประเด็นน้ี นักศึกษาพยาบาลอาจได้รับข้อมูลจากแหล่งความรู้ที่ไม่น่าเช่ือทางวิชาการ ซึ่งนับวันจะมีเพิม่ มากขึ้นและเพิ่มความเสี่ยงในการรับเอาข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเหล่านี้ไปใช้และแลกเปลี่ยนกับผู้รับบริการ (Parmelee et al., 2022) ความรอบรู้ทางสุขภาพ เป็นกระบวนการทางปัญญาท่ีประกอบไปด้วย ความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพ การเข้าถึง ข้อมูลด้านสุขภาพ ทักษะการสื่อสารข้อมูลด้านสุขภาพ การตัดสินใจ การจัดการตนเอง และการรู้เท่าทันสื่อ (Nutbeam, (2000) เป็นส่ิงจาเป็นจะตอ้ งได้รบั การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เพราะเม่ือบคุ คลมีความรอบรู้ด้านสขุ ภาพ จะมีศักยภาพในการดูแล ตนเองได้ รวมท้ังช่วยแนะนาส่ิงท่ีถูกต้องให้กับบุคคลใกล้ชิด ครอบครัว ชุมชน และสังคม และส่งผลต่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดี (วชั ราพร เชยสวุ รรณ, 2560) รวมทง้ั การพฒั นาความรอบรทู้ างสุขภาพเกี่ยวกับกัญชาทางการแพทย์สาหรบั นักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาลจึงควรพัฒนาความสามารถนี้ให้แก่นักศกึ ษาเพ่ือเตรยี มความพร้อมในการฝึกภาคปฏิบตั ิเพื่อให้การดแู ล ผปู้ ว่ ยที่ตอ้ งได้รบั การรักษาโดยใช้กญั ชาทางการแพทยท์ ั้งในคลนิ ิกและชุมชน และเพื่อใหส้ อดคลอ้ งกบั การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 ซึ่งเป็นยุคที่ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและชอบการเรียนรู้จากส่ืออื่นๆ มากกว่าเรียนจากผูส้ อนเพียงอย่างเดยี ว การเรียนการสอนจงึ ไมไ่ ดจ้ ากัดอยู่แต่เฉพาะในหอ้ งเรยี นอกี ตอ่ ไป ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนออนไลน์หรอื อีเลิรน์ นงิ (e-learning) ถูกนามาทดแทนการเรียนในหอ้ งเรียนแบบปกตเิ พ่อื สนับสนุนและเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ไม่จากัดสถานท่ีและเวลา (anywhere anytime learning) การถ่ายทอดและการเรียนรู้เนื้อหาต่างๆ ในลักษณะออนไลน์ โดยที่เน้ือหาและข้อมูลทั้งหมดจะถูกนาเสนอโดยอาศัย เทคโนโลยีส่ือประสมและเชิงโตต้ อบ (multimedia and interactive technology) ที่ครอบคลุมไปถึงกระบวนการจัดการเรียนการ สอน เพ่ือให้เกิดความยืดหยุ่นทางการเรียนรู้ (flexible learning) และสนับสนุนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นสาคัญหรือเป็น ศูนยก์ ลาง (Learner-centered) การศึกษาน้ี จงึ ได้มกี ารพฒั นาบทเรียนออนไลน์ “MED CAN”ท่ีมกี ารออกแบบเน้ือหา เพื่อพัฒนา ให้นักศึกษาพยาบาลมีความรอบรใู้ นการใชก้ ัญชาทางการแพทยต์ ่อไป 2. วัตถุประสงค์ เพอื่ พฒั นาและศึกษาประสิทธผิ ลของบทเรยี นออนไลน์ “MED CAN” ตอ่ ความรอบรูท้ างสภุ าพในการใชก้ ญั ชาทาง การแพทย์สาหรบั นกั ศกึ ษาพยาบาล 3. กลมุ่ เปา้ หมาย นักศกึ ษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต วทิ ยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้าจงั หวดั เพชรบรุ ี ช้ันปีที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 จานวน 64 คน 4. กระบวนการพฒั นา 4.1 ข้ันการออกแบบบทเรียน “MED CAN” ตามองค์ประกอบของการเรียนการสอนออนไลน์ (ฐาปนีย์ ธรรมเมธา, 2557) รายละเอียด ดงั นี้ 4.1.1 เนื้อหาของบทเรียน ส่อื การเรียนการสอน และกจิ กรรมการเรยี นรู้ จาแนกออกเปน็ 4 โมดูล ได้แก่ 1) “รู้ลึกกัญชาทางการแพทย์” ประกอบไปด้วย 2 กิจกรรม คือ การศึกษาจากคลิปวีดิโอ เรื่อง ความรู้ท่ัวไปเกีย่ วกับกญั ชาทางการแพทย์ ความยาว 5 นาที และมอบหมายใหส้ บื ค้นงานวจิ ัยเกยี่ วกบั การนากัญชามาใชใ้ นการ รักษาทางการแพทย์ 2) “วิเคราะห์ทัน เข้าใจ รู้เรื่องกัญชา” เป็นการวิเคราะห์สถานการณ์กัญชาทางการแพทย์จาก สถานการณ์ท่ีมอบหมาย และร่วมกันแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนออนไลน์ ดังประเด็นต่อไปน้ี รู้สึกอย่างไรกับสถานการณ์ ดังกลา่ ว นักศกึ ษาเห็นดว้ ยหรอื ไม่กบั วิธกี ารใช้กัญชาทางการแพทย์
3) “ก้าวทันข่าวสารส่ือกัญชาไทย” เป็นการวิเคราะห์ข่าว และจับประเด็นสาคัญ ประกอบไป ด้วย ข่าวดังกล่าวเป็น ประโยชน์ หรือ โทษ ของการนากัญชาไปใช้ ถ้าข่าวดังกล่าวเป็นโทษจะแนะนาวิธีการใช้กัญชาทาง การแพทยท์ ถ่ี กู ตอ้ งอยา่ งไร 4) “สื่อสารอย่างสร้างสรรค์ รู้ทันเรื่องกัญชา” เป็นการศึกษาจากคลิปวีดิโอสาธิตวิธีการส่ือสาร เพื่อบอกต่อการใช้กญั ชาทางการแพทย์ให้กับครอบครัว และมอบหมายใหส้ าธิตย้อนกลับโดยการจบั คู่ และอัดคลปิ วิดีโอแสดง บทบาทสมมุติ 4.1.2 ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (LMS: Learning Management System) ใช้ Google classroom ทาหน้าที่เปน็ ศนู ย์กลางในการกาหนดลาดับของเนอื้ หาในบทเรียน นาสง่ บทเรียนผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ไปยัง ผู้เรียน ประเมินผลความสาเร็จของบทเรียน ควบคุมและสนับสนุนการให้บริการทั้งหมดแก่ผู้เรียน เน่ืองจากเป็นเป็นส่วนหนึ่ง ของ Google App for Education ที่มีนโยบายสนับสนุนการศึกษา สถาบันการศึกษาสามารถเปิดใช้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย อีกทั้ง นกั ศึกษามปี ระสบการณแ์ ละค้นุ เคยกบั การเรยี นมาแล้วด้วย Google classroom 4.1.3 การติดต่อส่ือสาร โดยใช้รูปแบบการติดต่อสื่อสารแบบ 2 ทาง (Two-way communication) เพ่ือให้ ผู้เรียน ไดส้ ง่ งาน ติดตอ่ สอบถาม ปรึกษาหารอื สะท้อนคิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผเู้ รียนกับผูส้ อน และระหวา่ งผู้เรียน กับเพ่ือนร่วมช้ันเรียนคนอื่นๆ โดยใน Google Classroom จะมีช่องทางสาหรับติดต่อส่ือสารดังกล่าว นอกจากนี้ยังใช้จดหมาย อิเลคทรอนิกส์ และไลน์กลุม่ เปน็ ตน้ 4.1.4 การวัดและประเมนิ ผลการเรียน เป็นการประเมนิ ประเมินผลก่อนและหลงั การใช้บทเรียนออนไลน์ ซ่ึงเป็นแบบสอบถามความรอบรู้ทางสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ และการทาแบบทดสอบ Quiz โดยใช้โปรแกรม Quizizz เม่ือสิ้นสดุ โมดลู 4.2 การตรวจสอบคุณภาพของบทเรียนออนไลน์ เป็นการนาร่างบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” บน Google classroom สื่อการเรียนการสอนใบงาน คลิปวีดีโอ แบบสอบถามความรอบรู้ทางสุขภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ และ การทาแบบทดสอบ Quiz ผ่านการตรวจสอบเนื้อหาและความเหมาะสมโดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 3 ท่าน ปรับปรุงและแก้ไข ตามความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ จากน้ันนาไปทดลองใช้กับนักศึกษาพยาบาลชั้นปีท่ี 2 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 2 – 3 คน จากนั้นนาไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขและจดั ทาเป็นบทเรียนออนไลนฉ์ บบั สมบรู ณ์ 5. รายละเอยี ดและวธิ ีการใช้งานนวัตกรรม ศึกษาประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” เป็นการวิจัยก่ึงทดลอง (Quasi-experimental research) แบบ สองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังทดลอง (two – groups pretest – posttest design) ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2566 โดย ศึกษาในนักศึกษาพยาบาล ศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จานวน 64 คน วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้าจังหวัดเพชรบุรี แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 32 คน ท่ีได้รับการเรียนรู้ตามบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” และกลุ่มควบคุม จานวน 32 ท่ีได้รับเพียงการ สอนใหค้ วามรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกับกญั ชาทางการแพทย์ 1 คร้ัง สาหรับกล่มุ ทดลองแบ่งการเรยี นรูต้ ามบทเรียนเป็น 3 ระยะ ดังน้ี 5.1 ระยะกอ่ นสอน เป็นการเตรยี มความพร้อมของผู้เรียนโดยการช้ีแจงรายระเอยี ดเกยี่ วกบั บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” ผ่าน Google classroom และอธิบายเก่ียวกับการทากิจกรรมในแต่ละโมดูล รวมท้ังการบันทึกการเข้าเรียนผ่าน QR code และการทาแบบสอบถามความรอบรูท้ างด้านสุขภาพเกีย่ วกับกัญชา (pretest) ผา่ น Google Form 5.2 ระยะสอน ใหก้ ลมุ่ ทดลองเขา้ เรยี นตามโปรแกรมของบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” ตามใบงานของแต่ละโมดูลโดยใช้ เวลาโมดลู ละ 1 สปั ดาห์ ซ่งึ ผเู้ รียนสามารถเขา้ มาเรยี นตามกิจกรรมในช่วงเวลาใดก็ไดแ้ ละสามารถเข้าเรยี นซา้ ได้มากกว่า 1 คร้งั
5.3 ระยะหลังการสอน ภายหลังจากเสร็จสิ้นการเรียนการสอนท้ัง 4 โมดูล ได้ให้นักศึกษาทั้งกลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคมุ ทาแบบสอบถามความรอบรู้ทางดา้ นสุขภาพเกยี่ วกบั กญั ชาทางการแพทย์ (posttest) และแบบประเมินความพงึ พอใจ ในการใช้บทเรยี นออนไลน์ “MED CAN” ซึง่ แบบสอบถามออนไลน์ 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภิปรายผล ผลการทดลองใช้บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” พบว่า นักศึกษาพยาบาลกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้ทาง สุภาพในการใช้กัญชาทางการแพทย์ ได้แก่ ความรู้ความเขา้ ใจ การเข้าถึงข้อมูล ทักษะการส่ือสารข้อมูล การตัดสินใจ การจัดการตนเอง และการรู้เท่าทันส่อื ภายหลงั จากการใช้บทเรยี นออนไลน์ “MED CAN” สูงกวา่ การทดลอง และสงู กวา่ กล่มุ ควบคุม อยา่ งมีนยั สาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 และคะแนนเฉล่ียความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับผลของโปรแกรมการเลิกสูบบุหร่ีไฟฟ้าผ่านระบบ ออนไลนไ์ ดน้ าเนือ้ หา ภาพ และข่าวที่เก่ียวกับผลกระทบทางลบของบุหรไ่ี ฟฟา้ ต่อสุขภาพ รวมทง้ั การดูวดิ ีโอทกุ วันเปน็ เวลา 1 เดือน ช่วย ให้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีความรู้เก่ียวกับสารเคมีในบุหร่ีไฟฟ้าและอันตรายของบุหร่ีไฟฟ้าต่อสุขภาพ และกฎหมายเก่ียวกับบหุ รีไ่ ฟฟา้ เพมิ่ ขึน้ (ศริ พิ ร พลู รักษ,์ 2565) เนื่องจากการเรียนดว้ ยบทเรยี นออนไลน์ ช่วยจงู ใจให้ผู้เรียนสนใจศกึ ษาเน้ือหาจากบทเรยี น ทั้งนี้ อาจเป็น เพราะนักศึกษาพยาบาลส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ท่ีดี (ณิชกานต์ ทรงไทย และคณะ, 2564) บทเรียนออนไลน์ “MED CAN” นี้ มีเนื้อหา 4 โมดูลซ่ึงได้ออกแบบให้สอดคล้องกับความรอบรู้ทางสุขภาพ (Nutbeam, 2000) ซึ่งช่วยให้นักศึกษามี ความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกัญชาทางการแพทย์ ช่วยพัฒนาการเข้าถึงและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกัญชาทาง การแพทย์ ฝกึ ทกั ษะการส่ือสาร การรเู้ ทา่ ทันสื่อ การตดั สนิ ใจใช้ขอ้ มูลด้านสุขภาพ และการสง่ เสริมการจัดการตนเองเก่ียวกบั ความ รอบรู้ด้านสุขภาพของกญั ชาทางการแพทย์ จึงสง่ ผลใหก้ ลุ่มทดลองมีคะแนนเฉล่ยี ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพเกี่ยวกับกญั ชาทาง การแพทย์สูงกว่าก่อนการทดลองและสงู กว่ากลุ่มควบคมุ บทเรียนออนไลน์นจ้ี ึงเป็นทางเลือกท่ีเหมาะสมในการนาไปใช้ในการ พัฒนาความรอบรู้ทางดา้ นสขุ ภาพเกยี่ วกับกัญชาทางการแพทย์สาหรบั นกั ศึกษาพยาบาล 7. ข้อเสนอแนะ นาบทเรียนออนไลน์ “MED CAN” ใชใ้ นการเตรียมความพร้อมสาหรับการฝกึ ภาคปฏิบตั ทิ ้ังในคลนิ ิกและชุมชน เพื่อ ส่งเสรมิ ความรอบรทู้ างสขุ ภาพในการใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ 8. เอกสารอา้ งอิง กรพินทุ์ ปานวิเชียร. (2563). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับพฤติกรรมการใช้กัญชาเพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์. วารสาร วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สพุ รรณบรุ ี, 3(1), 31-42. กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2565). คาแนะนาการใช้กัญชาทางการแพทย์ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 5). นนทบุรี: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. โกวิท สีหาคม, และวิภาวรรณ สีหาคม. (2565). ความรู้และเจตคติต่อการใช้กัญชาทางการแพทยข์ องเภสัชกรในโรงพยาบาล ชมุ ชนจังหวดั สกลนคร. วารสารวิจยั และพฒั นาระบบสขุ ภาพ, 15(1), 59-72. ฐาปนีย์ ธรรมเมธา.(2557). อีเลิรน์ นงิ : จากทฤษฎีสกู่ ารปฏบิ ัติ. กรุงเทพฯ: สหมติ รพร้งิ ติงแอนดพ์ บั ลิสช่งิ . ณิชกานต์ ทรงไทย, วราภรณ์ ยศทวี, และปฐพร แสงเขียว. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนออนไลน์ของ นกั ศึกษาพยาบาล: ภาคเหนือตอนลา่ ง. วารสารวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี อุตรดติ ถ์, 13(1), 198-209. นรศิ า คาแก่น, และเจริญ ตรศี ักดิ์. (2562). กญั ชาทางการแพทย์สาหรบั มะเรง็ . วารสารราชวทิ ยาลยั จุฬาภรณ์, 1(1), 16-29. ปัทมา พลอยสว่าง, วีรวุฒิ อ่ิมสาราญ, และศุลีพร แสงกระจ่าง. (2559). กัญชา: ประโยชน์ทางการแพทย์และความเป็นพิษ. วารสารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก, 14(2), 115-123. พระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ.2562. (2562, 18 กุมภาพนั ธ)์ . ราชกจิ จานเุ บกษา, เลม่ 134 ตอนท่ี 19 ก หนา้ 1-16. http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/A/019/T_0001.PDF
มณฑกา ธีรชัยสกุล, วรรณศิริ นิลเนตร, และอานนท์ วรย่ิงยง. (2559). การสารวจการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี พ.ศ.2557. วารสารวิจยั ระบบสาธารณสุข, 10(2), 117-127. วัชราพร เชยสุวรรณ. (2560). ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: แนวคิดและการประยุกต์สู่การปฏิบัติการพยาบาล. วารสารแพทย์นาวี, 44(3), 183-197. ศิริพร พูลรักษ์. (2565). ผลของโปรแกรมการเลิกสบู บุหร่ีไฟฟ้าผ่านระบบออนไลน์ที่มีต่อความรู้ ทัศนคติ และความตั้งใจเลิก สบู บุหรข่ี องนกั ศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่ง. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ครสิ เตียน, 9(1), 20-38. Mekrungrongwong, S., Kitreerawutiwong, N., Keeratisiroj, O., & Jariya, W. (2022). Self-perceived knowledge, attitudes, and training needs regarding medical cannabis among health care providers and health volunteers in district health systems, Phitsanulok Province. BMC Primary Care, 23(1), Article 266. Nutbeam D. (2000). Health Literacy as a public health goal: A challenge for contemporary health education and communication strategies into the 21st century. Health Promotion International, 15(3), 259-267. Parmelee, R. A., & Clark, C. S. (2022). Nursing students’ knowledge, skills, and attitudes regarding medicinal cannabis care. Journal of Nursing Regulation, 13(3), 13-23. https://doi.org/10.1016/S2155- 8256(22)00082-5 Pereira, L., Núñez-Iglesias, M. J., Domínguez-Martís, E. M., López-Ares, D., González-Peteiro, M., & Novío, S. (2020). Nursing students’ knowledge and attitudes regarding medical marijuana: a descriptive cross- sectional study. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(7), Article 2492. https://doi.org/10.3390/ijerph17072492 Zolotov, Y., Metri, S., Calabria, E., & Kogan, M. (2021). Medical cannabis education among healthcare trainees: A scoping review. Complementary Therapies in Medicine, 58, Article 102675. https://doi.org/10.1016/j.ctim.2021.102675
นวตั กรรม E-book (หนงั สือเสียง) แนวทางหา่ งไกลความดนั โลหติ สงู ภาษาถ่นิ 4 ภาค กนกพรรณ เกตชุ มภู1*, ณัฐนันท์ คณุ พาที1, พัชราภรณ์ เขม็ เพชร1, วนสั นนั ท์ สุระสนิ ธ์ุ1, อารรี ตั น์ เหลา่ จนิ ดา1, วิภาวนี โคตรสีทา1 และ วันเพญ็ แวววรี คุปต์2 1นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม, นครปฐม 2อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครปฐม, นครปฐม *ผรู้ ับผิดชอบบทความ: [email protected] บทคดั ย่อ นวัตกรรม “E-Book (หนงั สือเสียง) แนวทางหา่ งไกลความดนั โลหิตสงู ภาษาถน่ิ 4 ภาค” เปน็ นวัตกรรมเทคโนโลยี ผสมผสานระหว่างสื่อนำเสนอทเ่ี ป็นรปู ภาพและเสยี ง ในรปู แบบหนังสืออิเลก็ โทรนิกส์ (E-Book) เนื้อหาประกอบดว้ ยความรู้และ แนวทางปฏิบัตติ นเมอ่ื เกดิ โรคความดนั โลหติ สูง สามารถเลอื กอา่ นหรือฟังเสียงภาษาไทยกลาง ไทยอสี าน ไทยใต้ และ ไทยเหนอื ได้ ตามความเหมาะสมหรือความชอบของแตล่ ะบคุ คล วัตถุประสงค์ คอื 1) เพ่อื พฒั นานวัตกรรม “E-Book (หนังสอื เสยี ง) แนวทาง หา่ งไกลความดนั โลหิตสูง ภาษาถน่ิ 4 ภาค ” และ 2) เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจตอ่ การใช้นวัตกรรม กระบวนการพฒั นานวัตกรรม ประกอบดว้ ย 1) การวางแผน 2) การพัฒนา (ร่าง) E-Book (หนังสอื เสียง) 3) การตรวจสอบความสมบรู ณ์และความถูกตอ้ งของ เนื้อหาและภาษา และ 4) การพฒั นาปรับปรุงจนได้ ตน้ แบบ E-Book (หนังสอื เสียง) จากน้ันนำไปทดลองใชก้ บั กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีเปน็ โรคความดันโลหติ สูง ในพ้ืนท่ี 4 ภมู ภิ าค ภมู ิภาคละ 10 คน รวม 40 คน และ ประเมินความพงึ พอใจตอ่ นวตั กรรมดว้ ย แบบสอบถาม พบว่า ผ้ปู ว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู มคี วามพึงพอใจตอ่ นวัตกรรมโดยรวมอยูใ่ นระดบั มากทสี่ ดุ ร้อยละ 77.50 สรปุ ได้ ว่านวัตกรรมมีความเหมาะสมสำหรับผู้ใชง้ าน จงึ สมควรเผยแพร่ตอ่ ผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหติ สูงต่อไป คำสำคญั : ความดนั โลหติ สูง, E-Book (หนังสือเสียง), ภาษาถิ่น 4 ภาค 1.ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา ความดันโลหติ สูงเปน็ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ทเี่ ปน็ ปญั หาสาธารณสุขทสี่ ำคัญของประเทศ อบุ ตั ิการณ์และความชกุ ของโรคเพ่มิ ข้นึ ท่ัวโลก ประเทศไทยสถานการณ์โรคความดันโลหติ สูงมีแนวโน้มเพม่ิ ข้นึ อยา่ งต่อเนอื่ งและเป็นสาเหตทุ ำให้ประชาชนสูญเสยี ชวี ติ จำนวนมาก ปี พ.ศ. 2559–2563 จำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคความดนั โลหติ สูงเพ่มิ ขึ้นจาก 7,930 คน เป็น 9,303 คน ขณะที่ อัตราผ้ปู ว่ ยในโรคความดันโลหติ สงู ตอ่ ประชากร 100,000 คน จากปี พ.ศ. 2559–2563 เพมิ่ จาก 143.02 คน เปน็ 154.05 คน ประชากรกลมุ่ อายุ 30-79 ปี ป่วยโรคความดันโลหติ สงู เกอื บ 1.3 พนั ลา้ นคน (กองโรคไมต่ ดิ ต่อ กระทรวงสาธารณสุข, 2563) สถิติ เหลา่ น้แี สดงใหเ้ หน็ ถึงปรมิ าณของผู้ปว่ ยโรคความดนั โลหติ ท่มี ีจำนวนมาก โรคความดันโลหติ สงู เปน็ โรคเร้อื รงั ทสี่ ามารถป้องกนั ได้ถา้ มกี ารดูแลตนเองทางดา้ นสุขภาพอนามัยไดอ้ ย่างถกู ต้อง กระทรวงสาธารณสขุ ได้รณรงคใ์ หผ้ ้ปู ่วยปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมเพื่อควบคุมโรคและป้องกนั การเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นของโรคโดยการ รบั ประทานยาตามแผนการรักษา ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ และควบคุมปัจจยั เสย่ี งของการเกิดโรค (สมาคมความดันโลหติ สงู แห่งประเทศไทย, 2562) แต่ผู้ปว่ ยโรคความดันโลหติ สูงจำนวนมากยังไม่สามารถควบคมุ โรคได้ ขอ้ มลู จากรายงานการสำรวจ สขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครัง้ ที่ 6 พ.ศ. 2562-2563 พบวา่ ผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหติ สงู ที่ควบคุมความดันโลหติ ไดม้ เี พยี งรอ้ ยละ 22.6 (วิชยั เอกพลากร, หทัยชนก พรรคเจรญิ และ วราภรณ์ เสถยี รนพเก้า, 2564) ปญั ญาสำคญั ประการหนง่ึ ใน การควบคุมโรคไมไ่ ด้ คอื ผู้ป่วยไมเ่ ข้าใจโรคและวธิ ีปฏิบตั ติ นทถ่ี ูกตอ้ งอยา่ งแท้จริง การให้สขุ ศกึ ษาและการรณรงคใ์ หค้ วามรแู้ ก่ ผปู้ ว่ ยมักเปน็ ภาษาวิชาการและเปน็ ภาษาท่ที ีมสขุ ภาพใชป้ ระจำ ขณะทผ่ี ูป้ ว่ ยใชภ้ าษาถน่ิ ภาษาภูมภิ าคท่ีบางครั้งมีความหมาย แตกตา่ งกนั และผู้ปว่ ยก็เขา้ ใจตามบรบิ ทของตนเอง เช่น มื้ออาหาร กบั ม่อื ทแี่ ปลว่า วนั ในภาษาอสี าน เป็นตน้
การพฒั นานวตั กรรม “E-Book (หนังสอื เสยี ง) แนวทางห่างไกลความดันโลหติ สูง ภาษาถนิ่ 4 ภาค” เพือ่ เปน็ สื่อให้ความรู้ แกผ่ ปู้ ว่ ย อำนวยความสะดวกใหผ้ ปู้ ่วยได้เรียนรู้ตามบรบิ ทภาษาถิ่นของตนเอง จะชว่ ยใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั ความรู้ที่ถูกต้อง เหมาะสม สำหรบั นำไปปรับเปลี่ยนแบบแผนการดำเนนิ ชีวิตทส่ี อดคลอ้ งกบั วธิ กี ารปฏิบัตติ นที่จะทำใหส้ ามารถควบคมุ ระดบั ความดันโลหติ ได้ การทีผ่ ู้ป่วยสามารถควบคมุ ระดับความดันโลหติ ไดด้ ีอยา่ งนอ่ เน่ืองจะช่วยปอ้ งกันภาวะแทรกซอ้ นของโรคได้และลดภาระในการดูแล ผปู้ ่วยหนกั ของโรงพยาบาลตอ่ ไป 2.วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ พฒั นา นวัตกรรม “E-Book (หนงั สอื เสยี ง) แนวทางหา่ งไกลความดนั โลหติ สูง ภาษาถ่นิ 4 ภาค ” 2. เพ่ือทดสอบประสทิ ธิผลของนวตั กรรม “E-Book (หนังสอื เสียง) แนวทางห่างไกลความดนั โลหติ สูง ภาษาถ่ิน 4 ภาค ” ตอ่ ความพงึ พอใจของผูป้ ่วยโรคความดันโลหติ สูง 3. กลมุ่ เปา้ หมาย ผู้ป่วยโรคความดนั โลหติ สงู จำนวน 40 คน (ภาคละ 10 คน) 4. กระบวนการพัฒนามี 4 ขน้ั ตอนประกอบด้วย 4.1 Plan (การวางแผน) 4.1.1 ประชุมปรึกษาหารือกบั อาจารย์ประจำกลมุ่ 4.1.2 ทบทวนวรรณกรรม/เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 4.2 Do (การพฒั นา (ร่าง) E-Book (หนังสือเสยี ง)) 4.2.1 กำหนดหวั ข้อ และเนื้อหาการใหค้ วามรู้ ออกแบบรปู แบบของนวตั กรรม 4.2.2 ดำเนนิ การทำนวัตกรรม ตามขน้ั ตอนดังนี้ 4.2.2.1 จดั ทำ Infographic ตามท่ีได้ออกแบบใน https://www.canva.com 4.2.2.2 เม่ือออกแบบ Infographic เรยี บรอ้ ย นำรปู แบบ Infographic ท่ีจดั ทำ นำมาใส่ในรปู เลม่ E-BOOK 4.2.2.3 ใสเ่ สยี งหนังสือ E-BOOK ของทั้ง 4 ภาษา (ภาษาเหนอื ภาษากลาง ภาษาอสี าน และภาษาใต้) 4.2.2.4 บันทกึ ข้อมลู ออกมาเป็นไฟล์ PDF และนำข้อมูลบนั ทกึ ในเว็บไชตท์ ี่สำหรบั สรา้ ง E-BOOK 4.2.2.5 นำลิงค์ E-BOOK มาทำเปน็ QR code โดยใชเ้ ว็บไซต์ https://qrcode.in.th/ ในการแปลง 4.2.2.6 บันทกึ รูปภาพ QR code เพอ่ื เป็นชอ่ งทางในเข้าถึงข้อมูล โดยวธิ ีการแสกน QR code 4.2.2.7 นำ QR code มาทดลองการใช้งานจากนั้นประมวลผล เพอื่ นำไปใช้ตอ่ ไป 4.3 Check (การตรวจสอบความสมบรู ณแ์ ละความถูกต้องของเน้อื หาและภาษา) 4.3.1 ใหอ้ าจารย์ทปี่ รกึ ษาและพยาบาลวชิ าชีพชำนาญการ ตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและความสมบรู ณ์ของ Infographic คณุ ภาพของเสียง 4.3.2 ใหเ้ จา้ ของภาษาถน่ิ ซึ่งเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขตรวจสอบภาษาไทยกลาง ภาษาอสี าน ภาษาใต้ และภาษาเหนือ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของการใช้ภาษา และปรับแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ 4.4 Act (การพัฒนาปรบั ปรุงจนได้ ตน้ แบบ E-Book (หนงั สือเสยี ง)) 4.3.1 ลกั ษณะของนวตั กรรม เป็นนวัตกรรมเทคโนโลยีผสมผสานระหวา่ งส่ือนำเสนอที่เป็นรปู ภาพและเสียง ในรูปแบบ หนังสอื อเิ ล็กโทรนิกส์ (E-Book) นวัตกรรมโดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี ลกั ษณะของนวตั กรรม เป็นหนังสอื ทีม่ ที ัง้ อักษร ภาพ และ เสียง โดยมีเน้อื หาครอบคลมุ เรอ่ื งโรคตวามดนั โลหติ สงู และแนวทางการควบคมุ โรค
ภาพท่ี 1 E-Book หนา้ ปก ภาพที่ 2 เน้อื หาใน E-book ภาพที่ 3 เน้อื หาใน E-Book ภาพท่ี 4 เนื้อหาใน E-Book หมายเหตุ: ลูกศรสี แดง เสียงภาคใต้ สเี หลอื ง ภาคเหนือ สีเขียว ภาคอสี าน
ภาพท่ี 5 QR code 4.3.2 วิธีการใช้ ให้ผปู้ ว่ ยสแกน QR code ผา่ นสมาร์ทโฟน (Smartphone) หรืออุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์เม่อื เจอหนา้ เว็บไซตส์ ามารถเปดิ และเลอื กฟงั เสียงภาษาถ่นิ 4 ภาค โดย สเี ขยี ว หมายถึงภาษากลาง สเี หลือง หมายถึงภาษาใต้ สีน้ำเงิน หมายถงึ ภาษาเหนือ และสีแดง หมายถงึ ภาษาอสี าน 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภิปรายผล วิธีการศกึ ษา การศึกษาความพึงพอใจตอ่ การใชน้ วัตกรรม “E-Book (หนังสือเสียง) แนวทางหา่ งไกลความดันโลหิตสูง ภาษาถิ่น 4 ภาค” เป็นการวจิ ัยกง่ึ ทดลอง (Quasi-experimental research) แบบกลุม่ ดยี ววดั ผลหลงั ทดลอง (one – groups – posttest design) ระหว่างเดอื น เมษายน - พฤษภาคม 2566 โดยศึกษาในกล่มุ ผ้ปู ว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู ในพ้ืนท่ี 4 ภูมภิ าค คอื ภาคกลาง ภาคอสี าน ภาคใต้ และ ภาคเหนอื ภูมภิ าคละ 10 คน รวม 40 คน กลมุ่ ตัวอย่างคดั เลอื กจากความสมคั รใจ โดยมเี กณฑ์ คือ เป็นผ้ทู ี่ สามารถใชโ้ ทรศพั ทส์ มารท์ โฟนเปน็ เปน็ โรคความดันโลหิตสงู ซ่งึ เคยได้รบั คำบอกกล่าวจากทมี สขุ ภาพวา่ เป็นผูท้ ี่ควบคมุ โรคไมไ่ ด้ และ เตม็ ใจเข้ารว่ มโครงการ กล่มตวั อย่างไดร้ ับการประสานงานจากผวู้ ิจัยที่เปน็ ตัวแทนนกั ศึกษาแตล่ ะภาคและผปู้ กครองของนกั ศึกษา ผปู้ กครองซงึ่ เปน็ ผูป้ ระสานงานไดร้ ับคำแนะนำถงึ วิธีการใชน้ วตั กรรมจากผูว้ ิจัยและผปู้ กครองได้ทดลองใชน้ วตั กรรมกอ่ นไปสอนวธิ ีการใช้ให้กับ กลมุ่ ตัวอยา่ ง จากน้ันผูป้ กครองของนักศกึ ษาทัง้ สีภ่ าคจะเชญิ ชวนและเลือกกลมุ่ ตัวอย่างตามเกณฑ์ และส่ง “E-Book (หนังสอื เสยี ง) แนวทางห่างไกลความดันโลหติ สูง ภาษาถ่ิน 4 ภาค” ให้กลมุ่ ตัวอยา่ งโดยการสง่ Link E-book ทางไลน์ และส่ง Link Google From ใหต้ อบแบบประเมินความพงึ พอใจตอ่ นวัตกรรม ภายหลงั กลมุ่ ตวั อย่างไดใ้ ชน้ วัตกรรม แบบประเมินความพพึ อใจต่อ นวัตกรรมเปน็ แบบประเมินทผ่ี วู้ ิจยั สรา้ งข้นึ ผา่ นการตรววจสอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา จำนวน 1 คน และพยาบาลวิชาชพี ชำนาญ การ จำนวน 2 คน ผลการทดสอบความพงึ พอใจท่ีทดลองใช้กบั ผปู้ ่วย เปน็ ดังตารางท่ี 1
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผปู้ ่วยโรคความดันโลหติ สงู ทที่ ดลองใช้นวัตกรรม (n=40) ลำดบั หวั ข้อการประเมนิ มากที่สดุ ระดับการวดั นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ (คน) จำนวน(ร้อยละ) (คน) (คน) 30 (75.00) มาก ปานกลาง 0 (0.00) 0 (0.00) (คน) (คน) 28 (70.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 1 ชน้ิ งานมีความน่าสนใจสามารถดงึ ดูดความ 27 (67.50) 10 (25.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 0 (0.00) สนใจได้ 27 (67.50) 0 (0.00) 0 (0.00) 25 (62.50) 0 (0.00) 0 (0.00) 2 ช้นิ งานพกพาได้สะดวก 30 (75.00) 12 (75.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 29 (72.50) 9 (22.50) 4 (10.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 3 ชน้ิ งานเข้าถงึ ได้งา่ ย ไมซ่ บั ซ้อน 11 (27.50) 2 (5.00) 31 (77.50) 14 (35.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 4 ชน้ิ งานมีความสวยงาม สบายตา 9 (22.50) 1 (2.50) 31 (77.50) 10 (25.00) 0 (0.00) 0 (0.00) 5 ชิน้ งานสามารถใช้งานได้จรงิ 31 (77.50) 1 (2.50) 0 (0.00) 0 (0.00) 1 (2.50) 6 ชิ้นงานมีเนือ้ หาเข้าใจงา่ ย 7 ชิ้นงานมีเสยี งชัดเจน เขา้ ใจไดง้ า่ ย 8 หลังใชง้ านท่านเข้าใจเรือ่ งโรคและวธิ กี าร 7 (17.50) 2 (5.00) ปฏิบัติตัวเม่อื เป็นโรค 9 ชิ้นงานใหแ้ นวทางทท่ี ่านนำไปปฏิบตั ไิ ดจ้ รงิ 9 (22.50) 0 (0.00) 9 (22.50) 0 (0.00) 10 ความพงึ พอใจโดยรวม จากตารางท่ี 1 พบว่า ผ้ปู ่วยโรคความดันโลหติ สงู ทท่ี ดลองใช้นวตั กรรม มีความพงึ พอใจนวตั กรรมในภาพรวม อยูใ่ น ระดับมากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 77.50 และ ความพงึ พอใจสูงสดุ 3 อนั ดบั แรกได้แก่ 1) ความเขา้ ใจเรื่องโรคและวิธีการปฏบิ ตั ิตัวเมือ่ เป็น โรคหลังใช้งาน และ ช้ินงานใหแ้ นวทางท่ที ่านนำไปปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง ทั้งสองข้อ มรี ะดับความความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากทสี่ ดุ รอ้ ย ละ 77.50 เท่ากัน 2) นวัตกรรมมคี วามดงึ ดดู และน่าสนใจและเน้อื หาเขา้ ใจง่าย มีระดบั ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ รอ้ ยละ 75.00 และ 3) ชนิ้ งานมีเสยี งชดั เจน เข้าใจไดง้ ่าย มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ดุ ร้อยละ 72.50 การอภปิ รายผล ผลการทดลองใชน้ วัตกรรมกับกลุ่มผ้ปู ว่ ยโรคความดันโลหติ สงู พบวา่ ผปู้ ว่ ยท้ัง 4 ภาคพึงพอใจตอ่ นวตั กรรมอยูใ่ นระดับสูง เน่อื งจาก มีเนื้อหาท่เี ข้าใจง่าย มเี สยี งชัดเจน Infographic สวยงามสบายตา ดึงดดู ความสนใจ เขา้ ใจเรอื่ งโรคความดันโลหติ สูงมาก ขึ้น มีประโยชน์ทน่ี ำไปปฏิบตั ไิ ด้จรงิ สามารถนำไปใช้ในการปฏบิ ตั ติ วั ไดถ้ ูกตอ้ ง สามารถเชอ่ื มต่อกันอินเทอรเ์ นต็ ได้ สะดวกต่อการ ใชง้ าน สามารถศกึ ษาได้ทุกทีท่ ุกเวลา จงึ สรุปได้ว่า นวัตกรรม E-Book (หนงั สือเสยี ง) แนวทางหา่ งไกลความดันโลหติ สูง ภาษาถนิ่ 4 ภาค มีประสิทธภิ าพ จึงสมควรนำไปใช้กบั กลุ่มผ้ปู ่วยโรคความดนั โลหิตสงู ท่ีมบี ริบทคล้ายคลงึ กบั กลมุ่ ตวั อย่างในครงั้ นเ้ี พื่อเปน็ การเพิ่มพูนความรู้อนั นำไปสู่การเผยแพร่ นวัตกรรมมจี ุดเดน่ คือ ใช้ภาษาถิน่ ทัง้ สีภ่ าค สะดวกในการพกพา ผู้สูงอายุทีส่ ายตาไมด่ หี รอื มองเห็นไมช่ ัดสามารถฟังเสยี งได้ ขอ้ จำกดั คือ สามารถใชไ้ ด้กบั ผทู้ ม่ี สี ามร์ทโฟนและมสี ัญญาณอนิ เทอรเ์ นต ซ่งึ หากมีข้อจำกดั เหลา่ นส้ี ามารถใช้หนังสือทเี่ ป็นไฟล์ อักษรแทนได้ 7. ขอ้ เสนอแนะ 1. นำนวตั กรรม E-Book (หนงั สอื เสียง) แนวทางหา่ งไกลความดันโลหิตสงู ภาษาถิ่น 4 ภาค ไปทดสอบประสทิ ธิภาพโดย ทดลองใชใ้ นกลมุ่ ผูป้ ่วยท่ีมีจำนวนมากข้นึ 2.ศึกษาเปรียบเทยี บประสทิ ธผิ ลของนวัตกรรม E-Book (หนงั สือเสียง) แนวทางหา่ งไกลความดนั โลหติ สูง ภาษาถิน่ 4 ภาค โดยใช้รปู แบบการวิจยั เชงิ ทดลองท่ีมีกล่มุ เปรียบเทยี บ
3. เพมิ่ ภาษาของชาติพันธุ์ท่ีอาจพบในทอ้ งถิ่น เช่น ภาษามอญ พมา่ เกรี่ยง เพื่อใหผ้ ้ปู ่วยชาตพิ นั ธส์ุ ามารถเขา้ ใจเนอื้ หาโรค ความดันโลหติ สูงได้ 8. เอกสารอา้ งองิ กองโรคไมต่ ิดตอ่ กระทรวงสาธารณสขุ . (2563). ขอ้ มูลโรคไม่ตดิ ต่อ. คน้ เมื่อ ธันวาคม 1, 2563, จาก http://www.thaincd.com/2016/mission/documents-detail.php?id=13893&tid =32&gid=1-020 วชิ ัย เอกพลากร, หทัยชนก พรรคเจรญิ และ วราภรณ์ เสถยี รนพเกา้ . (2564). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการ ตรวจร่างกายครัง้ ที่ 6 พ.ศ. 2562-2563. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พอ์ ักษรกราฟฟิกแอนดด์ ไี ซน์. สมาคมความดันโลหติ สงู แห่งประเทศไทย. (2562). แนวทางการรักษาโรคความดนั โลหติ สงู ในเวชปฏิบตั ทิ ัว่ ไป พ.ศ. 2562. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 1). เชยี งใหม่: สํานกั พมิ พท์ ริค ธงิ ค์.
นวตั กรรม E-book (หนงั สือเสยี ง) หา่ งไกลไขมนั ในเลอื ดสงู กญั ญารตั น์ สาราญวงศ์ 1*, กนกพรรณ เกตชุ มพ1ู , กุลณัฐ โพธปิ ักษ์1, จีรนันท์ อินทรว์ ิเชยี ร1, ณฐั นนั ท์ คณุ พาท1ี , ธญั ชนก วัลลา1, จริ าพร บารุงพชื 1, เบญจสริ ิ ปราณตี 1 และ วนั เพญ็ แวววีรคปุ ต์2 1นักศึกษาพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม, นครปฐม 2ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม, นครปฐม *ผรู้ บั ผดิ ชอบบทความ: [email protected] บทคัดยอ่ นวัตกรรมเร่อื ง E-book (หนงั สือเสยี ง) หา่ งไกลไขมนั ในเลอื ดสงู มีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพ่อื ใหพ้ ฒั นานวัตกรรม E-book (หนงั สอื เสียง) หา่ งไกลไขมันในเลอื ดสูง และ 2) เพอื่ ประเมนิ ประสทิ ธิผลของนวตั กรรม E-book (หนงั สือเสยี ง) ห่างไกลไขมัน ในเลอื ดสูง ตอ่ ความรูเ้ รอ่ื งโรคไขมนั ในเลือดสูง อาหารเกยี่ วกับไขมันในเลือดสงู และการออกกาลงั กายท่ามณีเวช กลุม่ ตัวอยา่ ง เป็นอสม. จานวน 80 คน กระบวนการพฒั นานวัตกรรมประกอบด้วย 4 ข้ันตอน คือ plan do check act ผลการทดสอบพบว่า เป็นอสม. จานวน 80 คน สามารถตอบคาถามเกี่ยวกบั เรื่องไขมันในเลือดสงู ได้ถกู ตอ้ งจานวน 10 ข้อ รอ้ ยละ 100 เรื่องอาหาร ทีเ่ หมาะสมเกี่ยวกบั โรคไขมันในเลอื ดสงู ได้ถกู ต้องจานวน 10 ข้อ ร้อยละ 100 และการออกกาลงั กายทา่ มณีเวชไดไ้ ด้ถกู ตอ้ ง คาสาคญั : โรคไขมนั ในเลือดสงู หนังสอื E-book อสม.
1.ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา ภาวะไขมันในเลือดสงู (dyslipidemia) นบั วา่ เป็นปัญหาสุขภาพทสี่ าคญั เน่ืองจากเปน็ ปัจจัยเส่ยี งหลักทีน่ าไปสู่ การเกิดโรคหวั ใจและหลอดเลือด โดยเม่ือร่างกายมไี ขมันในเลอื ดสูงมากเกินไป ไขมันจะไปเกาะท่ีผนังด้านในของหลอดเลือด ทาให้เกิดการอักเสบและภาวะหลอดเลอื ดแดงแขง็ เมอื่ สะสมเพิ่มมากข้ึน หลอดเลือดแดงจะมกี ารตีบหรืออุดตัน สง่ ผลให้ เลือดไปเลยี้ งหวั ใจไม่พอ เกดิ โรคหัวใจขาดเลือด กล้ามเน้ือหัวใจตาย เสียชีวติ หรืออาจทาใหเ้ ลอื ดไปเล้ียงสมองไม่เพียงพอ เกิด เปน็ อัมพฤกษ์ อัมพาต สง่ ผลให้มีคา่ ใช้จ่ายในการดแู ลรกั ษาสูง จากข้อมูลการสารวจชุมชนหมู่ท่ี 5 หมบู่ า้ นรางแขม ตาบลทุ่งขวาง อาเภอกาแพงแสน จงั หวัดนครปฐม 40 หลังคา เรอื น จานวนประชากร 175 คน พบผู้ทีป่ ่วยเปน็ โรคไขมันในเลอื ดสูง จานวน 14 คน รอ้ ยละ35 ซงึ่ เกดิ จากการมีพฤตกิ รรมการ รบั ประทานอาหารทไ่ี มเ่ หมาะสม และ ไม่มีความร้ใู นโรคทีต่ นเองกาลังเปน็ อยู่ คณะผจู้ ัดทาจึงได้คิดคน้ นวตั กรรม “E-book (หนังสอื เสยี ง) ห่างไกลไขมันในเลอื ดสูง” เพ่อื บง่ บอกปัจจยั เสี่ยงเป็นโรคไขมนั ในเลือดการปฏิบตั ติ ัวของผู้ท่ีมไี ขมันในเลือดสงู ปัจจัยเสี่ยง สาเหตุการเกิดโรค คา่ ระดับไขมันในเลอื ด อาหารที่เหมาะสม ยาลดระดบั ไขมนั ในเลือด และการออกกาลังกายลด ไขมันในเลือดสงู 2. วัตถุประสงค์ 1.เพ่ือให้พัฒนานวตั กรรม E-book (หนังสอื เสียง) หา่ งไกลไขมันในเลอื ดสูง 2. เพอ่ื ประเมินประสทิ ธผิ ลของนวัตกรรม E-book (หนังสอื เสียง) ห่างไกลไขมนั ในเลือดสูง ต่อความรเู้ รอ่ื งโรคไขมัน ในเลือดสูง อาหารเก่ยี วกับไขมันในเลือดสูง และการออกกาลังกายท่ามณีเวช 3. กลุ่มเป้าหมาย อสม. ตาบลทุ่งขวาง อาเภอกาแพงแสน จงั หวดั นครปฐม จานวน 80 คน 4. กระบวนการพฒั นา (ตามขัน้ ตอน plan do check act) 4.1.Plan 1. ประชมุ ปรึกษาหารอื กับอาจารยป์ ระจากลมุ่ และสารวจจานวนโรคที่เจอใน หมู่ท่ี 5 หม่บู ้านรางแขม ตาบลทุ่ง ขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม 2. ทบทวนวรรณกรรม/เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง พบวา่ มีผู้ป่วยที่เป็นโรคไขมนั ในเลือดสงู เป็นจานวนมากในหม่ทู ี่ 5 หมูบ่ ้านรางแขม ตาบลทุ่งขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวดั นครปฐม จานวนหลายราย ซ่ึงสว่ นใหญ่อยูใ่ นช่วงอายุต้งั แต่ 60 ปี ขึ้นไป และมกี ารดูแลตวั เองอยา่ งไมถ่ กู วธิ ี 4.2.Do 1. เรม่ิ ออกเเบบรปู เเบบของนวัตกรรม กาหนดหวั ข้อ และเนอ้ื หาการใหค้ วามรู้ 2. ดาเนินการทานวตั กรรม ตามขั้นตอนดงั นี้ 2.1 จัดทา Infographic ตามท่ีได้ออกแบบใน https://www.canva.com 2.2 เมอ่ื ออกแบบ Infographic เรียบร้อย บันทกึ ข้อมูลออกมาเป็นไฟล์ PDF และนาขอ้ มลู บนั ทึกในเว็บไซด์ที่สาหรับ สรา้ ง E-BOOK
2.3 นาล้ิงค์ E-BOOK มาทาเปน็ GR code โดยใชเ้ ว็บไซตh์ ttps://qrcode.in.th/ ในการแปลง 2.4 บันทกึ รปู ภาพ QR code จากนัน้ นามาปร้นิ เป็นแผ่นกระดาษ เพอื่ เป็นชอ่ งทางในเขา้ ถึงข้อมลู โดยวธิ กี ารแสกน QR code 2.5 นา QR code มาทดลองการใช้งานจากนน้ั ประมวลผล เพ่ือนาไปใชต้ ่อไป 4.3.Check 1. นานวัตกรรมมาใหอ้ าจารยท์ ่ีปรกึ ษาตรวจสอบความถกู ตอ้ งและความสมบูรณข์ อง infographic และคุณภาพของ เสียง 2. นานวัตกรรมไปใหพ้ ยาบาลวิชาชีพประจารพ.สต.ตรวจสอบเนื้อหาและปรบั แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะ 3. จนได้รายละเอียดของนวตั กรรมดงั นี้ การปฏิบัตติ วั ของผู้ทม่ี ีไขมนั ในเลอื ดสูง ปัจจัยเสย่ี ง สาเหตุการเกดิ โรค ค่า ระดับไขมนั ในเลือดสูง อาหารท่ีเหมาะสม ยาลดระดับไขมนั ในเลอื ดสงู และการออกกาลงั กายลดไขมันในเลอื ดสงู 4. วิธีการใช้นวตั กรรมใหอ้ สม. สแกน QR code ผ่านสมารท์ โฟน (Smartphone) หรอื อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสเ์ มอ่ื เจอหน้าเว็บไซต์สามารถเปิดและเลือกฟังเสยี ง ผลการทดสอบความพงึ พอใจ ได้ดงั น้ี (ผลการทดสอบ) 4.4.Act 1. นาหนงั สือไปทดลองใช้กับกลมุ่ เปา้ หมาย โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 2. เลือกกลุ่มอสม. ตาบลทงุ่ ขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ตามความสมัครใจ 2.1 แบบประเมินความพึงพอใจตอ่ นวัตกรรม ใช้แบบประเมินความพงึ พอใจทที่ ีมพัฒนานวัตกรรมสร้างขนึ้ ตาม รายวิชาปฏบิ ัตกิ ารชุมชน1 ผลการทดสอบความพงึ พอใจ ภาพท่ี 1 E-BOOK ภาพที่ 2 เน้ือหาใน E-book
ภาพท่ี 3 เน้อื หาใน E-book ภาพท่ี 4 เน้ือหาใน E-book ภาพท่ี 5 เนอ้ื หาใน E-book ภาพท่ี 6 QR code
ผลการประเมินความรูเ้ กี่ยวกบั โรคไขมันในเลอื ดสูง 1. ผู้เขา้ ร่วมโครงการเปน็ อสม. จานวน 80 คน สามารถตอบคาถามเกยี่ วกับเรอ่ื งไขมันในเลือดสงู ได้ถูกตอ้ งจานวน 10 ขอ้ รอ้ ยละ 100 2. ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการเป็นอสม. จานวน 80 คน สามารถบอกความรู้เรือ่ งอาหารท่ีเหมาะสมเกี่ยวกบั โรคไขมนั ในเลอื ด สงู ได้ถูกต้องจานวน 10 ข้อ รอ้ ยละ 100 3. ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการเปน็ อสม. จานวน 80 คน สามารถสาธิตยอ้ นกลับการออกกาลงั กายท่ามณเี วชได้ได้ถูกต้อง 1. ดูเน้ือหาใน E-book 2. E-book มี infographic และเสียงทน่ี ่าสนใจ เขา้ ใจงา่ ยขึ้น รอ้ ยละ 100 6. ผลการทดลองใช้นวตั กรรมและการอภปิ รายผล ผลการทดสอบนวัตกรรมพบวา่ อสม.มคี วามรู้เร่ืองโรค อาหาร และสาธติ ท่าออกกาลังกายมณเี วช ได้ถูกต้อง สอดคลอ้ งกับการศกึ ษาของ สุพจนา แซ่แต้ และณฐั กฤตา ศิรโิ สภณ (2564) ทพ่ี บวา่ การสอนโปรแกรมสุขศึกษาเพือ่ สรา้ ง แรงจูงใจในการควบคมุ โรคไขมนั ในเลือดสงู ทาใหผ้ ู้เขา้ รว่ มโครงการมีพฤติกรรมการปฏิบตั ิตวั ของผูท้ ี่มีไขมันในเลอื ดสูง อธิบาย ไดว้ ่า E-book มีเน้ือหาทีค่ รอบคลมุ และครบถ้วนตามความรทู้ แี่ นะนาโดยกรมการเเพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ซึง่ เปน็ ภาษา วิชาการ แต่ E-book เล่มนีเ้ ปลี่ยนเป็นภาษาเข้าใจไดง้ า่ ยและใช้เสยี งแนะนาเปน็ ภาษาลาวเวียงซ่ึงเปน็ ภาษาพ้ืนถน่ิ ของ อสม. ทาให้ อสม. มคี วามเขา้ ใจเก่ียวกบั โรคและการปฏิบตั ิตัวตามที่ E-book มากขึ้น ประกอบกับ อสม. ทเี่ ปน็ ผูส้ ูงอายุ สามารถฟงั เสยี งจาก E-book ได้ทกุ ท่ี ทสี่ ามารถเชอื่ มต่อกบั อินเตอร์เน็ตได้ โดยที่ อสม. ผา่ นการอบรมการใชง้ านโปรแกรม สมาร์ทอสม. มาแลว้ จงึ งา่ ยและสะดวกในการใช้นวัตกรรม E-book น้ี และ E-book เลม่ นี้ มีรูปภาพและ infographic ทดี่ ึงดดู ความสนใจ จึงสรปุ ไดว้ า่ นวตั กรรม E-book (หนังสือเสียง) หา่ งไกลไขมันในเลือดสงู มีประสิทธิภาพ จงึ สมควรนาไปใช้กบั อสม. กลมุ่ อ่ืน ที่ มบี ริบทคล้ายคลงึ กบั กลมุ่ ตวั อย่างในครั้งนี้ เพ่อื เป็นการเพม่ิ พูนความรู้ อนั นาไปสกู่ ารเผยแพรแ่ กป่ ระชาชนท่ี อสม. รับผดิ ชอบ ดแู ลตอ่ ไป 7. ขอ้ เสนอแนะ 1. ศกึ ษาวิจยั กงึ่ ทดลอง เกี่ยวกับประสทิ ธิผลของนวตั กรรม โดยมีกลุ่มทดลองและกลุม่ เปรยี บเทียบ 2. มีการเพิ่มตวั อยา่ งและรูปภาพของอาหารไขมันสงู ทพี่ บบอ่ ยในชีวิตประจาวนั 3. เพิม่ ภาษาตา่ งชาตทิ พ่ี บบอ่ ยในชุมชน เช่น ภาษาพมา่ ภาษามอญ เพ่อื ใหอ้ สม. สามารถนาไปสอ่ื สารกับผู้ป่วยชาติ พนั ธ์ในชุมชนได้ 8. เอกสารอา้ งอิง [1] โรงพยาบาลศริ ริ าช ปยิ มหาราชการณุ ย์ . (2566). คมุ อาหารแบบไหน ลดไขมันในเลือดสงู . สบื ค้นจาก https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/food-for-dyslipidemia . [2] อาจารย์ ดร.ภก. ศภุ ทัต ชุมนุมวฒั น์ ภาควชิ าเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล (2559) . ไขมนั ในเลือดสงู กับโรคหลอดเลือด.สืบค้นจาก https://pharmacy.mahidol.ac.th . [3] กรมการเเพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.(2564). รู้จักไขมนั ห่างไกลโรคหัวใจแลหลอดเลือด. สบื คน้ จาก https://www.thaihealth.or.th.
[4] สุพจนา แซแ่ ต้ และ พ.ต.หญงิ ณัฐกฤตา ศริ ิโสภณ (2564).ประสิทธผิ ลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพโดยประยกุ ตท์ ฤษฎี แรงจงู ใจเพื่อป้องกันโรคในการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของพนกั งานท่ีมีไขมันในเลอื ดสูง โรงพยาบาลวภิ าวดี กรุงเทพมหานคร. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/trcnj/article/view/250321/177674
แอปพลเิ คชันใหความรกู ลุม โรคไมต ิดตอเร้อื รงั นายพชร นาคยา1, นายปฐม ฤทธิเดช1, นายยรรยง บุง ทอง1, นายสุรวุฒิ กลางประพนั ธ1, นางสาวรินรดา จรสัมฤทธ1์ิ , นางสาววนสั นนั ท สรุ ะสินธ1ุ , นางสาววราลักษณ โยชนด ว ง1, วริยา จันทรข ำ2 พนิตนันท แซล้ิม3 , กติ ิกร พรมา2* 1นักศึกษาพยาบาลชน้ั ปที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 2ภาควชิ าการพยาบาลสุขภาพจติ และจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม 3ภาควชิ าการพยาบาลชุมชน คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม *[email protected] บทคดั ยอ “แอปพลิเคชันใหความรูกลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง” เปนการพัฒนานวัตกรรมในรายวิชาฝกปฏิบัติการพยาบาลชุมชน คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม เพื่อใหความรูป ระชาชนในชมุ ชนและแกปญหาเรือ่ งของมีพฤตกิ รรมเส่ียง ตางๆที่เปนปจจัยสงผลตอการเกิดโรคไมติดตอเรื่อรังซึ่งมีอัตราผูปวยและเสียชีวิตเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่องในชุมชน หลังจาก อาจารยผูสอนและอาจารยนเิ ทศในรายวิชาไดนำนโยบายของคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม ในเรื่องของ การสนับสนุนใหนักศึกษาไดเปน ผนู ำริเริ่มความคดิ สรา งสรรคและนวัตกรรมทางสขุ ภาพ เพื่อสงเสริมสุขภาพคนในชุมชนใหมี คุณภาพชีวิตทีด่ ีข้ึน มีความรอบรูทางสุขภาพ โดยอาศัยหลักการคดิ ขัน้ ตอนการทำงานออกเปน 4 ขั้นตอน ไดแก ขั้นตอนที่ 1 (Plan ) การวางแผน ข้ันตอนที่ 2 (Do ) การปฏิบัติตามแผน ขั้นตอนที่3 (Check ) การตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงาน ขั้นตอนท่ี 4 (Action ) การแกป ญ หา ซึ่งเปนการทดสอบแอปพลเิ คชันกับกลมุ เปาหมาย คอื ผสู ูงอายใุ นชุมชน ตำบลสระกะเทียม อำเภอ เมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จำนวน 40 คน ผลการใชน วตั กรรม “แอปพลเิ คชนั ใหค วามรกู ลุมโรคไมตดิ ตอเรอ้ื รงั ” พบวา มีความพงึ พอใจโดยรวมในระดับมากทีส่ ดุ รอ ยละ 80 ระดับมาก รอยละ 15 และระดับปานกลาง รอ ยละ 5 ตามลำดับ ขอเสนอแนะ: พัฒนาแอปพลิเคชันที่ใหความรูเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับโรค วิเคราะหผลความผิดปกตขิ องผูปวยได และการนำผลการวเิ คราะหเ ชื่อมตอกับการโทรแจง สายดวนฉกุ เฉิน รวมไปถึงการตอ ยอดนวตั กรรมไปสูง านวิจยั ตอไป คำสำคัญ: นวตั กรรม แอปพลเิ คชัน ความรู กลุมโรคไมติดตอ เร้ือรัง
Application HDS Phachara Nakya1, Patom Rittidet1, Yanyong Bungthong1, Surawut Klangprapan1, Rinrada Chonsamrit1, Wanutsanan Surasin1, Waralak Yotduang1, Wariya Chankham2, Panittanan Sealim3, and Kitikorn Pornma2* 12th year nursing student, Faculty of Nursing Nakhon Pathom Rajabhat University 2Department of Mental Health and Psychiatric Nursing, Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University 3Department of Mental Health and Psychiatric Nursing, Faculty of Nursing, Nakhon Pathom Rajabhat University *[email protected] Abstract “Application HDS” is an innovation development in the community nursing practice course, Faculty of Nursing. Nakhon Pathom Rajabhat University To educate the people in the community and solve the problem of risky behaviors that are factors that affect the occurrence of chronic non-communicable diseases, which have continually increased morbidity and mortality rates in the community. After instructors and supervisors in the course have adopted the policy of the Faculty of Nursing. Nakhon Pathom Rajabhat University In terms of supporting students to be leaders in creativity and innovation in health. To promote the health of people in the community for a better quality of life. knowledgeable about health. By using the principle of thinking the work process is divided into 4 steps, namely, step 1 (Plan), planning, step 2 (Do), implementation of the plan, step 3 (Check), performance check, step 4th (Action) Problem solving, which is testing the application with the target group. is the elderly in the community Sakathiam Subdistrict Mueang Nakhon Pathom District Nakhon Pathom Province, 40 people The innovation results \" Application HDS\" found that the overall satisfaction was at the highest level of 80 %, high level 15 % and moderate level 5 %, respectively. Suggestion: Develop an application that provides knowledge about appropriate food for the disease. Able to analyze abnormal results of patients and connecting the results of the analysis to a call to the emergency hotline Including the extension of innovation to further research. Keywords: Innovation, Application, Knowledge, Non-communicable disease group
1. บทนำ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ไดมีการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติในรายวิชาปฏิบัติการ พยาบาลชุมชน1 ใหแกนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) ชั้นปที่ 2 แหลงฝกที่นักศึกษา พยาบาลฝกปฏิบัติอยูเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลสระกระเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เปน หนวยงานที่ใหบริการดานสารณสุข ซึ่งเปนสถานพยาบาลประจำตำบล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข หรือบางพื้นที่เปนความ รับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ท่ีมีขีดความสามารถระดับปฐมภูมิ (Primary care) เปนการยกฐานะจากสถานี อนามัยหรือศูนยสุขภาพชุมชน ตามนโยบายของรัฐบาล เพ่ือใหเปนหนวยบริการดานหนา (gate keeper) ของระบบบริการ สุขภาพโดยเฉพาะในการควบคมุ ปอ งกันโรคเรอื้ รัง ตอ มากระทรวงสาธารณสุขไดม กี ารปรับเพ่มิ ภาระงานเพื่อใหทำหนาที่เปน หนวยบริการดูแลตอเนื่องและการดูแลระยะยาวในชุมชน เนื่องจากเปนหนวยบริการฐานรากทีใกลชิดประชาชนในสวน ภูมิภาคมากทีสุด โดยโรงพยาบาลสงเสริมตำบลถูกคาดหวังใหดำเนินบทบาทของหนวยบริการปฐมภูมิ 3 ประการ คือ 1. ดำเนินการเชงิ รกุ เพอื่ มงุ เขา หาประชาชนและชุมชนเปน การสรางสุขภาพเปน หลักและจดั การกับปจจัยเสยี่ งท่ีเปนตน เหตปุ ญ หา สุขภาพ 2.ใหบริการอยางตอเนื่องโดยตองสามารถใหคำปรึกษาและสงตอผูปวยไดตลอดเวลาโดยมีการปรึกษาทีมแพทยใน โรงพยาบาลพี่เลี้ยงหากมีกรณีฉุกเฉินใหมีระบบแพทยฉุกเฉินออกไปรับผูปวยและใหการปฐมพยาบาลกอนสงตอ 3.ติดตอ เชื่อมโยงกับระบบบริการสุขภาพระดับอื่นในการดูแลผูปวยอยางมีประสิทธิภาพและเนนการมีสวนรวมของประชาชนเพราะ เปา ประสงคข องการดำเนนิ งานโรงพยาบาลสง เสริมตำบลคอื การเนน สรา งสขุ ภาพมากกวา การซอ ม [1] ตองเนนการมีสวนรว ม ของสมาชิกในชุมชนโดยเฉพาะการปรับพฤติกรรม การเปนหนวยบริการสาธารณสุขในระดับตำบลหรือโรงพยาบาลสงเสริม ตำบลจึงถกู กำหนดใหมีภาระหนาท่ี ทส่ี ำคญั 5 ดา น คอื 1.การสง เสริมสุขภาพ จะตอ งมีการสำรวจความตอ งการของประชาชน และจัดโครงการใหตรงตามความตองการ รวมถึงการจัดกิจกรรมรณรงคการสงเสริมสุขภาพดานตางๆ 2.การรักษาพยาบาล จะตอ งมกี ารเสนออตั รากำลงั บคุ คลากรท่โี รงพยาบาลสงเสรมิ ตำบลยังขาดแคลน รวมถึงการของบประมาณเพอื่ จดั สรางอาคาร และจัดซือ้ วัสดุครภุ ัณฑท ่จี ำเปน ใหเ พียงพอตอการใหบริการ 3.การควบคุมปองกันโรค โรงพยาบาลสง เสรมิ ตำบลจะตองมีการ ประสานงานระหวางภาคสวนตา งๆอยางมีประสิทธิภาพ โดยการนำเทคโนโลยมี าใชในการแจงขาวประสานงานใหไ ดรับขอมลู ไดอยา งรวดเร็วขึ้น 4.การฟน ฟสู ภาพ มกี ารจัดอบรมเพ่ิมศักยภาพภาคีเครอื ขา ยใหม ีขดี ความสามารถเพ่ือการฟนฟู ดูแลผูปวย ไดครอบคลุมและมีคุณภาพมากขึ้น 5.การคุมครองผูบริโภคดานสาธารณสุข มีการจัดอบรมเครือขายคุมครองผูบริโภค เชน กลุมอสม. กลุมอย.นอย ผูนำชุมชน กลุมแมบาน เจาหนาที่มีความรูความเขาใจ ใหสามารถตรวจสอบผลิตภัณฑได ใหทั่วถึง และครอบคลุมมากเพื่อใหไดขอ มลู ที่เปนจริงสามารถไดนำมาจัดการไดถูกทาง รวมไปถึงมีการสำรวจรานคา ชุมชนเพื่อตรวจดู ผลติ ภณั ฑใ หมคี ณุ ภาพไดมาตรฐาน [2] 2. ขอ มูลทว่ั ไป จากการเก็บรวบรวมขอมูลชุมชน ทั้งจากการสัมภาษณรวมกับแบบสอบถาม การสังเกตคนชุมชน และการทบทวน รายงานการศึกษา ชุมชนตำบลสระกระเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม มีลักษณะพื้นที่โดยรวเปนที่ราบลุม มี แหลง น้ำธรรมชาติ คลองสาธารณะ คลองชลประทานและคลองสงน้ำเลก็ ๆท้งั ที่เกิดขน้ึ เองตามธรรมชาตแิ ละทง้ั ทขี่ ดุ ขึ้นเองโดย หนวยงานของภาครัฐ เพื่อน้ำไปใชในการอุปโภคและการเกษตร อาชีพของคนในชุมชนสวนใหญรอยละ 95 ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ไดแก การทำไร ทำนา และสวนผลไม มีเพียงสวนนอย รอยละ 5 ที่ประกอบอาชีพสวนตัวและรับจาง ใช ภาษากลางในการสื่อสาร สวนขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมไมไดแตกตางจากชุมชนอื่นๆที่อยูอำเมืองนครปฐม [3] สอดคลองจากขอ มูลการสมั ภาษณของคนในพื้นที่วา ในอดตี พื้นท่ีบรเิ วณนี้เปนสระน้ำหรอื บอ น้ำ ทำใหค นที่เลี้ยงวัวจากชุมชน อ่ืน แวะเวยี นกันพาววั มาดมื่ น้ำอยูเสมอ และเนอื่ งจากบริเวณแหลงน้ำละแวกน้ี มีตนแหว ทรงกะเทยี มขึ้นเปนจำนวนมาก เม่ือ สอบถามกนั ปากตอ ปากวาพาวัวไปไหน คนละแวกนกี้ ม็ ักจะบอกวา ใหเดินไปตรงบริเวณสระทม่ี ีตน กะเทียม จนเรียกเพ้ียนรวบ คำมาเปน “สระกะเทยี ม” ตอมาเรม่ิ มคี นลงหลกั ปก ฐานอาศยั อยเู พ่ิมข้นึ พนื้ ทบ่ี รเิ วณน้จี ึงกลายมาเปน ชมุ ชนสระกะเทียม ใน
ปจจุบัน ในดานสาธารณสุขมีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลสระกระเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม ที่ รับผิดชอบในการดูแลสงเสริมสุขภาพประชาชนในตำบลสระกระเทียม ซึ่งในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลชุมชน1 มีการนำ นักศึกษาพยาบาลชั้นปท ี่ 2 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) เพื่อฝกภาคปฏิบัติในรายวิชา ซึ่งหนง่ึ ในกระบวนการฝกปฏิบัติของนักศึกษาในรายวิชานี้ คือกระบวนการสำรวจและสงเสริมสุขภาพคนในชุมชนซึ่งสอดคลองกับ บรบิ ทของโรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตำบลสระกระเทยี ม ในการใหบริการสาธารณสุข โดยเปนการบรกิ ารดา นการแพทยและ สาธารณสุขซึ่งใหโดยตรงกับคนในชุมชนเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟน ฟูสมรรถภาพท่ีจำเปนตอสขุ ภาพและการดำรงชีวิต [4] ในการสงเสริมสุขภาพ จะตองมีการสำรวจความตอ งการ ของประชาชนและจัดโครงการใหตรงตามความตองการ รวมถงึ การจัดกจิ กรรมรณรงคการสงเสรมิ สขุ ภาพ [2] จากการสำรวจ ขอมูลภาวะสุขภาพที่เกี่ยวกับโรคประจำตัว พบวาสวนใหญเจ็บปวยดว ยโรคไมติดตอเรื้อรัง ซึ่งมากที่สุด 3 ลำดับแรกคือ โรค ความดันโลหติ สูง รอ ยละ 20.13 โรคเบาหวาน รอ ยละ 12.08 และโรคไขมนั ในเลอื ดสูง รอ ยละ 2.68 ตามลำดบั จากขอมูลผล การสำรวจน้ีรวมกับการใชหลักคิดขั้นตอนการทำงาน PDCA จึงไดออกแบบนวัตกรรม “แอปพลิเคชันใหความรูกลุมโรคไม ตดิ ตอ เรื้อรัง” ซึง่ เปนการพัฒนานวตั กรรม เพื่อใหความรคู นในชุมชนและแกป ญหาเรอ่ื งของมพี ฤติกรรมเส่ียงตา งๆที่เปนปจจัย สง ผลตอ การเกดิ โรคไมตดิ ตอ เรื่อรงั ซง่ึ มีอตั ราผูปว ยและเสยี ชวี ติ เพ่ิมสูงขน้ึ อยางตอ เนือ่ งในชมุ ชน 3. วตั ถปุ ระสงคก ารศกึ ษาน้ี มวี ัตถุประสงค ดงั นี้ 2.1 เพื่อพัฒนานวัตกรรม แอปพลเิ คชนั ใหค วามรกู ลมุ โรคไมต ดิ ตอ เร้ือรงั ใสนชุมชน 2.2 เพอื่ ศึกษาผลการทดลองใชนวัตกรรม แอปพลิเคชนั ใหค วามรกู ลุมโรคไมต ิดตอ เร้ือรังในชมุ ชน 4. กลมุ เปาหมาย 4.1 ผสู งู อายุในชมุ ชน ตำบลสระกะเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จำนวน 40 คน 5. กระบวนการพฒั นา แอปพลิเคชันใหค วามรูกลมุ โรคไมตดิ ตอเร้ือรังในชมุ ชน (Application HDS) เปน การพฒั นานวัตกรรมเพ่ือใหความรู และแกปญหาพฤตกิ รรมเสีย่ งที่เปนปจจัยสงผลตอการเกิดโรคไมติดตอเรื่อรัง โดยอาศัยหลักคิดขั้นตอนการทำงาน PDCA ซึ่ง เปนกระบวนการคิด สรางสรรคงานนวัตกรรมอยางเปนระบบเพือ่ แกปญหาผานนวัตกรรมหรอื บริการใหมๆที่ไดค ดิ คนข้ึนจาก การทำความเขาใจปญหา โดยใหผูใชงานหรือผรู ับบริการเปนศูนยกลางและนำเอาขอมูลที่ไดรับมาระดมความคิดจากมุมมอง และแหลงขอมูลตางๆ เพื่อนำมาสรางแนวคิดและดำเนินการพัฒนาเพื่อใหไดนวัตกรรมที่ตอบโจทยกับผูใชงานรวมไปถึง สอดคลอ งกบั สถานการณ 4 ข้นั ตอน ไดแ ก ขน้ั ตอนที่ 1 (Plan ) การวางแผน ขน้ั ตอนที่ 2 (Do ) การปฏิบตั ติ ามแผน ขั้นตอน ท่ี3 (Check ) การตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงาน ขนั้ ตอนที่ 4 (Action ) การแกป ญหา [6] 5.1 Plan ขั้นตอนการวางแผน (Planning) เปนการกำหนดเปาหมายในการดำเนินงานวิธีการและขั้นตอนที่จำเปนเพือ่ ใหก าร ดำเนินงานบรรลุเปาหมาย ซึ่งการวางแผนจะตองทำความเขาใจกับเปาหมายใหชัดเจน โดยตองเปนไปตามนโยบาย เพ่ือ กอใหเกิดการพัฒนาที่เปนไปในแนวทางเดียวกันทั่วทั้งองคกร การวางแผนในบางครั้งอาจจำเปนตองกำหนดมาตรฐานของ วิธีการทำงานหรือเกณฑมาตรฐานตางๆ ไปพรอมกันดวยขอกกำหนดที่เปนมาตรฐานนี้จะชวยใหการวางแผนมีความสมบูรณ ยิ่งขึ้น เพราะใชเปนเกณฑในการตรวจสอบการปฏิบัติงานใหเปนไปตามมาตรฐานที่ไดระบุไวในแผน การวางแผนจึงเปน กจิ กรรมท่ีตองใหความสำคัญ ซึง่ จะตองรวมถึงการพิจารณาเกย่ี วกบั ส่งิ อำนวยความสะดวกตางๆ ทีม่ ีอยู อาทิ ทรัพยากรมนุษย บุคลากร และงบประมาณ โดยจะตองมั่นใจวาองคประกอบตางๆ เหลานี้มีการอยูรวมกันอยางลงตัว ดังนั้น การออกแบบ นวัตกรรมแอปพลิเคชันใหความรูกลุมโรคไมติดตอเรื้อรังในชุมชน (Application HDS) เพื่อแกปญหาเรื่องของความรูและ
พฤติกรรมเสี่ยงที่เปนปจจยั ท่ีกอ ใหเ กดิ โรคตดิ ตอ ไมเร้ือรงั จงึ ตองมีการลงสำรวจชุมชนเพอ่ื ใหไ ดขอมูลมาซ่ึงการวางแผนพัฒนา นวตั กรรม 5.2 Do เปนการปฏบิ ัติใหเ ปน ไปตามแผนท่ไี ดกำหนดไวซึ่งกอนท่จี ะปฏิบตั งิ านใดๆ จำเปนตองศึกษาขอมูลและเง่ือนไขตางๆ ของสภาพงานที่จะลงมือปฏบิ ัติกอน การปฏิบัติจะตองดำเนินการไปตามแผน วิธีการ และขั้นตอน ที่ไดกำหนดไวและจะตอง เก็บรวบรวมและบันทึกขอมูลที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานไวดวยเพื่อใชเปนขอมูลในการดำเนินงานในขั้นตอนตอไป การ ปฏิบัติงานใหประสบความสำเร็จและมีความชัดเจนตองอาศัยผูบริหารในการแบงภาระงานสูระบบยอยและแบงความ รับผิดชอบใหกับผูปฏิบัติ โดยมีโครงสรางการปฏิบัติงานที่ชัดเจนตามความเปลี่ยนแปลงที่สอดคลองกับสภาพแวดลอม เศรษฐกิจและสงั คม การจัดการแบงภาระงานจึงทำใหผ ูปฏิบัติงานรูหนา ที่ความรับผิดชอบของตนเองและมกี ารปรับปรุงสกู าร ปฏิบัติงานที่ดีขึ้นตามลำดับ โครงสรา งการปฏิบัติงานในองคกรตองมีความชัดเจนและมกี ารแบง งานตามความถนัดของแตล ะ คน ผูป ฏิบัตงิ านตอ งทราบหนาท่แี ละกรอบงานของตน และพยายามปฏบิ ัตติ ามหนาทีท่ ีไ่ ดรับมอบหมายอยางเต็มท่ี 5.3 Check เปนขั้นตอนการเพื่อประเมนิ ผลวา มกี ารปฏิบัติงานตามแผน หรือไมมีปญหาเกดิ ขึน้ ในระหวา งการปฏบิ ัติงานหรอื ไม ขั้นตอนนม้ี คี วามสำคญั เนอื่ งจากในการดำเนินงานใดๆ มกั จะเกดิ ปญหาแทรกซอ นท่ที ำใหการดำเนินงานไมเปน ไปตามแผนอยู เสมอ ซึ่งเปนอุปสรรค ตอประสทิ ธิภาพและคุณภาพของการทำงาน การติดตามการตรวจสอบ และการประเมินปญหาจึงเปน สิ่งสำคัญที่ตองกระทำควบคูไปกับการดำเนินงาน เพื่อจะไดทราบขอมูลที่เปนประโยชนในการปรับปรุงคุณภาพของการ ดำเนินงานตอไปในการตรวจสอบ และการประเมินการปฏิบัติงานจะตองตรวจสอบดวยวาการปฏิบัตินั้น เปนไปตามแผนที่ กำหนดไวหรือไมทั้งนี้เพื่อเปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพของงาน การตรวจสอบ เปนการประเมินและติดตามการ ปฏิบัติงานตา งๆ ในองคก รอยา งเปน ระบบ เริ่มตัง้ แตการวางแผนและเขาสูการปฏิบัตงิ านในองคก ร โดยมีวตั ถปุ ระสงคเพื่อการ ปรับปรงุ และแกไขกระบวนการทำงานตางๆ ใหดียง่ิ ข้นึ ตามลำดบั เปนการปฏิบัติงานตามหนาท่ที ี่ไดรบั มอบหมายและความ รับผิดชอบของแตละสวน ซึ่งขั้นตอนนี้ทางนักศึกษาไดนำนวัตกรรมที่ออกแบบขึ้นตรวจสอบรวมกับอาจารยที่ปรึกษาประจำ กลุม นำปญ หาขอแนะนำมาพัฒนาปรับปรุงแอปพลเิ คชันใหด ีขึน้ ภาพท่ี 1 หนาจอหลกั ของแอปพลิเคชันใหค วามรกู ลุมโรคไมต ดิ ตอเรอ้ื รังในชมุ ชน (Application HDS)
ภาพท่ี 2 หนาจอถดั ไปของแอปพลิเคชนั เปน ขอ มลู ความรูเ กีย่ วกบั โรคไมต ิดตอ เร้อื รงั 5.4 Action เปนขั้นตอนการของการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นหลงั จากไดทำการตรวจสอบแลว การปรับปรุงอาจเปนการแกไขแบบ เรงดวนเฉพาะหนา หรือการคนหาสาเหตุที่แทจรงิ ของปญหา เพื่อปองกันไมใหเกดิ ปญหาซำ้ เดิม การปรับปรุงอาจนำไปสูการ กำหนดมาตรฐานของวธิ กี ารทำงานทีต่ างจากเดมิ เม่ือมกี ารดำเนนิ งานตามวงจร PDCA ในรอบใหมขอมูลท่ีไดจากการปรับปรุง จะชวยใหการวางแผนมคี วามสมบูรณแ ละมีคุณภาพเพ่ิมขน้ึ ไดดว ย การปรบั ปรุงและเปลยี่ นแปลงกระบวนการทำงานตา งๆ ใน องคกรใหมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มมากขึ้น นับเปนสิ่งที่สำคัญและมคี วามจำเปนเพื่อสรางความกาวหนา ขององคก ร โดยการเปลีย่ นแปลงตางๆ ในองคก รจึงเปน ตอ งอาศัยผบู รหิ ารและผูอ ยูใตบ ังคบั บัญชารว มกันปรบั ปรุงและเปลย่ี นแปลง ซ่ึงใน ข้ันตอนน้ีนักศกึ ษาไดนำแอปพลิเคชันใหค วามรกู ลมุ โรคไมต ดิ ตอเรอ้ื รังในชมุ ชน (Application HDS) ไปทดลองใชกับผูสูงอายุ ในชุมชน ตำบลสระกะเทยี ม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จำนวน 40 คน เพื่อศึกษาผลของการใชนวัตกรรมในการ ใหความรเู รือ่ งโรคไมต ิดตอ เร้ือรังกับประชาชนผสู ูงอายุในชุมชนและประเมินวาจะสามารถแกป ญ หาเรอื่ งของมีพฤติกรรมเส่ียง ตา งๆท่ีเปนปจจัยสงผลตอการเกิดโรคไมต ิดตอ เรอ่ื รงั ไดห รือไม ภาพที่ 3 ควิ อาโคด แอปพลิเคชันใหค วามรูกลมุ โรคไมตดิ ตอเรอ้ื รังในชุมชน (Application HDS) ซง่ึ นักศึกษาทดสอบการใชงาน แอปพลิเคชันใหค วามรกู ลุมโรคไมต ิดตอเร้ือรงั ในชมุ ชน (Application HDS) กับผใู ชง านจริงคือ ผูส งู อายใุ นชมุ ชน ตำบลสระกะเทียม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม จำนวน 40 คน และเม่อื ทดลองใชงานแลว พบวา สามารถเพิ่มความรเู กี่ยวกับโรคตดิ ตอ ไมเ ร้อื รงั คือ โรคความดันโลหิตสูง โรคคเบาหวานและโรคไขมันในเลือดสูง ซ่ึงสรางความ ตะหนกั ในเรือ่ งของการปฏบิ ตั ิตวั ทีอ่ าจจะเปนพฤติกรรมเสี่ยงของการการโรคตดิ ตอไมเ ร้อื รังดังกลา วได และจากการทดสอบนี้
ยังไดรับความคิดเห็นและขอเสนอแนะวา หากสามารถพัฒนาแอปพลิเคชันที่ใหความรูเรื่องอาหารที่เหมาะสมกับโรคที่ หลากหลาย และหากสามารถวิเคราะหผลความผิดปกติของผูปวย แลวนำผลการวิเคราะหเชื่อมตอกับการโทรแจงสายดวน ฉุกเฉิน จะเปนแอปพลิเคชันที่นอกจากจะใหความรูลดพฤติกรรมเสี่ยงของโรคติดตอไมเรื้องรังแลว จะยังสมารถชวยเหลือ ผสู งู อายทุ ่ใี ชแอปพลิเคชนั น้ีเมอื่ เกดิ เหตุฉกุ เฉินไดอ ีกดว ย 6. ผลการทดลองใชน วัตกรรม ผลคะแนนความพึงพอใจ หมายเหตุ ระดบั ความพึงพอใจ จำนวน(คน) รอยละ 1.มคี วามพงึ พอใจมากทสี่ ุด 32 80 2.มคี วามพึงพอใจมาก 3.มคี วามพึงพอใจปานกลาง 6 15 4.มคี วามพึงพอใจนอย 5.มคี วามพงึ พอใจนอ ยท่สี ดุ 25 -- -- ตารางท่ี 1 ผลคะแนนความพึงพอใจของการใชแอปพลเิ คชันใหค วามรูกลมุ โรคไมต ิดตอ เรื้อรังในชมุ ชน (Application HDS) จากการพฒั นาและการประเมินผลการใชน วตั กรรมแอปพลเิ คชันใหความรกู ลมุ โรคไมติดตอเร้ือรงั ในชมุ ชน (Application HDS) พบวา มคี วามพึงพอใจในระดบั มากท่ีสดุ รอยละ 80 มคี วามพึงพอใจในระดับมาก รอยละ 15 และมี ความพึงพอใจในระดบั ปานกลาง รอ ยละ 5 ตามลำดับ (ตารางที่ 1) 7. อภิปรายและสรุปผล จากการพัฒนาและการประเมินผลการใชนวัตกรรม“แอปพลิเคชันใหความรูกลุมโรคไมติดตอเรื้อรังในชุมชน (Application HDS)” พบวา มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด รอยละ 80 มีความพึงพอใจในระดับมาก รอยละ 15 และมี ความพึงพอใจในระดับปานกลาง รอยละ 5 ตามลำดับ ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายของ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั ราช ภัฏนครปฐม ที่ไดมีการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลชุมชน1 ใหแกนักศึกษาหลักสูตร พยาบาลศาสตรบณั ฑติ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2562) ชนั้ ปท ่ี 2 เพราะปจจุบนั กระแสโลกาภิวัตนไ ดเขามาอทิ ธิพลตอ หลายๆปจ จยั ในสังคม ไมเ วนแตระบบการศกึ ษาทมี่ กี ารปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก เพอ่ื กอใหเ กิดความทนั สมัยในองค ความรู และสอดคลองตอผูเรียนและนำองคความรูไปใชเพื่อกอใหเกิดประโยชน ซึ่งทุกวันนี้จะเห็นไดวา ประชาชนสามารถ เขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศไดงายข้ึน [7] จึงปฏิเสธไมไดเลยวาเทคโนโลยีหรือแอพพลิเคชั่นตางๆจงึ นำมาถูกประยุกตใชเปน สวนหนึ่งสำหรับการดำเนินชีวิต เพราะทุกคนลวนใชเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกในทุกๆดาน แอปพลิเคชันใหความรู กลมุ โรคไมต ดิ ตอเรอื้ รงั ในชมุ ชน (Application HDS) จงึ ถกู คดิ คนขน้ึ จากปญหาของชุมชนทน่ี ักศึกษาฝก ปฏบิ ตั งิ านอยู ในเร่ือง ของความรแู ละพฤติกรรมเส่ียงเกี่ยวกับโรคตดิ ตอ ไมเ รอื้ รงั เชน โรคความดันโลหิตสงู โรคเบาหวานและโรคไขมนั ในเสน เลอื ดสงู โดยการประยุกตใชแอปพลิเคชัน ซึ่งเกิดจากแนวคิดของนักศึกษา ที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและเครื่องมือสื่อสารอยูใน ชีวิตประจำวัน โดยอาศัยหลักการคิด PDCA ซึ่งเปนแนวคิด เพื่อใหไดนวัตกรรมที่ตอบโจทยกับผูใชงาน สรางสรรคงาน นวัตกรรมอยางเปนระบบเพือ่ แกปญหาผา นนวัตกรรมหรือบริการใหมๆ ที่ไดคิดคนขึ้นจากการทำความเขาใจปญหา [6] จึงทำ ให แอปพลิเคชันใหความรกู ลุมโรคไมติดตอเรื้อรังในชมุ ชน (Application HDS) สามารถเพิ่มความรู ความเขาใจและยังสรา ง
ความตะหนักในการลดพฤติกรรมเสี่ยงที่เปนปจจัยของโรคติดตอไมเรื้อรัง ซึ่งถือเปนประโยชนตอ เจาหนาที่และบุคลากรใน โรงพยาบาลสงเสริมตำบลสระกระเทียม ในการสง เสริมสุขภาพแกป ระชาชนในชุมชนตอไป 8.ขอเสนอแนะและแนวทางการพัฒนา พัฒนาแอปพลิเคชันที่ใหความรูเ รื่องอาหารที่เหมาะสมกับโรค วิเคราะหผลความผิดปกติของผูปวยได และการนำผล การวเิ คราะหเ ชื่อมตอ กับการโทรแจง สายดวนฉุกเฉนิ รวมไปถึงการตอยอดนวตั กรรมไปสูงานวจิ ัยตอ ไป 9. กิตตกิ รรมประกาศ (ถาม)ี ขอขอบคุณคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ที่ไดมีการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัตใิ นรายวิชา ปฏิบัติการพยาบาลชุมชน1 ใหแกนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562) ชั้นปที่ 2 และ โรงพยาบาลสงเสรมิ ตำบลสระกระเทียมท่ไี ดอ ำนวยความสะดวกในการเปน แหลง ฝกของนกั ศึกษาพยาบาล 7. เอกสารอางองิ (References) [1] วิโรจน ต้ังเจรญิ เสถยี ร และคณะ. (2561). โครงการวิจัยการศึกษาภาระงานและผลติ ภาพกำลังคนใน โรงพยาบาลสง เสริม สุขภาพตำบล (รพ.สต.). www.hrdo.org [2] พรทิพยถ าวรนุรักษ, สมบรู ณบ ญุ ฤทธิ์, สมเกียรติ ตนั สกุล. ศกึ ษาบทบาทการจดั การสขุ ภาพชุมชนแบบบูรณาการของ โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบลบานบอทราย อาํ เภอปา พะยอม จงั หวดั พัทลงุ .วารสารสงั คมศาสตรแ ละ มานุษยวิทยาเชิงพทุ ธ ปท ี่ 2 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – มิถุนายน 2560) หนา 27-33 [3] องคก ารบริหารสวนตำบลสระกระเทยี ม. (2560). https://www.srakathiam.go.th/condition.php [4] สำนกั บรหิ ารการสาธารณสุข สำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ . (2559). คูม ือการปฏบิ ตั ิงาน : บริการสขุ ภาพ (สง เสรมิ ปองกัน รกั ษา ฟนฟูและคมุ ครองผบู รโิ ภค). บอรน ทบู ีพับลิชชิ่ง [5] ยทุ ธนา เก้ือกูล. (2560). การพัฒนารูปแบบการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอสิ ลาม จงั หวดั ชาย แดนภาคใตเ พ่ือสรางผเู รยี นสคู วามเปน มนษุ ยทสี่ มบูรณ. ปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร วทิ ยา เขตปตตานี, 2560 [6] ณัฏฐณ พชั ร ออนตาม. (2562). เทคนิคการบรหิ ารงานแบบ PDCA (Deming Cycle) PDCA (Deming Cycle) Management Techniques. วารสารสมาคมพัฒนาวชิ าชีพการบรหิ ารการศึกษาแหงประเทศไทย. [7] Ekavee Pitakthanatchkul (2014, August 31). Education in the modern world. http://www.stou.ac.th/study/sumrit/1-58(500)/page9-1- 58(500).html
1 LINE official Save แม่ ดแู ล Baby กฤษณา หมืน่ เเผลง , จันทร์ทมิ า ย่ังยนื , จนั ทปั ปภา กล่อมจติ ร์ , ญตั ติพงศ์ หงษ์มณี , ธนทัต นาใจคง พรลภัส น้อยเจรญิ ถาวร , พิมพ์ชนก ตระการฤกษ์ และ สิรัญญา พูลชัยนาท อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา:อาจารย์ ดร.รศั มี ศรีนนท์ และ อาจารย์ วมิ ลมาส ต่ิงบุญ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบรุ ี คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบนั พระบรมราชชนก ผรู้ บั ผดิ ชอบบทความ : [email protected] บทคดั ย่อ ในปัจจบุ ันมเี ทคโนโลยแี อปพลเิ คชันหลากหลายท่ชี ่วยอำนวยความสะดวกแก่สตรีที่ตง้ั ครรภ์แต่ยงั ไมค่ รอบคลุมเร่อื ง ทสี่ ตรตี ้งั ครรภค์ วรจะรบั รู้เพอ่ื นำไปเปน็ แนวทางในการดูแลตนเอง อีกทงั้ พบวา่ การติดตงั้ นั้นจะใชง้ านพื้นที่ในโทรศพั ทจ์ ำนวน มาก คณะผู้วจิ ัยมองเห็นถึงปัญหานจี้ งึ ไดจ้ ดั ทำนวตั กรรม LINE Official Save แม่ ดูแล Baby ทางแอปพลิเคชันไลน์ เพื่อใหม้ า สตรีตัง้ ครรภเ์ ขา้ ใช้งานไดด้ ้วยตนเอง ไมต่ อ้ งใช้พ้นื ทข่ี องโทรศพั ท์มือถอื จำนวนมากในการติดต้ัง และสะดวกในการใชง้ าน แอปพลเิ คชนั ประกอบดว้ ย ชดุ ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบตั ติ วั ขณะตัง้ ครรภผ์ า่ นการใชง้ าน ชอ่ งทาง youtube และ e-book แบบทดสอบเพอ่ื ประเมินความรู้หลังศกึ ษาชุดความรู้ แบบถาม-ตอบประเด็นความรู้ทหี่ ญิงต้งั ครรภ์ตอ้ งการหาความรู้เพิ่มเตมิ หรอื มีขอ้ สงสัยซึง่ มกี ารตอบกลบั จากคณะผู้จัดทำตลอดการใชง้ าน แบบบนั ทึกการนับลูกดนิ้ ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจในการใชน้ วัตกรรม LINE official Save แม่ ดูแล Baby โดยหญงิ ตั้งครรภ์เรอื่ งความ ง่ายในการใชแ้ อปพลิเคชัน พบว่า หญงิ ตัง้ ครรภค์ วามพงึ พอใจมากทส่ี ุดคอื การใช้งานง่ายไมซ่ บั ซอ้ นอย่ใู นระดับดีมาก (x̅ =4.62, S.D. = 0.52) ส่วนเรื่องความต้องการในการใชง้ าน พบวา่ ความสามารถของเนือ้ หาทีแ่ สดง, ความสามารถของ ข้อมลู แบบทดสอบ,ความสามารถการแสดงข้อมลู รูปภาพ วิดีโออยใู่ นระดับดีเทา่ กัน คำสำคัญ หญิงต้งั ครรภ,์ แอปพลิเคชนั 1. ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา การฝากครรภน์ ้ันเป็นจดุ เร่ิมต้นแหง่ การพฒั นาคณุ ภาพประชากรเรมิ่ ต้ังแตอ่ ยใู่ นครรภเ์ พอื่ การตัง้ ครรภ์และการคลอดที่มี คณุ ภาพและปลอดภยั ต่อสตรีต้ังครรภ์และทารกในครรภ์ไมม่ ภี าวะแทรกซอ้ นและมสี ขุ ภาพสมบรู ณ์แขง็ แรง แต่อยา่ งไรก็ตาม สถานการณก์ ารฝากครรภใ์ นประเทศไทย พ.ศ 2564 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุขรายงานวา่ มีการฝากครรภค์ รง้ั แรก เมือ่ กอ่ นอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 78.12(ซงึ่ เกนิ กว่าเกณฑ์ท่ีกําหนดคือ ร้อยละ 75) และครบตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 5 คร้ัง รอ้ ยละ 71.19 (สาํ นักสง่ เสริมสขุ ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ , 2565ข) สาเหตหุ นึ่งท่สี ง่ ผลใหห้ ญงิ ตง้ั ครรภ์ทีเ่ ข้ารับ การฝากครรภ์ในโรงพยาบาลมาฝากครรภไ์ มค่ รบตามเกณฑ์ พบวา่ มีการแพรร่ ะบาดของโควดิ -19 ทำให้รปู แบบการใช้ชีวติ ของ หญงิ ตงั้ ครรภม์ กี ารเปล่ียนแปลงไป เช่น การใช้ชวี ิตอย่างเร่งรบี มีข้อจำกัดด้านเวลา และความไมส่ ะดวกสบายในการเดนิ ทาง และมีขอ้ จำกดั ในการเข้ารว่ มกจิ กรรมโรงเรียนพอ่ แม่ต้องหลีกเลยี่ งกิจกรรมท่ีมีการรวมกลุม่ เพอ่ื เปน็ การเวน้ ระยะห่างระหว่าง บุคคล ป้องกันการตดิ เชอ้ื ซ่ึงจะทำใหส้ ตรีตงั้ ครรภ์ขาดการได้รับความรู้ในการปฏิบตั ิตัวขณะต้ังครรภเ์ พอ่ื ไปดแู ลตนเอง จึงไม่ สามารถปฏบิ ตั ิตนได้ถกู ต้องขณะตัง้ ครรภ์ เมือ่ ศกึ ษาสมดุ สขุ ภาพมารดาทารก(สมดุ สชี มพู) น้ันพบว่ามแี อปพลเิ คชันทมี่ ีการให้ ความรูเ้ ก่ยี วกบั การปฏิบตั ิติตัวขณะตั้งครรภ์แตเ่ นอ้ื หายงั ไม่ครอบคลุมและการตดิ ตัง้ นน้ั จะใช้งานพนื้ ที่ในโทรศพั ท์จำนวนมาก ทำใหไ้ มส่ ะดวกในการใชง้ าน
2 คณะผู้จดั ทำเหน็ ถงึ ความสำคัญของการใหค้ วามร้ใู หแ้ ก่สตรีตง้ั ครรภเ์ พื่อการปฏบิ ัติตนทเ่ี หมาะสมมสี ุขภาพที่ดีท้งั มารดา และทารกจงึ ไดค้ ดิ ค้นนวตั กรรมท่ีจะชว่ ยส่งเสริมความรใู้ นแก่สตรีตง้ั ครรภร์ วมทง้ั ตอบปัญหาข้อสงสยั แก่สตรตี ั้งครรภ์โดย มงุ่ เนน้ ความสะดวกในการเขา้ ถงึ เขา้ ถงึ ได้งา่ ยโดยผ่านแอปพลเิ คชนั LINE official ช่อื ว่าแอปพลเิ คชนั LINE official Save แม่ ดูแล Baby 2. วัตถุประสงค์ 1.เพ่อื พัฒนาแอปพลเิ คชันให้สามารถใชใ้ นการส่งเสริมความร้ใู นการดูแลสำหรับสตรีตงั้ ครรภ์ 2.เพ่อื ประเมนิ ความพงึ พอใจของผใู้ ช้งานแอปพลิเคชัน 3. กลมุ่ เปา้ หมาย สตรีต้งั ครรภ์ 4. กระบวนการพัฒนา (ตามข้ันตอน plan do check act) Plan 1.ประชุมกับเพื่อนในกลุ่มเพอื่ หาเรื่องที่สนใจร่วมกนั เเละทาํ การตดั สนิ ใจเร่อื งที่จะศกึ ษานํามาทาํ นวัตกรรม 2.ทําการศกึ ษานวัตกรรมทีเ่ ก่ียวข้องกับเร่อื งท่ีสนใจคอื เรอ่ื งทเี่ ก่ยี วกับการทำแอปพลเิ คชัน 3.วางแผนในการจัดทำเนือ้ หาและออกแบบนวตั กรรมผา่ น LINE official 4.วางแผนเร่อื งระยะเวลาที่ร่วมวางแผนการทำงานกบั อาจารย์ท่ีปรกึ ษาประจำกลุ่ม Do วธิ กี ารดำเนินการสร้างนวัตกรรม ข้ันตอนท่ี 1 ศึกษาสภาพปญั หาและทำการทบทวนเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งไดส้ ืบค้นขอ้ มูลในการทำ LINE official ขั้นตอนท่ี 2 ปรกึ ษากบั อาจารย์ท่ปี รึกษาประจำกลมุ่ เกย่ี วกับเนือ้ หาการปฏบิ ัติตวั ขณะต้งั ครรภ์และการจดั ทำนวตั กรรม ข้นั ตอนท่ี 3 จดั ทำนวตั กรรมท่ีมีช่อื วา่ Save แม่ ดูแล Baby ได้รายละเอียด ดงั ภาพ
3 \\ ภาพท่ี 1 แอปพลเิ คชนั LINE official Save แม่ ดูแล Baby ภาพที่ 2 หนา้ หลักของแอปพลเิ คชัน Save แม่ ดูแล Baby
4 • ดำเนนิ การสรา้ ง line official ชื่อว่า Save แม่ ดูแล Baby โดยจะแบง่ เมนอู อกเปน็ 6 เมนไู ด้แก่ ภาพท่ี 3 เมนขู อง LINE official Save แม่ ดูแล Baby เมนูที่ 1 Youtube จดั ทำช่องชื่อว่า Save แม่ ดูแล Baby จัดทำคลปิ วดิ โี อ • EP.1 อาหารทสี่ ำหรบั หญิงตัง้ ครรภ์ • EP.2 การปฏิบัตติ ัวแต่ละไตรมาส • EP.3 การนับลกู ดน้ิ • EP.4 หญิงตั้งครรภ์กบั Covid-19 • EP.5 เกร็ดความรสู้ ำหรับหญิงตัง้ ครรภ์ ภาพที่ 4 เมนู Youtube
5 เมนทู ่ี 2 แบบสอบถามความรู้ • ส่วนที่ 1 ข้อมลู ผูร้ บั บริการ • ส่วนท่ี 2 คำถามประเมินความร้จู ำนวน 5 ข้อ • ส่วนท่ี 3 คำถามประเมินการปฏบิ ัติตน 5 ขอ้ ภาพที่ 5 เมนแู บบทดสอบความรู้ เมนทู ่ี 3 E-bookจดั ทำหนงั สอื ออนไลน์ผ่าน AnyFlip • การปฏิบตั ติ วั ในการตั้งครรภแ์ ต่ละไตรมาส • ยาบำรุงในหญงิ ต้ังครรภ์ • การนับลกู ดนิ้ • การฝากครรภค์ ณุ ภาพ • การฉดี วัคซนี โควดิ ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ • ภาวะไม่สขุ สบายขณะตง้ั ครรภ์ รูปที่ 6 เมนู E-book
6 เมนูที่ 4 การนับลูกดิน้ • จัดทำแบบฟอร์มใหก้ รอกบันทกึ ขอ้ มลู และสง่ คำตอบใน excel ให้แกผ่ ้รู บั บรกิ าร ภาพที่ 7 เมนูการนับลูกดนิ้ เมนทู ่ี 5 แบบประเมินความพึงพอใจ • ความพงึ พอใจดา้ นความง่ายตอ่ การใช้งาน • ความพึงพอใจตรงตามความต้องการของผู้ใช้ • ข้อเสนอแนะ ภาพที่ 8 เมนคู วามพึงพอใจ เมนทู ี่ 6 คำถามทพ่ี บบอ่ ย โดยจำแนกเปน็ หวั ขอ้ ดังนี้ • การตั้งครรภ์ • การดูแลตนเองขณะตงั้ ครรภ์ • การรับประทานอาหาร • การฉีดวัคซีน/ยา • ภาวะต่างๆทีอ่ าจเกดิ ข้ึนในหญิงตงั้ ครรภ์
7 ภาพท่ี 9 เมนคู ำถามทพ่ี บบ่อย Check ดำเนินการตรวจสอบแอปพลเิ คชนั LINE official Save แม่ ดแู ล Baby แบ่งเปน็ 2 ส่วน ดังน้ี 1.การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเนื้อหาและแอปพลเิ คชัน โดยใหผ้ ู้ทรงคุณวฒุ ิท่เี ปน็ อาจารยส์ าขาการพยาบาล มารดาทารกและการผดุงครรภ์ จำนวน 2 ท่าน และ อาจารยพ์ ยาบาลที่มีความสามารถดา้ นเทคโนโลยี จำนวน 1 ทา่ น ซง่ึ ทำ ใหม้ ีการกรอกขอ้ มลู นำ้ หนักในแตล่ ะสัปดาหพ์ รอ้ มใหค้ ำแนะนำ และการใหค้ ำแนะนำมารดาหลังนับลกู ด้ิน 2.การประเมินผลความพึงพอใจในการใช้งาน แอปพลเิ คชนั LINE official Save แม่ ดูแล Baby โดยผรู้ ับบริการซงึ่ เปน็ สตรตี ั้งครรภ์ ภาพท่ี 10 แบบแสดงความคดิ เหน็ ของผทู้ รงคณุ วฒุ ทิ ่มี ตี ่อนวัตกรรม LINE official Save แม่ ดแู ล Baby
8 ภาพที่ 11 แบบสอบถามความพงึ พอใจในการใชง้ าน Save แม่ ดูแล Baby Action เม่ือทดลองใช้นวัตกรรมแอปพลิเคชัน LINE official Save แม่ ดูแล Baby เรยี บรอ้ ยแล้วจดั การรวบรวมข้อมลู ข้อ เสนอเเนะจากผู้ทรงคณุ วุฒิและนำไปปรบั ปรงุ แก้ไขในส่วนทต่ี ้องการเพิม่ เตมิ และนำผลจากการทดลองใช้โดยสตรตี งั้ ครรภ์เป็น ข้อมลู นำเข้าในการปรับปรุงแอปพลิเคชนั ตอ่ ไป
9 5. รายละเอยี ดและวิธกี ารใชง้ านนวตั กรรม วิธกี ารใชง้ าน 1.สแกนควิ อาร์โคด้ เพอ่ื เขา้ สู่ LINE official Save แม่ ดูแล Baby ภาพที่ 12 ควิ อาร์โคด้ สำหรับเข้า LINE official Save แม่ ดูแล Baby 2.เมือ่ สแกนจะมีข้อความและจะมีคู่มือการใชง้ าน LINE Official 3.เม่ือดูคู่มือการใช้งานเสรจ็ สามารถใช้เมนูต่างๆได้ 4.เริ่มจากการประเมนิ ความรโู้ ดยการทำแบบทดสอบ 5.เมอ่ื ทำแบบทดสอบเสร็จแล้ว สามารถเลอื กเมนอู ่นื เพื่อหาความรเู้ พอ่ื เตมิ ได้ เช่น YouTube , E-Book, คำถามทพ่ี บบ่อย หรือสามารถบนั ทึกการนับลูกด้ินแบบออนไลน์ได้ เพอื่ ติดตามการดน้ิ ของลูก 6.เมื่อการใช้ LINE Official เสรจ็ แล้วทำการประเมนิ ความพึงพอใจในการใช้งาน
10 6. ผลการทดลองใชน้ วตั กรรมและการอภิปรายผล ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลความพึงพอใจของการทอลองใชน้ วัตกรรม Save แม่ ดูแล Baby จากการสอบถาม จากกลุม่ ตวั อย่างจำนวน 8 คน โดยนำมาวเิ คราะห์ ได้ดังนี้ ตารางท่ี 1 ตารางประเมนิ ผลความพึงพอใจในการใช้ LINE official Save แม่ดแู ล Baby ดา้ นความงา่ ยในการใชง้ าน หัวขอ้ ประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ค่าเฉลย่ี S.D. ที่สดุ กลาง ท่สี ุด ความง่ายต่อการใชง้ าน 1.1 การใช้งานงา่ ย ไม่ซบั ซ้อน 5คน 3 คน - - - 4.62 0.52 (62.5%) 37.5% 1.2 มีการวางตำแหนง่ ขอ้ มูลตา่ งๆบนหนา้ จอไดอ้ ยา่ ง 5 คน 2 คน - 1 คน - 4.38 1.06 12.5% เหมาะสม 62.5% 25% 1.3 มคี วามเหมาะสมในการใช้ชนิดอกั ษร ขนาด 6 คน 1 คน - 1 คน - 4.5 1.07 สญั ลกั ษณแ์ ละรูปภาพในการส่อื ความหมาย 75% 12.5% 12.5% 1.4 การใชข้ ้อความเพ่ืออธิบายสอื่ ความหมายมีความ 6 คน 1 คน - 1 คน - 4.5 1.07 เหมาะสม 75% 12.5% 12.5% 1.5ปฏสิ มั พันธการโต้ตอบกับผใู้ ช้อย่างเหมาะสม 6 คน 1 คน - 1 คน - 4.5 1.07 75% 12.5% 12.5% 1.6การใชค้ าํ สงั่ ตา่ งๆ ส่วนของเมนู มีความสะดวก 4 คน 2 คน - 1 คน - 4.25 1.04 50% 37.5% 12.5% ความพงึ พอใจในการใช้นวตั กรรม LINE official Save แมด่ แู ล Baby ด้านความงา่ ยในการใชง้ าน แบง่ ออกเป็น 6 ข้อ ขอ้ ที่ไดร้ ับความพงึ พอใจมากท่สี ดุ คือ การใช้งานงา่ ยไมซ่ ับซ้อน (x̅ =4.62, S.D. = 0.52) ขอ้ ที่ไดค้ วามพึงพอใจรองลงมา ไดแ้ ก่ มคี วามเหมาะสมในการใช้ชนิดอกั ษร ขนาด สัญลักษณแ์ ละรูปภาพในการสื่อความหมาย,การใช้ขอ้ ความเพอื่ อธบิ ายส่ือ ความหมายมีความเหมาะสม,ปฏิสมั พนั ธ์การโต้ตอบกับผ้ใู ชอ้ ยา่ งเหมาะสม(x̅ =4.5, S.D. = 1.07) และความพงึ พอใจนอ้ ยที่สดุ คือ การใชค้ าํ สั่งตา่ งๆ สว่ นของเมนู มีความสะดวก (x̅ =4.25, S.D. = 1.04)
11 ตารางที่ 2 ตารางประเมินผลความพงึ พอใจในการใช้ LINE official Save แม่ ดูแล Baby ด้านความต้องการของผใู้ ช้งาน หัวข้อประเมิน มากท่ีสุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ คา่ เฉล่ีย S.D. 2.ความตอ้ งการของผู้ใช้งาน 2.1 ความสามารถของเนอื้ หาทีแ่ สดง 6 คน 1 คน - 1 คน - 4.5 1.07 75% 12.5% 12.5% 2.2ความสามารถของขอ้ มลู แบบทดสอบ 6 คน 1 คน - 1 คน - 4.5 1.07 75% 12.5% 12.5% 2.3ความสามารถการแสดงข้อมลู รปู ภาพ วิดีโอ 6 คน 1 คน - 1 คน - 4.5 1.07 75% 12.5% 12.5% ความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรม LINE official Save แมด่ แู ล Baby ด้านความตอ้ งการในการใช้งาน แบง่ ออกเป็น 3 ข้อ ได้แก่ ความสามารถของเนอ้ื หาทีแ่ สดง, ความสามารถของขอ้ มลู แบบทดสอบ,ความสามารถการแสดงข้อมูล รูปภาพ วดิ ีโอ กลมุ่ ตวั อย่างมีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดเี ท่ากัน (x̅ =4.25, S.D. = 1.07) สรปุ ผล อภปิ รายและขอ้ เสนอแนะ ในการพฒั นาแอปพลเิ คชันใหส้ ามารถใช้ในการส่งเสรมิ ความรูใ้ นการดแู ลสำหรบั สตรีตง้ั ครรภ์ โดยกลุม่ ผู้วจิ ัย ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 ในการพัฒนานวัตกรรม สว่ นประเมนิ ความพงึ พอใจของผูใ้ ช้งานแอปพลิเคชัน LINE official Save แมด่ ูแล Baby ซ่งึ ได้ทดลองใช้กลุ่มตวั อย่างทีเ่ ปน็ สตรตี ง้ั ครรภ์ พบวา่ ดา้ นความงา่ ยในการใชง้ าน แบ่ง ออกเป็น 6 ขอ้ ข้อท่ีไดร้ ับความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ คอื การใช้งานง่ายไมซ่ บั ซ้อน (x̅ =4.62, S.D. = 0.52) ข้อท่ไี ด้ความพงึ พอใจ รองลงมา ได้แก่ มีความเหมาะสมในการใชช้ นดิ อกั ษร ขนาด สญั ลักษณแ์ ละรปู ภาพในการส่อื ความหมาย,การใชข้ อ้ ความเพอ่ื อธบิ ายสื่อความหมายมคี วามเหมาะสม,ปฏิสัมพันธการโตต้ อบกับผ้ใู ชอ้ ยา่ งเหมาะสม(x̅ =4.5, S.D. = 1.07) และความพึงพอใจ นอ้ ยท่ีสดุ คือ การใช้คาํ สง่ั ต่างๆ ส่วนของเมนู มคี วามสะดวก (x̅ =4.25, S.D. = 1.04) ส่วนด้านความตอ้ งการในการใชง้ าน แบ่งออกเปน็ 3 ข้อ ได้แก่ ความสามารถของเนอ้ื หาทีแ่ สดง, ความสามารถของข้อมูลแบบทดสอบ,ความสามารถการแสดง ขอ้ มลู รูปภาพ วิดโี อ กลมุ่ ตัวอย่างมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับดีเท่ากัน (x̅ =4.25, S.D. = 1.07) แสดงวา่ แอปพลเิ คชัน LINE official Save แม่ดูแล Baby สามารถใช้งานได้จรงิ มีประโยชนส์ ำหรบั ใช้เป็นเคร่ืองมือในการใหค้ ำแนะนำเกยี่ วกับการปฏิบัติติ ตวั ขณะตง้ั ครรภแ์ ละถามขอ้ สงสยั เมือ่ มปี ัญหาสุขภาพขณะตงั้ ครรภ์ได้ 7. ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะจากผู้ทรงคุณวฒุ ิ 1.ปรบั แกค้ ำใหถ้ ูกต้องและเพ่ิมขอ้ มูลให้ครอบคลมุ เกี่ยวกบั การปฏิบัติติตัวขณะตั้งครรภ์ 2.เพมิ่ ตารางนบั ลกู ด้ิน เม่ือทราบจำนวนควรแปลผลได้เลยวา่ ปกติ หรอื ผดิ ปกติ 3.เพิม่ เติมการบนั ทกึ นำ้ หนกั แต่ละสัปดาห์ พร้อมใหค้ ำแนะนำ
12 หมายเหตุ ผวู้ จิ ัยได้ปรบั แก้ก่อนทดลองกบั กลมุ่ ตัวอย่างเรยี บร้อยแล้ว ขอ้ เสนอแนะจากกลุม่ ตวั อยา่ ง 1.ควรมกี ารอพั เดตพวกขอ้ มูลต่างๆ อยเู่ สมอ ใหม้ ีวดิ โี อใหม่ๆมาอัพเดต 2.เพ่มิ ขอ้ มลู ศนู ยก์ ารติดตอ่ สมาคมสำหรบั หญิงตง้ั ครรภท์ ่ีอาจมปี ญั หาไวแ้ ลกเปล่ยี นขอ้ มลู ขา่ วสารกนั 3.เพิ่มลูกเลน่ ในตวั เกย่ี วกับการปฏิบัตติ ัวขณะตัง้ ครรภ์ใหม้ ีข้ึนมากกว่านี้ 4.อยากให้เป็นส่ือในการกระจายข่าวทีเ่ ก่ียวข้องกบั การดูแลหญงิ ตั้งครรภ์เกย่ี วกบั การปฏิบัติติตวั ขณะต้ังครรภ์ 8. เอกสารอา้ งองิ จนั ทรรตั น์ เจริญสันต.ิ (2560). การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ : สตรีในระยะต้ังครรภ์.เชียงใหม่ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ มาลนิ ี นาคใหญแ่ ละอมรเทพ แสนคำ. (2563). การพัฒนาแอพลิเคชันสง่ เสรมิ การดูแลหญงิ ต้งั ครรภ์. ค้นเม่ือ 12 กรกฎาคม 2565 จาehttps://publication.npru.ac.th/bitstream /123456789/1173/1/การพัฒนาแอปพลิเคชันส่งเสรมิ การดูแลหญิงต้ังครรภ์.pdf รสวนั ต์ อารมี ิตร และคณะ. (2561).แอปพลเิ คชันใสๆผชู้ ว่ ยคนใหม่ในการดูแลลูกคุณลกู KhunLook: ติดตามพัฒนาการทุกชว่ งวยั จบครบในแอปเดยี ว. ค้นเมอ่ื 12 กรกฎาคม 2565 จาก https://li01.tic- thaijo.org/index.php/SRIMEDJ/article/view/137032/102052 วรรณรตั น์ จงเจรญิ ยานนท์ . (2560). การพยาบาลสูติศาสตร.์ (พมิ พค์ ร้งั ที่ 1). โครงการสวัสดิการ วชิ าการสถาบนั พระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสขุ .
การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่ม 2 รวมบทความนวัตกรรมประเภท งานสร้างสรรค์ด้านสารสนเทศทางการพยาบาล การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 15 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม หัวของการจัดงาน “วิจัยและพัฒนา บนพื้นฐานเศรษฐกิจ BCG สู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน” และการประชุม สาขาพยาบาลศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงสุขภาพ สร้างดุลยภาพชีวิตในยุค Next Normal “ ระหว่างวันที่ 13-14 กรกฎาคม 2566 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: