Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ

เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ

Published by phechrrinx, 2021-01-28 17:18:10

Description: เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ

Keywords: เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการอาชีพ

Search

Read the Text Version

การพฒั นาหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ E-Book เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่อื การจดั การอาชีพ นางจฑุ ามาส รตั นะพนั ธ์ นางสาวจรยิ า พรมวริ ตั น์ เลขท่ี 1 นางสาวสริ กิ ญั ญา สนิ ณรงค์ เลขท่ี 11 นางสาวอรนุช เพชรรนิ เลขท่ี 18

คำนำ เทคโนโลยีสารสนเทศในหนังสือออนไลน์(e-book) ผู้จัดทา จัดทา ขึ้นเพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาเรื่องต่างๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น นิยามเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ลักษณะสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาการเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเภทเทคโนโลยีสารสนเทศ ความก้าวหน้า เทคโนโลยีสารสนเทศ ประโยชน์และโทษของเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น เพ่ือใหน้ กั ศึกษาและผูท้ ี่สนใจศึกษาค้นคว้ามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศมากย่ึงข้นึ เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความสาคัญและจาเป็นอย่างมากใน ชีวิตประจาวันในปัจจุบันน้ี ผู้จัดจึงได้รวบรวมข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยี สารสนเทศจากแหล่งข้อมูลท่ีเก่ียวข้องต่างๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น อินเตอร์เน็ต เอกสารเพื่อหวังว่าเทคโนโลยีสารสนเทศในหนังสือออนไลน์ (e-book) จะเปน็ แหล่งความรู้สาหรับทผี่ ้สู นใจไม่มากกน็ อ้ ย ผู้จัดทา นางสาวจริยา พรมวิรตั น์ เลขท่ี 1 นางสาวสริ ิกญั ญา สินณรงค์ เลขท่ี 11 นางสาวอรนุช เพชรริน เลขท่ี 18

สารบรรณ 1 ความร้เู บือ้ งตน้ เก่ียวกับการจดั การข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) 1-9 2 ความรูเ้ บอื้ งต้นเก่ยี วกับอนิ เทอรเ์ น็ต 10-19 3 เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการทาธรุ กรรมโดยไม่ตอ้ งผ่านบุคคลทีส่ าม 20-30 (Block chain) 4 ธรุ กรรมการเงนิ ดจิ ทิ ัล (Fintech) 31-37 5 ระบบเงนิ ดจิ ทิ ัล 38-39 6 การทาธรุ กจิ ดจิ ิทลั บนส่อื สังคมออนไลน์ 40-45 7 กรณศี ึกษาเทคโนโลยีดิจทิ ลั เชอ่ื มโยงอาชีพ 46-52 8 ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในอาชพี ของการเป็นพลเมืองยุคดิจิทัล 53-54

หน่วยที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกับการจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่ Big Data

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจดั การอาชีพ 1 1.ความร้เู บื้องตน้ เก่ยี วกับการจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ Big Data 1.1 ความหมายการจดั การขอ้ มูลขนาดใหญ่ Big Data ความหมายการจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big Data หมายถึง ปริมาณข้อมูลที่มหาศาล ท้ังแบบข้อมูลท่ีมี โครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง ซ่ึงปะปนอยู่มากมายในการทา ธุรกิจในแต่ละวัน หากแต่ไม่ใช่ปริมาณของข้อมูลท่ีเป็นส่ิง สาคัญ สิ่งสาคัญก็คือการที่องค์กรจัดการกับข้อมูลต่างหาก การวิเคราะห์ Big Data นาไปสู่ข้อมูลเชิงลึกเพื่อการตัดสินใจท่ี ดีกวา่ และการเคลอ่ื นไหวในกลยทุ ธธ์ ุรกจิ

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจดั การอาชีพ 2 ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big Data 2.ประวตั แิ ละความเป็นมาของ big data ประวตั แิ ละความเป็นมาของ big data แนวคิดเรื่องข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data จะเป็นของใหม่และมีการเร่ิมทา กันในไม่กี่ปีมานี้เอง แต่ต้นกาเนิดของชุดข้อมูลขนาดใหญ่ได้มีการริเร่ิมสร้างมาต้ังแต่ ยคุ 60 และในยคุ 70 โลกของข้อมูลก็ได้เริ่มต้น และได้พัฒนาศูนย์ข้อมูลแห่งแรกขึ้น และทาการพัฒนาฐานขอ้ มลู เชิงสัมพนั ธข์ นึ้ มา ประมาณปี 2005 เริ่มได้มีการตะหนักถึงข้อมูลปริมาณมากที่ผู้คนได้สร้างข้น มาผ่านสื่ออนไลน์ เช่น เฟสบุ๊ค ยูทูป และส่ืออนไลน์แบบอื่นๆ Hadoopเป็นโอเพ่น ซอร์สเฟรมเวิร์คท่ีถูกสร้างขึ้นมาในช่วงเวลาเดียวกันให้เป็นที่เก็บและวิเคราะห์ข้อมูล ขนาดใหญ่ และในช่วงเวลาเดยี วกนั NoSQL ไดก้ ็เริ่มข้ึนและไดร้ ับความนยิ มมากขึน้ การพัฒนาโอเพนซอร์สเฟรมเวิร์ค เช่น Hadoopและเม่ือเร็ว ๆ นี้ก็มี Spark มีความสาคัญต่อการเติบโตของข้อมูลขนาดใหญ่ เน่ืองจากทาให้ข้อมูลขนาดใหญ่ ทางานได้ง่าย และประหยัดกว่า ในช่วงหลายปีท่ีผ่านมาปริมาณข้อมูลขนาดใหญ่ได้ เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว ผู้คนยังคงสร้างข้อมูลจานวนมาก ซึ่งไม่ใช่แค่มนุษย์ที่ทามัน ขนึ้ มา การพัฒนาการของ IOT Internet of Thing ซึ่งเป็นเคร่ืองมืออุปกรณ์ท่ี เชื่อมต่อกับอินเตอร์เนตก็ทาการเก็บและรวบรวมข้อมูลซ่ึงอาจเป็นเร่ืองที่เก่ียวกับ พฤติกรรมการใชง้ านของลูกค้า ประสทิ ธิภาพของสนิ ค้า หรอื การเรียนรู้ของเคร่ืองจักร พวกนีล้ ้วนทาใหม้ ขี ้อมูลขนาดใหญ่แมว้ า่ ยคุ ของขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big Data มาถงึ และ ได้เรม่ิ ตน้ แลว้ แตม่ นั ก็ยงั เปน็ เพยี งแต่ชว่ งแรกๆ และระบบระบบคลาวดค์ อมพิวติ้งกไ็ ด้ ขยายความเป็นไปได้มากขึ้น คลาวด์มีความสามารถในการในการใช้งานได้อย่าง ยดื หยุน่ ได้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจดั การอาชีพ 3 1.3 องค์ประกอบทีส่ ำคญั ของข้อมูล 1. Data Source แหล่งทม่ี าของข้อมลู ซ่ึงถือได้ว่า เป็นต้นน้า เป็นแหล่งกาเนิดของข้อมูล อาจจะเป็นระบบ โปรแกรม หรือจะเป็นมนุษย์เรา ท่ีสร้างให้เกิดข้อมูลขึ้นมา ทั้งนี้ เม่ือได้ช่ือว่าเป็น Big Data แล้ว ข้อมลู ต่างๆ มกั จะมาจากแหล่งข้อมูลท่หี ลากหลาย นาพามาซ่งึ ความยากลาบากในการ จดั การโครงสร้าง หรือจัดเตรยี มให้ขอ้ มูลที่นามารวมกนั น้นั มคี วามพรอ้ มใช้ตอ่ ไป 2. Gateway ชอ่ งทางการเช่อื มโยงข้อมูล การเชื่อมโยงข้อมูล เป็นส่วนที่สาคัญมาก และเป็นปัญหาใหญ่ในการทา Big Data Project ต้องอาศัยทักษะของ Data Engineer ท้ังการเขียนโปรแกรมเอง และ ใช้เครื่องมือที่มีอยู่มากมาย ท้ังนี้การจะออกแบบช่องทางการเช่ือมโยงข้อมูลได้อย่าง สมบูรณ์แบบ จาเป็นต้องทราบก่อนว่า จะนาข้อมูลใดไปทาอะไรต่อบ้าง มิเช่นน้ัน การสรา้ งช่องทางการเชื่อมทไ่ี ม่มเี ปา้ หมาย กอ็ าจเป็นการเสยี เวลาโดยเปลา่ ประโยชน์

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 4 ความรูเ้ บ้อื งตน้ เกย่ี วกบั การจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญ่ Big Data 3. Storage แหล่งเก็บข้อมลู แหล่งเก็บนี้ ไม่ใช่แค่การเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูล แต่เป็นการเก็บข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลหลายๆ แหล่ง เอามาไว้เพ่ือรอการใช้งาน ซึ่งอาจจะเป็นที่พักข้อมูลให้ พรอ้ มใช้ หรือจะเป็นแหลง่ เก็บข้อมลู ในอดีตกเ็ ป็นได้ 4. Analytics การวเิ คราะห์ข้อมลู ส่วนนีเ้ ปน็ หนา้ ทหี่ ลักของ Data Scientist ซ่งึ แบง่ งานออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื การวเิ คราะห์เบอื้ งต้น โดยการใชว้ ธิ ีทางสถิติ หรือจะเปน็ การวเิ คราะหเ์ ชงิ ลกึ โดย การสรา้ ง Model แบบต่างๆ รวมไปถงึ การใช้ Machine Learning เพอื่ ใหไ้ ด้ ผลลพั ธเ์ ฉพาะจงเจาะในแต่ละปัญหา และแต่ละชุดข้อมลู 5. Result/Action การใชผ้ ลการวเิ คราะห์ข้อมลู ผลลพั ธท์ ี่ได้จากการวิเคราะหส์ ามารถนาไปใชง้ านได้ 2 รูปแบบ คือ ออกเปน็ รายงาน เพือ่ ให้ Data Analyst นาผลลพั ธ์ท่ีไดไ้ ปใช้กับงานทางธุรกิจต่อไป หรือจะ เปน็ การนาไปกระทาเลยโดยทีไ่ มต่ อ้ งมี “มนษุ ย”์ คอยตรวจสอบ ซึง่ จาเป็นต้องมีการ เขียนโปรแกรมเพ่ิม เพอื่ ใหม้ ีการกระทาออกไป ทเ่ี รียกวา่ Artificial Intelligence

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การจดั การอาชีพ 5 1.4 ตัวอย่างการนา big data ไปใช้ ข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data ช่วยให้เราสามารถจัดการงานทางธุรกิจได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ได้ต้ังแต่การเก็บข้อมูลของลูกค้าเพ่ือสร้างประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้า เป็นตน้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ บริษทั Netflix และ บรษิ ัท Procter & Gamble ได้ใชข้ ้อมลู Big Data ช่วยใน การคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า พวกเขาสร้างโมเดลเชิงคาดการณ์สาหรับ ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ ๆ โดยการจาแนกคุณลักษณะที่สาคัญของผลิตภัณฑ์หรือ บรกิ ารในอดีตและปจั จบุ ันและสร้างแบบจาลองความสัมพันธร์ ะหวา่ งคณุ ลกั ษณะเหลา่ น้ี กับความสาเร็จในเชิงพาณิชย์ของข้อเสนอ นอกากนี้ยังมีบริษัท P&G ยังใช้ข้อมูลของ ส่อื สังคมออนไลน์ในการวิเคราะห์ ในการทดสอบตลาดและเปิดตัวสินค้าในช่วงต้น เพื่อ วางแผนการผลิตและเปิดตัวสินคา้ ใหม่

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 6 2. การคาดการณ์เพ่อื การบารงุ รกั ษาเครือ่ งจักร ปัจจัยที่ใช้ทานายการชารุดของเคร่ืองจักรนี้ มาจากข้อมูลท้ังที่เป็นแบบมี โครงสรา้ งเชน่ วันเดอื นปี ท่ผี ลติ ร่นุ และข้อมลู ทีไ่ ม่มโี ครงสรา้ ง เชน่ ข้อมลู จากเวป็ เซอร์ ต่างๆ เช่น อุณภูมิของเคร่ืองยนต์ การทางานผิดปกติของเครืองจักร ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ี จะต้องได้รับการวิเคราะห์ก่อนที่จะเกิดปัญหา การวิเคราะห์ข้อมูลเหล่าน้ี เพื่อกาหนด ตารางซ่อมบารุง เพ่ือประหยัดงบการซ่อมบารุง และรวมไปถึงการสต๊อกอะไหล่ต่างๆ เพืทอ่ ให้การซอ่ มบารงุ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ทนั เวลา และประหยดั งบประมาณ 3. การเรียนรขู้ องเครอ่ื งจกั ร learning machine การเรียนรู้ของเครื่องจักร หรือ Learning Machine กาลังเป็นที่นิยมอยู่ในขณะนี้ ขอ้ มลู โดยเฉพาะอย่างย่ิงข้อมูลขนาดใหญ่เป็นเหตุผลท่ีเราสามารถสอนเครื่องจักรได้ การมขี อ้ มูลขนาดใหญท่ าใหง้ ่ายในการเตรียมข้อมูลในการสอนเครื่องจักรให้สามารถ เรียนรู้ได้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการจดั การอาชีพ 7 4.สรา้ งประสบการณ์ท่ดี ีให้กับลกู ค้า ในสภาวะการแข่งขันทางการค้าในปัจจุบัน การเสนอประสบการณ์และ ข้อเสนอท่ีดีที่สุดและตรงใจแก่ลูกค้าท่ีสุดก็จะเป็นผู้ได้เปรียบในการแข่งขัน ข้อมูลขนาดใหญ่หรือ BigData ช่วยให้ธุรกิจรวบรวมข้อมูลจากส่ือสังคม ออนไลน์ ผู้เข้าชมเว๊ปไซต์ ผู้เข้าใช้แอพพลิเคชั่น ข้อมูลการตอบโต้ทางโทรศัพท์ ข้อมูลการสนทนาผ่านส่ือต่างๆ เพ่ือช่วยให้ปรับปรุงการส่ือสารกับลูกค้า และ เพ่ิมมูลค่าให้ได้มากท่ีสุดด้วยการส่งข้อเสนอสุดพิเศษให้ตรงใจกับลูกค้า และยัง ชว่ ยแก้ปญั หาท่ีเกดิ กบั ลูกค้า เป็นการแก้ปญั หาเชงิ รกุ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การตรวจสอบการโกงและการปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ การโกงในระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไม่ได้มีเฉพาะจากแฮกเกอร์เท่านั้น ซึ่งเรา จะตอ้ งเผชญิ กับผเู้ ชี่ยวชาญในหลายๆรปู แบบ ในระบบการรักษาความปลอดภัย สมัยใหม่น้ีได้มีการพัฒนาอย่างไม่หยุดน่ิง การใช้ข้อมูลขนาดใหญ่สามารถทาให้ เราระบรุ ูปแบบของขอ้ มูลทเ่ี ขา้ ในรปู ที่มิชอบ และไม่ถกู ตอ้ งตามข้อกาหนด

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 8 5.ประสิทธภิ ำพในกำรปฏิบัตงิ ำน โดยปกติประสิทธิภาพใประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานเรามักไม่ทราบว่าการ ดาเนินงานน้ันมีประสิทธิภาพเพียงใด แต่ในพื้นท่ีที่มีข้อมูลขนาดใหญ่ ด้วยข้อมูล มลู ขนาดใหญน่ ี้ทาใหเ้ ราสามารถวเิ คราะห์ และเข้าถึง การผลิตหรือการปฏิบัติงาน ได้ การตอบรับของลูกค้า รวมถึงปัจจัยอื่นๆท่ีจะทาให้ธุรกิจหยุดชะงักหรือขัดข้อง ได้ และสามารถคาดการณ์ความต้องการล่วงหน้าด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลขนาด ใหญ่ ขอ้ มูลขนาดใหญห่ รอื Big Data น้ียงั สามารถใช้เพ่ือปรับปรุงการตัดสินใจให้ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของตลาดในปจั จบุ นั ไดอ้ ีก

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการจดั การอาชีพ 9 1.5 ข้อดีของ Big Data Big Data ชว่ ยให้คณุ สามารถใชข้ อ้ มลู จากทุกแหล่งทเี่ ปน็ ไปได้ และวเิ คราะห์ เพอื่ ใหไ้ ด้ผลลพั ธท์ ีค่ ณุ ตอ้ งการ ซึง่ ชว่ ยให้คณุ สามารถเข้าใจผ้บู รโิ ภคไดม้ ากขนึ้ (CustomerInsight) ลดตน้ ทุนได้ ลดเวลาระยะเวลาดาเนนิ การ และสามารถ ตดั สินใจได้อย่างแมน่ ยามากขนึ้ ปจั จบุ ันหลายบริษทั ไดน้ า Big Data มาประยุกตใ์ ชใ้ น ส่วนของการขายและการตลาดของธุรกิจ เคร่อื งมอื ท่ีใชส้ าหรบั การรองรับ BigData แบบ ที่เราเขา้ ใจได้งา่ ยๆ และเห็นอยบู่ ่อยๆ กอ็ ยา่ งเชน่ Google Analytics หรอื ระบบ ERP เปน็ ต้น

หน่วยท่ี 2 ความรู้เบ้อื งตน้ เกีย่ วกบั อนิ เทอรเ์ นต็

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการจดั การอาชีพ 10 2. ความร้เู บ้ืองตน้ เก่ยี วกบั อนิ เตอรเ์ นต็ 12.1 ความหมายของอนิ เตอรเ์ น็ต ความหมายของอนิ เตอร์เนต็ อินเตอร์เน็ต (Internet)นั้นย่อมาจากคาว่า “International network” หรอื “Inter Connection network”ซึ่งหมายถึง เครอื ขา่ ย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ท่ีเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ัวโลกเข้าไว้ ด้วยกัน เพื่อให้เกิดการส่ือสาร และการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกัน โดย อาศัยตัวเช่ือมเครือข่ายภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงเดียวกัน น่ันก็คือ TCP/IPProtocolซ่ึ ง เ ป็ น ข้ อ ก า ห น ด วิ ธี ก า ร ติ ดต่ อ สื่ อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง คอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ซ่ึงโปรโตคอลน้ีจะช่วยให้ คอมพิวเตอร์ที่มีฮาร์ดแวร์ที่แตกต่างกันสามารถติดต่อถึงกันได้การท่ีมีระบบ อินเตอร์เน็ต ทาให้สามารถเคลื่อนย้ายข่าวสารข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกท่ี หน่ึงได้ โดยไม่จากัดระยะทาง ส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ ท้ังข้อความ ตัวหนงั สอื ภาพ และ เสียง โดยอาศยั เครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเช่ือมตอ่ เครือข่ายอินเตอร์เน็ตนับเป็นอภิระบบเครือข่ายที่ย่ิงใหญ่มาก มีเคร่ือง คอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องท่ัวโลกเช่ือมต่อกับระบบ ทาให้คนในโลกทุก ชาติทุกภาษาสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ โดยไม่ต้องเดินทางไป โลกท้ังโลก เปรียบเสมือนเป็นบ้านหนึ่งที่ทุกคนในบ้านสามารถพูดคุยกันได้ตลอด 24 ชั่วโมง ประหยดั เวลา คา่ ใช้จา่ ย แตเ่ กดิ ประโยชนต์ ่อสังคมโลกปัจจุบันมาก

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การจดั การอาชีพ 11 ความรเู้ บือ้ งตน้ เกีย่ วกบั อนิ เตอร์เน็ต 2.2 ประวัติความเป็นมาของอินเตอรเ์ นต็ อินเทอร์เน็ต (Internet)เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซ่ึงเร่ิมก่อต้ังโดย กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา อินเทอร์เน็ตในยุคแรกๆ ประมาณปี พ.ศ. 2512 เป็นเพียงการนาคอมพิวเตอร์จานวนไม่กี่เครื่องมาเช่ือมต่อกัน โดยสายส่งสัญญาณ เพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ภารกิจหลักเพื่อใช้ในงานวิจัยทาง ทหาร โดยใช้ช่ือว่า \"อาร์ปา\" (ARPA : Advanced Research Project Agency) รูปแบบเครือข่ายอาร์พาเน็ตไม่ได้ต่อเช่ือมโฮสต์ (Host)คอมพิวเตอร์เข้าถึงกัน โดยตรง หากแต่ใช้คอมพิวเตอร์ เรียกว่า IMP (Interface Message Processors ) ต่อเชื่อมถึงกันทางสาย โทรศัพท์เพ่ือทาหน้าที่ด้านส่ือสารโดยเฉพาะ ซ่ึงแต่ละ IMP สามารถเชอ่ื มไดห้ ลายโฮสต์

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การจดั การอาชีพ 12 ความร้เู บื้องตน้ เกย่ี วกับอนิ เตอร์เนต็ 2.3 ประโยชนข์ องอินเตอร์เน็ต 1.สามารถตดิ ต่อส่อื สารกบั บุคคลอ่นื ทัว่ โลก 2. สามารถค้นหาขอ้ มลู ตา่ งๆ ได้เสมอื นกบั เราไปนงั่ อยู่ทหี่ ้องสมดุ ขนาดใหญ่ไดข้ อ้ มลู มากมายจากทัว่ ทกุ มุมโลก 3.เปรยี บเสมือนเวทใ่ี หเ้ ขา้ ไปแสดงความคิดเหน็ ไดภ้ ายในห้องสนทนา(chat room) และกระดานข่าว(Web room) เป็นการเปดิ โลกกวา้ งและวสิ ัยทัศน์ ในเรือ่ งท่ีน่าสนใจ 4.สามารถติดตามเคล่ือนไหวจากข่าวสารทว่ั โลกอย่างรวดเรว็ 5.สามารถเปิดการคา้ ไดด้ ้วยตวั เอง โดยไม่ตอ้ งหาท่จี ดั ต้งั รา้ นหรอื พนักงานบริการ แต่สามารถทาการคา้ ไดด้ ้วยตวั เองคนเดียว

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการจดั การอาชีพ 13 ความรเู้ บื้องตน้ เกย่ี วกบั อินเตอรเ์ นต็ 2.3 ประโยชนข์ องอนิ เตอรเ์ น็ต 6.สามารถซ้ือสนิ ค้า โดยไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปยงั รา้ นค้า ซ้อื ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ทีใ่ ห้บริการ การชาระเงนิ ก็สะดวก เช่น ชาระผ่านบัตรเครดติ การหกั เงินผ่านบญั ชธี นาคาร 7 .สำมำรถรบั สง่ จดหมำยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์(E-mail) เปน็ กำรสง่ จดหมำยที่ไม่ต้องเสีย คำ่ บริกำรและรบั สง่ จดหมำยไดภ้ ำยในและภำยนอกประเทศ นอกจำกจดหมำยทเ่ี ปน็ ขอ้ ควำมแล้ว ยงั สง่ บัตรอวยพรในเทศกำรตำ่ งๆ ไดอ้ กี 8. สามารถอา่ นนติ ยสาร หนังสือพมิ พ์ บทความ และเร่ืองราวตา่ งๆ ได้ฟรี เหมอื นกบั เราซือ้ หนงั สือฉบับนั้นมาอ่านเอง

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการจดั การอาชีพ 14 ความรเู้ บือ้ งตน้ เก่ยี วกับอนิ เตอรเ์ นต็ 2.3 ประโยชนข์ องอินเตอรเ์ น็ต 9. สามารถตดิ ประกาศข้อความต่างๆท่ีต้องการประกาศให้ผอู้ น่ื ทราบได้ เชน่ ประกาศขายบา้ น ประกาศสมคั รงาน ประกาศขอความชว่ ยเหลอื 10. มขี องฟรอี กี มากมายที่สามารถใชบ้ รกิ ารได้จากอนิ เทอร์เนต็ เชน่ ภาพ เพลง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ดหู นัง เกม

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การจดั การอาชีพ 15 ความรเู้ บือ้ งต้นเกย่ี วกับอินเตอรเ์ น็ต 2.4 อปุ กรณ์เชือ่ มต่ออนิ เตอร์เนต็ 1. ฮบั (Hub) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีกระจายช่องทางการส่ืออสารข้อมูลได้หลายช่องทางใน ระบบเครือข่าย โดยการขยายสัญญาณที่ส่งผ่านมา ทาให้สามารถเช่ือมต่อ อุปกรณ์ต่าง ๆ ผา่ นสายเคเบลิ ได้ไกลขึ้น ปจั จุบนั ฮบั มคี วามเรว็ ในการสื่อสารแบบ 10/100/1000 Mbps ลักษณะการทางานของฮับจะแบ่งความเร็วตามจานวน ชอ่ งสัญญาณ (Port) ทใ่ี ช้งานตามมาตรฐานความเร็ว ความเร็วเป็นแบบ 10 Mbps มีเครอื่ งคอมพิวเตอร์ทตี่ อ่ ในระบบ 5 เครอ่ื ง แต่ละเคร่ืองสามารถส่ือสารกันภายในระบบโดยใช้ความเร็วเท่ากับ 10/5 คือ 2 Mbp

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการจดั การอาชีพ 16 ความรเู้ บ้ืองต้นเกย่ี วกับอินเตอร์เน็ต 2.4 อุปกรณเ์ ชอ่ื มต่ออนิ เตอร์เนต็ โมเด็มแบบภายนอก 2. โมเดม็ โมเดม็ แบบภายใน (Modem) เปน็ อปุ กรณท์ ี่ใชส้ ่อื สารขอ้ มลู ในระยะไกลโดยผ่านระบบโทรศพั ท์ โดยจะมีท้งั แบบเปน็ กล่องตดิ ต้ังภายนอก (External Modem) และแบบเปน็ แผน่ การด์ ติดตัง้ ภายในเคร่อื ง (Internal Modem Card) โดยโมเด็มภายนอกจะมีทั้งแบบติดต้ังผ่าน ช่องอนุกรม และแบบตดิ ตัง้ กับชอ่ งต่อสัญญาณแบบ USB ขอ้ ดีของโมเดม็ ภายนอกคอื ตดิ ตัง้ เคลอ่ื นยา้ ยไดส้ ะดวก และมีไฟสัญญาณแสดงขณะทางาน การเลอื กซ้ือจะตอ้ ง พิจารณาถงึ ระบบโทรศพั ทท์ จี่ ะเชื่อมต่อดว้ ย คอื จะมีท้งั แบบโมเด็มปกติ โมเดม็ ISDN และโมเดม็ ADSL นอกจากน้ีในระบบตอ่ เชือ่ มโดยตรง กจ็ ะมีโมเด็มแบบลีดไลน์ (Lease Line Modem) ท่เี ช่อื มต่อสัญญาณโดยตรงจากชุมสายการสอื่ สาร มายงั เราท์เตอร์ ซ่งึ จะใช้ช่องตอ่ พิเศษ เชน่ ชอ่ งตอ่ E35 เปน็ ตัวส่งผา่ นข้อมูล

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การจดั การอาชีพ 17 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอรเ์ น็ต 2.4 อปุ กรณ์เชอ่ื มต่ออินเตอรเ์ น็ต 3. เราทเ์ ตอร์ (Router) เราท์เตอร์เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีเช่ือมต่อระหว่างเครือข่ายเช่นเดียวกับบริดจ์ แต่ มีความสามารถในการจดจาเส้นทางได้ ทาให้การส่งสัญญาณระหว่างเครือข่ายต่อ เครอื ขา่ ยเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ เพราะเราท์เตอร์จะทาการเลือกเส้นทางที่ดีท่ีสุดการ ส่งผ่านข้อมูลโดยพิจารณาจาก ระยะทางในการส่ง รวมไปถึงความคับค่ังของข้อมูลใน เส้นทางนั้น เราท์เตอร์จะทางานโดยใช้หมายเลข IP แทนการใช้ MAC Address แบบ อุปกรณ์เครือข่ายอ่ืนๆ จึงทาให้ส่งผ่านได้รวดเร็วกว่า เพราะทางานในช้ันที่ 3 ของ OSI Model คือ ชั้น Network Layer

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การจดั การอาชีพ 18 ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั อนิ เตอรเ์ นต็ 2.4 อปุ กรณเ์ ชื่อมตอ่ อนิ เตอรเ์ น็ต เปน็ อปุ กรณ์เครอื ขา่ ยในระบบเก่าท่ีใชร้ ่วมกบั แชรฮ์ บั เพื่อแยกกลุ่มการทางาน (Collision Domain) ออกจากกนั คลา้ ยสะพานท่เี ชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง 2 เครอื ข่ายย่อยเพอ่ื ไมใ่ ห้สญั ญาณรบกวนกัน ส่วนใหญบ่ รดิ จจ์ ะมีช่องตอ่ เพยี ง 2 ช่อง และมคี วามสามารถใน การจดจาค่า MAC Address ของเครือข่ายท่เี ช่อื มต่อได้ แต่ปัจจบุ นั ทแ่ี ทนท่ีดว้ ยสวิตช์ (Switch) ซึ่งเสมอื นเป็นบริดจ์ที่มชี ่องต่อหลายช่อง (Multi-Port Bridge)

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการจดั การอาชีพ 19 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกบั อินเตอร์เนต็ 2.4 อุปกรณ์เชื่อมต่ออนิ เตอรเ์ น็ต เป็นอปุ กรณท์ ี่ทาหน้าทขี่ ยายสญั ญาณเพ่อื เพมิ่ ระยะทางของการเชอ่ื มตอ่ ปกตริ ีพตี เตอร์จะมีลักษณะเปน็ กลอ่ งเล็กๆ มีชอ่ งต่อสัญญาณเพยี ง 2 ชอ่ ง ข้อจากดั ของรพี ตี เตอร์คือ จะรบั สญั ญาณข้อมูลเข้ามาทาการขยายแล้วสง่ ออกไป ซง่ึ ถ้าขอ้ มลู ทร่ี ับเข้ามามีสญั ญาณรบกวนผสมอยูด่ ว้ ย รีพตี เตอรจ์ ะขยายสญั ญาณ รบกวนออกไปพรอ้ มๆ กบั สัญญาณขอ้ มูล จนอาจทาใหป้ ระสทิ ธิภาพของเครือขา่ ย ลดลง

หนว่ ยท่ี 3 เทคโนโลยีทใี่ ช้ในการทาธรกุ รรมโดยไม่ ต้องผ่านบุคคลทีส่ าม (Block Chain)

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การจดั การอาชีพ 20 3. เทคโนโลยีท่ีใช้ในการทาธรุกรรมโดยไม่ ต้องผ่านบคุ คลทสี่ าม Block Chain 3.1 ความหมายและความสาคญั ของ (Block Chain) บลอ็ กเชน (องั กฤษ: blockchain) หรือว่า โซ่บล็อก ซ่งึ คาองั กฤษดงั้ เดมิ เป็นคาสองคาคอื block chain เป็นรายการระเบยี น/บนั ทึก (record) ทีเ่ พม่ิ ขนึ้ /ยาวขนึ้ เรอื่ ย ๆ โดยแต่ละรายการ เรยี กว่า บล็อก ซ่ึงนามาเช่อื มต่อเปน็ ลูกโซ่ (เชน) โดยตรวจสอบความถกู ตอ้ งและรบั ประกันความ ปลอดภยั โดยวทิ ยาการเข้ารหสั ลบั บลอ็ กแตล่ ะบลอ็ กปกตจิ ะมคี า่ แฮชของบลอ็ กกอ่ นหนา้ ซง่ึ สามารถ ใช้ยืนยันความถูกตอ้ งของบลอ็ กก่อนหน้ามตี ราเวลาและขอ้ มลู ธรุ กรรม บลอ็ กเชนออกแบบให้ ทนทานตอ่ การเปลี่ยนขอ้ มลู ทบ่ี นั ทกึ แล้ว บลอ็ กเชนออกแบบมาต้งั แต่ต้นเพ่อื ให้ปลอดภยั (secure by design) และเปน็ ตวั อย่างของ ระบบคอมพวิ เตอร์แบบกระจายทที่ นต่อความผิดพรอ่ งแบบไบแซนไทนไ์ ดส้ ูง ดงั นัน้ ความเห็นพอ้ ง แบบไม่รวมศูนย์ จึงเกิดได้โดยอาศัยบล็อกเชนซ่งึ อาจทาใหม้ นั เหมาะเพอื่ บนั ทกึ เหตกุ ารณ์ต่างๆ บันทกึ ระเบยี นการแพทย์ในการจดั การบริหารระเบยี นแบบอ่ืน ๆ เชน่ การจัดการผู้มสี ิทธิเข้าถึงระบบ (identity management) การประมวลผลธุรกรรม, การสรา้ งเอกสารแสดงความเปน็ เจา้ ของ, การ ตามรอยการผลติ และขนสง่ อาหารหรือการใช้สิทธิออกเสียงบคุ คลหรอื กลมุ่ บคุ คลผใู้ ช้นามแฝง โปรแกรมประยกุ ตอ์ ีกมากมายหลายอย่าง

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 21 เทคโนโลยที ่ีใช้ในการทาธรุกรรมโดยไม่ ต้องผา่ นบุคคลที่สาม Block Chain 3.1 ความหมายและความสาคญั ของ (Block Chain) ในกรณขี องบติ คอยน์ ผู้ใช้งานจะทาการโดยเช่ือมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถซื้อ ขายและยืนยันการใช้จ่ายบิตคอยน์ โดยจะมีการสร้างบล็อกข้ึนใหม่เพ่ือเก็บรายการการซ้ือขาย แลกเปลี่ยน ในอัตราประมาณหนึ่งบล็อกต่อ 10 นาทีและแต่ละบล็อกจะมีจานวนธุรกรรมเฉล่ีย มากกว่า 500 รายการ บลอ็ กเชน (Blockchain) คืออะไร? บลอ็ กเชนเปรยี บเสมอื นเครอื ขา่ ยการเกบ็ ข้อมูลแบบหนง่ึ ทีท่ ุกคนสามารถเขา้ ถึงและได้รับ ขอ้ มลู เดียวกนั เราจึงรวู้ า่ ใครมสี ิทธแิ ละเปน็ เจ้าของขอ้ มลู เหลา่ น้ีจริงๆ โดยขอ้ มูลเหล่านี้จะถูกเกบ็ อย่ใู นแตล่ ะบล็อก (Block) ทเี่ ชอ่ื มโยงกนั บนเครอื ข่ายเหมือนกบั หว่ งโซ่ (Chain) นจ่ี งึ เป็นเหตผุ ล หนึ่ง ที่ทาใหเ้ ราเรียกรปู แบบการเก็บและแชรข์ ้อมลู แบบนี้วา่ Blockchain นอกจากนี้ เมื่อ ธุรกรรมต่างๆ ถูกบันทึกในบลอ็ กเหลา่ นีแ้ ลว้ เราจะไม่สามารถเขา้ ไปเปลยี่ นแปลงขอ้ มลู ใดๆ ได้ เพราะทกุ คนต่างกม็ สี าเนาหรือประวตั ิการทาธุรกรรมทง้ั หมดอยู่กบั ตัว จงึ เปน็ เรอ่ื งที่เป็นไปไม่ได้ เลย ที่ใครจะมาปลอมแปลงขอ้ มลู โดยปราศจากการรับรู้จากผคู้ นส่วนใหญ่ เทคโนโลยีทช่ี ว่ ยเปล่ียนโฉมหนา้ ของการทาธรุ กจิ บรษิ ทั PwC ประเทศไทย บอกว่า บลอ็ กเชนไดร้ บั การขนานนามจากทว่ั โลกว่า เปน็ เทคโนโลยที ช่ี ่วยเปล่ยี นโฉมหนา้ ของการทาธรุ กจิ เพราะเปน็ ระบบทีแ่ ยกเกบ็ บัญชธี ุรกรรมไวใ้ นท่ี ตา่ งๆ โดยกระจายฐานขอ้ มูลแยกศนู ย์แต่สามารถเชื่อมต่อเครือขา่ ยแบบเพยี ร์ทเู พียร์ (peer to peer)

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการจดั การอาชีพ 22 เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการทาธรุกรรมโดยไม่ ต้องผ่านบุคคลที่สาม Block Chain 3.1 ความหมายและความสาคัญของ (Block Chain) ผลสำรวจ Global Blockchain Survey 2018 ทจี่ ัดทำโดย PwC ไดส้ อบถำมควำม คดิ เหน็ ของผ้บู ริหำรจำนวน 600 คนจำก 15 ประเทศ เกี่ยวกับกำรเข้ำมำของเทคโนโลยนี ี้ พบว่ำ 84% ของผบู้ ริหำรทวั่ โลกไดม้ กี ำรนำเทคโนโลยบี ลอ็ กเชนมำประยกุ ตใ์ ช้กับธุรกจิ ของ ตน บริษัทวิจยั และวเิ ครำะหข์ ้อมลู ดำ้ นเทคโนโลยสี ำรสนเทศ บล็อกเชนอยใู่ กลต้ วั มำกขึ้น ทงั้ นี้ PwC ระบุอกี ว่ำ ธรุ กจิ ในกลมุ่ อุตสำหกรรมอื่นกำลงั ขยบั เข้ำมำส่โู ลกของบลอ็ กเชนเช่นกัน ไดแ้ ก่ ธรุ กจิ คำ้ ปลีก ที่นำเทคโนโลยนี มี้ ำใชใ้ นกำร จัดกำรระบบซพั พลำยเชน ธรุ กจิ สอ่ื และบันเทงิ อยำ่ งวงกำรเพลง ทน่ี ำบลอ็ กเชนเข้ำมำชว่ ยใน กำรแก้ปัญหำกำรดำวนโ์ หลดเพลง กำรคดั ลอกเพลง รวมทง้ั ผู้บริโภคยงั สำมำรถเลือกฟังเพลง ท่ีต้องกำร และจำ่ ยเงนิ ใหแ้ กศ่ ิลปินโดยตรงผ่ำนระบบบลอ็ กเชนในรปู แบบสกุลเงนิ ดิจิทลั โดย ไม่ผ่ำนแพลตฟอรม์ ตวั กลำงหรือคำ่ ยเพลงได้อีกด้วย

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 23 เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการทาธรกุ รรมโดยไม่ ต้องผา่ นบคุ คลทีส่ าม Block Chain 3.1 ความหมายและความสาคัญของ (Block Chain) 3.2 การทางาน(Block Chain) 1. A ต้องการโอนเงิน (ส่งขอ้ มลู ) ไปให้ B ผ่านเลขบัญชี โดยใช้ Private key+Password และ Public Key: ผู้ใช้ (Node) ทกุ คนตอ้ งมีกญุ แจสองอนั อนั แรกคอื Private key ทีถ่ อื เป็นการ แสดงความเปน็ เจ้าของของสมดุ บัญชพี รอ้ มกบั Password ซ่ึงถกู จากสร้างลายเซ็นต์และ ชุดตวั เลขทีใ่ ช้อัลกอริทึมสรา้ งขนึ้ มาทาให้ไมม่ ที างซ้ากับเลขอื่นๆ โดยหลกั แล้วข้อมูล หรอื Data ทต่ี อ้ งการส่งจะเปน็ อะไรก็ได้ จานวนเงนิ สัญญา คะแนน ฯลฯ

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจดั การอาชีพ 24 เทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นการทาธรุกรรมโดยไม่ ตอ้ งผา่ นบุคคลทส่ี าม Block Chain 3.1 ความหมายและความสาคัญของ (Block Chain) 2. เก็บ Transaction ไว้ใน Public Ledger ขอ้ มลู การเดนิ บัญชี (Transaction) ถกู เรมิ่ ตน้ สรา้ งข้นึ รายการจะแจ้งวา่ ตัวเลข ทั้งหมดที่เกดิ ข้ึนต้งั แตจ่ านวนเงินทถ่ี ูกตอ้ งทมี่ ีอยู่ในบัญชีของ A ถกู สง่ ไปให้บัญชขี อง B ที่ แสดงจานวนเงนิ ที่มอี ยเู่ ช่นกนั โอนเทา่ ไหร่ ตวั เลขขึ้นตามนนั้ ตรงนี้ทาใหเ้ ราเห็นรายการ ทง้ั หมดทเ่ี ป็นยอดบวกลบที่ถกู ต้อง ทาใหเ้ ราสามารถตรวจสอบย้อนกลับเรอื่ งทมี่ าของเงนิ ได้ ตลอด โดยทั้งหมดในรายการน้ีจะถกู เกบ็ ไวใ้ น สมุดจดบัญชี (Public Ledger) แล้วสง่ ขอ้ มลู แบบทยี่ งั ไมไ่ ดย้ ืนยันความถูกต้อง (Unconfirmed Transaction) ใหผ้ ูใ้ ช้ทุกคน 3. ยืนยันความถกู ต้องโดย Miner และตอ้ งไมถ่ กู คดั ค้านจากผู้ใช้ หลงั จากท่ีได้รบั ข้อมลู (Data) แล้วจะมีผ้ตู รวจสอบมายนื ยนั ความถกู ต้อง เราเรยี กคน คนนีว้ ่า Miner มาจากผใู้ ช้ท่ีเสนอตัวเข้ามา กตกิ าคือใครจะเสนอตัวก็ได้ ขอให้มหี ลายคน เสนอ จากนัน้ Miner ทง้ั หลายจะเกิดการแขง่ ขนั กันเป็นผตู้ รวจสอบ หลังจากนี้หากมอี ีกกลอ่ งท่ีซา้ กัน ตามทไ่ี ด้กล่าวมาขา้ งตน้ คอื ถกู ตีกลับ แต่อันไหน ไดร้ บั การยนื ยนั กอ่ นจะถกู ส่งตอ่ รอ้ ยเรยี ง และอา้ งอิงสายทีย่ าวกวา่ ถือเปน็ ข้อมลู ทจ่ี ะถกู นาไปใชต้ อ่ ๆไป

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจดั การอาชีพ 25 เทคโนโลยที ใี่ ช้ในการทาธรกุ รรมโดยไม่ ตอ้ งผา่ นบคุ คลทสี่ าม Block Chain 3.1 ความหมายและความสาคญั ของ (Block Chain) 4. เพม่ิ Block นน้ั เข้าไปยัง Chain: จากน้นั Block หรอื ขอ้ มูลการเดินบัญชที ่ไี ดร้ ับการตรวจสอบแลว้ และมขี อ้ มูลที่ เกดิ ขนึ้ กอ่ นหนา้ เปน็ สิ่งทอ่ี า้ งองิ ส่กู ล่องถดั ไป จะถูกสง่ มาตอ่ เพือ่ ร้อยเรียงกันและกนั ไป เรอื่ ยๆ สภาพการเรยี งตัวกนั แบบ –กล่องนมี้ าก่อนและกล่องนมี้ าหลัง- ไม่สามารถสลับ สบั เปลยี่ นได้ และขอ้ มลู ทีอ่ ยใู่ นกลอ่ งจะไมส่ ามารถเปลย่ี นแปลงได้เปน็ การอัพเดทขอ้ มลู ใหก้ บั ผู้ใชท้ ุกคนต่อไป 5. เงินถกู ถา่ ยโอนและอัพเดทข้อมูลแก่ผู้ใช้ เม่ือทุกอยา่ งสาเรจ็ ตามข้นั ตอน เงินจะถูกถ่ายโอนและอพั เดทข้อมลู แก่ผู้ใช้ทกุ คน พรอ้ มกนั การสง่ ตอ่ ข้อมูลจากเครอ่ื งถึงเคร่อื ง เรียกวา่ Peer-to-peer ส่วนเงินทวี่ า่ นเ้ี ป็น เพยี งแคจ่ านวนที่ถกู ระบขุ ึน้ ไมม่ เี ปน็ ส่ิงของที่จบั ต้องได้ เปน็ สินทรพั ยแ์ บบนึงในโลกดจิ ิทัล ท่ถี ูกบันทึกดว้ ยเทคโนโลยี สรุปได้วา่ Blockchain คือ ระบบฐานข้อมลู (Database) หรือรูปแบบการเก็บ ข้อมลู แบบหน่งึ ทไ่ี ม่มตี วั กลาง แต่มกี ารปกป้องขอ้ มลู อย่างดีเย่ียม บรรจุดว้ ยข้อมูลท่ีเรา ไว้ใจได้ประกอบด้วย Data , Hash และ Previous Hash สาหรบั ผูไ้ มห่ วงั ดแี ลว้ ไม่ สามารถโขมยไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์อะไรได้ หรือคดิ ปลอมแปลงขอ้ มูลผิดๆเขา้ ไปกแ็ ทบจะ เป็นไปไมไ่ ด้ เพราะขอ้ มูลทวี่ า่ นัน้ จะถกู เกบ็ เป็นสาเนาไว้ในเครื่องของทกุ คนท่ีใชฐ้ านข้อมูล เดยี วกนั เมื่อไหร่ท่เี อกสารมกี ารอพั เดท ทกุ สาเนาในมอื จะถูกอัพเดทไปด้วยเช่นกัน ในแง่ ของเครดิตหรอื ความน่าเชอ่ื ถอื มสี ูงมาก

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการจดั การอาชีพ 26 เทคโนโลยีทใ่ี ชใ้ นการทาธรุกรรมโดยไม่ ต้องผา่ นบุคคลทีส่ าม Block Chain 3.3 ประเภทของ( Blockchain ) ทาความรู้จกั ประเภทของ Blockchain

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 27 เทคโนโลยีทใ่ี ช้ในการทาธรกุ รรมโดยไม่ ต้องผ่านบคุ คลทส่ี าม Block Chain 3.3 ประเภทของ( Blockchain ) Public Blockchain Blockchain ประเภทน้เี ป็น Blockchain ปกตทิ ี่เราร้จู กั กันดีอาทิ Bitcoin, Ethereum ซงึ่ เป็น Blockchain ท่ใี ชง้ านจริงกับคนทุกคนทว่ั โลก

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การจดั การอาชีพ 28 เทคโนโลยที ใ่ี ชใ้ นการทาธรกุ รรมโดยไม่ ต้องผา่ นบุคคลท่ีสาม Block Chain Private Blockchain Blockchain ประเภทนเ้ี ป็นไปตามชอื่ นั้นคือ การสร้างวง Blockchainขึ้นมาเองภายในองค์กร ใช้งานกันเองอาจจะเป็นบริษัทในเครือเท่านั้นที่มีสิทธิเข้าถึง Blockchain เป็นอะไรท่ีตรงข้ามกับ Public Blockchainไปเลยอยา่ งสน้ิ เชงิ อย่างนี้กจ็ ะลดปัญหาการเปดิ เผยข้อมูลที่เราเจอในวง Public Blockchain ได้ แต่ก็แลกมาด้วยการท่ีองค์กรต้องลงทุนในการสร้างระบบ Infrastructure ข้ึนมาให้ รองรบั การทางานภายนองค์กร แบบของ Private Blockchainคือการที่เราสามารถปรับกฎเกณฑ์ต่างๆของ Blockchain Network ของเราใหท้ างานได้ดงั ใจสัง่ ไม่ต้องออกแบบระบบให้เป็นไปตามกฎของโลกเหมือนการท่ีเรา ไปอิงอยู่บน Public Blockchain อาทิ ถ้าเราออกแบบระบบของเราโดยอ้างอิงอยู่บน Public Blockchain – Bitcoin เวลามีการส่งเงินน้ันเราก็ต้องออกแบบระบบให้มีการรอ Confirm ธุรกรรม 10-15 นาทตี ามกฎของ Bitcoin

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การจดั การอาชีพ 29 เทคโนโลยที ่ใี ชใ้ นการทาธรุกรรมโดยไม่ ตอ้ งผา่ นบคุ คลท่ีสาม Block Chain Consortium Blockchain แนวคิดแรกเขา้ ด้วยกนั เป็นการผสาน Public – Private เข้าด้วยกันและเหมือนจะเป็นการ รวมข้อดีเข้ามาด้วยกัน แนวคิดกันกาลังได้รับความนิยมอย่างสูงในปัจจุบัน นั้นคือการท่ีองค์กร ต่างๆ ท่ีมีลักษณะธุรกิจเหมือนกันและต้องรับส่งแลกเปลี่ยนข้อมูลกันอยู่แล้ว มารวมกันต้ังสิ่งที่ เรียกว่า Consortium Blockchain อาทิเช่น Consortium Blockchain สาหรับธนาคารใช้ใน การแลกเปล่ยี นขอ้ มลู การโอนเงินกันภายในสมาคมธนาคารด้วยกัน และธนาคารท่ีจะเข้ามาร่วมใน วงได้ตอ้ งไดร้ ับการอนญุ าตจากตัวแทนเสียก่อนถึงจะมสี ทิ ธิเข้าถงึ การใชง้ านร่วมกันได้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการจดั การอาชีพ 30 เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในการทาธรุกรรมโดยไม่ ตอ้ งผ่านบคุ คลท่ีสาม Block Chain 3.4 ตวั อย่างการประยุกตใ์ ช้ (Block Chain) 1. การขนสง่ – พาหนะต่างๆ ท่เี ราน่งั ไปนนั้ จะช่วยเลือกเสน้ ทางทเ่ี ร็วทส่ี ุดให้ หลีกเลีย่ งจุด ก่อสรา้ ง จัดการเรอ่ื งคา่ ใชจ้ ่ายทางดว่ น ท่ีจอดรถ และสอ่ื สารกบั สัญญาณจราจรได้ การ ขนสง่ สินคา้ ตา่ งๆ จะจดั การเรือ่ งการตรวจสอบภาษไี ดไ้ วข้ึน 2. มอนเิ ตอร์โครงสรา้ งต่างๆ ในเมอื ง – สามารถตดิ ตง้ั อุปกรณ์ต่างๆ และใชอ้ ปุ กรณเ์ หลา่ น้ี ในการมอนเิ ตอรด์ ูปัจจัยความเส่ียง บนท้องถนน รางรถไฟ แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้า สะพาน ท่าเรือ runways เพื่อตรวจสอบดปู ญั หาตา่ งๆ ได้อยา่ งรวดเรว็ และลดตน้ ทนุ ไปได้ 3.สายพลงั งาน -การบรหิ ารจดั การด้านพลังงานเป็นอตุ สหกรรมท่ีผกู อย่กู ับศูนยก์ ลางมาอย่าง ยาวนาน ดค้ รเลยจะคดิ วา่ ในอนาคตอนั ใกล้ เราสามารถทจ่ี ะสรา้ งส่งิ เหลา่ นเ้ี องได้ แต่ดว้ ย Blockchain จะทาให้การดาเนนิ การด้านพลังงานจะถกู กระจายศูนย์ ตัวอย่างบรษิ ัท Transaction Grid สามารถให้ ผใู้ ช้ผลติ พลงั งานมาขาย

หน่วยท่ี 4 ธรกุ รรมการเงินดจิ ทิ ลั (Fintech)

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการจดั การอาชีพ 31 4 ธรกุ รรมการเงนิ ดจิ ทิ ลั (Fintech) 4.1 ความหมายของ ธรุกรรมการเงินดิจทิ ัล (Fintech) ความหมาย FinTech คอื กลมุ่ ธุรกจิ ทีป่ ระยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีเขา้ มาทาให้การบรกิ ารทเี่ กยี่ วข้องกับ การเงินและการลงทุนมปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้นึ เช่น การทาธุรกรรมรับ-จ่าย-โอนเงนิ ออนไลนข์ องธนาคาร หรือการวิเคราะหข์ อ้ มูลหุ้นเพ่อื ช่วยการตดั สนิ ใจของนักลงทนุ โดยบริการเหล่าน้ีมกั จะอย่ใู นรูปแบบของ บริการออนไลน์

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การจดั การอาชีพ 32 ธรุกรรมการเงินดจิ ทิ ลั (Fintech) 4.2 รูปแบบการให้บริการของธรุกรรมการเงนิ ดิจิทัล (Fintech) 1.Banking Technology การนาเทคโนโลยมี าใชก้ บั ระบบธนาคาร ซง่ึ เป็นสง่ิ แรกท่ีคนมกั คิดถงึ เม่ือพูดถงึ เทคโนโลยที างการเงนิ เพราะหลายคนคุน้ เคยกบั เทคโนโลยดี งั กล่าวอยู่แลว้ และเช่ือวา่ ในโทรศพั ทข์ องคนวยั ทางานส่วนใหญ่จะตอ้ ง ติดตง้ั แอปพลเิ คชนั ธนาคาร ซ่งึ ฟิ นเทคประเภทน้ีคือ Mobile Banking ท่ีมีข้ึนเพ่อื ใหล้ ูกคา้ ของ ธนาคารสามารถทาธุรกรรมต่าง ๆ ท่ีเป็ นการบริหารจดั การเงินของตวั เองไดด้ ว้ ยตวั เอง ทางานในฟั งกช์ นั เดยี วกบั ท่ธี นาคารแบบดง้ั เดมิ ทา ทง้ั เช็กยอดบญั ชี โอนเงนิ จา่ ยบลิ และอน่ื ๆ 2. crowdfunding Platforms เทคโนโลยีเพ่อื การระดมทุน กล่าวคือ คราวดฟ์ ันดิงแพลตฟอรม์ เป็ นแพลตฟอรม์ ตวั กลาง ระหว่าง ผูป้ ระกอบการ และนกั ลงทนุ โดยแพลตฟอรม์ ทเ่ี กดิ ข้ึน มีจุดประสงคเ์ พอ่ื ใหเ้ กดิ การขอ และใหเ้ งนิ ทุน แทนท่ี ผูป้ ระกอบการจะตอ้ งไปขอกูส้ ินเช่ือจากธนาคาร ก็สามารถระดมทุน จากนักลงทุนหลาย ๆ คนได้ และนัก ลงทนุ เอง กส็ ามารถเลอื กลงทนุ ในธุรกจิ ท่นี ่าสนใจ ผ่านแพลตฟอรม์ ดงั กล่าวได้ โดยแพลตฟอร์ม นอกจากจะ เป็น ตวั กลางในการเช่ือมต่อแลว้ ยงั อานวยความสะดวก ในเร่อื งการสมคั รขอระดมทุน ตรวจสอบเครดิต และ อนุมตั ิ ดว้ ยเช่นกนั ซ่งึ เพยี ร์ พาวเวอรจ์ ดั อยู่ใน ฟิ นเทคประเภทน้ี โดย การระดมทนุ ผ่านแพลตฟอรม์ ของ เพยี ร์ พาวเวอร์ จะอยูใ่ นรูปแบบของหนุ้ กคู้ ราวดฟ์ ันดงิ ทใ่ี หผ้ ลตอบแทนเป็นดอกเบ้ยี

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 33 ธรกุ รรมการเงินดิจทิ ลั (Fintech) 4.2 รปู แบบการใหบ้ รกิ ารของธรุกรรมการเงินดิจทิ ัล (Fintech) 3. Cryptocurrency สกุลเงินดิจิทัลท้ัง Cryptocurrency หรือเทคโนโลยี Blockchain เป็นการสมมติชุดข้อมูล ขึน้ มาด้วยวิธใี ดวธิ หี นง่ึ ในโลกออนไลน์ แล้วทาให้ใช้งานได้เหมือนเงินจริง สามารถใช้จ่ายได้ รวมถึง เก็งกาไรได้ดว้ ย โดยสกลุ เงินดจิ ิทลั สกุลแรกทถี่ ือกาเนิดมาในโลกคือ Bitcoinและท่ีส่ันสะเทือนวงการ การเงนิ ล่าสุดคอื การประกาศเปดิ ตวั Libra สกุลเงนิ ดิจิทลั ของ Facebook ทจ่ี ับมือกับพาร์ทเนอรเ์ จา้ ใหญท่ ว่ั โลกซึ่งถกู คาดการณว์ า่ จะเปน็ Technology Disruptive ท่ีใหญท่ ี่สดุ ในอนาคต การเกดิ ขน้ึ ของเทคโนโลยีทางการเงิน ประเภทนี้ บ้างก็ถูกมองเป็นโอกาสที่จะสร้างความเท่า เทียมทางการเงนิ บ้างกถ็ ูกมองวา่ เปน็ ภยั ตอ่ ระบบการเงินด้ังเดิมของโลก จึงได้รับทั้งการต้อนรับและ ขับไล่จากท่ัวโลก อย่างไรก็ดี Cryptocurrencyถือเป็นระบบการเงินแห่งอนาคตท่ีมีการขยาย ขอบเขตความสนใจเพม่ิ ขน้ึ เรือ่ ย ๆ 4. Payment Technology ระบบการจ่ายเงนิ ท่ีดาเนนิ การดว้ ยเทคโนโลยี ประเภทนคี้ อื ระบบตวั แทนการใชจ้ า่ ย ทีผ่ ู้ใช้ตอ้ ง เปิดบญั ชกี บั ทางแพลตฟอรม์ จงึ จะสามารถใช้งานได้ ตัวอย่างเช่นระบบ E-Wallet ตา่ ง ๆ เครดิต การด์ ซ่งึ ระบบ Payment จะต่างจาก Mobile Banking ตรงทีเ่ จ้าของแพลตฟอร์มไม่ใช่ธนาคาร และให้บริการเฉพาะการใช้จ่ายเทา่ นัน้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 34 ธรุกรรมการเงินดจิ ทิ ลั (Fintech) 4.2 รูปแบบการให้บริการของธรุกรรมการเงนิ ดิจทิ ัล (Fintech) 5. Enterprise Financial Software ซอฟต์แวร์สาหรบั องค์กร อกี หนงึ่ เครือ่ งมือเทคโนโลยี ทีจ่ ะช่วยผปู้ ระกอบการในเรอื่ ง การ จัดการทางดา้ นการเงนิ ไม่ว่าจะเป็น การจัดการบญั ชี ระบบจ่ายเงนิ เดอื น-ภาษแี ละการจดั การ พนักงาน ซงึ่ ครอบคลุมถงึ สวสั ดิการดา้ นการเงนิ โดยเทคโนโลยีดงั กลา่ วจะช่วยลดเวลา และทรัพยากร ท่ตี ้องใช้งาน ทาให้ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการภายในองคก์ รดขี ้นึ 6. Investment Management เทคโนโลยที จ่ี ะช่วยจดั การทางดา้ นลงทนุ ในปจั จุบนั จะเห็นได้ว่า มแี พลตฟอร์มการลงทุนที่ หลากหลายมากขึ้น ไม่วา่ จะเปน็ แอปพลิเคชันลงทนุ ใน Private fund, ทองคา, กองทุนรวม รวมถงึ แพลตฟอรม์ ทใ่ี ช้ AI ช่วยในการวเิ คราะหห์ ้นุ หรือแม้แตก่ ารนาเทคโนโลยอี ยา่ ง Robo Advisor มา ช่วยในการจดั พอรต์ การลงทุน (Asset Allocation) 7. Insurance Technology/ Insurtech หลายคนมองว่าการซ้ือประกันภัย ประกันชีวิตคือการลงทุนรูปแบบหนึ่ง รวมท้ังระบบการ คานวณเบ้ียประกันมีความซับซ้อน การใช้เทคโนโลยีทางการเงินเข้ามาช่วยทั้งด้านการคานวณเบ้ีย ประกัน ผลตอบแทน ความเสี่ยง รวมถงึ อัตราส่วนลดอยา่ งเป็นเหตเุ ป็นผล ช่วยให้ท้ังผู้ซื้อและผู้เสนอ ขายประกันภยั ประกนั ชีวิตบรหิ ารจดั การระบบประกนั ไดง้ า่ ยขนึ้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 35 ธรุกรรมการเงนิ ดิจิทลั (Fintech) 4.3 ผลกระทบของ Fintech กบั สถาบนั การเงิน Fintech มผี ลกระทบอย่างไรกับธนาคารและอุตสาหกรรม ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าเทคโนโลยีทางการเงิน คือการทาให้คนท่ัวไปมีอานาจจัดการ การเงินของตัวเองมากพอกับท่ีธนาคารสามารถทาได้ ประกอบกับมีหลาย ๆ รูปแบบในการ ให้บริการ นอกจากประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นแล้ว เราจะพบการต้ังคาถามกับเทคโนโลยีทางการเงิน ใน ลักษณะการ Disruption ระบบการเงินแบบด้ังเดิมด้วย โดยกลุ่มท่ีมองว่าอาจได้รับผลกระทบ จากเทคโนโลยีทางการเงนิ มอี ยู่ 2 – 3 กลุ่มคอื ธนาคารหรอื สถาบันการเงนิ ดว้ ยความเป็นเจา้ เกา่ ทค่ี รองอานาจทางการเงนิ มาโดยตลอด ทาให้เม่อื เทคโนโลยีทางการ เงนิ กาเนดิ ขึน้ มาโดยมีลกั ษณะทค่ี ลา้ ยกบั การใหบ้ ริการของทางธนาคาร จงึ มีการตงั้ คาถามวา่ ธนาคารจะอยไู่ ด้หรือไม่ หากคนหันไปใช้เทคโนโลยที างการเงินกนั มากขนึ้ หา้ งสรรพสนิ ค้า เมอ่ื มีการซ้อื ขายออนไลน์แบบครบขัน้ ตอนในแพลตฟอรม์ เกดิ ข้นึ ดว้ ยความชว่ ยเหลอื จาก เทคโนโลยีทางการเงิน การซื้อขายสินค้าที่ต้องเดนิ ทางออกไปเพือ่ ค้นหาจงึ มคี วามจาเปน็ ลดลง รวมถงึ ขณะนี้ ปนะเทศไทยมีอตั ราการใชจ้ า่ ยออนไลนส์ ูงทสี่ ดุ ในเอเชีย ห้างสรรพสนิ ค้าจึงเป็นสว่ น หนึง่ ท่อี าจได้รบั ผลกระทบ แตพ่ ฤติกรรมของผบู้ รโิ ภคท่ีชอบซ้อื ของทไี่ ดส้ มั ผัสดว้ ยมือ มองเหน็ ด้วยตา รวมถงึ ตอ้ งการท่ีนง่ั เล่น พบเจอกบั เพอ่ื นกย็ ังมีอยู่เชน่ กนั

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจดั การอาชีพ 36 ธรกุ รรมการเงนิ ดิจิทลั (Fintech) 4.4 การปรับตวั กับสถาบันการเงินเพอ่ื รบั รองการแข่งขนั การแข่งขนั ระหวา่ งสถาบนั การเงนิ ท่สี ูงทาใหล้ กู คา้ มีทางเลอื กมากข้ึน สง่ ผลใหพ้ ฤติกรรมการใชบ้ รกิ าร ดา้ นการเงนิ ของผูบ้ รโิ ภคไดเ้ ปลย่ี นแปลงไปตามสภาวะแวดลอ้ มของตลาด อกี ทง้ั ผูบ้ รโิ ภคมีความรูใ้ นเร่อื การ ลงทุนทางดา้ นการเงิน และเร่ิมมองหาผลิตภณั ฑเ์ พ่ือการลงทุนมากข้ึน ทาใหส้ าขาจึงกลายเป็ นช่องทางท่ี สาคญั ในการนาเสนอผลติ ภณั ฑแ์ ก่ลูกคา้ ของสถาบนั การเงนิ และบริการไดอ้ ย่างครบวงจร ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑ์ ดา้ นเงนิ ฝาก อาทิ ผลติ ภณั ฑเ์ งนิ ฝากประจา ท่ีใหผ้ ลตอบแทนท่สี ูง ผลิตภณั ฑส์ นิ เช่ือ เช่น สนิ เช่ือท่อี ยู่อาศยั สนิ เช่ือบตั รเครดิตและสนิ เช่ือเงนิ สด เป็นตน้ ผลติ ภณั ฑก์ องทนุ ประเภทต่างๆ สาขายงั เป็ นช่องทางในการขาย ผลิตภณั ฑก์ องทุนต่างๆ โดยเฉพาะในช่วงท่ีผ่านมาการแข่งขนั โดยเป็ นการขายผลิตภณั ฑข์ อง บลจ.ท่ีมี ธนาคารพาณิชยข์ นาดใหญ่เป็ นผูถ้ อื หนุ้ นอกจากน้ีการเป็ นนายหนา้ ขายประกนั ของธนาคารพาณิชย์ หรอื ท่ี เรยี กวา่ แบงกแ์ อสชวั รนั ช์ (Bancassurance)เป็นตน้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจดั การอาชีพ 37 ธรุกรรมการเงินดจิ ทิ ลั (Fintech) 4.5 การปรับตัวเขา้ สู่ยุค Digital Digital Transformation คอื อะไร Digital Transformation คอื การเปลย่ี นแปลงแนวความคิดและนาเทคโนโลยีมาใชใ้ น ธรุ กิจในยคุ ดจิ ทิ ัล ต้งั แตก่ ารวางรากฐาน เป้าหมาย ไปจนถึงการดาเนินธุรกจิ และสง่ ตอ่ คณุ คา่ ให้แก่ ผบู้ รโิ ภค ไมเ่ พียงแตภ่ าคการปฏบิ ตั กิ ารท่จี ะตอ้ งมีการเปล่ยี นแปลงคร้ังใหญเ่ ทา่ นนั้ แต่สิ่งนร้ี วมไป ถงึ การเปล่ยี นแปลงดา้ นวัฒนธรรมทอี่ งคก์ รและบุคลากรทุกภาคสว่ น ต้งั แตผ่ บู้ ริหารไปจนถงึ พนกั งานตาแหนง่ ลา่ งสดุ จะตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการปรบั ตวั ไปสยู่ ุค 4.0 นดี้ ว้ ย ท้งั นก้ี ็เพ่อื เพม่ิ ศกั ยภาพใหอ้ งคก์ รสามารถแขง่ ขันในยุคท่ีมกี ารต่อสกู้ ันอยา่ งดุเดือดได้

หนว่ ยที่ 5 ระบบเงนิ ดิจทิ ลั

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การจดั การอาชีพ 38 5. ระบบเงนิ ดิจทิ ลั 5.1 สกุลเงินดจิ ทิ ัล หรอื คริปโทเคอร์เรนซี ( Cryptocurrency) สกุลเงินดิจิตอล (Cryptocurrency) คือสกุลเงินเสมือนที่ใช้การเข้ารหัสเพื่อทาให้มี ความปลอดภยั ซ่ึงแทบจะเปน็ ไปไม่ไดเ้ ลยที่จะปลอมแปลงหรอื จา่ ยซ้า สกุลเงนิ ดจิ ติ อลจานวน มากเป็นระบบการกระจายอานาจบนพ้ืนฐานของเทคโนโลยีบล็อคเชนท่ีเป็นบัญชีแยก ประเภทกระจายและมีการบังคับใช้โดยเครือข่ายที่แตกต่างกันของคอมพิวเตอร์ ฟีเจอร์ที่มี การกาหนดของคริปโตเคอเรนซีก็คือมันมักจะไม่ออกโดยผู้มีอานาจส่วนกลางใดๆ การ แสดงผลของมนั ในทางทฤษฎมี ีภูมคิ มุ้ กันตอ่ การแทรกแซของรฐั บาลหรอื การจดั การ สกลุ เงินดจิ ิตอลทใี่ ชบ้ ลอ็ คเชนตวั แรกคอื บทิ คอยน์(Bitcoin) ซึง่ ยังคงเป็นท่นี ิยมและมคี า่ มากที่สุด ปัจจุบันน้ีมีสกุลเงินดิจิตอลสารองหลายพันฟังก์ชั่นหรือข้อกาหนดต่างๆ สกุลเงิน เหล่าน้ีบางส่วนถือเป็นโคลนของบิทคอยน์ในขณะท่ีสกุลเงินอื่นๆเป็นฟอร์คหรือเป็นสกุลเงิน ดจิ ติ อลใหมท่ แี่ ยกออกจากทมี่ อี ยแู่ ลว้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพือ่ การจดั การอาชีพ 39 ระบบเงนิ ดจิ ิทลั 5.2ประเภทของสกลุ เงินดิจติ อล (Cryptocurrency) ประเภทของสกลุ เงินดจิ ติ อล สกุลเงินดจิ ิตอลแรกที่ทาให้เกิดจินตนาการในท่ีสาธารณะคือ บิทคอยน์ ซ่ึงเปิดตัวใน ปี 2552 โดยบุคคลหรือกลุ่มที่รู้จักกันในนามแฝง ซาโตชิ นากาโมโต ณ ตอนน้ี เดือนตลา คม 2020 บิทคอยน์มีมูลค่าตลาดรวมประมาณ 199.62 พันล้านเหรียญสหรัฐ ความสาเร็จของบิทคอยน์ทาให้เกิดสกุลเงินดิจิตอลจานวนมากที่รู้จักกันในช่ือ \"altcoins\" เช่น Litecoin, Ethereum, Bitcoin Cash,Ethereum, Ripple(XRP), EOS และ Cardano ปจั จบุ นั มีสกุลเงินดจิ ติ อลมากกวา่ 1,000 ชนิด เทรดเดอรจ์ ะมีทางเลอื กมากมาย ในการซ้ือขาย

หน่วยท่ี 6 การทาธรุกจิ ดจิ ิทัลบนสื่อสงั คมออนไลน์

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการจดั การอาชีพ 40 หนว่ ยท่ี 6 การทาธรกุ จิ ดจิ ิทัลบนสอื่ สังคม ออนไลน์ 6.1 การตลาดดจิ ิทลั ( Digtal Marketing) Digital Marketing คืออะไร ก่อนท่เี ราจะอธบิ ายคารวมของการตลาดิจทิ ลั ขอขยายความคาวา่ “การตลาด” เสียก่อนวา่ แท้จรงิ แลว้ คาคานีม้ นี ยั สาคญั แค่ไหน ทาไมอุตสาหกรรมหรือธุรกจิ ตา่ งๆ ไม่ว่าจะ ขนาดใหญ่ไปจนถึง SME ต่างต้องใหค้ วามสาคญั อยา่ งมาก การตลาด เป็นคาท่ีถูกนิยามถึงวิธกี ารในการทาให้ธุรกิจเปน็ ทีร่ ู้จักจนไปสกู่ ารสรา้ งผลกาไร หรือผลตอบแทนจากการลงทุน ดังน้ันคาว่าการตลาดจึงไม่ได้หมายถึงการโปรโมทสินค้าหรือแบรนด์ เพยี งอย่างเดยี วแตค่ รอบคลุมไปถึงกลยุทธ์การบริหารจัดการต่างๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์กรด้วย คณุ จึงมกั จะได้ยินเหล่าผู้เช่ียวชาญทางด้านการตลาดหลายท่านท่ีมักจะแนะนาให้ธุรกิจที่เกิดใหม่หรือ คนที่กาลังคิดจะปั้นธุรกิจข้ึนมาให้ใส่ใจกับเรื่องการตลาดอย่างมากต้ังแต่เร่ิมต้น นั่นเป็นเพราะ การตลาดถอื เปน็ โครงสร้างสาคญั และเป็นตวั ชว้ี ัดได้

เทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่อื การจดั การอาชีพ 41 หน่วยที่ 6 การทาธรุกจิ ดจิ ทิ ลั บนส่อื สังคม ออนไลน์ 6.1 การตลาดดจิ ิทัล ( Digtal Marketing) เคร่ืองมอื Digital Marketing จะเรียกว่าเป็นความท้าทายของนักการตลาดก็คงไม่ผิดสาหรับเร่ืองเคร่ืองมือใน การทา การตลาดดจิ ิทัล เพราะว่าหากเราเทยี บกบั การตลาดยคุ ก่อน (Offline Marketing)กจ็ ะมีพื้นทห่ี รือ รูปแบบให้คนได้เสพส่ือกันอยู่ไม่กี่อย่าง เช่นส่ือส่ิงพิมพ์ ป้ายบิลบอร์ด นิตยสาร หนังสือพิมพ์ ใบปลวิ แผ่นพบั หรอื สอื่ หลักอย่างโทรทศั น์แต่เมื่อโลกเปล่ยี นมาเขา้ สู่ยุคของดิจทิ ลั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook