Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดาวฤกษ์

ดาวฤกษ์

Published by มานิตา งามสม, 2021-10-08 09:20:27

Description: ดาวฤกษ์

Search

Read the Text Version

1 ดาวฤกษ์ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ เป็นกระบวนการที่ดาวฤกษ์เปลีย่ นแปลงองค์ประกอบภายใน ตามลาดบั ไปในช่วงอายุของมนั ซึ่งจะมีลกั ษณะแตกต่างกนั ตามขนาดของมวลของดาวฤกษ์ น้ันๆ อายขุ องดาวฤกษ์มตี ั้งแตไ่ ม่กี่ล้านปี (สาหรับดาวฤกษ์ที่มมี วลมากๆ) ไปจนถึงหลายล้าน ล้านปี (สาหรบั ดาวฤกษ์ทีม่ มี วลน้อย) ซึ่งอาจจะมากกว่าอายขุ องเอกภพเสียอีก การศกึ ษาวิวัฒนาการของดาวฤกษ์มไิ ด้ทาเพียงการเฝา้ สังเกตดาวดวงหนง่ึ ดวงใด ดาว ฤกษ์สว่ นใหญ่มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างช้ามากจนยากจะตรวจจบั ได้แม้เวลาจะผ่านไปหลาย ศตวรรษ นกั ฟิสิกส์ดาราศาสตรท์ าความเข้าใจกบั วิวฒั นาการของดาวฤกษ์โดยการ สังเกตการณ์ดาวจานวนมาก โดยที่แต่ละดวงอยู่ที่ชว่ งอายแุ ตกต่างกัน แล้วทาการจาลอง โครงสรา้ งของดาวออกมาโดยใช้แบบจาลองคอมพิวเตอร์ช่วย กาเนิดดาวฤกษ์ GC 604 ย่านกาเนิดดาวฤกษ์ขนาดยกั ษ์ในดาราจกั รไทรแองกูลมั วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ เริม่ ตน้ ขนึ้ ตั้งแต่การพังทลายของแรงโน้มถ่วงของเมฆโมเลกลุ ขนาดยกั ษ์ (GMC) เมฆโมเลกุล โดยมากจะมีขนาดกว้างประมาณ 100 ปีแสง และมีมวลประมาณ 6,000,000 มวลดวงอาทิตย์ เมือ่ แรงโน้มถ่ว มพังทลายลง เมฆโมเลกลุ ขนาดยกั ษ์จะแตกออกเป็นชิน้ เลก็ ชิน้ น้อย แก๊สจากเศษเมฆแต่ละส่วน จะปล่อยพลังงานศักย์จากแรงโน้มถ่วงออกมากลายเป็นความรอ้ น เม่อื อุณหภมู ิและความดนั เพิ่มสงู ข้ึน เศษซากจะอัดแน่นมากขึ้นกลายเป็นรปู ทรงกลมหมุนของแก๊สที่รอ้ นจัด รู้จกั กันในชอ่ื ว่า ดาวฤกษ์ก่อนเกิด (protostar)

2 ดาวฤกษ์ก่อนเกิดทีม่ มี วลน้อยกว่า 0.08 มวลดวงอาทิตย์จะไม่สามารถทาอณุ หภมู ิได้สงู พอใหเ้ กิดปฏิกิรยิ านวิ เคลียร์ฟิวชนั ของไฮโดรเจนได้ ดาวเหล่านจี้ ะกลายเปน็ ดาวแคระน้าตาล ดาวแคระน้าตาลทีม่ ีมวลมากกว่า 13 เท่าของมวลดาวพฤหสั บดี (ประมาณ 2.5 × 1028 กก.) จะสามารถทาให้ดิวเทอเรียมหลอมละลายได้ นกั ดาราศาสตร์จานวนหน่ึงจะเรียกเฉพาะวตั ถุ ทางดาราศาสตร์ทีม่ คี ุณสมบตั ิดังกล่าวว่าเป็นดาวแคระน้าตาล แต่วัตถอุ ื่นที่ใหญ่กว่าดาวฤกษ์ แตเ่ ลก็ กว่าดาวประเภทนี้จะเรียกว่าเป็นวตั ถกุ ึง่ ดาว (sub-stellar object) แตไ่ ม่ว่าจะเปน็ ดาว ประเภทใด ดิวเทอเรียมจะหลอมเหลวได้หรือไม่ ตา่ งก็ส่องแสงเพียงริบหรแ่ี ละค่อยๆ ตายไป อย่างช้าๆ อุณหภูมิของมันลดลงเรื่อยๆ ตลอดช่วงเวลาหลายร้อยล้านปี สาหรบั ดาวฤกษ์ก่อนเกิดที่มมี วลมากกว่า อุณหภูมิที่แกนกลางสามารถขึ้นไปได้สงู ถึง 10 เมกะเคลวิน ทาให้เริ่มตน้ ปฏิกิรยิ าลกู โซ่โปรตอน-โปรตอน และทาให้ไฮโดรเจนสามารถ หลอมเหลวดิวเทอเรียมและฮีเลียมได้ สาหรบั ดาวที่มมี วลมากกว่า 1 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ กระบวนการวงรอบ CNO จะทาให้เกิดองค์ประกอบสาคญั ในการสรา้ งพลังงาน และทาให้ ปฏิกิรยิ านวิ เคลียร์ฟิวชนั ดาเนินไปต่อเนื่องอย่างรวดเรว็ จนกระท่งั เข้าสู่สภาวะสมดุลของไฮโดร สแตตกิ ส์ คือการทีพ่ ลังงานที่ปลดปล่อยจากแกนกลางทาให้เกิด \"แรงดันการแผร่ ังสี\" ที่สมดุล กับมวลของดาวฤกษ์ ซึ่งจะป้องกันการยบุ ตวั จากแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์นน้ั ก็จะเข้าสู่สภาวะที่ เสถียร และเรม่ิ ดาเนนิ ไปตามแถบลาดับหลักของมนั บนเส้นทางววิ ัฒนาการ ดาวฤกษ์เกิดใหมจ่ ะเข้ามาอยู่ในช่วงหนึง่ ช่วงใดบนแถบลาดบั หลกั ตามไดอะแกรมของ เฮิร์ตสปรงั -รสั เซลล์ โดยทีป่ ระเภทสเปกตรัมของแถบลาดับหลักขึ้นอยู่กับมวลของดาวฤกษ์ ดวงน้ัน ดาวแคระแดงมวลน้อยทีม่ ขี นาดเล็กและอณุ หภูมิคอ่ นข้างตา่ จะเผาผลาญไฮโดรเจน อย่างช้าๆ และอยู่บนแถบลาดบั หลกั ได้นานเป็นเวลาหลายแสนล้านปี ขณะที่ดาวยักษ์อณุ หภมู ิ สงู และมีมวลมากจะออกจากแถบลาดับหลกั ไปในเวลาเพียงไม่กี่ล้านปีเท่าน้ัน ดาวฤกษ์ขนาด กลางเช่นดวงอาทิตย์ของเราจะอยู่บนแถบลาดับหลกั ได้ประมาณ 1 หมน่ื ล้านปี เช่ือว่าปัจจบุ ัน ดวงอาทิตย์อยู่ในช่วงกึง่ กลางของอายขุ องมันแล้ว แต่อย่างไรกย็ งั คงอยู่บนแถบลาดับหลกั อยู่

3 ความสว่างและอนั ดับความสว่างของดาวฤกษ์ เนบิวลาและดาวฤกษ์ เนบิวลา (nebula) คือ กลุ่มแก๊สที่อยู่ระหว่างดาวฤกษ์ เนบิวลาที่เกิดขึน้ หลังจากเกิดบิกแบง ประมาณ 300,000 ปี เรยี กว่า เนบิวลาดั้งเดิม ส่วนเนบิวลาทีเ่ กิดจากการระเบิดของดาวฤกษ์ (ซเู ปอร์โนวา) เรียกว่า เนบิวลาใหม่ เนบิวลาแบ่งเปน็ 2 ประเภทตามลักษณะ ได้แก่ 1. เนบิวลาสว่าง เป็นเนบิวลาทีม่ องเห็นเปน็ ฝา้ ขาวจางๆ สว่างกว่าบริเวณใกล้เคียง เนบิวลา สว่างที่อยู่ใกล้ดาวฤกษ์ทีใ่ ห้พลงั งานสงู และถกู กระตนุ้ ทาให้กลุ่มแก๊สเกิดการเรอื งแสงสว่างข้ึน เชน่ เนบิวลาสว่างใหญ่ในกลุ่มดาวนายพราน เนบิวลารูปปใู นกลุ่มดาวววั เปน็ ต้น เนบิวลาสว่าง บางแห่งอาจเกิดจากการสะท้อนแสงจากดาวฤกษ์ที่อยู่ใกล้เคียง เช่น เนบิวลาในกระจกุ ดาว ลูกไก่ เป็นต้น 2. เนบิวลามดื เปน็ เนบิวลาทีม่ องเห็นเป็นรอยดามืด เนอ่ื งจากเนบิวลาประเภทนบี้ งั และ ดึงดูดแสงจากดาวฤกษ์ไว้ เช่น เนบิวลามดื รูปหวั ม้า เป็นต้น วิวฒั นาการของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ทุกดวงเกิดจากการยุบตัวของเนบิวลา การทีเ่ นบิวลายบุ ตวั เนือ่ งมาจากแรงโน้ม ถ่วงของเนบิวลา เอง ทาให้ความดันและอณุ หภมู ิภายในเนบิวลาสงู มาก โดยเฉพาะบริเวณแก่น กลางที่ยบุ ตวั จะมีอณุ หภูมสิ ูงกว่า ทีข่ อบนอก สูงเปน็ หลายแสนองศาเซลเซียส เรียกการยุบตวั ของเนบิวลาช่วงนีว้ ่า ดาวฤกษ์ก่อนเกิด (pro- tostar)

4 แรงโน้มถ่วงจะทาให้เนบิวลาเกิดการยบุ ตัวลงไปอีก ความดันของแก่นกลางจะสงู ข้ึน อณุ หภมู ิจะสูงถึง 15 ล้านเคลวิน สงู มากพอที่จะเกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ เกิดพลงั งาน มหาศาล เมอ่ื เกิดความสมดุลระหว่าง แรงโน้มถ่วงกบั แรงดนั ของแก๊สรอ้ นภายในเนบิวลา จะ ทาให้เกิดดาวฤกษ์อย่างสมบรู ณ์ พลงั งานของดาวฤกษ์ เกิดจากปฏิกิรยิ าเทอร์มอนิวเคลียร์ เนือ่ งจากแก่นกลางของดาวฤกษ์มคี วามดนั และอุณหภูมิสูงมาก ทาให้นิวเคลียสของธาตุ ไฮโดรเจน (โปรตอน) 4 นิวเคลียส หลอมรวมตัวกันเปน็ นิวเคลียสของธาตฮุ ีเลียม 1 นิวเคลียส มวลส่วนหนง่ึ หายไป มวลที่หายไปนีจ้ ะเปลี่ยนเปน็ พลังงานจานวนมหาศาล ตามทฤษฎี สมั พนั ธภาพของไอน์สไตน์ คือ E = mc2 เมือ่ E คือ พลงั งาน m คือ มวลที่หายไป c คือ อตั ราเรว็ ของแสงในอวกาศ = 33105 กิโลเมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณของแก๊สไฮโดรเจนในดาวฤกษ์จะลดลง แรงโน้มถ่วงเนือ่ งจาก มวลของดาวฤกษ์จะมีค่าสูงกว่าแรงดันของแก๊สร้อน ทาให้ดาวฤกษ์ยบุ ตัวลง แก่นกลางของดาว ฤกษ์จะมีอณุ หภมู สิ งู ข้ึนถึง 100 ล้านเคลวิน เกิดปฏิกิรยิ าเทอร์มอนิวเคลียร์ นิวเคลียสของธาตุ ฮีเลียมหลอมรวมตัวกนั เปน็ นิวเคลียสชองธาตุคาร์บอนไฮโดรเจนที่อยู่รอบนอกของแก่นฮีเลียม จะมีอณุ หภมู ิสูงตามถึง 15 ล้านเคลวิน จนเกิดปฏิกิรยิ าเทอร์- มอนวิ เคลียร์ของไฮโดรเจนใหม่ เกิดพลงั งานมหาศาล ดาวฤกษ์จึงเกิดการขยายตวั มีขนาดใหญ่กว่าเดิมมาก อุณหภูมิผิวด้าน นอกจะลดลงกลายเป็นสีแดงที่เรียกว่า ดาวยกั ษ์แดง (red giant) ในช่วงนีพ้ ลังงานจะถกู ปล่อย ออกมาจากดาวฤกษ์มาก ช่วงขีวติ ของดาวยักษ์แดงจึงค่อนขา้ งสั้น เนื่องจากดาวฤกษ์แต่ละดวงมีมวลต่างกนั จงึ มีวิวฒั นาการและจดุ จบทีต่ า่ งกนั จดุ จบ ของดาวฤกษ์ แบ่งได้ 2 แบบตามมวลของดาวฤกษ์ คือ

5 1. ดาวฤกษ์ทีม่ มี วลน้อยมีแสงสว่างไม่มาก จึงใชเ้ ชือ้ เพลิงในอตั ราน้อย ทาให้มีช่วงชีวติ ยาวและไม่เกิดการระเบิด ในช่วงที่เปน็ ดาวยกั ษ์แดงแก่นกลางไม่เกิดปฏิกิรยิ าเทอร์มอนวิ เคลียร์ แรงโน้มถ่วงจะมากกว่าแรงดนั จึงยุบตัวกลายเปน็ ดาวแคระขาว (white dwarf) ความสว่างจะ ลดลง อุณหภมู ิภายในจะลดลงต่ามากจนไม่เกิดปฏิกิริยาเทอร์มอนิวเคลียร์ จงึ ไม่เกิดการส่อง แสง และกลายเปน็ ดาวแคระดา (black dwarf) ในที่สุด สว่ นรอบนอกแก่นกลางของดาวยกั ษ์ แดงไม่เกิดการยุบตัว แตจ่ ะขยายตวั กระจายเปน็ ช้ันของแก๊สหมุ้ อยู่รอบ เรียกว่า เนบิวลาดาว เคราะห์ (planetary nebula) 2. ดาวฤกษ์ทีม่ มี วลมากและมีขนาดใหญ่ มีความสว่างมาก จึงใชพ้ ลังงานในอัตราที่สูง มาก ทาให้มีช่วงชีวติ ส้ัน และจบชวี ิตด้วยการระเบิดอย่างรุนแรงที่เรียกว่า ซูเปอร์โนวา (supernova) แรงโน้มถ่วงจะทาให้ดาวฤกษ์ยุบตวั ดาวฤกษ์ทีม่ มี วลมากจะยุบตัวกลายเปน็ ดาว นิวตรอน ส่วนดาวฤกษ์ที่มมี วลสงู มากๆ จะยุบตวั กลายเปน็ หลมุ ดา แรงสะท้อนที่เกิดทาให้ ภายนอกของดาวฤกษ์ระเบิดเกิดธาตหุ นกั เช่น ยเู รเนียม ทองคา เป็นต้น สาดกระจายสู่อวกาศ กลายเป็นส่วนประกอบของเนบิวลารุ่นใหม่ ดาวฤกษ์ทีม่ กี าเนิดมาจากเนบิวลารนุ่ ใหม่จึงมีธาตตุ ่างๆ เป็นองค์ประกอบ ในขณะที่ ดาวฤกษ์ที่เกิดจากเนบิวลาด้ังเดิมมธี าตุไฮโดรเจนและธาตฮุ ีเลียมเปน็ องค์ประกอบ

6 หลุมดา (black hole) คือ บริเวณที่มีแรงโน้มถ่วงสูงยิง่ ไม่มสี ิ่งใดจะเคลื่อนที่ออกจาก หลมุ ดาได้แม้แต่แสงสว่าง หลมุ ดาเป็นวิวฒั นาการขั้นสดุ ท้ายของดาวฤกษ์ทีม่ มี วลสงู มากๆ ทา ให้เกิดการยบุ ตวั อย่างรวดเร็ว เนอ่ื งจากแรงโน้มถ่วง เกิดการระเบิดอย่างรุนแรงทีเ่ รียกว่า ซูเปอร์โนวา หลุมดามีขนาดเล็กมากจึงมีมวลมากและความหนาแน่นสงู จงึ ไม่สามารถ สังเกตเห็นหลมุ ดาโดยตรง ดาวนิวตรอน (neutron) เปน็ วิวฒั นาการขนั้ สดุ ท้ายของดาวฤกษ์ทีม่ มี วลมาก มีขนาด เลก็ และมีความหนาแน่นสงู เช่นกนั เชื่อว่าดาวนิวตรอนทีห่ มนุ รอบตัวเองเรว็ มากเรียกว่า พัล ซาร์ (pulsar) เปน็ ต้นกาเนิด คลืน่ วิทยกุ าลังสูงทีส่ ่งสัญญาณเป็นจังหวะ (pulse) ค่อนขา้ งเรว็ แต่ คงที่ กาเนดิ และวิวฒั นาการของดวงอาทติ ย์ ดวงอาทิตย์เป็นดาวฤกษ์สเี หลืองที่มมี วลน้อยถึงปานกลาง เกิดจากการยุบตวั ของเนบิวลา ใหม่ เมือ่ ประมาณ 5,000 ล้านปีมาแล้ว ระบบสุริยะทีม่ ีดวงอาทิตย์และบริวารจึงมีธาตตุ า่ งๆ ทุกชนิดเป็นองค์ประกอบ ดวงอาทิตย์จะมีววิ ัฒนาการเหมอื นดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อยทัว่ ไป เม่อื ดวงอาทิตย์ขยายตวั จนกลายเปน็ ดาวยักษ์แดง และยุบตัวจนเป็นดาวแคระขาว ดวงอาทิตย์จะ ส่องแสงไปอีกนานนับล้านปี จนกลายเป็นดาวแคระดาที่เปน็ ก้อนมวลสารที่ไร้ชีวิต ช่วงเวลาที่ ดวงอาทิตย์เปลี่ยนจากปัจจุบันไปจนกลายเปน็ ดาวแคระดาจะใช้เวลาอีกประมาณ 5,000 ล้าน ปีตอ่ ไป ความสว่าง ความสว่าง (brightness) ของดาวฤกษ์เปน็ พลังงานแสงจากดาวฤกษ์ดวงนนั้ ใน 1 วินาที ต่อ 1 หนว่ ยพนื้ ที่ ความสว่างของดาวฤกษ์จะบอกในรูปของอันดับความสว่าง (magnitude) ซึง่ ไม่มหี นว่ ย อันดบั ความสว่างเป็นเพียงตวั เลขทีก่ าหนดขึ้นเพื่อแสดงการรับรู้ความสว่างของผู้ สงั เกตดาวฤกษ์ดว้ ยตาเปล่า ดาวที่มีความสว่างมาก อันดับความสว่างยิง่ นอ้ ย ส่วนดาวทีม่ ี ความสว่างน้อย อันดับความสว่างจะมีค่ามาก โดยกาหนดว่า

7 ดาวฤกษ์ทีร่ บิ หร่ที ีส่ ดุ จะมีอันดบั ความสว่าง 6 ดาวฤกษ์ที่สว่างทีส่ ุดจะมีอันดับความสว่าง 1 อนั ดับความสว่างสามารถนาไปใช้กบั ดวงจันทร์และดาวเคราะหไ์ ด้ ถ้าอนั ดบั ความสว่างของดาวต่างกนั n แสดงว่าดาวท้ังสองดวงจะสว่างต่างกนั (2.512)n เท่า ดังตาราง อันดบั ความสว่างของดาวฤกษ์แบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ

8 1. อันดบั ความสว่างปรากฏ เป็นอนั ดับความสว่างของดาวฤกษ์ทีส่ ังเกตได้จากโลกที่ มองเหน็ ดว้ ย ตาเปล่า แต่ไม่สามารถเปรียบเทียบความสว่างจริงของดาวแต่ละดวงได้ เนื่องจาก ระยะทางระหว่างโลกและดวงดาวมีผลตอ่ การมองเหน็ ความสว่าง ดาวทีม่ คี วามสว่างเท่ากนั แต่ อยู่หา่ งจากโลกต่างกัน คนบนโลกจะมองเห็น ดาวที่อยู่ใกล้สว่างกว่าดาวที่อยู่ไกล 2. อันดบั ความสว่างทีแ่ ท้จริง เป็นความสว่างจริงของดวงดาว การบอกอันดบั ความ สว่างที่แท้จริงของดวงดาวจึงเป็นค่าความสว่างปรากฏของดาวในตาแหน่งทีด่ าวดวงน้ันอยู่ห่าง จากโลกเท่ากนั คือ กาหนดระยะทาง เปน็ 10 พารเ์ ซก หรอื 32.61 ปีแสง เพื่อให้สามารถ เปรียบเทียบความสว่างจริงของดาวได้ อันดบั ความสว่างปรากฏและอนั ดบั ความสว่างแท้จรงิ มคี ่าไม่เท่ากัน เช่น ดาวพรอกซิ มาเซนเทารีในกลุ่มดาวเซนทอร์มีอันดับความสว่างปรากฏเป็น 10.7 แตม่ ีอันดับความสว่าง แท้จรงิ เป็น 14.9 เป็นต้น สีและอุณหภูมผิ ิวของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ทีป่ รากฏบนท้องฟ้าจะมีสตี ่างกัน เมอ่ื ศึกษาอุณหภูมิผวิ ของดาวฤกษ์จะพบว่า สี ของดาวฤกษ์มคี วามสมั พนั ธ์กับอณุ หภูมิผิวของดาวฤกษ์ดว้ ย นกั ดาราศาสตรแ์ บ่งชนิดของดาว ฤกษ์ตามสีและอุณหภูมิผิวของดาวฤกษ์ได้ 7 ชนิด คือ O B A F G K และ M แตล่ ะชนิดจะมีสี และอุณหภมู ิผวิ ดังตารางต่อไปนี้ สีของดาวฤกษ์นอกจากจะบอกอุณหภูมิของดาวฤกษ์แล้ว ยงั สามารถบอกอายุของดาว ฤกษ์ดว้ ย ดาวฤกษ์ที่มอี ายนุ ้อยจะมีอณุ หภูมิที่ผิวสงู และมีสนี ้าเงิน สว่ นดาวฤกษ์ที่มอี ายุมาก ใกล้ถึงจดุ สุดท้ายของชีวติ จะมีสแี ดงที่ เรยี กว่า ดาวยักษ์แดง มีอุณหภูมิผวิ ต่า ดาวฤกษ์แต่ละ

9 ดวงจะมีส่งิ ที่เหมอื นกนั คือ องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ธาตุไฮโดรเจน และธาตฮุ ีเลียม พลังงาน ของดาวฤกษ์ทกุ ดวงเกิดจากปฏิกิรยิ าเทอร์มอนิวเคลียร์ที่แก่นกลาง ของดาว แต่สิ่งทีต่ ่างกนั ของดาวฤกษ์ ได้แก่ มวล อุณหภูมิผวิ ขนาด อายุ ระยะหา่ งจากโลก สี ความสว่าง ธาตทุ ี่เป็น องค์ประกอบ และวิวฒั นาการที่ต่างกนั ระยะห่างของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์อยู่ห่างจากโลกมาก และระยะระหว่างดาวฤกษ์ดว้ ยกนั เองก็ห่างไกลกนั มาก เชน่ กัน การบอกระยะทางของดาวฤกษ์จึงใช้หนว่ ยของระยะทางตา่ งไปจากระยะทางบนโลก ดังน้ี 1. ปีแสง (lightyear หรอื Ly.) คือ ระยะทางที่แสงเดินทางในเวลา 1 ปี อัตราเรว็ ของแสงมี ค่า 33108 เมตร/วินาที ดังนั้นระยะทาง 1 ปีแสงจงึ มคี ่าประมาณ 931012 กิโลเมตร เช่น ดวง อาทิตย์อยู่ห่างจากโลก 8.3 นาทีแสง หรือประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร ดาวแอลฟาเซนเทารีใน กลุ่มดาวเซนทอร์อยู่หา่ งจากโลก 4.26 ปีแสง หรอื 4031012 กิโลเมตร เป็นต้น 2. หนว่ ยดาราศาสตร์ (astronomical unit หรอื A.U) คือ ระยะทางระหว่างโลกและดวง อาทิตย์ ระยะทาง 1 A.U มีคา่ 150 ล้านกิโลเมตร 3. พารเ์ ซก (parsec) เป็น ระยะทางที่ได้จาก การหาแพรลั แลกซ์ (parallax) ของ ดวงดาว ซึง่ เป็นวิธี วัดระยะหา่ งของดาว ฤกษ์ที่อยู่ค่อนขา้ ง ใกล้โลกได้อย่างแม่นยากว่าดาวฤกษ์ทีอ่ ยู่ไกลมาก หลักการของแพรัลแลกซ์คอื การเหน็ ดาว ฤกษ์เปลีย่ นตาแหน่ง เม่อื สังเกตจากโลกในเวลาที่หา่ งกัน 6 เดือน เพราะจดุ สงั เกตดาวฤกษ์ท้ัง 2 คร้ังอยู่หา่ งกนั เป็นระยะทาง 2 เท่าของระยะทางระหว่างโลกและดวงอาทิตย์ 1 พารเ์ ซกมีค่า 3.26 ปีแสง

10 จากรูป P คือ มมุ แพรัลแลกซ์ของดาวฤกษ์ที่ตอ้ งการวัดระยะห่าง มีหน่วยเป็นฟิลิปดา และ แปลงค่าเปน็ หนว่ ยเรเดียน เช่น ดาวแอลฟาเซนเทารีในกลุ่มดาวเซนทอร์ ที่อยู่ใกล้ระบบสุริยะ ที่สุด มีแพรลั แลกซ์เปน็ 0.742 ฟิลิปดา คดิ เปน็ ระยะทาง หรอื 4.4 ปีแสง เปน็ ต้น การวดั ระยะทางของดาวฤกษ์ดว้ ยวิธีแพรัลแลกซ์ จะได้ผลดีในกรณีทีด่ าวฤกษ์ดวงนน้ั อยู่ หา่ งจากโลกประมาณ 102 ปีแสง แต่ถ้าดาวฤกษ์อยู่ห่างจากโลกมากกว่า 105 ปีแสง จะสังเกต แพรลั แลกซ์ยากขึ้น ระยะห่างของดาวฤกษ์จะช่วยทาให้นักดาราศาสตร์นาไปใช้ในการหามวล รัศมี พลังงาน และสมบตั ิอื่นๆ ของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ที่อยู่ในกลุ่มดาวเดียวกันอาจอยู่หา่ งจาก โลกไม่เท่ากนั เพราะกลุ่มดาวฤกษ์เป็นเพียงภาพทีเ่ หน็ ดาวอยู่ในทิศทางเดียวกันเท่าน้ัน ไม่ จาเปน็ ต้องอยู่ใกล้กัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook