การสง่ เสริมและพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก โดย อ.วชิรา ไฝเจริญมงคล ผอู้ านวยการกองส่งเสริมวสิ าหกิจชมุ ชน กรมสง่ เสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1 การสง่ เสรมิ และพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจริญมงคล ผู้อานวยการกองสง่ เสริมวิสาหกิจชุมชน กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หลักสูตรนายอาเภอ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ------------------------------------------------------------------------------ เศรษฐกจิ กระแสหลกั (Main Stream Economy) หมายถงึ เศรษฐกิจท่ีขบั เคล่อื น ด้วยกลุม่ ทนุ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีบทบาทในการพัฒนาประเทศมาตงั้ แต่แผนพัฒนา เศรษฐกิจฉบับท่ี 1 จนถงึ ปจั จบุ ัน ดาเนนิ การอยภู่ ายใต้ปรัชญาการคา้ เสรี (Free Trade) เนน้ กาไร เศรษฐกิจฐานราก (Community Economy หรอื Local Economy) หมายถึง เศรษฐกจิ ทข่ี ับเคลอ่ื นดว้ ยธุรกิจขนาดกลาง และขนาดเลก็ ไปจนถึงผปู้ ระกอบการราย ยอ่ ย เน้นการพงึ่ พาอาศัยกัน ตามพระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ชมุ ชน พ.ศ. 2548 : วสิ าหกิจชมุ ชน คอื กจิ การของชมุ ชน เก่ยี วกับ การผลติ สินค้า การใหบ้ ริการ หรอื การอน่ื ๆ ทด่ี าเนนิ การ โดยคณะบุคคลทมี่ ีความผูกพนั มีวถิ ชี วี ติ รว่ มกนั และรวมตัวกนั ประกอบกจิ การดงั กล่าว ไม่ว่าจะเป็นนิติบคุ คล หรอื ไมเ่ ป็นนติ บิ ุคล เพ่ือสร้างรายได้และเพือ่ การพ่ึงพาตนเอง ของครอบครวั ชมุ ชน และระหว่างชุมชนกไ็ ด้ โดยใชท้ ุนชุมชนซง่ึ อาจไมเ่ ปน็ ตัวเงินก็ได้ (ประเพณี วฒั นธรรม ภมู ิปัญญา ฯลฯ) เปา้ หมายวสิ าหกิจชุมชน ชุมชนเปน็ เจา้ ของกิจการเอง พง่ึ พาตนเอง ใช้ทุนชุมชน ใชภ้ ูมิปญั ญา การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชริ า ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
2 พง่ึ ตนเอง ให้ได้ก่อน สร้างรายได้ ให้กบั ครอบครัว ชุมชน และระหว่างชุมชน อยู่ร่วมกนั อย่างเกือ้ กลู ท้งั คนและสภาพแวดล้อม กระบวนการมี 9 ขั้นตอน - การรวมกลมุ่ และพฒั นากระบวนการทางานรว่ มกนั (เนน้ การสรา้ งทมี ) - วเิ คราะหช์ ุมชน คน้ หากลมุ่ ลูกคา้ เป้าหมาย - วางแผนการผลิตและชอ่ งทางการจาหนา่ ย - การผลิตสนิ คา้ /บริการ - การจาหนา่ ยสินค้าและการประชาสมั พันธเ์ พือ่ การตลาด - เพม่ิ ศักยภาพในการบรหิ ารจดั การกล่มุ - พัฒนาศักยภาพในการผลิตสนิ คา้ /บรกิ ารใหม้ ีมลู คา่ เพ่มิ ขึ้น - การสรา้ งเครอื ขา่ ย - เขา้ ร่วมการพฒั นาชมุ ชน ส่งเสรมิ สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม อยา่ งย่ังยนื การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชริ า ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
3 ขน้ั ที่ 1 การรวมกลมุ่ และพัฒนากระบวนการทางานรว่ มกัน • รวมกลมุ่ ‐ เปน็ การรวมคนในชุมชนร่วมทากิจกรรมเกย่ี วกบั การผลติ สนิ ค้าหรอื บรกิ าร เพอื่ ลดรายจ่ายและสรา้ งรายได้บนพืน้ ฐานศักยภาพของชุมชน • การพฒั นากระบวนการทางานรว่ มกัน ‐ การแลกเปลย่ี นเรียนรู้/ระดมความคิด ‐ สรา้ งการมีส่วนร่วม ทีมงาน การบริหารจดั การที่โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ การ มอบหมายงานตา่ ง ๆ รวมการประเมินศกั ยภาพของตนเอง ‐ ศึกษาเรียนรู้จากภายนอก (ต้นแบบ/แหล่งเรียนรู)้ ขั้นที่ 2 วิเคราะห์ชมุ ชน ค้นหากลุ่มลูกค้าเปา้ หมาย 1) วิเคราะหป์ ระเมินตนเอง SWOT บนพื้นฐานข้อมูลทุนชุมชนเพ่ือใชว้ าง แผนการผลติ สินค้า/บรกิ าร บนพื้นฐานทรพั ยากรของชมุ ชน 2) วเิ คราะหก์ ลมุ่ ลูกคา้ เป้าหมาย ทจี่ ะขายสนิ คา้ / บริการ เป็นใคร อยู่ทไ่ี หน • คน้ หากลมุ่ ลกู ค้า โดยเรม่ิ จากจุดใกลต้ ัวกอ่ น เชน่ คนในชุมชนและ ชมุ ชนใกลเ้ คยี งก่อน • คน้ หาลกู ค้านอกชุมชน หรือ ลกู คา้ เฉพาะกลมุ่ เช่น กลุ่มผู้รกั สขุ ภาพ • ค้นหาขอ้ มลู ผผู้ ลติ สนิ คา้ ในชมุ ชนหรอื พ้นื ท่ีขา้ งเคียง • คน้ หาความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย ความคาดหวังในตวั สินค้า การจาหนา่ ย และการสง่ มอบ โดยการพูดคยุ แบบสารวจ เปน็ ตน้ การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
4 ข้ันที่ 3 วางแผนการผลติ และชอ่ งทางการจาหน่าย ใชข้ อ้ มลู ของลูกคา้ ประกอบการจดั ทา การผลติ แผนการตลาด รวมทัง้ กาหนด ชอ่ งทางการจาหนา่ ย • การวางแผนการผลิตสนิ ค้า/บรกิ ารทส่ี อดคลอ้ งกับ การวิเคราะหท์ นุ ชมุ ชน ความตอ้ งการของลูกคา้ • มกี ารใชภ้ ูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ินมาประยกุ ตใ์ ช้ในการผลติ สนิ คา้ /บริการ • ใชว้ ัตถดุ บิ ส่วนใหญใ่ นชุมชนหรือชมุ ชนใกลเ้ คยี ง • กาหนดชอ่ งทางการจาหนา่ ยทีม่ คี วามหลากหลาย • กาหนดราคาขายอยา่ งเหมาะสม ไมเ่ นน้ กาไรสูงสุด การวางแผน การพฒั นาวสิ าหกจิ ชุมชน ควรมกี ารเขยี นแผนธุรกิจ ให้ชัดเจน เชน่ มีการทา Business Model Canvas: BMC แบบจาลองธรุ กิจ ท่เี ป็น เคร่ืองมอื ช่วยในการวางแผนธุรกิจ ซึ่งจะช่วยใหเ้ ห็นภาพ (Visualizing) ไดอ้ ยา่ ง ครบถ้วน และช่วยในการประเมินความสาเรจ็ ของแผนงาน และเลอื กรปู แบบ (Business Model) ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกับธรุ กจิ ขน้ั ที่ 4 การผลิตสินคา้ /บริการ • การศกึ ษาหาความรใู้ นวธิ ีการผลติ (ตอ้ งมคี วามรใู้ นการผลติ ) :- หาผรู้ ู้ หาแหล่งเรยี นรู้ (รฐั เอกชน วสช.) • การเลือกวธิ ีการผลติ ท่เี หมาะสมกับบริบทของชมุ ชน :- วาง แผนการผลิตทเ่ี หมาะสม กาหนดขน้ั ตอนและกระบวนการผลติ และมกี าร ตรวจสอบคณุ ภาพอย่างสมา่ เสมอ • การออกแบบการบรรจุหบี หอ่ (Packaging) ที่สวยงาม จูงใจ และสะดวกต่อ การใชส้ อย การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
5 • สร้างตราสนิ ค้า (Brand) ของตนเอง เพอื่ การจดจาและบอกต่อ • ขอเครื่องหมายรบั รองคณุ ภาพ (Certification Mark) เพ่ือแสดงคณุ ภาพของ สนิ ค้า • จดั ทาฉลากสินคา้ ข้นั ที่ 5 การจาหน่ายสนิ ค้าและการประชาสมั พนั ธ์เพอ่ื การตลาด • การขายสินค้าไปยงั กลุ่มลูกคา้ เปา้ หมายตามชอ่ งทางการจาหน่ายท่ีวางแผน ไว้ พรอ้ มท้งั ประชาสมั พนั ธเ์ พ่ือการตลาด ต้องมงุ่ เน้นการนาเสนอ “คุณประโยชน์ หรือ คณุ คา่ ของสนิ คา้ /บริการท่โี ดดเดน่ ” • การประชาสมั พันธ์เพ่ือการตลาด ถือเป็นสิ่งสาคญั ในการเติบโตของกจิ การใน ระยะยาว : วิเคราะหก์ ลุม่ เป้าหมาย เน้อื หา/ ขา่ วสาร การเลือกใช้สอ่ื กิจกรรมสง่ เสริมการขาย - การทาคาขวัญ สโลแกน การปั้นแบรนด์ (สรา้ งภาพจา) - การทาเรื่องราว (Storytelling) - การทาส่อื เชน่ แผ่นพบั รปู ภาพ สอ่ื ทาง Facebook/Instagram - กิจกรรมสง่ เสริมการขาย เชน่ การลดราคาชว่ งเทศกาล การแจกให้ทดลองใช้ ขน้ั ที่ 6 เพิ่มศักยภาพในการบรหิ ารจัดการกลมุ่ การบรหิ ารจดั การกลุ่มอย่างมปี ระสิทธิภาพ เรมิ่ ดว้ ยการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร ให้มอี งคค์ วามรเู้ พยี งพอในการปฏิบัติงานและมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยมี องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ดงั น้ี • เปิดโอกาสใหเ้ กดิ กระบวนการมสี ว่ นรว่ ม โดยเฉพาะการกาหนดเปา้ หมาย / แผน เพ่ือสรา้ งใหท้ กุ คนมคี วามรสู้ ึกเป็นเจ้าของ การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชริ า ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
6 • กาหนดโครงสร้างคณะกรรมการและบทบาททชี่ ัดเจน • กาหนดกฎ ระเบยี บ ข้อตกลง หรอื ข้อบังคับทสี่ มาชิกเห็นร่วมกัน • วเิ คราะหค์ วามเสี่ยงอยา่ งรอบดา้ น • จดั หาสถานทเี่ พอ่ื เปน็ ศนู ย์กลางในการแลกเปลย่ี นเรียนร/ู้ ทากิจกรรม • มีการสือ่ สารระหว่างผนู้ าและสมาชิกอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจดั ระบบการควบคมุ ตรวจสอบ โดยเฉพาะระบบบญั ชี ตอ้ งถูกตอ้ ง โปร่งใส และเปน็ ปจั จุบนั • ทบทวนแนวทางการดาเนนิ งาน พฒั นา/ปรับปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ขนั้ ที่ 7 พัฒนาศักยภาพในการผลติ สนิ คา้ /บรกิ ารให้มมี ูลคา่ เพมิ่ ขึ้น • ยกระดับความสามารถในการผลติ สนิ คา้ /บรกิ าร ทั้งดา้ นคณุ ภาพและ มาตรฐาน เพื่อขยายตลาด โดย • การผสานภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นกบั เทคโนโลยนี วัตกรรม สรา้ งความเป็น เอกลกั ษณข์ องสนิ คา้ สร้างเรอ่ื งราว หรอื การสร้างตานานของสนิ คา้ เพ่อื ให้ เกดิ คณุ ค่าหรือมลู คา่ เพมิ่ • แสวงหาความรใู้ นการนา IT เขา้ มาชว่ ยในการเพ่มิ ผลผลิต • แสวงหาความร้ใู หม่ โดยการเข้าร่วมการอบรม สมั มนา ติดตามขา่ วสารจาก สอื่ ต่าง ๆ • พฒั นากระบวนการผลิตใหเ้ กิดประสิทธิภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอื่ ยกระดบั สนิ ค้า/บริการ เชน่ ผา่ นการรบั รองมาตรฐานสากล มกี ระบวนการสร้างแบ รนด์ (ภาพลกั ษณ์/การรบั รู้/ความนา่ เช่ือถือ) ขัน้ ท่ี 8 การสรา้ งเครอื ขา่ ย การสร้างเครอื ข่าย เพอื่ หนุนเสริมการประกอบการซงึ่ กนั และกนั ซง่ึ การสร้าง เครือขา่ ยเป็นกลยทุ ธ์หนึง่ ในการเพิ่มความเขม้ แข็งใหก้ บั กลุม่ ดังนี้ การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
7 เครอื ขา่ ยภายใน คือ เครอื ขา่ ยระหวา่ งกลมุ่ ท่มี ลี กั ษณะการผลิตสินคา้ /บรกิ าร คลา้ ยกนั เพอ่ื แบ่งปนั ความรู้ วตั ถุดิบ เทคโนโลยี ตลาด และการบรหิ ารจัดการ ซ่งึ กนั และกันได้ เครือข่ายภายนอก คอื เครอื ขา่ ยกับหนว่ ยงานหรือองคก์ รท้งั ภาครฐั เอกชน สถาบันการศึกษา เพ่อื ขอรบั การสนับสนุน แนะนาในการแกป้ ญั หาดา้ นตา่ ง ๆ ขนั้ ที่ 9 เขา้ รว่ มการพฒั นาชุมชน สง่ เสรมิ สงั คม และสิ่งแวดล้อม อยา่ งยัง่ ยืน โดยการ • การเข้ารว่ มกจิ กรรมทสี่ ่งประโยชน์ต่อชุมชน สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม โดยรวม • มกี ระบวนการผลติ สนิ คา้ /บรกิ ารท่มี ุ่งเน้นการประหยดั พลงั งาน ไมท่ าลาย ทรพั ยากรธรรมชาติ • มีการจดั กระบวนการเพอ่ื ปลกู ฝงั จติ สานึกในการเสยี สละ เกอ้ื กูล อนรุ กั ษ์ และใส่ใจตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม • ดาเนนิ ธรุ กจิ ดว้ ยความยุตธิ รรม ไมเ่ บยี ดเบยี นสงั คม ไมเ่ อาเปรยี บผู้บรโิ ภค มกี ารจดั ระบบสวสั ดกิ ารทีด่ ีสาหรบั สมาชกิ และชุมชน ทางรอดของวสิ าหกจิ ชมุ ชน 1. วิสาหกิจชุมชนตอ้ งมคี วามเปน็ “มอื อาชีพ” 2. สนิ ค้าดี มีมาตรฐาน และมคี วามปลอดภยั มีเรอื่ งราว มีเรอ่ื งเลา่ 3. การขายด้วย “คุณคา่ ” ที่มีประโยชน์ตอ่ ลูกค้าอยา่ งแท้จรงิ 4. เชอ่ื มตอ่ ไปยังผู้บริโภคได้โดยตรง 5. การใช้ส่อื ออนไลนท์ ่ี “ใกลต้ ัว” 6. การทางานอยา่ งมีระบบ ระเบียบ 7. การใหค้ วามสาคญั กับ DATA คณะอนกุ รรมการส่งเสรมิ วสิ าหกจิ ชุมชนระดับอาเภอมนี ายอาเภอเป็นประธาน และมเี กษตรอาเภอเปน็ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร ----------------------------------------------------------------- การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชริ า ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
8 เรียบเรยี งโดย กง.นทฝ. การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
9 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
10 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
11 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
12 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
13 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
14 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
15 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
16 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
17 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
18 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
19 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
20 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
21 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
22 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
23 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
24 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
25 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
26 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
27 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
28 ตัวอยา่ ง การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
29 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
30 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
31 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
32 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
33 การสง่ เสรมิ และพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก บรรยายโดย อ.วชิรา ไฝเจรญิ มงคล ผอู้ านวยการกองสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชมุ ชน หลกั สตู รนายอาเภอ
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: