สรุปเนื้อหาวชิ าการบัญชีชน้ั กลาง 1 กบั ช้นั กลาง 2 หน่วยท่ี 1 เรือ่ ง องคป์ ระกอบของงบการเงนิ การรบั รู้รายการ การวดั มูลค่าเก่ียวกับสินทรัพย์ ตามมาตรฐานการบญั ชี องคป์ ระกอบของงบการเงนิ องคป์ ระกอบของงบการเงินเป็นรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีตามลักษณะเชิงเศรษฐกิจซึ่งนามาจัด ประเภทและแสดงไวใ้ นงบการเงินโดยสามารถสรุปเบอื้ งตน้ ไดด้ ังนี้ องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินในงบดุลได้แก่สินทรัพย์หนี้สินและส่วนขอ ง เจา้ ของ องค์ประกอบซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดผลการดาเนินงานในงบกาไรขาดทุนได้แก่รายได้และ ค่าใช้จ่าย สว่ นงบแสดงการเปล่ียนแปลงฐานะการเงนิ จะสะท้อนถงึ องค์ประกอบในงบกาไรขาดทนุ และการ เปลยี่ นแปลงองค์ประกอบในงบดุลอยแู่ ล้ว หนว่ ยที่ 2 เรือ่ ง เงนิ สด วิธีการบญั ชีเกี่ยวกบั เงินสดย่อย ขน้ั ตอนการบันทึกบัญชเี งนิ สดยอ่ ยวิธีระบบจากดั วงเงิน (Imprest System) 1. การต้ังวงเงนิ สดยอ่ ย เมื่อกจิ การกาหนดวงเงินสดย่อย วธิ กี ารเหมอื นกบั การจา่ ยเงนิ ของกจิ การ โดย กจิ การสงั่ จ่ายเป็นเช็คและผดู้ ูแล เงนิ สดยอ่ ยจะนาเช็คน้ัน ไปเบิกเงนิ ท่ีธนาคารเพ่ือไวจ้ ่ายเม่อื มีผู้มาขอเบิกเงนิ สดยอ่ ย 2 การจา่ ยเงินสดย่อย ผดู้ แู ลเงินสดยอ่ ย จะบันทึกบญั ชีในสมดุ เงนิ สดย่อย เพอ่ื ช่วยในการทางานสะดวก รวดเร็วข้นึ และยังช่วยบันทกึ ความทรงจา (Memo) ในการเบิกเงนิ สดเม่ือมีผู้มาขอเบกิ เงิน 3 การเบิกชดเชยเงินสดย่อย ผดู้ ูแลเงนิ สดย่อยทาการเบกิ ชดเชยเงินสดยอ่ ยเม่ือเหน็ ว่าเงินสดยอ่ ยใกล้หมด หรอื เม่อื สนิ้ ระยะเวลาทกี่ าหนดไวใ้ นการเบิกชดเชยน้นั ผู้ดแู ลรวบรวมใบสาคญั จา่ ยเงินสด และจดั ทาใบขอเบกิ ชดเชยใหมต่ ามเงินในใบสาคัญท่จี ่ายไป
หนว่ ยที่ 3 เรือ่ ง การบัญชีลกู หน้ี ความหมายและประเภทของลูกหนี้ 1.ความหมายของลูกหน้ี ลูกหน้ี (Receivable) หมายถงึ สทิ ธิเรียกร้องอย่างหนึ่งของเจ้าหน้ีในการทีจ่ ะใหช้ าระหนด้ี ว้ ยเงนิ สดหรอื ทรพั ยส์ ินอย่างอนื่ โดยคาดหมายวา่ จะได้รบั ชาระเตม็ จานวนเมื่อถึงกาหนดชาระ ลูกหน้ีจัดเปน็ สินทรัพย์อยา่ ง หนึง่ ของกจิ การและควรแสดงในงบการเงนิ ดว้ ยมูลค่าสุทธิที่คาดว่าจะได้รับนั่นก็คอื จานวนท่คี าดหมายว่าจะ เก็บได้ การบัญชีเกีย่ วกบั หน้สี ูญไดร้ บั คืน 1.กรณีการตดั จาหนา่ ยหนีส้ ูญเป็นไปตามกฎหมายภาษีอากร กิจการบนั ทึกการต้งั บญั ชีลกู หน้ขี ึน้ ใหม่ โดยบันทกึ เดบติ ลกู หนี้ xxx เครดติ หน้สี ูญไดร้ ับคืน xxx กิจการบนั ทึกการรบั ชาระหนี้ โดยบันทึก เดบติ เงินสด xxx เครดติ ลกู หน้ี xxx วิธนี บ้ี ัญชีหนสี้ ูญได้รบั คืนเป็นรายได้ นาไปแสดงในงบกาไรขาดทุนในหวั ข้อรายได้อ่นื 2.กรณีการตัดจาหนา่ ยหนี้สญู มไิ ดเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายภาษีอากร
กิจการบันทึกกลบั รายการทีบ่ ันทึกตอนตัดจาหน่ายบัญชลี ูกหนคี้ ือ เดบติ ลูกหนี้ xxx เครดติ ค่าเผอื่ หน้ีสงสยั จะสูญ xxx บันทกึ การรบั ชาระหนโี้ ดย เดบติ เงินสด xxx เครดิต ลูกหน้ี xxx การประมาณหน้สี งสยั จะสูญและการตัดจาหนา่ ยหน้สี ญู การประมาณหนีส้ งสยั จะสญู มีวิธกี ารปฏิบัติดังนี้ เพื่อประมาณอัตราร้อยละของยอดลูกหน้ีท่ีคาดว่าจะเก็บไม่ได้ต่อยอดลูกหน้ีที่คา้ ง ณ วันส้ินงวด วธิ นี ้ี สามารถทาได้ 2 วธิ ีเชน่ วธิ ีท่ี 1 คานวณเปน็ ร้อยละของยอดลกู หน้สี าหรบั ลกู หนี้ทัง้ หมดคงที่ วิธที ี่ 2 คานวณโดยเป็นจัดกลมุ่ ลกู หนี้จาแนกตามอายขุ องหนี้ค้างชาระ หากค้างชาระนานจะมโี อกาสหน้ีสงสยั จะสญู สูงกว่า วธิ นี ้จี ะยุ่งยากสาหรับกรณีที่กิจการมลี ูกหนีจ้ านวนมากรายดังนน้ั จงึ คานวณอตั รารอ้ ยละสงู กวา่ ยอดลูกหนที้ เี่ ร่ิมคา้ งชาระเกนิ กาหนด ลูกหนีค้ ้างชาระนานมโี อกาสไม่ชาระหนม้ี ากกวา่ ลกู หน้ีท่เี ริ่มเกดิ ไมว่ ่าจะ เปน็ การประมาณหนี้สงสยั จะสญู วิธีใด กจิ การควรทบทวนอตั รารอ้ ยละทีใ่ ช้เพอื่ ให้การประมาณในจานวนท่ี ใกล้เคียงความเป็นจริงให้มากท่สี ุด ตัวอยา่ ง การประมาณหนีส้ งสัยจะสญู โดยคานวณเป็นร้อยละของยอดขาย สมมติ กิจการมีประสบการณ์จากลูกหน้ีที่เรียกเกบ็ ไม่ได้เฉลยี่ แลว้ ประมาณ 2 % ของยอดขายเชอื่ หากใน ปี 25×1 กจิ การมยี อดขายเชื่อ 50,000 บาทการบันทกึ รายการปรับปรงุ เกย่ี วกับหนท้ี ่ีคาดวา่ จะเก็บไมไ่ ด้ ณ วนั สิ้นปี 25×1 จะเป็นดงั นี้ เดบิต หนส้ี งสัยจะสญู 1,000 เครดิต คา่ เผ่อื หนีส้ งสัยจะสญู 1,000 (คานวณ 50,000 × 2 % = 1,000 บาท ) ขอ้ สังเกต วธิ ีน้ีไม่ว่าจะใช้ยอดขายรวมหรอื ขายเชื่อก็ตามจะไมค่ านึงถงึ ยอดคงเหลอื ท่ีมอี ยู่กอ่ นการบนั ทึก รายการปรับปรุงเมื่อส้ินปี ตวั อยา่ ง การประมาณหนี้สงสยั จะสญู โดยคานวณเป็นร้อยละของยอดลกู หนี้ สมมติ กจิ การมยี อดคา่ เผ่ือหนส้ี งสยั จะสญู ยกมา จานวน 900 บาทระหวา่ งปีกจิ การขายสินค้าเปน็ เงนิ เชื่อ จานวน 100,000 บาท กิจการคาดวา่ จะมหี น้ีท่ีเรยี กเก็บไมไ่ ด้ 2%ของยอดลกู หนี้ดังนนั้ จะบนั ทกึ บัญชี ณ วนั สนิ้ ปกี จิ การจะปรับปรงุ บัญชีดังน้ี เดบิต หน้ีสงสยั จะสูญ 1,100 เครดิต ค่าเผือ่ หน้สี งสัยจะสูญ 1,100 (คานวณ 100,000 × 2 % = 2,000 – 900 = 1,100 บาท) 2.การตดั จาหน่ายหนส้ี ญู มวี ิธกี ารปฏิบัติดังต่อไปน้ี
เม่ือมีการทวงถามหน้ีจนถึงที่สุด และกิจการได้ดาเนินการตามเง่ือนไขที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากรแล้ว แต่ก็ยังไม่ได้รับชาระหนี้และหนี้สูญนั้นเข้าเกณฑ์ที่จะถือเป็นค่าใช้จ่ายในการคานวณกาไรสุทธิตามกฎหมาย ภาษี มาตรฐานการบัญชีฉบบั ที่ 11 ได้กาหนดใหก้ จิ การตัดจาหน่ายบัญชีลูกหน้ีเป็นหนี้สูญและให้ลดจานวนค่า เผ่ือหนสี้ งสัยจะสูญ การบันทกึ บญั ชจี ะเป็นดังน้ี เดบติ หนีส้ ญู xxx เครดติ ลกู หนี้ xxx (บนั ทึกการตัดยอดลูกหน้ีเปน็ หนสี้ ูญ) เดบิต คา่ เผ่อื หนี้สงสยั จะสูญ xxx เครดิต หนส้ี งสยั จะสญู xxx (บนั ทึกการลดยอดค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเทา่ กับยอดท่ตี ดั เป็นหน้สี ญู ) ข้อสังเกต เดบิตบัญชีหนี้สูญและเครดิตบัญชีหนี้สงสัยจะสูญเป็นยอดที่เท่ากันจึงไม่กระทบรายการ ค่าใช้จ่ายของงวดทตี่ ัดจาหน่ายเปน็ หน้สี ญู และไม่ได้ทาให้มลู คา่ ตามบัญชขี องลกู หนเ้ี ปล่ยี นไป กรณีที่คาดหมายได้ค่อนข้างแน่นอนว่าจะไม่ได้รับชาระหน้ี แต่ยังตัดเป็นหน้ีสูญตามกฎหมายภาษี อากรไม่ได้ มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 11 ระบุว่ากรณีนี้กิจการอาจตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็นหน้ีสูญทางบัญชีได้ โดยบนั ทกึ ดงั นี้ เดบิต คา่ เผอ่ื หน้สี งสยั จะสญู xxx เครดติ ลกู หน้ี xxx หนว่ ยท่ี 4 เร่อื ง การบญั ชีต๋ัวเงนิ รบั การบัญชีเกยี่ วกบั การนาตวั๋ เงินรับไปขายลด ขั้นตอนในการคานวณจานวนเงินเก่ียวกับต๋ัวเงินรับขายลดก่อนท่ีจะนาไปบันทึกบัญชีมีวิธีการ ดังต่อไปน้ี ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติในการนาตั๋วเงินไปขายลด มดี ังน้ี ขัน้ ท่ี 1. คานวณมลู ค่าตั๋วครบกาหนด มลู คา่ ตัว๋ ครบกาหนด = มูลค่าหนา้ ตว๋ั + ดอกเบีย้ รับ ขนั้ ที่ 2. คานวณส่วนลดท่ีสถาบนั การเงินหักไว้ สว่ นลด = มลู ค่าตั๋วฯ ×อตั ราส่วนลด ×ระยะเวลาตั้งแต่วนั ขายถงึ วนั ครบกาหนด ขนั้ ที่ 3. คานวณจานวนเงินที่กจิ การได้รบั จานวนเงินทไ่ี ดร้ ับ = มูลค่าตว๋ั ครบกาหนด – สว่ นลดทีส่ ถาบนั การเงนิ หักไว้ ข้นั ที่ 4. คานวณดอกเบ้ียรับหรือดอกเบี้ยจา่ ย เปรียบเทียบจานวนเงินท่ีได้รับกับมูลค่าหน้าตั๋ว ถ้าจานวนเงินท่ีได้รับ สูงกว่า มูลค่าหน้าต๋ัว ผลต่าง ดังกล่าวถือเป็น “ดอกเบ้ียรับ” แต่ถ้าจานวนเงินที่ได้รับ ต่ากว่า มูลค่าหน้าตั๋ว ผลต่างดังกล่าวถือเป็น “ดอกเบีย้ จา่ ย”
ตัวอย่างท่ี 4 บรษิ ทั สยามมติ ร จากดั ได้รับชาระหนี้ค่าสินค้าจากบริษัท สหกิจ จากัด เป็นต๋ัวแลกเงิน ลงวันท่ี 1 มีนาคม 25×1 มูลค่าหน้าต๋ัว 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี อายุ 60 วัน และบริษัท สดใส จากดั นาตว๋ั เงนิ รับฉบบั ดงั กลา่ วไปขายลดท่ีธนาคารกรุงเก่า ในวันท่ี 11 มีนาคม 25×1 โดยที่ธนาคารหัก สว่ นลดในอัตรา 14% ตอ่ ปี (สมมติว่า 1 ปี มี 360 วัน) ขัน้ ที่ 1. คานวณมูลค่าตว๋ั ครบกาหนด มลู ค่าตวั๋ ครบกาหนด = มลู ค่าเงนิ หน้าตว๋ั + ดอกเบ้ียรบั = 100,000 + (100,000 ×12 % × 60/360) = 100,000 + 2,000 = 102,000 บาท ข้ันที่ 2. คานวณส่วนลดทส่ี ถาบันการเงนิ หกั ไว้ สว่ นลด = มูลคา่ ตั๋วฯ ×อัตราส่วนลด ×ระยะเวลาต้งั แตว่ นั ขายถงึ วันครบฯ = 102,000 × 14 % × 50/360 = 1,983.33 ขัน้ ท่ี 3. คานวณจานวนเงินท่ีกิจการไดร้ บั จานวนเงนิ ทกี่ ิจการไดร้ ับ = มูลคา่ ตั๋วครบกาหนด – ส่วนลดที่หักไว้ = 102,000 – 1,983.33 = 100,016.67 บาท ข้ันที่ 4. คานวณดอกเบย้ี รบั /ดอกเบีย้ จา่ ย ดอกเบยี้ รบั = 100,016.67 – 100,000 บาท ดอกเบีย้ รบั = 16.67 บาท การบนั ทึกบัญชีการนาต๋วั เงนิ รบั ไปขายลด มีดังนี้ การบนั ทึกบัญชเี มอื่ ต๋ัวเงนิ รับครบกาหนด เม่อื ตว๋ั เงินรับครบกาหนดและผู้ออกตว๋ั สามารถจา่ ยเงนิ ใหแ้ กธ่ นาคาร ได้ กจิ การจะบันทึกยกเลิกตัว๋ เงินรับ ดังน้ี
การบนั ทึกบัญชเี ม่อื ตว๋ั เงนิ รับครบกาหนดและผู้ออกต๋วั ไมส่ ามารถจ่ายเงินใหแ้ กธ่ นาคารได้ กจิ การจะตอ้ งชดใช้ เงินแทนผ้อู อกตัว๋ ดังน้ี การบนั ทกึ บัญชตี ๋วั เงินรบั ชนิดมดี อกเบ้ยี 1.การบนั ทึกบัญชตี วั๋ เงนิ รบั ชนดิ มีดอกเบ้ยี การบนั ทกึ บัญชขี องตัว๋ เงินรับชนิดมีดอกเบี้ยจะบันทึกบัญชี เม่ือได้รับต๋ัวด้วยมูลค่าหน้าตั๋ว และเมื่อต๋ัวครบกาหนดก็จะบันทึกรับเงินตามมูลค่าต๋ัวครบกาหนดดังตัวอย่าง ตอ่ ไปนี้ ตัวอย่างท่ี 1 บริษัท สยามมิตร จากัด ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อโดยได้รับต๋ัวสัญญาใช้เงินจาก บริษัท มิติ ใหม่ จากัด ซึ่งต๋ัวเงินดังกล่าวเป็น มีมูลค่าหน้าตั๋ว 50,000 บาท อัตราดอกเบ้ีย 12% ต่อปี ต๋ัวลงวันท่ี 1 มนี าคม 25×1 อายุของต๋วั 60 วนั ใหท้ า 1. คานวณหาวนั ทต่ี ัว๋ ครบกาหนด 2. คานวณหาดอกเบย้ี และมูลค่าตั๋วเมือครบกาหนด 3. บนั ทกึ บญั ชีเกย่ี วกับต๋วั เงินรับ การคานวณหาวันท่ีตั๋วครบกาหนดกระทาได้ดังตอ่ ไปน้ี เดอื นมนี าคมมีจานวน 31 หักวันที่ออกต๋วั 1 จานวนวนั ในเดอื นมีนาคม 30 วนั จานวนวันในเดือนเมษายน 30 วัน
รวมจานวนวันท้งั หมด 60 วนั ดังนนั้ วันครบกาหนดคือวันที่ 30เมษายน25×1 ก า ร ค า น ว ณ ด อ ก เ บี้ ย แ ล ะ มู ล ค่ า ต๋ั ว เ มื่ อ ค ร บ ก า ห น ด เ ม่ื อ ตั๋ ว เ งิ น ค ร บ ก า ห น ด ถ้ า เ ป็ น ตั๋วเงินชนิดมีดอกเบี้ยผู้รับเงินจะได้รับเงินตามหน้าตั๋วและดอกเบี้ยของตั๋วเงินด้วย ซึ่งดอกเบี้ยของตั๋วเงิน และ มูลคา่ ตวั๋ เมอ่ื ครบกาหนด คานวณไดด้ ังนี้ ดอกเบีย้ รบั = จานวนเงนิ หนา้ ตั๋ว × อตั ราดอกเบ้ยี ×ระยะเวลาของตัว๋ = 50,000 × 12% × 60/365 = 986.30 บาท มลู ค่าตัว๋ ครบกาหนด = จานวนเงินหนา้ ตว๋ั + ดอกเบ้ียรบั มูลคา่ ตวั๋ ครบกาหนด = 50,000 + 986.30 = 50,986.30 บาท การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับต๋ัวเงินรับ การบันทึกบัญชีของต๋ัวเงินรับชนิดมีดอกเบี้ยจะบันทึกบัญชีเมื่อ ได้รับต๋ัวด้วยมูลค่าหน้าตั๋ว และเมื่อต๋ัวครบกาหนดก็จะบันทึกรับเงินตามมูลค่าต๋ัวครบกาหนด การบันทึก รายการบญั ชีวันทีไ่ ด้รับตวั๋ และวันที่ครบกาหนดของบริษทั มติ ใิ หม่ จากัด มีดงั นี้ 2.ตว๋ั เงินรับชนดิ ไมม่ ดี อกเบยี้ เมื่อตั๋วเงินครบกาหนดถ้าเป็นตั๋วเงินชนิดไม่มีดอกเบ้ียผู้รับเงินจะได้รับเงินเฉพาะจานวนตามหน้าตั๋ว เท่าน้ัน แต่ในบางครั้งกรณีท่ีบริษัทให้กู้ยืมเงินกับพนักงาน บริษัทอาจจะหักส่วนลดไว้ก่อนล่วงหน้า โดยที่ ส่วนลดดังกลา่ วถอื เป็นรายไดร้ ับล่วงหน้า ซงึ่ จะบันทึกบญั ชีไว้เปน็ “ส่วนลดในตั๋วเงินรับ” และจะโอนรายได้รับ ลว่ งหนา้ เปน็ รายได้เม่ือตวั๋ ครบกาหนด ตัวอย่างที่ 2 วันท่ี 1 เมษายน 25×1 บริษัท สยามมิตร จากัด ให้พนักงานของบริษัทกู้ยืมเงิน จานวน 30,000 บาท โดยที่หักส่วนลดไว้ล่วงหน้า จานวน 1,200 บาท และให้พนักงานออกต๋ัวสัญญาใช้เงินชนิดไม่มี ดอกเบี้ย อายุ 4 เดอื น มูลค่าตัว๋ 30,000 บาท การบันทกึ บัญชี มดี ังน้ี
การคานวณดอกเบย้ี และมูลค่าต๋วั เม่ือครบกาหนด เมื่อตั๋วเงินครบกาหนดถ้าเป็นต๋ัวเงินชนิดมีดอกเบ้ียผู้รับเงินจะได้รับเงินตามหน้าตั๋วและดอกเบี้ยของ ตว๋ั เงินด้วย ซ่ึงดอกเบี้ยของตั๋วเงนิ และมลู คา่ ต๋ัวเม่ือครบกาหนด คานวณได้ดังน้ี ดอกเบีย้ รบั = จานวนเงนิ หนา้ ต๋วั × อัตราดอกเบ้ีย ×ระยะเวลาของตั๋ว มูลค่าตว๋ั ครบกาหนด = จานวนเงนิ หน้าต๋วั + ดอกเบี้ยรับ หนว่ ยท่ี 5 เรือ่ ง สนิ ค้าคงเหลือ รายการใดบ้างที่ควรรวมเป็นสินค้าคงเหลือไดบ้ า้ ง 1. สนิ คา้ สาเร็จรูป (Finished goods) เป็นสนิ คา้ ทีถ่ ือไว้เพื่อการจาหนา่ ยต่อในการดาเนินงานโดยปกติของ ธุรกจิ สินค้าประเภทนจ้ี ะไดม้ าในสภาพทีเ่ สร็จสมบูรณ์และพร้อมทจ่ี ะถูกนาไปขายต่อได้ ในทนั ทีโดยปราศจาก กระบวนการผลติ ต่อ ตัวอย่างเช่น เสือ้ ผ้าสาเรจ็ รปู เคร่ืองใช้ในครวั เรอื น รองเทา้ กระเปา๋ เคร่อื งสาอาง สนิ คา้ อปุ โภคหรือสนิ ค้าบริโภคทว่ั ไป เปน็ ต้น 2. วตั ถดุ บิ คงเหลือ (Raw materials inventory) เป็นสินคา้ ท่ีจดั หามาไวเ้ พ่ือใชใ้ นกระบวนการผลติ เพ่ือ แปรสภาพให้ เปน็ งานระหวา่ งทาและสนิ ค้าสาเร็จรูปตอ่ ไป ตวั อยา่ ง เชน่ หนังสัตว์ พีวีซี เชือก กาว เป็น วัตถุดบิ ของธุรกจิ อุตสาหกรรมผลิตกระเป๋า ผา้ กระดุม ซปิ ด้าย เป็นวัตถุดบิ ของธรุ กิจอุตสาหกรรมผลิตเสอ้ื ผา้ สาเร็จรปู เป็นตน้ ซงึ่ ตัวอยา่ งของวตั ถุดิบต่างๆ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ยงั คงรายงานเป็นต้นทนุ วัตถุดบิ ต่อไปจนกวา่ จะ ถกู เบิกไปใชใ้ น การผลิต 3. งานระหวา่ งทาคงเหลอื (Raw materials inventory) เปน็ สนิ คา้ ท่อี ยรู่ ะหวา่ งกระบวนการผลิตเพื่อแปร สภาพใหเ้ ป็น สินค้าสาเรจ็ รูปแต่ยงั ไม่เสรจ็ สมบรู ณ์ ถา้ เสร็จสมบรู ณ์เมื่อใดจะเรียกวา่ สนิ คา้ สาเร็จรูป ตัวอยา่ งเช่น ผา้ ที่ตัดเป็นชนิ้ ตัวเสื้อ แขน ปก เยบ็ เข้ากนั เรยี บรอ้ ยแลว้ แตย่ งั ไมไ่ ด้เจาะรงั ดม ตดิ กระดุมให้ เรยี บร้อย งานท่ีค้างดังกล่าวเปน็ งานระหว่างทาของธรุ กจิ ผลติ เส้ือผ้าสาเรจ็ รปู เปน็ ตน้ 4. สนิ ค้าสาเร็จรปู คงเหลือ (Finished goods inventory) เปน็ สินคา้ ท่ีผลิตเสร็จสมบรู ณ์เรยี บรอ้ ยพรอ้ มท่ี
จะขายไดใ้ นทนั ที ธุรกิจอตุ สาหกรรมจะทาการแปรสภาพจากวัตถุดบิ เปน็ งานระหวา่ งทา จากงานระหว่างทา เป็นสินคา้ สาเร็จรปู ตัวอยา่ งเชน่ เสอ้ื ผา้ สาเรจ็ รูป โต๊ะ และเกา้ อี้สาเร็จรปู เปน็ ต้น คานวนหาตน้ ทุนขายและยอดซ้ือสุทธิ เมือ่ สิ้นงวดบญั ชีกจิ การต้องมีการคานวณหาต้นทุนขายและยอดซ้ือสทุ ธิของสินค้า เน่ืองจากวธิ ีนีไ้ ม่ได้มกี าร บนั ทกึ บัญชตี ้นทนุ ขายตั้งแตเ่ ริม่ แรกหรอื ทุกครัง้ ท่มี ีการขาย การคานวณหายอดซ้ือสุทธิ = ซ้ือ + ค่าขนส่งเข้า – ส่งคนื –ส่วนลดรับ การคานวณหาต้นทุนขาย = สินคา้ คงเหลอื ต้นงวด + ซ้ือสุทธิ + สินค้าทที่ ี่มีอยู่ท้ังสน้ิ – สนิ ค้าคงเหลือปลาย งวด –ตน้ ทนุ ขาย หนว่ ยท่ี 6 เรอ่ื ง เงินลงทนุ ความหมายของเงนิ ลงทนุ สมาคมนักบญั ชแี ละผสู้ อบบัญชีรับอนญุ าตแห่งประเทศไทยไดใ้ ห้ความหมายของเงินลงทุนไว้ดงั น้ี เงินลงทุน หมายถึง สินทรัพยท์ ก่ี จิ การมีไว้เพื่อเพม่ิ ความมน่ั ค่งั ใหก้ ับกจิ การไมว่ ่าจะอยใู่ นรูป ของส่วนแบง่ ทจี่ ะไดร้ บั ( เชน่ ดอกเบีย้ คา่ สิทธิ และเงนิ ปันผล ) ในรูปของราคาทีเ่ พ่ิมข้ึน หรอื ในรปู ของ ประโยชน์อย่างอ่นื ท่กี ิจการได้รบั ( เช่น ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากความสมั พันธท์ างการคา้ ) รายการต่อไปนี้ไม่ถือเป็นเงนิ ลงทนุ ก) สนิ ค้าคงเหลอื ตามท่ีนยิ ามไว้ในมาตรฐานการบญั ชี เรอ่ื ง สินคา้ คงเหลอื ข) ทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ์ที่ไม่เป็นเงนิ ลงทุนในอสงั หาริมทรัพย์ ตามที่นยิ ามไวใ้ น มาตรฐาน การบัญชี เรอ่ื ง ท่ีดิน อาคารและอปุ กรณ์ หน่วยท่ี 7 เรอื่ ง ทีด่ ิน อาคาร และอปุ กรณ์ ความหมาย ลักษณะและประเภทที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 1. ความหมายของท่ดี นิ อาคารและอปุ กรณ์ มาตรฐานการบญั ชฉี บบั ที่ 32 เร่อื งท่ีดิน อาคาร และอปุ กรณ์ของสมาคมนกั บญั ชีและผสู้ อบบัญชีรบั อนญุ าตแห่งประเทศไทย ได้ใหค้ วามหมายของคาวา่ “ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์” ไวด้ ังน้ี ท่ีดนิ อาคารและ อุปกรณ์ หมายถงึ สินทรัพย์ท่ีมตี วั ตนซึ่งเขา้ เงอ่ื นไขทุกข้อต่อไปน้ี ก) กจิ การมไี วเ้ พอ่ื ใชป้ ระโยชนใ์ นการผลติ เพื่อใช้ในการจาหนา่ ยสนิ คา้ หรือบรกิ าร เพื่อใหเ้ ช่า หรือเพ่ือ ใชใ้ นการดาเนนิ งาน ข) กจิ การคาดวา่ จะใชป้ ระโยชน์มากกวา่ หนงึ่ รอบปบี ญั ชี สรุป ทด่ี ินอาคารและอปุ กรณ์คอื สินทรัพย์ที่มีตัวตนซึ่งกิจการมีไว้เพ่ือใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนนิ งาน ซึ่งมอี ายุเกินมากกวา่ 1 ปีขน้ึ ไป 2. ลกั ษณะของทด่ี ิน อาคารและอุปกรณ์ ลกั ษณะของท่ีดิน อาคารและอุปกรณ์คอื สินทรัพย์ถาวร มีลักษณะ
1) เปน็ สนิ ทรพั ย์ท่มี ีตัวตนจบั ตอ้ งได้ หรือมองเห็นได้ และมสี ภาพคงทนถาวร 2) เป็นสินทรพั ย์ที่มกั จะมีอายกุ ารใชง้ านเกนิ 1 ปี โดยทว่ั ไปจะมปี ระโยชน์ ในระยะยาว 3) เป็นสินทรพั ย์ที่มีไว้เพื่อใช้ประโยชนใ์ นการดาเนินงาน โดยไมม่ ีเจตนา ทีจ่ ะขาย ค่าเส่ือมราคา ( Depreciation ) คา่ เส่ือมราคา คอื คา่ ใชจ้ า่ ยท่ตี ดั จากมูลคา่ ของสนิ ทรัพย์ ที่กิจการใช้ประโยชนป์ ระจางวดท้งั นี้เพราะ สินทรัพย์ประเภทอาคาร อุปกรณ์ เครอ่ื งจกั ร รถยนต์ เปน็ สินทรัพยท์ ม่ี ีไว้ใชง้ านเป็นระยะเวลายาวนาน และมกั จะมีมลู คา่ สูง จึงมีการประมาณประโยชน์จากสินทรพั ย์เหล่านเ้ี ฉลย่ี เป็นค่าใช้จ่ายแต่ละงวด การคานวณค่าเสอื่ มราคาของสนิ ทรัพย์มหี ลายวธิ ี แต่ในท่นี จ้ี ะกลา่ วถงึ วธิ ีที่นยิ มปฏิบตั กิ ันโดยท่ัวไป คือวธิ เี สน้ ตรง โดยมสี ูตรการคานวณดังนี้ ค่าเสอ่ื มราคา/ปี = มลู ค่าสนิ ทรัพย์ - ราคาซาก ( ถ้ามี) อายกุ ารใช้งาน หรือ ค่าเสอื่ มราคา/ปี = (มูลค่าสนิ ทรพั ย์ - ราคาซาก ( ถา้ มี) ) x อัตราคา่ เสื่อมราคา เมอ่ื คานวณคา่ เส่ือมราคาได้ ซงึ่ ถือเป็นคา่ ใชจ้ า่ ยที่เกดิ ขนึ้ ในงวดบัญชีปัจจุบัน กิจการจะทาการบนั ทกึ บัญชดี งั นี้ เดบิต ค่าเสอ่ื มราคา - ช่อื สินทรพั ย์ xxx เครดิต คา่ เสือ่ มราคาสะสม - ชื่อสนิ ทรพั ย์ xxx หน่วยที่ 1 เร่อื ง การบนั ทกึ บญั ชเี ก่ยี วกับหนส้ี ิน ความหมายและประเภทของหนสี้ นิ หน้ีสิน (Liability) บัญญัติศัพท์โดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยได้ ให้ความหมายของหนี้สินว่า หมายถึง จานวนเงินที่กิจการเป็นหนี้บุคคลอ่ืนหรือพันธะผูกพันอันเกิดจาก รายก ารค้ า การ กู้ยืม หรือจ ากก ารอื่ น ซึ่งจ ะต้อ งชาร ะคืน ในภ ายหน้ าด้ว ยทรัพ ย์สิน หรื อ บริการ เชน่ เจ้าหนก้ี ารคา้ เงนิ กู้ เงินเบิกเกนิ บัญชธี นาคาร เจา้ หนอ้ี ืน่ ๆ เป็นตน้ ประเภทของหนี้สนิ หน่วยที่ 2 เรื่อง การบันทกึ บัญชหี ้างห้นุ สว่ น สว่ นในทุนและส่วนในกาไรขาดทนุ ของหุ้นส่วน ส่วนในทนุ ของผู้เปน็ ห้นุ สว่ น หมายถงึ เงนิ สดหรือสนิ ทรัพยอ์ น่ื ๆ ที่ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนนามาลงทนุ ในตอน จดั ตัง้ สิทธิส่วนได้เสียของผูเ้ ป็นห้นุ สว่ นอาจเปลี่ยนแปลงได้ภายหลังจากดาเนนิ งาน เนอ่ื งจากผู้เปน็ หุ้นส่วนอาจ นาเงินสดมาลงทนุ เพมิ่ ถอนทุน หรือไดร้ บั ส่วนแบ่งกาไร ส่วนในกาไรขาดทนุ เปน็ ข้อตกลงเกีย่ วกบั การแบง่ กาไรหรอื ขาดทุนระหวา่ งผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน ตัวอยา่ ง เอ และบี ตกลงเป็นหุ้นสว่ นกนั โดย เอนาเงินสดมาลงทุน 300,000 บาท บี นาอุปกรณ์ สานักงาน 150,000 บาท และเคร่ืองตกแต่ง 50,000 บาท มาลงทุน ผเู้ ปน็ หุน้ ส่วนตกลงแบ่งกาไรขาดทนุ เทา่ กนั
จากขา้ งต้น พบว่าสนิ ทรัพย์ หรือเงินทนุ ทั้งสิน้ ของห้างเท่ากับ 500,000 บาท เอมีสทิ ธิสว่ นได้ เสีย 300,000 บาท บมี สี ิทธิส่วนได้เสีย 200,000 บาทหรืออัตราสว่ น 3 : 2 อตั ราสว่ นแบ่งผลกาไรขาดทุน เทา่ กันคือ 1 : 1 ตอ่ มา หา้ งหุ้นสว่ นเอและบี ดาเนนิ งานมผี ลกาไรสุทธิ 100,000 บาท สทิ ธสิ ่วนไดเ้ สียของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน จะเพ่ิมขึ้น ดังนี้ สินทรพั ย์ ทนุ - เอ ทุน - บี ทุน ณ วนั เรม่ิ กจิ การ 500,000 300,000 200,000 ส่วนแบง่ กาไร 100,000 50,000 50,000 ทนุ ณ วนั สน้ิ งวด 600,000 350,000 250,000 เมอ่ื วนั สิน้ งวดบัญชีสว่ นในทุนของ เอ เท่ากับ 350,000 และ สว่ นในทนุ ของ บี เท่ากับ 250,000 อัตราส่วนทุนของเอและบี เปลี่ยนเป็น 7 : 5 อัตราส่วนแบง่ กาไรขาดทนุ ยังเทา่ เดิมคอื 1 : 1 วธิ ีการใช้บัญชีทนุ บญั ชีกระแสทนุ และบัญชีเงินถอน การบันทกึ บัญชขี องหา้ งหนุ้ ส่วน มี 2 วธิ ี 1. วธิ ีทุนคงท่ี (Fised Capital Method) หรือวิธีทุนไมเ่ ปล่ยี นแปลง 2. วิธที ุนเปลยี่ นแปลง (Alternative Capital Method) วธิ นี ีจ้ ะเปิดบญั ชที นุ ของผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นแต่ละ คนเพยี งบัญชีเดยี วเท่านนั้ ใชบ้ นั ทึกรายการลงทนุ ครั้งแรก เพ่ิมทนุ ถอนทนุ และรายการจดั สรรกาไรขาดทนุ ผลตอบแทนตา่ ง ๆ การเปดิ บญั ชีหา้ งหนุ้ สว่ น ( Opening The Books) การบันทกึ การเปิดบัญชีของห้างหนุ้ ส่วนนน้ั ใชว้ ธิ ีการเช่นเดยี วกับกจิ การค้าเจา้ ของคนเดียวเพียงแต่ จาแนกทนุ ของหนุ้ ส่วนแต่ละคน แบ่งได้เปน็ 4 กรณี ดังน้ีคือ 1. หนุ้ ส่วนนาเงนิ สดมาลงทุน เช่น เอ บี และซี เปน็ หุ้นสว่ นกนั นาเงนิ สดมาลงทุน ดังน้ี จานวน 20,000 บาท 30,000 บาท และ 40,000 บาท ตามลาดับ เมื่อวันท่ี 1 มกราคม 2547 การบนั ทกึ บัญชี ในสมุดรายวันทว่ั ไป ดงั นี้ 2547 ม.ค. 1 เงนิ สด 90,000 ทุน – เอ 20,000 ทนุ - บี 30,000 ทนุ – ซี 40,000 เอ บี และซี นาเงินสดมาลงทุน เมื่อวันที่ 1 มกราคา 2547 2. หนุ้ สว่ นนาสนิ ทรพั ย์อืน่ ๆ มาลงทนุ วิธนี ้ีจะตอ้ งตีคา่ สินทรพั ย์ก่อนวา่ มีมูลค่าเทา่ ใด การใชร้ าคา ทุนเดมิ (Original Cost) หรือราคาตามบัญชี (Book Value) น้ัน ไม่ถูกต้อง สว่ นใหญ่นยิ มใชร้ าคาตลาด (Fair Market Value) บนั ทึกราคาสินทรัพย์ แตอ่ ย่างไรกด็ ีการใชร้ าคาใดนนั้ ผูเ้ ปน็ หนุ้ สว่ นทกุ คนจะต้องยินยอมด้วย
เช่น เมอ่ื วันที่ 1 มกราคม 2547 เอ บี และ ซี นาเงนิ สด สินทรพั ย์ และหนสี้ นิ มาลงทุน ดงั นี้ เอ บี ซี รวม เงินสด 2,000 4,000 3,000 9,000 ลกู หนี้ 3,000 2,000 5,000 10,000 เครอื่ งตกแตง่ 4,000 7,500 3,500 15,000 อาคาร - - 200,000 200,000 เจ้าหน้ี 7,500 9,500 18,000 35,000 ยอดทนุ 1,500 4,000 193,500 199,000 การบนั ทกึ บัญชีเปน็ ดงั น้ี 2547 ม.ค. 1 เงนิ สด 9,000 ลกู หนี้ 10,000 เคร่ืองตกแตง่ 15,000 อาคาร 200,000 เจา้ หน้ี 35,000 ทนุ - เอ 1,500 ทนุ - บี 4,000 ทุน - ซี 193,500 เอ บี และ ซี นาเงินสด สินทรัพย์ และหนี้สนิ มาลงทุน 3. ห้นุ สว่ นนาแรงงานมาลงทนุ แรงงาน หมายถงึ ความสามารถทางด้านความคดิ ซอื่ เสียง สตปิ ญั ญา กาลังกาย ของหุ้นส่วนนามาลงทุน เรยี กว่า ค่าความนยิ ม (Goodwill) และต้องมีการตกลงระหว่างผเู้ ป็น หนุ้ ส่วน ว่าจะมกี ารบันทกึ ในบัญชหี รอื ไม่ ถ้ามกี ารบันทึกในสมุดบัญชีของห้างจะใช้มลู ค่าเท่าใด ขึ้นอยูก่ บั ขอ้ ตกลงดังน้ี 3.1 ถา้ ใหส้ ิทธิรบั คนื ทนุ จะต้องบันทึกคา่ ความนยิ มให้กบั หุ้นส่วนผ้นู ้นั และบนั ทกึ ไวใ้ นสมดุ บญั ชขี องห้าง เช่น เอ บี เป็นหนุ้ ส่วนกนั โดย เอ และบี นาเงินสด 40,000 และ 30,000 บาทตามลาดบั และ บี ยังนาแรงงานมา ลงทนุ ด้วย ซงึ่ ตกลงคิดเป็นมลู คา่ 20,000 บาท และใหส้ ิทธิ บี มีสิทธริ บั คนื ทนุ กจิ การเรมิ่ วันท่ี 1 เมษายน 2547 บนั ทกึ บญั ชดี งั น้ี 2547 เม.ย. 1 เงินสด 70,000 ค่าความนยิ ม 20,000 ทนุ - เอ 40,000 ทุน - ซี 50,000 เอ และ บี นาเงนิ สดและแรงงานมาลงทุน
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: