แนวทางการปฏิบัตงิ านอาจารย์ประจำชัน้ และที่ปรกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการศกึ ษา
พระบรมราโชวาท ...ขณะน้ีรสู้ ึกกันทัว่ ไปวา่ มปี ัญหาเยาวชนในบ้านเมอื งมากขนึ้ เนอื่ งจากเหตุหลายกระแส ความจริงเยาวชนมิไดต้ อ้ งการท่ีจะทำตัวใหย้ ุ่งยากแตอ่ ย่างใด แต่โดยเหตุที่ไม่ได้รบั ความเอาใจใส่ ดูแลเท่าที่ควร และขาดที่พึ่งขาดผู้ที่จะให้ความรู้ ให้คำแนะนำที่ถูกต้องเหมาะสม เขาจึง กลายเปน็ บุคคลท่ีเป็นปัญหาแก่สงั คม เป็นหน้าที่ของท่านทั้งหลายผู้เป็นครู เป็นอาจารย์ เป็นผู้บริหารการศึกษา ที่ต้อง ช่วยเหลอื เขาด้วยหลกั วิชาและความสามารถ ทุกคนได้เรยี นวชิ าการแนะแนวมาแล้ว ควรจะได้นำ หลักการมาปฏิบัติเพื่อให้เยาวชนได้รับประโยชน์อันแท้จริง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแนะแนวทาง ความประพฤติและจิตใจ ซึ่งสำคัญมาก ขอให้เพียรพยายามปลูกฝังความรู้ ความคิดที่ปราศจาก โทษให้แก่เขา โดยเสมอหน้า แนะนำอบรมด้วยเหตุผลและด้วยความจริงใจ ประกอบด้วย ความเมตตาปราณี สงเคราะห์ อนุเคราะห์ และนำพาไปสู่ทางที่ถูก ท่ีเจริญ เยาวชนก็จะเกิดมี ความมนั่ ใจและมีกำลังใจท่ีจะทำความดเี พ่อื จกั ไดม้ ีอนาคตทีม่ ่ันคงแจ่มใสในวนั ขา้ งหนา้
คำนำ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตระหนักถึงความสำคญั ของการพฒั นาคุณภาพชีวิตของนกั เรยี นทุกคน โดยมคี วามมงุ่ หวังใหน้ ักเรียนมีคุณภาพ ทั้งสติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรม และดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข พร้อมด้วย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ให้ทุกคนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาจงึ ได้จัดทำแนวทางการปฏิบัติงานอาจารย์ประจำชั้นและที่ปรึกษา เพื่อใช้ในการอบรบ ดูแล และช่วยเหลือ นกั เรยี นใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกันอย่างมีประสิทธภิ าพ เกิดประสทิ ธิผล ตลอดจนนกั เรียนสามารถนำความรู้ ที่ไดม้ าประยกุ ต์ใช้ในสงั คมปัจจบุ ันและอนาคตต่อไป ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ การดำเนนิ งานของอาจารย์ประจำชั้นและที่ปรึกษา หากมีข้อเสนอแนะใด ๆ โปรดแจง้ ระดบั ประถมศึกษาหรือ มัธยมศกึ ษาเพอ่ื ปรับปรุงแก้ไขต่อไปและขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี ระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา
สารบัญ หนา้ เรอื่ ง 1 3 ขอ้ มลู โรงเรยี น 4 ขอบข่ายงานระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา 5 แนวทางการปฏิบัตติ นของนักเรียนในอาคารเรียนและห้องเรียน 7 แนวทางการปฏิบัตงิ านในการสอบ 9 การบนั ทกึ ขอ้ มูลในโปรแกรมวชิ าการและการบนั ทึกปฏบิ ัติการสอน 13 การเสนอชอื่ นักเรยี นรับเหรยี ญทองและเกียรตบิ ตั ร 15 การจัดกจิ กรรมยามเช้า 19 แผนการจัดกจิ กรรมโฮมรูม (Home Room) 20 ผงั โครงสร้างคณะกรรมการระดบั ประถมศึกษา ผงั โครงสรา้ งคณะกรรมการระดบั มธั ยมศึกษา
1 ขอ้ มลู โรงเรียน ตราประจำโรงเรยี น รปู พระพริ ุณทรงนาคอย่ภู ายในวงกลมซงึ่ ลอ้ มรอบด้วยกลีบบัว สีประจำโรงเรียน เขียว-มว่ ง ดอกไม้ประจำโรงเรยี น ดอกอินทนลิ คำขวัญ การจดั การเรียนการสอนตามสมรรถฐาน ปฏิบัติการวิจยั ก้าวนำไกลดา้ นวิชาการ ปรัชญา สุวิชาโนภวํโหติ – ผมู้ ีความรู้ดี เป็นผเู้ จรญิ อัตลกั ษณ์ ม่งุ มนั่ ศึกษา กล้าแสดงออก เอกลักษณ์ เป็นสถาบันการศกึ ษาเพอื่ จดั การเรยี นรู้ มุง่ ส่รู ะดบั อุดมศึกษา และฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู ปณธิ าน โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์วทิ ยาเขตกำแพงแสนศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการศึกษามุ่ง ใหก้ ารสนบั สนุนการผลิตบัณฑติ ทางการศึกษาทม่ี ีคุณภาพและจดั การศกึ ษาเพื่อเปน็ ทางใหเ้ ด็กและเยาวชนไดม้ ี โอกาส พัฒนาความร้อู นั นำไปส่คู วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ ควบคู่ไปกับการสรา้ งคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ตามท่ี ต้องการ โดยเน้นทักษะกระบวนการการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัตใิ ห้เกดิ การคิดเป็น ทำเปน็ แกป้ ัญหาได้ โดยมีนสิ ัย รกั การอ่าน และแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง วิสัยทศั น์ จัดการศึกษาเพื่อเป็นการสร้างทางเลือกให้ผู้เรียนได้พัฒนาความรู้ มุ่งสู่สถาบันอุดมศึกษา โดยมี ความเปน็ ผูน้ ำดำรงคณุ ธรรมตามทีส่ ังคมต้องการ
2 พันธกิจ 1. พัฒนาผเู้ รียนให้เกิดองค์ความรู้ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและทักษะทางภาษา เพ่ือการส่ือสาร และนำมาใช้อยา่ งคมุ้ ค่า 2. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผูน้ ำท่ีดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมศี ักยภาพพร้อมทจี่ ะตัดสนิ ใจและ แสดงออกเพอื่ มีชวี ติ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข 3. พฒั นาการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนากระบวนการคิดให้ผเู้ รียนมีศกั ยภาพ ในการแสวงหาความรู้ โดยใช้ภูมปิ ัญญาในมหาวิทยาลัย 4. พัฒนาผเู้ รียนโดยส่งเสรมิ การออกกำลังกาย การปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและสนุ ทรียศาสตร์ 5. พัฒนาคณาจารย์สู่มาตรฐานวชิ าชพี ขัน้ สงู เปน็ ผูน้ ำด้านการศึกษาและวิจัย เพื่อผู้เรียน
3 ขอบขา่ ยงาน ระดับประถมศกึ ษา หวั หนา้ ระดับ ผศ.ภัทรานษิ ฐ์ ศรมี งคล ขอบขา่ ยงาน 1. ส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพความเปน็ เลิศทางวิชาการ 2. ประสานงานกับงานวัดและประเมินผลเพอื่ เตรยี มการจัดสอบกลางภาคและปลายภาค 3. ประสานงานกับฝ่ายวิชาการเพื่อเตรียมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) การประเมินคุณภาพการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน(NT) และการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผู้เรยี น(RT) 4. ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ความมรี ะเบียบวินยั และดูแลสวสั ดภิ าพความปลอดภยั ของนักเรียน 5. สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมในการทำงานของอาจารย์ระดบั ประถมศกึ ษา 6. ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอ่นื ๆ ตามท่ีโรงเรียนมอบหมาย ระดับมัธยมศกึ ษา หวั หน้าระดบั รศ.เครอื วลั ย์ จตพุ รพนู ทรัพย์ ขอบข่ายงาน 1. ประสานงานกบั อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาดำเนินการในเรือ่ งดงั ต่อไปน้ี - จัดกิจกรรมยามเช้าตามทกี่ ำหนดไว้ - จัดทำเอกสารบนั ทกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอน - จดั ทำแหล่งตรวจสอบตามทีง่ านประกนั ฯกำหนด - เสนอชือ่ นกั เรยี นเขา้ รับเหรยี ญทองและเกยี รตบิ ตั รประเภทที่ 1 และประเภทท่ี 2 - ดแู ลความประพฤตนิ กั เรยี นให้อยูใ่ นระเบียบวินัยของโรงเรียนและอย่ใู นกรอบแหง่ ศลี ธรรม - สำรวจความเรยี บร้อยของวสั ดุ อปุ กรณ์ และครุภัณฑ์ของนกั เรยี น - จัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศในห้องเรียนและบริเวณรอบห้องเรียนให้สะอาด เรียบร้อย ปลอดภยั และเป็นบรรยากาศแหง่ การเรียนรู้ 2. ประสานงานกับงานวัดและประเมินผลเพ่ือจัดอาจารย์คุมสอบและเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ในการให้การ ทดสอบกลางภาคและปลายภาค 3. ประสานงานกับงานส่งเสริมวินัยในการพิจารณาความประพฤติของนักเรียนให้อยู่ในระเบียบวินัย ของโรงเรียน 4. ปฏิบัตหิ นา้ ที่อนื่ ๆ ตามทีโ่ รงเรียนมอบหมาย
4 แนวทางการปฏิบตั ติ นของนกั เรียนในอาคารเรียนและห้องเรยี น นอกจากนักเรียนจะต้องปฏิบัติตามระเบียบของโรงเรียนแล้ว เมื่อนักเรียนอยู่ในอาคารเรียนและ หอ้ งเรียนนกั เรียนจกั ต้องปฏบิ ตั ิตามแนวทางการปฏิบัตนิ ้ี เพอื่ ให้เกิดความสงบ และเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ดังน้ี 1. ปิด – เปดิ เคร่อื งปรับอากาศตามเวลาที่กำหนด ดงั น้ี เชา้ เปิด เวลา 10.00 – 12.00 น. ปิด เวลา 12.00 – 13.00 น. บา่ ย เปิด เวลา 13.00 – 15.30 น. (กรณีมกี ารเรียนการสอน คาบ 8 ปดิ เวลา 16.20 น.) 2. ไมเ่ ลน่ และนัง่ บนโต๊ะอาจารย์ประจำชั้นและทีป่ รึกษา 3. จัดวางรองเทา้ บนช้นั วางรองเทา้ ให้เป็นระเบียบเรียบร้อย 4. ทำความสะอาดหอ้ งเรยี นและเทขยะทุกวนั ในตอนเย็นหลังเลกิ เรียน 5. หา้ ม นำอาหารและเครือ่ งดืม่ มารบั ประทานในอาคารเรยี น (อนุญาตเฉพาะนำ้ ด่ืม) 6. หา้ ม ใช้ลฟิ ท์ข้นึ -ลง 7. หา้ ม เล่นการพนันทกุ ชนดิ ในโรงเรยี น 8. มาเรยี นใหท้ นั เวลาเขา้ แถวเคารพธงชาติ (07.50 น.) 9. ในชว่ งเวลาเรียน (07.50 – 16.20 น.) ไมอ่ นุญาตให้ส่งั อาหารจากภายนอกเข้ามาส่งในโรงเรียน 10. ใช้คำพดู และแสดงกิรยิ ามารยาททส่ี ุภาพต่อเพ่ือนและอาจารย์ 11. แตง่ กายให้ถูกระเบียบวินยั ของโรงเรยี น 12. ไม่อนุญาตให้นกั เรยี นหญงิ แตง่ หน้า 13. การใชก้ ระเปา๋ นักเรียน ตอ้ งเป็นกระเป๋าตามแบบทท่ี างโรงเรยี นกำหนด 14. ไม่นำโทรศพั ทห์ รอื เคร่อื งมอื สอ่ื สารตา่ งๆ ขึ้นมาใช้ในเวลาเรยี น ยกเวน้ ได้รับอนญุ าตจากอาจารย์ 15. ดูแลรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอนภายในห้องเรียน เช่น เครื่องฉาย, จอภาพ, ไมโครโฟน ฯลฯ ใหอ้ ยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานและหากพบว่ามีอุปกรณใ์ ดชำรดุ ขอใหแ้ จ้งอาจารยป์ ระจำชัน้ /ที่ปรึกษา เพอ่ื ประสานงานกับกับเจ้าหน้าทีโ่ สตฯ หรือ หัวหนา้ งานอาคารสถานทเี่ พือ่ ปรบั ปรุงแก้ไข
5 แนวทางการปฏิบัตงิ านในการสอบ ในแต่ละภาคเรียนของปีการศึกษานั้นๆ จะมีการจัดสอบอย่างเป็นทางการให้แก่นักเรียน 2 คร้ัง ได้แก่ การสอบกลางภาคและปลายภาค เพื่อให้การดำเนินกิจกรรมดังกล่าวเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงได้ กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานในการสอบในประเด็นของ 1) การเตรียมการก่อนการสอบสำหรับอาจารย์ ประจำชั้น/ ที่ปรึกษา 2) การส่งข้อสอบของอาจารย์ประจำวิชา 3) การคุมสอบ 4) เมื่ออาจารย์คุมสอบไม่ สามารถเขา้ คมุ สอบได้ และ 5) ระเบียบการปฏิบตั ิของนกั เรียนในการเข้าสอบ ดงั นี้ 1. การเตรยี มการก่อนการสอบสำหรบั อาจารย์ประจำชั้น/ ทป่ี รกึ ษา 1.1 ขอใหแ้ จง้ นักเรียนเกี่ยวกบั หอ้ งสอบและระเบยี บการปฏบิ ัติตนในการเข้าสอบ 1.2 มอบหมายให้นักเรียนจัดห้องสอบตามจำนวนนักเรียนที่จะเข้าสอบ ในวันทำการสุดท้ายก่อน สปั ดาหก์ ารสอบ หลงั เลกิ เรียน 1.3 มอบหมายใหน้ ักเรียนทำความสะอาดหอ้ งเรยี นและกระดานดำให้เรียบรอ้ ย 2. การสง่ ขอ้ สอบของอาจารยป์ ระจำวิชา 2.1 ขอให้อาจารย์ประจำวิชาที่มีกำหนดการสอบในตารางสอบ ส่งข้อสอบล่วงหน้าก่อนสัปดาห์ การสอบตามกำหนดการรับ – ส่งข้อสอบ ณ จุดรบั ขอ้ สอบที่กำหนดไว้ 2.2 กรอกขอ้ มูลในเอกสารปดิ หน้าซองข้อสอบให้ครบถ้วนถูกต้องตรงกบั วัน เวลา และสถานท่ีสอบ ท่กี ำหนดในตารางสอบ 3. การคมุ สอบ 3.1 ขอให้อาจารย์คุมสอบปฏิบัติหน้าที่การคุมสอบอย่างเคร่งครัด และไม่ปฏิบัติภารกิจอ่ืน นอกเหนอื จากการคมุ สอบ 3.2 ไม่อนุญาตให้นักเรียนเข้าห้องสอบหลงั จากเวลาที่กำหนดเร่ิมสอบผ่านไปแล้ว 15 นาที ยกเว้น คณะกรรมการกลางการสอบพจิ ารณาเห็นวา่ เป็นเหตุสดุ วิสยั 3.3 หา้ มนกั เรียนออกจากห้องสอบกอ่ นเวลาคร่งึ หน่งึ ของการสอบวชิ าน้นั 3.4 หากพบนักเรียนส่อทุจริตหรือทุจริตในการสอบ อาจารย์คุมสอบทำบันทึกรายงานพฤติกรรม นักเรยี นตอ่ กรรมการกลางเพือ่ เสนอต่อฝา่ ยวชิ าการและงานส่งเสรมิ วนิ ยั เพอื่ พิจารณาลงโทษ 3.5 กรณีที่มีนักเรียนขาดสอบด้วยเหตุสุดวิสัยและมีหลักฐานเชื่อถือได้ ขอให้อาจารย์คุมสอบ ดำเนนิ การ 3.5.1 เก็บข้อสอบและกระดาษคำตอบของทุกรายวิชาใส่ซองที่กรรมการกลางแจกให้และ สง่ กลบั มาทก่ี รรมการกลางหลงั เลกิ สอบในแตล่ ะวนั 3.5.2 แจ้งให้นักเรียนหรือผู้ปกครองยื่นคำร้องขอสอบต่อรองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการเพื่อ พิจารณาอนญุ าต 3.6 แจง้ นกั เรยี นท่มี าสอบให้ดแู ลรักษาห้องสอบใหส้ ะอาดและเป็นระเบียบ
6 4. ในกรณีทีอ่ าจารย์คมุ สอบไม่สามารถเขา้ คุมสอบได้ ใหป้ ฏบิ ัติ ดงั นี้ 4.1 ให้ดำเนนิ การหาอาจารย์คมุ สอบแทน 4.2 ให้ทำบันทึกแจ้งผู้ช่วยผู้อำนวยการระดับประถมศึกษา/มัธยมศึกษา พร้อมชี้แจงเหตุผล ล่วงหนา้ 3 วัน เพือ่ ประสานงานคณะกรรมการกลาง ดำเนนิ การต่อไป 5. ระเบยี บการปฏบิ ัติของนักเรียนในการเข้าสอบ 5.1 ตอ้ งมีเวลาเรยี นไมต่ ่ำกวา่ 80 %ของเวลาเรียนทัง้ หมด 5.2 เข้าสอบตามวัน เวลา และสถานท่ีทีก่ ำหนด 5.3 ไมอ่ อกจากห้องสอบก่อนเวลาครงึ่ หน่งึ ของการสอบวชิ านนั้ 5.4 ห้ามนำอุปกรณ์สือ่ สารทุกชนดิ เขา้ ห้องสอบ หากฝา่ ฝืนถือว่าทุจริตในการสอบ 5.5 ห้ามนำกลอ่ ง ซอง หรอื อุปกรณ์ใส่เครอื่ งเขียนเขา้ หอ้ งสอบ 5.6 ห้ามนำเอกสารใด ๆ เครื่องคำนวณ และพจนานุกรมเข้าห้องสอบ ยกเว้นอาจารย์ประจำวิชา ระบไุ ว้ 5.7 หา้ มยืมหรือแลกเปล่ยี นอุปกรณแ์ ละเอกสารใด ๆ ขณะสอบ 5.8 ไม่แสดงพฤตกิ รรมท่สี อ่ เจตนาทจุ รติ 5.9 ออกจากอาคารสอบทนั ทีเมอ่ื เสรจ็ สิน้ การสอบ 5.10 ประพฤติตนเปน็ สภุ าพชนและปฏบิ ัตติ นตามระเบียบวนิ ัยของโรงเรยี น
7 การบนั ทึกข้อมูลในโปรแกรมวชิ าการและการบันทึกปฏบิ ตั กิ ารสอน ในปีการศึกษาที่ผ่านมาอาจารย์ประจำชั้นและอาจารย์ที่ปรึกษาได้ดำเนินการมาแล้วในส่วนของการ บันทึกการมาโรงเรียน บันทึกการเจริญเติบโตและความคิดเห็นต่อนักเรียนในชั้น การบันทึกการมาโรงเรียน และการเข้าเรียนในแต่ละรายวิชาของนักเรยี น โดยปกตอิ าจารยป์ ระจำชั้นและอาจารย์ท่ีปรึกษาจะดำเนินการ ในบัญชีเรียกชื่อและบันทึกปฏิบัติการสอนตามลำดับ แต่ตั้งแต่ปีการศึกษา 2564 ทางโรงเรียนอนุญาตให้ อาจารย์ประจำชั้นและอาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบการมาเรียนของนกั เรียนในชั้นโดยบันทึกขอ้ มูลในโปรแกรม วิชาการเท่านั้น ดังนั้น จึงขอกล่าวถึงแนวปฏิบัติการบันทึกข้อมูลโปรแกรมวิชาการในส่วนของอาจารย์ ประจำชั้นและอาจารย์ที่ปรึกษา การจัดทำบันทึกปฏิบัติการสอน และการส่งข้อมูลบันทึกการมาโรงเรียนและ บนั ทกึ ปฏิบัตกิ ารสอนมายงั ผู้ช่วยผ้อู ำนวยการระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ดังน้ี การบนั ทึกขอ้ มลู ในโปรแกรมวชิ าการในส่วนของอาจารย์ประจำช้ันและอาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์ประจำช้ันและอาจารย์ท่ีปรึกษาสามารถบันทึกขอ้ มูลเกี่ยวกบั นักเรียนได้ โดยมีรายละเอียดท่ี ตอ้ งกรอก ได้แก่ 1. บนั ทึกการมาโรงเรยี น อาจารย์ประจำชั้นและอาจารย์ที่ปรึกษาเลือกวันที่มีการจัดการเรียนการสอน หลังจากนั้นบันทึก การขาด ลา ป่วย สาย ของนักเรียนเป็นรายบุคคล เมื่อเรียบร้อยแล้วให้กดบันทึกการมาเรียนซึ่งอยู่ด้านล่าง ขวามอื ทกุ คร้ัง 2. บันทึกการเจรญิ เตบิ โตและความคดิ เห็นต่อนกั เรียน - การเจริญเติบโตทำการกรอกข้อมูลเป็นรายบุคคลทั้งหมด 4 ครั้ง ตามเดือนที่กำหนด ได้แก่ เดอื น กรกฎาคม สิงหาคม พฤศจกิ ายน และมกราคม โดยมีหวั ขอ้ ท่ีต้องกรอก คือ อายุ น้ำหนกั และส่วนสูง เมื่อกรอกข้อมูลครบถว้ นสมบรู ณใ์ หก้ ดบนั ทกึ - ความคิดเห็นต่อนกั เรียนเป็นรายบุคคล บันทึกทั้งหมด 2 ครั้ง คือ ภาคเรียนท่ี 1 และภาคเรียน ที่ 2 ตามหัวข้อทก่ี ำหนดทัง้ หมด 14 หวั ข้อ เมือ่ ลงความเหน็ ตอ่ นักเรียนเรยี บรอ้ ยแลว้ ให้กดบนั ทึก การจดั ทำบนั ทกึ ปฏบิ ัติการสอน ในแต่ละภาคเรยี น ทางระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาจะมอบบนั ทึกปฏิบัติการสอนให้แก่อาจารย์ ประจำชนั้ /อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาเพ่ือดำเนินการดงั นี้ 1. บันทึกการจัดกิจกรรมโฮมรูม เพื่อบันทึกหัวข้อกิจกรรมโฮมรูมและตรวจสอบการมาเรียนของ นักเรียนในช้นั เกีย่ วกบั การขาด ลา ปว่ ย หรอื สายในแต่ละวัน เพอื่ เป็นแนวทางในการบันทกึ การมาโรงเรียน ทั้งนี้ในส่วนของบันทึกเนื้อหา/กิจกรรมของการจัดกิจกรรมโฮมรูมอาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ ที่ปรึกษาสามารถพิจารณาเลือกเนื้อหาจากแผนการจัดกิจกรรมโฮมรูมที่ปรากฏในเอกสารนี้ตาม ความเหมาะสมกับช่วงเวลาและสถานการณ์ 2. ตรวจสอบความครบถว้ นของการกรอกข้อมูลของอาจารย์ประจำวิชาตามตารางสอนของห้องเรียน ไดแ้ ก่ รหสั วชิ า เน้อื หา/กิจกรรมที่สอน นกั เรียนท่ขี าดเรียน (เลขที)่ ลงนามผ้สู อน และหมายเหตุ
8 การสง่ ขอ้ มลู บนั ทกึ การมาโรงเรียนและบนั ทกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอน เมื่ออาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ที่ปรึกษาดำเนินการบันทึกการมาโรงเรียนผ่านโปรแกรมวิชาการและ บันทึกปฏิบัติการสอนเสร็จสิ้นในแต่ละเดือน ขอให้ส่งข้อมูลทั้งสองส่วนมายังผู้ช่วยผู้อำนวยการระดับ ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในสัปดาห์แรกของเดือนถัดไป ทั้งนี้ในส่วนของการบันทึกการมาโรงเรียนขอให้ พิมพ์เป็นเอกสารขนาด A4 แนบมาพร้อมกับบันทึกปฏิบัติการสอน เพื่อให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันและใช้เป็น หลกั ฐานตอ่ ไป
9 การเสนอชือ่ นกั เรียนรบั เหรียญทองและเกียรติบตั ร ในแต่ละปีการศึกษา ฝ่ายวิชาการจะจัดโครงการเชิดชูเกียรตินักเรียนระดับประถมศึกษาและระดับ มธั ยมศกึ ษาท่ีไดร้ บั เหรยี ญทองและเกยี รตบิ ัตรซง่ึ แบง่ เป็น 3 ประเภท ได้แก่ เกยี รติบัตรประเภทที่ 1 การเรียน และความประพฤติดีเด่น เกียรติบัตรประเภทท่ี 2 ความประพฤติดีเด่น และ เกียรติบัตรประเภทที่ 3 สร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียน โดยมีรายละเอียดของเกณฑ์การพิจารณาเสนอชือ่ นักเรียนเขา้ รับเหรียญทองและ เกียรติบัตรต่างๆ และแบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนที่ได้รับการเสนอชื่อเกียรติบัตรประเภทท่ี 1 และ 2 สำหรบั นกั เรยี นหอ้ งเรียนปกติ โครงการ IEP และโครงการ วมว ดงั น้ี สำหรบั นักเรียนห้องเรยี นปกตแิ ละโครงการ IEP เหรียญทอง (ระดบั ประถมศกึ ษาและระดบั มธั ยมศกึ ษา) คุณสมบัติ 1. มีผลการเรียนไม่ต่ำกวา่ 3.00 ทกุ รายวชิ า และมคี ะแนนผลการเรียนเฉลีย่ ไม่ต่ำกวา่ 3.80 2. มีคะแนนเฉล่ียสูงสดุ ของระดับชน้ั (ในกรณที ี่คะแนนเฉลี่ยสูงสดุ เท่ากนั ใหค้ ิดจากคะแนนรวมของ ทุกรายวชิ าในปีการศกึ ษานั้น) 3. ไม่มผี ลการเรยี น ร มส มผ (ยกเว้น กรณเี หตสุ ุดวิสยั ) 4. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบียบโรงเรียนประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤตเิ กินกว่า 10 คะแนน ในปกี ารศึกษานั้นๆ หมายเหตุ 1. ในระดับประถมศกึ ษา ให้ประเมินนกั เรียนโครงการ IEP แยกจากหอ้ งเรียนปกติ 2. ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้ประเมนิ นักเรียนโครงการ IEP แยกจากหอ้ งเรยี นปกติ 3. ในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ให้ประเมินนกั เรียนแยกตามโครงสรา้ งการเรียนที่ 1, 2 และ3 เกยี รติบตั รประเภทที่ 1 การเรยี นและความประพฤตดิ เี ด่น (ระดับประถมศกึ ษา) คุณสมบตั ิ 1. มผี ลการเรยี นไมต่ ่ำกว่า 3.00 ทกุ รายวิชา และมคี ะแนนผลการเรยี นเฉลี่ยไม่ตำ่ กวา่ 3.80 2. ไมม่ ีผลการเรยี น ร มส มผ (ยกเว้น กรณีเหตุสดุ วสิ ยั ) 3. มีพฤติกรรมดีเดน่ โดยมคี ะแนนเฉล่ยี พฤตกิ รรม ไม่ตำ่ กวา่ 3.90 4. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบียบโรงเรียนประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤติเกนิ กวา่ 10 คะแนน ในปีการศึกษานั้นๆ เกยี รตบิ ตั รประเภทท่ี 1 การเรยี นและความประพฤตดิ ีเด่น (ระดบั มธั ยมศึกษา) คณุ สมบัติ 1. มผี ลการเรยี นไม่ต่ำกว่า 3.00 ทกุ รายวิชา และมีคะแนนผลการเรียนเฉลยี่ ไม่ตำ่ กวา่ 3.70 2. ไมม่ ผี ลการเรยี น ร มส มผ (ยกเวน้ กรณีเหตสุ ดุ วสิ ัย) 3. มีพฤตกิ รรมดีเดน่ โดยมีคะแนนเฉล่ยี พฤติกรรม ไม่ต่ำกว่า 3.90
10 4. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบียบโรงเรียนประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤตเิ กนิ กวา่ 10 คะแนน ในปีการศกึ ษานนั้ ๆ เกียรติบตั รประเภทท่ี 2 ความประพฤตดิ ีเด่น (ระดับประถมศึกษาและระดับมธั ยมศึกษา) คุณสมบัติ 1. มีพฤติกรรมดเี ด่น โดยมคี ะแนนเฉล่ียพฤตกิ รรมไมต่ ่ำกว่า 3.90 2. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบียบโรงเรียนประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤตเิ กินกว่า 10 คะแนน ในปีการศกึ ษานัน้ ๆ เกยี รติบัตรประเภทท่ี 3 สร้างชือ่ เสียงให้กับโรงเรียน คณุ สมบตั ิ 1. ไดร้ บั รางวลั ท่ี 1 – 3 ในการแข่งขนั ระดับจังหวดั 2. ได้รับรางวลั ท่ี 1 – 5 และรางวัลชมเชยในการแข่งขันระดับภาค 3. ได้รับรางวลั ที่ 1 – 10 และรางวลั ชมเชยในการแขง่ ขนั ระดับประเทศ 4. ได้รับคัดเลือกจากทางอำเภอ จังหวัด ภาค และประเทศ ให้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่ไม่มีผล การแข่งขนั เชน่ เป็นตวั แทนเยาวชนไทยในการเป็นทูตวัฒนธรรม เปน็ ตน้ 5. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบียบโรงเรียนประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤตเิ กินกว่า 10 คะแนน ในปีการศกึ ษานน้ั ๆ สำหรับนักเรียนโครงการ วมว เหรยี ญทอง คณุ สมบตั ิ 1. มผี ลการเรียนไม่ตำ่ กวา่ 3.50 ทุกรายวชิ าและมคี ะแนนผลการเรียนเฉลยี่ ไม่ตำ่ กวา่ 3.90 2. มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดของระดับชั้น (ในกรณีที่คะแนนเฉลี่ยสูงสุดเท่ากัน ให้คิดจากคะแนนรวมของ ทกุ รายวิชาในปกี ารศกึ ษานนั้ ) 3, ไมม่ ีผลการเรียน ร มส มผ (ยกเวน้ กรณเี หตสุ ุดวิสัย) 4. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบียบโรงเรียน ประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤติเกินกวา่ 10 คะแนน ในปีการศึกษาน้ันๆ เกยี รติบตั รประเภทท่ี 1 การเรียนและความประพฤติดเี ด่น คณุ สมบตั ิ 1. มีผลการเรียนไม่ต่ำกว่า 3.50 ทกุ รายวชิ า และมีคะแนนผลการเรยี นเฉล่ียไมต่ ำ่ กว่า 3.80 2. ไม่มผี ลการเรียน ร มส มผ (ยกเว้น กรณเี หตสุ ุดวิสยั ) 3. มีพฤตกิ รรมดเี ด่น โดยมีคะแนนเฉล่ียพฤติกรรม ไมต่ ำ่ กว่า 3.90 4. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบยี บโรงเรยี น ประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤติเกินกว่า 10 คะแนน ในปีการศึกษานน้ั ๆ
11 เกียรติบัตรประเภทที่ 2 ความประพฤติดีเด่น คณุ สมบัติ 1. มีพฤตกิ รรมดีเด่น โดยมคี ะแนนเฉล่ยี พฤตกิ รรมไมต่ ่ำกว่า 3.90 2. ไม่เคยมีประวัติการกระทำผิดระเบียบโรงเรียนประเภทความผิดร้ายแรง และไม่ถูกตัดคะแนน ความประพฤตเิ กินกวา่ 10 คะแนน ในปกี ารศึกษานน้ั ๆ หมายเหตุ 1. รายชื่อนักเรียนที่มีคุณสมบัติได้รับเหรียญทองและเกียรติบัตรประเภทที่ 1 และ 2 เสนอชื่อโดย อาจารยป์ ระจำชน้ั /อาจารยท์ ป่ี รึกษา 2. เกียรติบัตรประเภทท่ี 2 ให้อาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ที่ปรึกษาแต่ละห้องพิจารณาส่งรายชื่อได้ ไมเ่ กิน 5 คน 3. เกียรติบัตรประเภทที่ 3 เสนอช่อื โดยคณะะกรรมการฝา่ ยวิชาการหรือผทู้ เี่ ก่ียวขอ้ ง 4. ผปู้ ระเมนิ คะแนนพฤติกรรมประเมินโดยอาจารยผ์ ้สู อนในระดับชนั้ นั้นๆ 3-5 รายวิชา ดังน้ี - ระดับประถมศึกษา ประเมินโดยผู้สอน 5 รายวิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ วิชาสังคมศึกษา และวชิ าภาษาอังกฤษ - ระดับมัธยมศึกษา ประเมินโดยผู้สอน 3-5 รายวิชาพื้นฐาน ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสงั คมศกึ ษา และวิชาภาษาองั กฤษ
แบบประเมนิ พฤติกรรมนกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั การเสนอชื่อเกียรตบิ ตั รประเภทท่ี ............ 12 ช้นั ........................ ปีการศกึ ษา ....................... อาจารย์ผ้ปู ระเมนิ ........................................................... กลุม่ สาระการเรยี นรู้ .................................... เลขท่ี ชอื่ - สกุล ส่งงานครบถ้วนตามกำหนดเวลาอย่างสม่ำเสมอ เตรียม ุอปกรณ์มาครบถ้วน ุทกค ้ัรง พยายามทำงานด้วยความต้ังใจใ ้หสำเ ็รจ ทำงานสะอาดเป็นระเบียบเรียบ ้รอย ปฏิบัติตามข้อตกลงและระเบียบของโรงเรียนอย่างเค ่รงค ัรด ีมสัมมาคารวะและแสดงความเคารพได้เหมาะสมอย่าง สม่ำเสมอ ู้ร ัจกรอโอกาสในการ ูพดและแสดงความคิดเห็น ใช้คำ ูพด ่ทีสุภาพเหมาะสม ูถกต้องตามกาลเทศะ ีม ้นำใจ ช่วยเห ืลออาจารย์และ ู้ผ ่ือนอย่างสม่ำเสมอ ใช้เวลา ่วางทำประโยช ์น ั้ทง ่สวนตัวและ ่สวนรวม รวมคะแนน 40 คะแนน เฉ ่ลีย (4.00 : ทศ ินยม 2 ตำแหน่ง) หมายเหตุ 1. เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงนาม ........................................................................... 4 = ดีมาก (.......................................................................) 3 = ดี 2 = พอใช้ ผู้ประเมิน 1 = นอ้ ย .......... / .......... / ........... 2. นกั เรยี นที่ผา่ นเกณฑจ์ ะตอ้ งมีคะแนนพฤติกรรม เฉล่ยี ไมต่ ำ่ กวา่ 3.90
13 การจดั กิจกรรมยามเชา้ กิจกรรมยามเช้าเป็นกิจกรรมที่ฝึกกระตุ้นให้ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมออกไปในทางที่ดี สังคมยอมรับ มกี ารปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรมทีจ่ ะทำให้เป็นบคุ คลที่มีคุณภาพ เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคมและเป็นกำลังสำคัญ ในการพฒั นาประเทศชาติ ซง่ึ กิจกรรมยามเช้าที่นักเรยี นทุกคนจะได้ปฏบิ ตั ใิ นแต่ละเชา้ มี 2 ชว่ ง ไดแ้ ก่ 1. กจิ กรรมเข้าแถวหนา้ เสาธง มกี ิจกรรมสำคัญ คอื การเขา้ แถวเคารพธงชาติ สวดมนต์ ทอ่ งคำปฏญิ าณตน และการแจ้งขา่ วสารโดย อาจารย์เวรประจำวัน โดยมบี ทสวดมนต์และคำปฏิญาณตน ดงั น้ี บทสวดมนต์ นกั เรียนเตรียมตัวสวดมนต์ ประนมมือ กราบ กราบ กราบ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต ส้มมา สมั พุทธัสสะ ( 3 จบ ) อะระหงั สมั มาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธงั ภะคะวันตัง อภวิ าเทมิ ข้าพเจา้ ไหว้พระพทุ ธเจา้ พระศาสดาแห่งศาสนาพทุ ธ ผู้ซงึ่ ตรัสรูไ้ วถ้ ูกตอ้ งดแี ลว้ กราบ สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม ธัมมงั นะมัสสามิ ข้าพเจ้าไหว้พระธรรมคำส่ังสอนของพระพุทธเจา้ ซ่งึ แสดงไวถ้ ูกต้องดีแล้ว กราบ สปุ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สงั ฆังนะมามิ ขา้ พเจ้าไหวพ้ ระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจา้ ผซู้ ่ึงดำรงรกั ษาพระพทุ ธศาสนาไว้ กราบ มาตาปติ ุเร วนั เทมิ ข้าพเจ้าไหวม้ ารดาบดิ า ผใู้ หก้ ำเนิดและเลีย้ งดอู ปุ การะข้าพเจ้ามา กราบ คุรอุ าจา ริเย วนั เทมิ ข้าพเจา้ ไหวค้ รอู าจารย์ ผู้ซึ่งอบรมส่ังสอนให้ขา้ พเจา้ ปฏบิ ัตดิ ี กราบ ด้วยผลแห่งการแสดงคารวะนี้ ขอให้ขา้ พเจ้าเป็น คนดียง่ิ ข้นึ ทุกวนั ทกุ ประการเป็นลำดับไป กราบ กราบ กราบ คำปฏญิ าณตน เราคนไทย ใจกตญั ญู รคู้ ณุ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เรานักเรยี น จกั ตอ้ งประพฤตติ น ใหอ้ ยใู่ นระเบียบวินยั ของโรงเรยี น มคี วามซ่ือสัตย์ ตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื เรานกั เรียน จักต้องปฏิบัติตน ไมใ่ ห้เป็นท่ีเดอื ดร้อนต่อตนเองและผูอ้ น่ื 2. กิจกรรมโฮมรูม ความหมายและความสำคญั กจิ กรรมโฮมรมู หมายถงึ การจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสริมนกั เรยี นเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุม่ ก็ได้ มีการ ฝึกปฏิบัติหรือทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนในด้านต่าง ๆ เช่น การรู้จักตนเอง การรู้จักผู้อื่น ทักษะ การตดั สินใจ ทักษะการปรับตัวและการวางแผนชีวติ เป็นตน้
14 ประโยชน์ 1. ตรวจสอบการมาเรียนของนกั เรยี น 2. ชี้แจงรายละเอยี ดในการปฏิบตั ติ นในห้องเรียน กำหนดขอ้ ตกลงร่วมกันในชัน้ เรียน 3. ติดตามดูแลนักเรียนในเรื่องต่าง ๆ เช่น การส่งงาน ผลการสอบ หากนักเรียนมีปัญหาจะต้องหา สาเหตุให้พบเพอื่ แก้ไขปญั หาตอ่ ไป 4. ตรวจระเบยี บวนิ ัย เครอ่ื งแตง่ กาย ทรงผม ให้เปน็ ไปตามกฎระเบยี บของโรงเรียน 5. แนะแนวคณุ ธรรมในการใช้ชวี ิตทัง้ เรือ่ งการเรยี นและชีวิตประจำวัน หลังจากทำกิจกรรมเข้าแถวหน้าเสาธงเรียบร้อยแล้ว นักเรียนจะกลับไปที่ห้องเรียนเพื่อทำกิจกรรม โฮมรูม ซงึ่ กิจกรรมโฮมรมู แบ่งออกเปน็ 2 ช่วง ได้แก่ 2.1 กอ่ นการอบรมนกั เรยี น ในช่วงนี้นักเรยี นจะพิจารณาศลี 5 หลงั จากนน้ั ทำสมาธเิ พือ่ บริหารจติ และแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ ทั้งหลาย โดยมีบทพจิ ารณาศีล 5 และแผเ่ มตตา ดงั นี้ บทพิจารณาศีล 5 ศลี 5 ขอ้ 1 ปาณาตปิ าตา เวระมณี สกิ ขาปะทงั สะมาทยิ ามิ เวน้ จากการฆา่ สตั ว์ดว้ ยตนเองและไมใ่ ชใ้ ห้ผู้อืน่ ฆา่ ศีล 5 ขอ้ 2 อทินนาทานา เวระมณี สกิ ขาปะทัง สะมาทิยามิ เว้นจากการลกั หรือฉอ้ โกงของผอู้ ืน่ และไมใ่ ช้ผู้อนื่ ลักหรือฉ้อโกง ศีล 5 ข้อ 3 กาเมสมุ ิจฉาจารา เวระมณี สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ศลี 5 ขอ้ 4 มสุ าวาทา เวระมณี สกิ ขาปะทงั สะมาทิยามิ เวน้ จากการพดู เทจ็ คำไมเ่ ป็นจรงิ และคำล่อลวง อำพรางผู้อ่ืน ศีล 5 ขอ้ 5 สรุ าเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมณี สกิ ขาปะทัง สะมาทยิ ามิ เว้นจากการดม่ื สรุ า เครอื่ งดองของทำใหม้ ึนเมาคลั่งไคล้ต่าง ๆ บทแผเ่ มตตา สัพเพ สตั ตา สตั ว์ทงั้ หลายท่เี ปน็ เพอ่ื นทุกข์ เกิดแก่เจบ็ ตาย ดว้ ยกันท้ังหมดทั้งสิน้ อะเวรา โหนตุ จงเปน็ สุขเป็นสุขเถดิ อย่าไดม้ เี วรแกก่ นั และกันเลย อพั ะยาปัชฌา โหนตุ จงเปน็ สุขเป็นสขุ เถดิ อยา่ ไดเ้ บียดเบยี นซึ่งกนั และกนั เลย อะนีฆา โหนตุ จงเป็นสขุ เปน็ สขุ เถิด อยา่ ไดม้ ีความทกุ ขก์ าย ทกุ ข์ใจเลย สขุ ี อตั ตานงั ปะริหะรนั ตุ จงมคี วามสขุ กาย สุขใจ รกั ษาตนใหพ้ น้ จากทกุ ขภ์ ัยท้งั ส้ินเถดิ 2.2 อาจารยป์ ระจำชน้ั และอาจารยท์ ีป่ รึกษาอบรมนกั เรยี น อาจารย์ประจำชั้นและอาจารย์ที่ปรึกษาอบรมนักเรียนในเรื่องต่าง ๆ ซึ่งอาจารย์สามารถดู เนื้อหาได้จากแผนการจัดกิจกรรมโฮมรูม หรือข้อมูลในประเด็นต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของช่วงเวลาและ สถานการณใ์ นปจั จุบนั
15 สปั ดาห์ท่ี แผนการจัดกจิ กรรมโฮมรูม (Home Room) 1 2 เรอ่ื งใหก้ ารอบรมนกั เรยี น 3 1. ระเบียบวินัยของโรงเรียน 4 5 - ระเบียบการแต่งกายของนักเรียนชาย – หญงิ 6 - ทรงผมนกั เรยี นชาย – หญิง 7 - การปฏบิ ัติตนในการมาเรียน 2. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ 8 - ความหมายของเพลงชาติ - ศาสนาสำคญั ในประเทศไทย - การเทดิ ทูนพระมหากษัตริย์ 3. รอบรั้วสาธิต - จากข้อมลู โรงเรียน 4. การจดั ระเบียบห้องเรยี น - การจัดปา้ ยนิเทศและตกแต่งหอ้ งเรียน - จดั โต๊ะเก้าอ้ีนักเรยี น โต๊ะครู - วางรองเท้าให้ถูกท่ีและเป็นระเบยี บ 5. พฤติกรรมในห้องเรียน - การตง้ั ใจเรยี นของนักเรียน - การหนีช่ัวโมงเรียน - การเขา้ เรียนสายหรอื ชา้ กว่าเวลาทกี่ ำหนด 6. พระคุณครู พิธีไหว้ครู - ความหมายของครู - พธิ ีไหว้ครู - เพลงพระคุณที่สาม 7. วาจาสภุ าพ - การใช้คำท่สี ภุ าพและเหมาะสมกับระดับของบุคคล - การพดู ท่ีมีหางเสียง - พูดดว้ ยความจริงใจ - การกลา่ วคำขอโทษ ขอบคุณ ขอบใจ 8. มารยาทในการรบั ประทานอาหาร - การน่ังรบั ประทานอาหาร - ไมเ่ ลน่ หรือพูดคยุ เสียงดงั ขณะรับประทานอาหาร - ไม่เคย้ี วอาหารเสยี งดงั หรือรับประทานมูมมาม
16 สปั ดาหท์ ่ี เรอ่ื งใหก้ ารอบรมนักเรยี น 9 9. ความเกรงใจ 10 - เอาใจเขามาใส่ใจเรา 11 - ไม่ทำเสียงดงั รบกวนผอู้ ื่น - ไมห่ ยบิ ฉวยส่ิงของของผอู้ ืน่ โดยไม่ได้รับอนญุ าต 12 10. คุ้มค่า ทกุ นาที 13 - งานท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง ผอู้ ื่น และสังคม - การสร้างนิสัยรักการทำงาน 14 11. ความซ่ือสัตย์ - ความหมายของคำว่า ความซอ่ื สัตย์ 15 - การยอมรบั ผดิ เม่ือทำผดิ - ประโยชนข์ องการซื่อสตั ย์ 16 12. การตรงต่อเวลา - ตรงต่อเวลาในการนัดหมาย - ตรงต่อเวลาในการศึกษาเลา่ เรียน 13. ความขยนั หม่ันเพียร - การเปน็ ผู้รจู้ ักชว่ ยตนเอง - ประโยชนข์ องความขยันหม่ันเพียร - การไม่ผลดั วันประกันพรุง่ 14. การประหยัดและออม - การรู้จักใช้เงนิ ใหค้ ุ้มคา่ และเลอื กซื้อของทจ่ี ำเปน็ - การรจู้ ักถนอมและซ่อมแซมของใช้ - การรู้จกั ออมและสะสมเงนิ ฝาก 15. ภยั จากสิ่งเสพตดิ - ยาเสพตดิ ในรูปแบบต่างๆ - โอกาสท่จี ะตดิ ยาเสพติด - ผลของการติดยาเสพตดิ 16. การปฏิบตั ติ นสำหรบั การสอบ การเตรียมตัวสอบ - อ่านหนังสอื สม่ำเสมอและต่อเนื่อง - ทบทวนบทเรยี นท่ผี า่ นมา - ทำแบบฝกึ หัดบ่อยๆ
17 สปั ดาหท์ ี่ เร่ืองใหก้ ารอบรมนกั เรยี น การปฏิบัติตนในการสอบ 17 18 - การตรงต่อเวลา 19 - แต่งกายถกู ต้องตามระเบียบ 20 - เตรียมอุปกรณ์การสอบใหพ้ ร้อม 21. 17. รู้จักตนเอง 22 - รู้และเขา้ ใจความตอ้ งการของตนเองในดา้ นความสนใจ ความถนดั และความสามารถ 23 - รู้จกั ปมเด่นที่เปน็ คุณประโยชนแ์ กต่ นเอง - รจู้ ักปมดอ้ ยเพ่อื ตนเองจะได้หาทางแก้ไข 18. การเปน็ ผนู้ ำท่ดี ี - มมี นุษยส์ ัมพนั ธท์ ่ีดีและเข้าใจผูอ้ น่ื - เสยี สละไมเ่ อารดั เอาเปรียบผอู้ น่ื และมีความเข้มแข็งอดทน - ทำทกุ อย่างที่จะเปน็ ตวั อย่างทดี่ ใี ห้กบั ผู้อน่ื 19. การเปน็ ผู้ตามทด่ี ี - ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อ่ืน - ยินดีใหค้ วามรว่ มมือกบั ผูอ้ นื่ - รับผดิ ชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 20. การเอือ้ เฟ้ือและช่วยเหลือผู้อ่ืน - การให้ยืมของหรอื ให้ของใชแ้ กเ่ พื่อน - การช่วยเหลอื เพอ่ื นทำงาน - ชว่ ยเหลือผอู้ ื่นแล้วไม่ทำใหต้ นเองเดือดรอ้ น 21. การหาข้อมูลจากแหลง่ เรยี นรูต้ า่ งๆ - ฟงั จากวทิ ยุ โทรทัศน์ ขา่ วลอื และส่ือเทคโนโลยี - สนทนากับบคุ คลต่างๆ - อ่านหนงั สอื พิมพ์ วารสาร นิตยสาร และเอกสารอืน่ ๆ 22. นักเรยี นกับเทคโนโลยี - รเู้ ท่าทันสอื่ - การใชเ้ ครื่องมอื ส่ือสาร 23. การขจัดอุปสรรคในการเรียน - แกไ้ ขนิสยั การเรยี นที่ไม่ดี - สรา้ งความรับผดิ ชอบตอ่ การเรยี นของตน - รกั ษาสขุ ภาพกายและจิตของตนให้ดีอยู่เสมอ - สรา้ งเสริมลกั ษณะนิสยั ท่ีดีในการเรยี น
18 สปั ดาหท์ ่ี เร่อื งให้การอบรมนักเรยี น 24 24. การคบเพอ่ื นต่างเพศ 25 - การให้ความสนิทสนมกับเพื่อนตา่ งเพศอย่างเหมาะสม 26 - การไว้วางใจเพ่ือนตา่ งเพศแตพ่ อควร 25. การรบั ผดิ ชอบต่อส่วนรวม 27 - การทงิ้ ขยะ 28 - การประหยดั นำ้ ประหยดั ไฟฟ้า - การมจี ิตสาธารณะ 29 26. วนั สำคญั ต่างๆ 30 - วนั สำคัญทางศาสนา - วันสำคญั เกี่ยวกบั พระมหากษัตริย์ - วนั สำคญั อ่ืนๆ 27. รกั ษ์โลก - การดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม - การใชว้ สั ดุทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม 28. กีฬาเป็นยาวิเศษ - การออกกำลังกาย - การรกั ษาสุขภาพ - การเล่นกฬี า - กฬี าสาธติ สามัคคี 29. กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร - การมสี ่วนร่วมกิจกรรมต่างๆ ของทางโรงเรียน - มารยาทในการเข้าร่วมกจิ กรรม 30. เรอ่ื งเล่าเชา้ นี้ - เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ท่จี ะมีขึน้ ภายในและภายนอกโรงเรียน - เร่ืองเลา่ จากอาจารย์ประจำช้ัน/อาจารยท์ ี่ปรึกษา - เรอื่ งเลา่ จากนักเรยี นตามความสนใจ หมายเหตุ อาจารย์ประจำชั้น/อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถพิจารณาเลือกเนื้อหาจากแผนการ จัดกิจกรรมโฮมรมู ตามความเหมาะสมกับชว่ งเวลาและสถานการณ์
19
20
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: