Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช 31003)

รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช 31003)

Published by banmolibrary, 2019-02-17 02:41:29

Description: ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Search

Read the Text Version

ทศชริลา3ปย1ศวึก0ิชษ0าา3 ระดับมธัยมศึกษาตอนปลาย สำลนิขักสงิทาธนปเปลนดัขกอรงะสทำรนวกังงศาึกนษกาธศิกนา.ร

หนังสอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช31003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนาย หนงั สอื เรยี นเลมน้ีจัดพมิ พดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ สาํ หรับประชาชน ลิขสทิ ธ์เิ ปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 17/2555

2 หนงั สอื เรียนสาระทักษะการดาํ เนินชวี ิต รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช31003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ลขิ สิทธเิ์ ปน ของ สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 17/2555

3

สารบญั 4 คาํ นํา หนา คําแนะนําการใชหนังสือเรยี น โครงสรางรายวิชา 2 บทท่ี 1 ทัศนศลิ ป 11 20 เร่ืองท่ี 1 จุด เสน สี แสง เงา รปู รา ง และรูปทรง 23 เรื่องที่ 2 ทัศนศิลปสากล 27 เรื่องที่ 3 การวิพากษวิจารณงานทัศนศิลป 30 เร่ืองที่ 4 ความงามตามธรรมชาติ 32 เร่ืองท่ี 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล เร่ืองท่ี 6 ธรรมชาติกับทัศนศิลป 36 เร่ืองท่ี 7 ความคิดสรางสรรค การตกแตงรางกาย ที่อยูอาศัย 37 42 บทท่ี 2 ดนตรี 47 เรื่องที่ 1 ดนตรสี ากล เรื่องท่ี 2 ดนตรีสากลประเภทตาง ๆ 52 เร่ืองที่ 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล 55 เร่ืองที่ 4 ประวัติภูมิปญญาทางดนตรีสากล 58 73 บทที่ 3 นาฏศิลป 74 เรื่องท่ี 1 นาฎยนิยาม 78 เร่ืองท่ี 2 สุนทรียะทางนาฏศิลป 83 เรื่องท่ี 3 นาฏศิลปส ากลเพ่อื นบานของไทย เร่ืองที่ 4 ละครทไี่ ดรบั อิทธพิ ลของวฒั นธรรมตะวนั ตก เร่ืองท่ี 5 ประเภทของละคร เร่ืองที่ 6 ละครกับภูมิปญญาสากล เร่ืองที่ 7 ประวัติความเปนมาและวิวัฒนาการของลีลาศสากล

บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี 5 ลักษณะเฉพาะของอาชีพดานการออกแบบแตละสาขา งานมัณฑนากรหรือนักออกแบบตกแตง 92 นกั ออกแบบเคร่ืองเฟอรนเิ จอร 92 นักออกแบบเส้อื ผา แฟชั่น 94 96

6 คาํ แนะนําการใชห นงั สอื เรียน หนังสือเรียนสาระการดําเนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา ทช31003 เปนหนังสือเรียนทีจ่ ัดทําขึน้ สําหรับ ผเู รยี นทเี่ ปน นกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสอื เรียนสาระการดาํ เนินชีวิต รายวิชา ศิลปศึกษา ผเู รยี นควรปฏิบตั ดิ งั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง และขอบขายเน้ือหา ของรายวชิ าน้ัน ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด ทํากิจกรรมตามที่กําหนด และทําความเขาใจใน เนือ้ หานั้นใหมใ หเ ขาใจ กอ นทจี่ ะศึกษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติกิจกรรมทายเรือ่ งของแตละเรือ่ ง เพือ่ เปนการสรุปความรู ความเขาใจของเนือ้ หาในเร่ืองน้ัน ๆ อกี ครั้ง และการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของแตละเนอ้ื หา แตล ะเรอื่ ง ผูเรยี นสามารถนําไปตรวจสอบกับครูและเพื่อน ๆ ทร่ี ว มเรยี นในรายวชิ าและระดบั เดยี วกนั ได 4. หนงั สอื เรียนเลมนมี้ ี 3 บท บทท่ี 1 ทศั นศิลป เรื่องที่ 1 จดุ เสน สี แสง เงา รปู ราง รูปทรง เรื่องที่ 2 ทัศนศิลปสากล เรื่องที่ 3 การวิพากษวิจารณงานทัศนศิลป เร่ืองที่ 4 ความงามตามธรรมชาติ เร่ืองที่ 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล เรื่องท่ี 6 ธรรมชาติกับทัศนศิลป เร่ืองที่ 7 ความคิดสรางสรรค การตกแตงรางกาย และทอ่ี ยูอ าศยั เร่ืองท่ี 8 ความคิดสรางสรรคในงานตกแตง บทท่ี 2 ดนตรี เร่ืองที่ 1 ดนตรสี ากล เร่ืองท่ี 2 ดนตรีสากลประเภทตาง ๆ เรื่องท่ี 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล เรื่องที่ 4 ประวัติภูมิปญญาทางดนตรีสากล

7 บทท่ี 3 นาฏศิลป เรื่องท่ี 1 นาฎยนิยาม เร่ืองที่ 2 สุนทรียะทางนาฏศิลป เร่ืองท่ี 3 นาฏศิลปสากลเพื่อนบานของไทย เร่ืองที่ 4 ละครท่ีไดรับอิทธิพลของวฒั นธรรมตะวันตก เร่ืองท่ี 5 ประเภทของละคร เรื่องท่ี 6 ละครกบั ภูมิปญญาสากล เรื่องท่ี 7 ลีลาศสากล บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี ลักษณะเฉพาะของอาชีพดานการออกแบบแตละสาขา งานมัณฑนากรหรือนักออกแบบตกแตง นกั ออกแบบเคร่ืองเฟอรนเิ จอร นกั ออกแบบเส้อื ผาแฟชั่น

8 โครงสรา งรายวชิ าศลิ ปศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ทช31003) สาระสําคัญ รู เขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรม เห็นคุณคาความงาม ความไพเราะ ของธรรมชาติ สง่ิ แวดลอม ทางทศั นศิลป ดนตรี และนาฎศลิ ปสากล สามารถวเิ คราะห วิพากย วิจารณ ไดอ ยา งเหมาะสม ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวัง อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ของทัศนศิลปสากล ดนตรีสากล และนาฎศิลปสากล เขาใจ ถึงตนกาํ เนดิ ภมู ิปญญาและการอนุรักษ ขอบขา ยเนอ้ื หา บทท่ี 1 ทัศนศิลป เร่ืองท่ี 1 จุด เสน สี แสง เงา รูปรา ง รปู ทรงและพ้นื ผิว เร่ืองที่ 2 ทัศนศิลปสากล เร่ืองท่ี 3 การวิพากษวิจารณงานทัศนศิลป เรื่องท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ เรื่องที่ 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล เร่ืองที่ 6 ธรรมชาติกับทัศนศิลป เรื่องที่ 7 ความคิดสรางสรรค การตกแตงรางกาย และที่อยูอาศัย เร่ืองท่ี 8 ความคิดสรางสรรคในงานตกแตง บทท่ี 2 ดนตรี เรื่องที่ 1 ดนตรสี ากล เร่ืองท่ี 2 ดนตรีสากลประเภทตาง ๆ เรื่องที่ 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล เร่ืองท่ี 4 ประวัติภูมิปญญาทางดนตรีสากล บทท่ี 3 นาฏศลิ ป เร่ืองที่ 1 นาฎยนิยาม เร่ืองท่ี 2 สุนทรียะทางนาฏศิลป เร่ืองท่ี 3 นาฏศิลปสากลเพื่อนบานของไทย เร่ืองที่ 4 ละครที่ไดร บั อทิ ธิพลของวัฒนธรรมตะวันตก เรื่องที่ 5 ประเภทของละคร

9 เร่ืองที่ 6 ละครกับภูมิปญญาสากล เรื่องท่ี 7 ลีลาศสากล บทท่ี 4 การออกแบบกบั แนวทางการประกอบอาชพี ลักษณะเฉพาะของอาชีพดานการออกแบบแตละสาขา งานมัณฑนากรหรือนักออกแบบตกแตง นกั ออกแบบเคร่ืองเฟอรนเิ จอร นักออกแบบเสื้อผาแฟช่ัน

10 สาระสาํ คญั บทที่ 1 ทศั นศลิ ป ศึกษาเรียนรู เขาใจ เห็นคุณคาความงาม ของทัศนศิลป และสามารถวพิ ากย วจิ ารณไดอ ยางเหมาะสม ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวงั อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ของทัศนศิลปสากล เขาใจถึงตนกําเนิด ภูมิปญญาและการ อนรุ ักษ ขอบขา ยเนอ้ื หา เรื่องท่ี 1 จดุ เสน สี แสง เงา รปู ราง รูปทรงและพื้นผวิ เร่ืองที่ 2 ทัศนศิลปสากล เร่ืองที่ 3 การวิพากษวิจารณงานทัศนศิลป เรื่องที่ 4 ความงามตามธรรมชาติ เรื่องท่ี 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล เรื่องที่ 6 ธรรมชาติกับทัศนศิลป เร่ืองท่ี 7 ความคิดสรางสรรค การตกแตงรางกาย และท่อี ยอู าศัย เร่ืองที่ 8 ความคิดสรางสรรคในงานตกแตง

11 เรือ่ งที่ 1 จดุ เสน สี แสงเงา รปู รา ง รปู ทรง จุด ……………………………………… คอื องคป ระกอบที่เล็กท่ีสดุ จุดเปน สิ่งท่ีสามารถบอกตําแหนงและทิศทางโดยการนําจุดมาเรียงตอกันให เปน เสน การรวมกันของจุดจะเกดิ นํา้ หนักท่ใี หปริมาตรแกรูปทรง เปนตน เสน หมายถึง จุดหลายๆจุดที่เรียงชิดติดกันเปนแนวยาว โดยการลากเสนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ในทิศทางทีแ่ ตกตางกัน จะเปนทิศมุม 45 องศา 90 องศา 180 องศาหรือมุมใดๆ การสลับทิศทางของเสนที่ลากทําใหเกิดเปน ลักษณะตาง ๆ ในทางศิลปะเสนมีหลายชนิดดวยกันโดยจําแนกออกไดเปนลักษณะใหญๆ คือ เสนต้ัง เสนนอน เสนเฉียง เสน โคง เสนหยกั เสนซิกแซก ความรสู ึกทม่ี ีตอเสน เสนเปนองคประกอบพืน้ ฐานที่สําคัญในการสรางสรรค เสนสามารถแสดงใหเกิดความหมายของภาพ และใหความรูส ึกไดต ามลักษณะของเสน เสนที่เปนพื้นฐาน ไดแ ก เสน ตรงและเสนโคง จากเสนตรงและเสนโคงสามารถนํามาสรางใหเกิดเปน เสนใหม ๆ ทีใ่ หความรูสึกที่แตกตางกันออกไป ไดด งั น้ี เสน ตั้ง ใหค วามรูสึกแขง็ แรง สงู เดน สงางาม นาเกรงขาม เสน นอน ใหความรูสึกสงบราบเรียบ กวางขวาง การพกั ผอ น หยดุ นง่ิ

12 เสน แนวเฉยี ง ใหค วามรูสกึ ไมป ลอดภัย ไมม ่ันคง ไมหยดุ นง่ิ เสนตดั กัน ใหความรสู ึกประสานกัน แขง็ แรง เสน โคง ใหค วามรูสึกออนโยน นมุ นวล เสน คด ใหค วามรสู กึ เคลือ่ นไหว ไหลเลอ่ื น รา เรงิ ตอ เนอ่ื ง เสน ประ ใหความรูสึกขาดหาย ลกึ ลับ ไมสมบรูณ แสดงสว นทม่ี องไมเ หน็ เสน ขด ใหค วามรสู กึ หมนุ เวยี นมนึ งง เสน หยกั ใหความรสู ึกขดั แยง นา กลวั ตื่นเตน แปลกตา นักออกแบบนําเอาความรูสึกที่มีตอเสนทีแ่ ตกตางกันมาใชในงานศิลปะประยุกต โดยใชเสนมาเปลีย่ น รูปรางของตัวอักษร เพอ่ื ใหเ กิดความรสู กึ เคล่อื นไหวและทาํ ใหสื่อความหมายไดด ยี ่ิงข้ึน

13 สี ทฤษฎีสี หมายถึง หลักวิชาในเรื่องของสีที่สามารถมองเห็นไดดวยตา และเมื่อสามรอยกวาปทีผ่ านมา ไอแซก นิวตัน ไดคนพบวา แสงสีขาวจาก ดวงอาทิตยเมื่อหักเห ผานแทงแกวสามเหลีย่ ม ( prism) แสงสีขาวจะกระจายออกเปนสีรุง เรียกวา สเปคตรัม มี 7 สี ไดแก มวง คราม น้าํ เงิน เขียว เหลือง สม แดง และไดกําหนดใหเปนทฤษฎีสีของแสง ความจริงสีรุง เปนปรากฏการณ ตามธรรมชาติที่เกิดขึน้ และพบเห็น กันบอยๆ โดยเกิดจากการหักเห ของแสงอาทิตยหรือ แสงสวาง เมือ่ ผานละอองน้าํ ในอากาศและกระทบตอ สายตาใหเหน็ เปน สี มผี ลทางดานจติ วทิ ยา ทางดานอารมณ และความรสู กึ การที่ไดเห็นสีจากสายตา สายตาจะสง ความรูส ึกไปยังสมองทําใหเกิดความรูส ึกตางๆ ตาม อิทธิพลของสี เชน สดชื่น เรารอน เยือกเย็น หรือตื่นเตน มนษุ ยเราเกย่ี วขอ งกับสีตา งๆ อยูต ลอดเวลาเพราะ ทกุ ส่ิง ทอี่ ยรู อบตัวนนั้ ลว นแตม สี สี นั แตกตา งกันมากมาย นักวิชาการสาขาตางๆ ไดศึกษาคนควาเรือ่ งสี จนเกิดเปนทฤษฎีสี ตามหลักการของนักวิชาการสาขา ตา ง ๆ เชน แมสขี องนกั ฟส ิกส หรอื (แมส ขี องแสง) (Spectrum Primaries) เปน สีทเ่ี กิดจากการผสมกันของคลื่นแสง มี 3 สี คอื แมสีของนักเคมี (Pigmentary Primaries) คือสีทีใ่ ชในวงการอุตสาหกรรมและวงการศิลปะ หรือเรียก อีกอยางหนึง่ วา สีวัตถุธาตุ ที่เรากําลังศึกษาอยูใ นขณะนี้ โดยใชในการเขียนภาพเกี่ยวกับพาณิชยศิลป ภาพ โฆษณา ภาพประกอบเรอ่ื งและภาพเขียน ของศิลปนตาง ๆ ประกอบดว ย สขี ้นั ท่ี 1 (Primary Color) คือ แมส ีพน้ื ฐาน มี 3 สี ไดแก 1. สเี หลอื ง (Yellow) 2. สแี ดง (Red) สีแดง 3. สนี ้ําเงิน (Blue) สนี ํ้าเงนิ สเี หลือง

14 สีขั้นท่ี 2 (Secondary color) คือ สีที่เกดิ จากสีขั้นที่ 1 หรอื แมสีผสมกนั ในอัตราสวนท่ีเทา กัน จะทาํ ใหเ กิดสใี หม 3 สี ไดแก 1. สีสม (Orange) เกดิ จาก สแี ดง (Red) ผสมกับสเี หลอื ง (Yellow) 2. สีมว ง (Violet) เกดิ จาก สแี ดง (Red) ผสมกับสีนํา้ เงิน (Blue) 3. สเี ขยี ว (Green) เกิดจาก สีเหลือง (Yellow) ผสมกบั สีน้าํ เงิน (Blue) สสี ม สมี ว ง สเี ขยี ว สขี ้นั ท่ี 3 (Intermediate Color) คอื สที ่ีเกิดจากการผสมกันระหวางแมสกี ับสขี ั้นที่ 2 จะเกิดสีขน้ั ที่ 3 ขนึ้ อีก 6 สี ไดแก 1. สีน้ําเงินมวง ( Violet-blue) เกิดจาก สนี ํา้ เงิน (Blue) ผสมสมี วง (Violet) 2. สเี ขียวนา้ํ เงิน ( Blue-green) เกดิ จาก สนี ้าํ เงนิ (Blue) ผสมสีเขยี ว (Green) 3. สเี หลอื งเขยี ว ( Green-yellow) เกดิ จาก สเี หลอื ง(Yellow) ผสมกบั สเี ขียว (Green) 4. สสี ม เหลือง ( Yellow-orange) เกดิ จาก สเี หลอื ง (Yellow) ผสมกบั สสี ม (Orange) 5. สแี ดงสม ( Orange-red) เกดิ จาก สแี ดง (Red) ผสมกับสสี ม (Orange) 6. สมี ว งแดง ( Red-violet) เกดิ จาก สแี ดง (Red) ผสมกบั สมี ว ง (Violet) สมี ว งแดง สแี ดงสม สนี ํา้ เงินมวง สสี ม เหลือง สเี ขยี วนาํ้ เงนิ สเี หลอื งเขียว เราสามารถผสมสีเกิดขึ้นใหมไดอีกมากมายหลายรอยสีดวยวิธีการเดียวกันนี้ ตามคุณลักษณะของสีทีจ่ ะ กลาวตอ ไป

15 จะเห็นไดวาสีทั้ง 3 ข้ันตามทฤษฎีสีดังกลาว มีผลทําใหเราสามารถนํามาใชเปนหลักในการเลือกสรรสี สําหรับงานสรางสรรค ของเราได ซึง่ งานออกแบบมิไดถูกจํากัดดวยกรอบความคิดของทฤษฎีตามหลักวิชาการ เทานัน้ แตเราสามารถ คิดออกนอกกรอบแหงทฤษฎีนัน้ ๆ ได เทาทีม่ ันสมองของเราจะเคนความคิดสรางสรรค ออกมาได ภาพวงจรสี 12 สี คณุ ลักษณะของสมี ี 3 ประการ คอื 1. สีแท หรือความเปนสี (Hue ) หมายถึง สีท่ีอยูในวงจรสีธรรมชาติ ท้ัง 12 สี (ดูภาพสี 12 สีในวงจรสี ประกอบ) สี ที่เราเหน็ อยทู ุกวนั น้ีแบงเปน 2 วรรณะ โดยแบง วงจรสอี อกเปน 2 สว น จากสเี หลอื งวนไปถงึ สมี วง คือ 1. สีวรรณะรอน (Warm Color) ใหความรูส ึกรุนแรง รอน ตืน่ เตน ประกอบดวย สีเหลือง สี เหลืองสม สีสม สแี ดงสม สีแดง สมี ว งแดง สมี ว ง 2. สีวรรณะเย็น (Cool Color) ใหความรูสึกเย็น สงบ สบายตาประกอบดวย สีเหลือง สีเขียว เหลือง สีเขียว สีน้าํ เงินเขียว สีน้าํ เงิน สีมวงน้าํ เงิน สีมวง เราจะเห็นวา สีเหลือง และสีมวง เปนสีทีอ่ ยูไ ดทัง้ 2 วรรณะ คือสกี ลางท่เี ปน ไดท้ังสรี อน และสเี ย็น

16 2. ความจัดของสี (Intensity) หมายถึง ความสด หรือความบริสุทธิข์ องสีใดสีหนึง่ และสีทีถ่ ูกผสมดวย สีดําจนหมนลง ความจัดหรือความบริสุทธิจ์ ะลดลงความจัดของสีจะเรียงลําดับจากจัดที่สุด ไปจนหมนที่สุด ไดหลายลาํ ดบั ดว ยการคอ ยๆ เพิ่มปริมาณของสีดําทีผ่ สมเขาไปทีละนอยจนถึงลําดับทีค่ วามจัดของสีมีนอยทีส่ ุด คอื เกือบเปน สีดํา 3. น้าํ หนักของสี (Values) หมายถึง สีที่สดใส (Brightness) สีกลาง (Grayness) สีทึบ(Darkness) ของ สีแตละสี สีทกุ สีจะมีน้ําหนักในตวั เอง ถา เราผสมสขี าวเขา ไปในสีใดสีหนึ่ง สีนั้นจะสวางข้ึน หรือมีน้าํ หนักออน ลงถาเพิม่ สีขาวเขาไปทีละนอยๆ ตามลําดับ เราจะไดน้าํ หนักของสีทีเ่ รียงลําดับจากแกสุดไปจนถึงออนสุด น้าํ หนักออนแกของสี เกิดจากการผสมดวยสีขาว เทา และ ดํา น้าํ หนักของสีจะลดลงดวยการใชสีขาวผสม ( tint) ซงึ่ จะทําให เกดิ ความรูสึกนมุ นวล ออนหวาน สบายตา น้าํ หนักของสีจะเพิม่ ขึน้ ปานกลางดวยการใชสีเทา ผสม ( tone) ซึง่ จะทําใหความเขมของสีลดลง เกิดความรูส ึก ทีส่ งบ ราบเรียบ และน้าํ หนักของสีจะเพิ่มขึ้นมาก ขน้ึ ดว ยการใชสดี ําผสม ( shade) ซึ่งจะทําใหความเขมของสีลดความสดใสลง เกิดความรูส ึกขรึม ลึกลับ น้ําหนัก ของสียังหมายถึงการเรียงลําดับน้ําหนักของสีแทดวยกันเอง โดยเปรียบเทียบ น้าํ หนักออนแกกับสีขาว – ดํา เราสามารถเปรียบเทียบระหวางภาพสีกับภาพขาวดําไดอยางชัดเจนและเมื่อเรานําภาพสีที่เราเห็นวามีสีแดงอยู หลายคาตง้ั แตออ น กลาง แก ไปถายเอกสารขาว-ดํา เมือ่ นํามาดจู ะพบวา สีแดงจะมนี ้าํ หนักออน แกต ้ังแตขาว เทา ดาํ น่ันเปน เพราะวา สแี ดงมนี าํ้ หนกั ของสแี ตกตา งกนั นน่ั เอง สตี างๆ ทเี่ ราสมั ผสั ดว ยสายตา จะทําใหเกดิ ความรูสึกขึ้นภายในตอเรา ทันทีทีเ่ รามองเห็นสี ไมวาจะเปน การแตงกาย บานที่อยูอาศัย เคร่อื งใชต า งๆ แลวเราจะ ทําอยางไร จึงจะใชสีไดอยางเหมาะสม และสอดคลองกับ หลักจิตวิทยา เราจะตองเขาใจวาสีใดใหความรูสึก ตอมนุษยอยางไร ซึ่งความรูสึกท่ีเกี่ยวกับสีสามารถจําแนก ออกไดด งั น้ี สีแดง ใหความรูส ึกรอน รุนแรง กระตุน ทาทาย เคลื่อนไหว ตื่นเตน เราใจ มีพลัง ความอุดมสมบูรณ ความมั่งคั่ง ความรัก ความสําคัญ และอันตรายจะทําใหเกิดความอุดมสมบูรณเปนตน สีสม ใหค วามรสู ึก รอ น อบอุน สดใส มีชีวติ ชวี า วัยรุน ความคึกคะนอง และการปลดปลอย สเี หลือง ให ความรูส ึก แจมใส ราเรงิ เบกิ บานสดชื่น ชีวิตใหม ความสุกสวาง สีเขียว ใหความรูส ึก งอกงาม สดชืน่ สงบเงียบ รม รนื่ รม เย็น การพักผอ น การผอ นคลายธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม เยอื กเยน็ สเี ขยี วแก ใหความรูส ึก เศราใจ แกชรา สีน้าํ เงิน ใหความรูส ึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแนน เครงขรึม เอา การเอางาน ละเอยี ด รอบคอบ สงางาม มีศกั ด์ศิ รี สงู ศักด์ิ เปนระเบียบถอมตน สีฟา ใหความรูส ึก ปลอดโปรง โลงกวาง โปรงใส สะอาด ปลอดภัย ความสวาง ลมหายใจ ความเปน อสิ รเสรภี าพ การชว ยเหลอื สีคราม จะทําใหเกดิ ความรูสกึ สงบ สีมวง ใหความรูสึก มีเสนห นาติดตาม เรนลับ ซอนเรน มีอํานาจ มีพลังแฝงอยู ความรัก ความเศรา ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ สีนํา้ ตาล ใหความรูสกึ เกา หนัก สงบเงียบ

17 สขี าว ใหความรสู ึกบริสทุ ธ์ิ สะอาด ใหม สดใส สีดํา ใหความรูสกึ หนัก หดหู เศราใจ ทึบตนั สีชมพู ใหความรูส ึก อบอุน ออนโยน นุม นวล ออนหวาน ความรัก เอาใจใส วัยรุน หนุม สาว นารัก ความสดใส สีไพล จะทาํ ใหเ กดิ ความรสู ึกกระชมุ กระชวย เปน หนุม สาว สีเทา ใหความรูส ึก เศรา อาลัย ทอแท ความลึกลับ ความหดหู ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สขุ ุม ถอ มตน สที อง ใหความรูสึก ความหรูหรา โออา มีราคา สูงคา สิ่งสําคัญ ความเจริญรุง เรือง ความสุข ความมั่งคัง่ ความร่ํารวย การแผกระจาย จากความรูส ึกดังกลาว เราสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดในทุกเรื่อง และเมื่อตองการ สรางผลงาน ทีเ่ กีย่ วกับการใชสี เพือ่ ทีจ่ ะไดผลงานทีต่ รงตามความตองการในการสือ่ ความหมาย และจะชวยลด ปญหาในการ ตัดสนิ ใจทจ่ี ะเลือกใชสตี า งๆได เชน 1. ใชในการแสดงเวลาของบรรยากาศในภาพเขียน เพราะสีบรรยากาศในภาพเขียนนั้นๆ จะแสดงใหรูว า เปน ภาพตอนเชา ตอนกลางวนั หรอื ตอนบา ย เปนตน 2. ในดานการคา คือ ทําใหสินคาสวยงาม นาซือ้ หา นอกจากนีย้ ังใชกับงานโฆษณา เชน โปสเตอรตางๆ ชวยใหจ ําหนา ยสนิ คา ไดม ากขนึ้ 3. ในดานประสิทธิภาพของการทํางาน เชน โรงงานอุตสาหกรรม ถาทาสีสถานทีท่ ํางานใหถูกหลัก จิตวิทยา จะเปนทางหนึ่งที่ชวยสรางบรรยากาศใหนาทํางาน คนงานจะทํางานมากขึ้น มีประสิทธิภาพในการ ทํางานสูงขึ้น 4. ในดานการตกแตง สีของหอง และสีของเฟอรนิเจอร ชวยแกปญหาเรือ่ งความสวางของหอง รวมทั้ง ความสุขในการใชห อ ง ถาเปนโรงเรยี นเดก็ จะเรยี นไดผลดขี น้ึ ถาเปนโรงพยาบาลคนไขจะหายเรว็ ขึ้น สรางสรรคงานออกแบบจะเปนผูท ีเ่ กีย่ วของกับการใชสีโดยตรง มัณฑนากรจะคิดคนสีขึน้ มาเพือ่ ใชในงาน ตกแตง คนออกแบบฉากเวทีการแสดงจะคิดคนสีเกีย่ วกับแสง จิตรกรก็จะคิดคนสีขึน้ มาระบายใหเหมาะสมกับ ความคิด และจินตนาการของตน แลวตัวเราจะคดิ คน สขี ้ึนมาเพื่อความงาม ความสุข สําหรับเรามิไดหรือ สีทีใ่ ชสําหรับการออกแบบนัน้ ถาเราจะใชใหเกิดความสวยงามตรงตามความตองการของเรา มีหลักในการใช กวา งๆ อยู 2 ประการ คือ การใชส ีกลมกลนื กัน และ การใชส ตี ดั กัน 1. การใชสกี ลมกลืนกนั การใชสใี หกลมกลนื กนั เปนการใชสีหรือน้าํ หนักของสีใหใกลเคียงกัน หรือคลายคลึงกัน เชน การใชสี แบบเอกรงค เปน การใชสีสีเดยี วทมี่ ีน้ําหนกั ออนแกห ลายลําดับ การใชสีขางเคียง เปนการใชสีทีเ่ คียงกัน 2 – 3 สี ในวงสี เชน สีแดง สีสมแดง และสีมวงแดง การใชสี ใกลเคียง เปนการใชสีทีอ่ ยูเ รียงกันในวงสีไมเกิน 5 สี ตลอดจนการใชสีวรรณะรอนและวรรณะเย็น (warm tone colors and cool tone colors) ดงั ไดก ลา วมาแลว

18 2. การใชสตี ดั กนั สตี ัดกันคอื สที อี่ ยูตรงขามกันในวงจรสี (ดูภาพวงจรสี ดา นซายมอื ประกอบ) การใชสี ใหตัดกันมีความจําเปนมาก ในงานออกแบบ เพราะชวยใหเกิดความนาสนใจ ในทันทีที่พบเห็น สี ตัดกนั อยา งแทจริงมี อยดู วยกัน 6 คสู ี คอื 1. สีเหลอื ง ตรงขา มกบั สีมว ง เหลอื ง มว ง 2. สสี ม ตรงขามกับ สนี าํ้ เงนิ สม นาํ้ เงนิ 3. สีแดง ตรงขา มกับ สีเขยี ว แดง เขยี ว 4. สีเหลืองสม ตรงขามกับ สีมวงนํ้าเงนิ เหลอื งสม มว งน้ําเงนิ 5. สีสม แดง ตรงขามกบั นาํ้ เงนิ เขียว สม แดง นาํ้ เงนิ เขยี ว 6. สีมวงแดง ตรงขามกับ สเี หลอื งเขยี ว มว งแดง เหลอื งเขยี ว ในงานออกแบบ หรือการจัดภาพ หากเรารูจ ักใชสีใหมีสภาพโดยรวมเปนวรรณะรอน หรือวรรณะเย็น เราจะ สามารถควบคุม และสรางสรรคผลงานใหเ กิดความประสานกลมกลืน งดงามไดงายขึ้น เพราะสีมีอิทธิพล ตอ มวล ปริมาตร และชองวาง สีมีคุณสมบัติทีท่ ําใหเกิดความกลมกลืน หรือขัดแยงได สีสามารถขับเนนใหเกิด จดุ เดน และการรวมกนั ใหเ กดิ เปน หนว ยเดยี วกนั ได เราในฐานะผูใชสีตองนําหลักการตางๆ ของสีไปประยุกตใช ใหส อดคลอ ง กับเปาหมายในงานของเรา เพราะสีมีผลตอการออกแบบ คือ 1. สรา งความรสู กึ สใี หค วามรสู กึ ตอผูพบเห็นแตกตา งกันไป ทัง้ นีข้ ึ้นอยูก ับประสบการณ และภูมิหลัง ของแตละคน สีบางสีสามารถรักษาบําบัดโรคจิตบางชนิดได การใชสีภายใน หรือภายนอกอาคาร จะมีผลในการ สรางบรรยากาศได 2. สรางความนาสนใจ สีมีอิทธิพลตองานศิลปะการออกแบบ จะชวยสรางความประทับใจ และความ นา สนใจเปน อนั ดบั แรกทพ่ี บเหน็ 3. สีบอกสัญลักษณของวัตถุ ซึง่ เกิดจากประสบการณ หรือภูมิหลัง เชน สีแดงสัญลักษณของไฟ หรือ อันตราย สเี ขยี วสัญลักษณแทนพืช หรอื ความปลอดภยั เปน ตน 4. สีชวยใหเกิดการรับรู และจดจํา งานศิลปะการออกแบบตองการใหผูพ บเห็นเกิดการจดจํา ในรูปแบบ และผลงาน หรือเกิดความประทับใจ การใชสีจะตองสะดุดตา และมีเอกภาพ แสงและเงา แสงและเงา หมายถึง แสงที่สองมากระทบพื้นผิวทีม่ ีสีออนแกและพืน้ ผิวสูงต่าํ โคงนูนเรียบหรือขรุขระ ทําใหปรากฏแสงและเงาแตกตางกัน

19 ตวั กาํ หนดระดบั ของคานํ้าหนัก ความเขมของเงาจะขึน้ อยูกับความเขมของแสง ในทีท่ ีม่ ีแสงสวางมาก เงาจะเขมขึน้ และในทีท่ ีม่ ีแสงสวางนอย เงาจะไมชัดเจน ในทีท่ ีไ่ มมีแสงสวางจะไมมีเงา และเงาจะอยูใ น ทางตรงขามกับแสงเสมอ คาน้าํ หนักของแสงและเงาที่เกิดบนวัตถุ สามารถจําแนกเปนลักษณะที่ ตาง ๆ ได ดงั น้ี 1. บริเวณแสงสวางจัด (Hi-light) เปนบริเวณที่อยูใกลแหลงกําเนิดแสงมากที่สุด จะมีความสวาง มากท่สี ุด วตั ถุทม่ี ีผวิ มนั วาวจะสะทอนแหลงกําเนดิ แสงออกมาใหเ ห็นไดชัด 2. บริเวณแสงสวาง (Light) เปนบริเวณที่ไดรับแสงสวาง รองลงมาจากบริเวณแสงสวาง จัด เนื่องจาก อยหู างจากแหลงกําเนิดแสงออกมา และเริ่มมคี า น้าํ หนักออ น ๆ 3. บริเวณเงา (Shade) เปนบริเวณทีไ่ มไดรับแสงสวาง หรือเปนบริเวณทีถ่ ูกบดบังจาก แสงสวาง ซ่งึ จะมคี าน้ําหนักเขมมากขึ้นกวาบริเวณแสงสวาง 4. บริเวณเงาเขมจัด (Hi-Shade) เปนบริเวณที่อยูห างจากแหลงกําเนิดแสงมากทีส่ ุด หรือ เปนบริเวณ ท่ถี ูกบดบังหลาย ๆ ช้ัน จะมคี านํา้ หนกั ท่เี ขมมากไปจนถึงเขมท่สี ุด 5. บรเิ วณเงาตกทอด เปนบริเวณของพื้นหลังที่เงาของวัตถุทาบลงไป เปนบริเวณเงาที่อยู ภายนอกวัตถุ และจะมีความเขมของคาน้ําหนักขึ้นอยูกับ ความเขมของเงา น้ําหนักของพื้น หลัง ทิศทางและระยะของเงา ความสําคญั ของคาน้ําหนกั 1. ใหความแตกตางระหวางรูปและพื้น หรือรูปทรงกับที่วาง 2. ใหความรสู กึ เคลือ่ นไหว 3. ใหความรสู กึ เปน 2 มติ ิ แกรูปราง และความเปน 3 มติ ิแกร ูปทรง 4. ทําใหเ กดิ ระยะความตืน้ - ลึก และระยะใกล - ไกลของภาพ 5. ทําใหเกิดความกลมกลืนประสานกันของภาพ กจิ กรรม 1. ใหนักศึกษาใชเสนแบบตางๆตามแบบเรียนมาประกอบเปนภาพตามจินตนาการลงในกระดาษเปลา ขนาดA4 จากนน้ั นาํ มาแสดงผลงานและแลกเปลย่ี นกนั ชมและวจิ ารณก นั ในชน้ั เรยี น 2. นําผลงานจากขอ1 เก็บในแฟมสะสมผลงาน

20 เร่อื งท่ี 2 ทศั นศลิ ปส ากล ความหมายของศลิ ปะและทศั นศิลป ศิลปะหมายถึง ผลแหงความคิดสรางสรรคของมนุษยที่แสดงออกมาในรูปลักษณตางๆใหปรากฏซึ่ง ความสุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณ ตามประสบการณ รสนิยม และทักษะของบุคคล แตล ะคนนอกจากนี้ยงั มีนกั ปราชญ นักการศกึ ษา ทานผูรู ไดใหความหมายของศิลปะแตกตางกันออกไป เชนการ เลียนแบบธรรมชาติ การแสดงออกของบุคลิกภาพทางอารมณของมนุษย ความสัมพันธร ะหวางศิลปะกับมนุษย การสรางสรรคทางศิลปะของมนุษยเปนกิจกรรมในการพัฒนาสติปญญาและอารมณที่มีมาตัง้ แตสมัย โบราณต้งั แตย ุคหินหรือประมาณ 4,000 - 5,000 ปลวงมาแลว นับตงั้ แตม นษุ ยอาศยั อยใู นถ้าํ เพิงผา ดํารงชีวิตดวย การลาสัตวและหาของปาเปนอาหาร โดยมากศิลปะจะเปนภาพวาด ซึง่ ปรากฏตามผนังถ้ําตางๆ เชน ภาพวัวไบ ซนั ทีถ่ ํา้ อลั ตารมิ า ในประเทศสเปน ภาพสัตวชนิดตางๆทีถ่ ้ําลาสลโก ในประเทศฝรัง่ เศส สําหรับประเทศไทยที่ พบเหน็ เชน ผาแตม จงั หวดั อบุ ลราชธานี ภาชนะเครือ่ งปน ดินเผา ทีบ่ า นเชยี ง จังหวดั อดุ รธานี

21 ประเภทของงานทศั นศลิ ป สามารถแบงออกเปน 4 ประเภท คอื 1. จติ รกรรม 2. ประตมิ ากรรม 3. สถาปต ยกรรม 4. ภาพพิมพ งานจิตรกรรม เปนงานศิลปะที่แสดงออกดวยการวาด ระบายสี และการจัดองคประกอบความงาม เพื่อใหเกิดภาพ 2 มิติ ไมมีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเปนแขนงหนึง่ ของทัศนศิลป ผูท ํางานดานจิตรกรรม จะเรยี กวา จติ รกร จอหน แคนาเดย (John Canaday) ไดใหความหมายของจิตรกรรมไววา จิตรกรรม คือ การระบายชัน้ ของ สีลงบนพืน้ ระนาบรองรับ เปนการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีทีเ่ กิดขึน้ จากการเตรียมการของศิลปนแตละคน ในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท อธิบายวา เปนการสรางงานทัศนศิลปบนพื้นระนาบรองรับ ดวยการ ลาก ปาย ขดี ขูด วสั ดุ จิตรกรรมลงบนพ้ืนระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมทีเ่ กาแกที่สุดที่เปน ท่รี ูจกั อยทู ถ่ี ํา้ Chauvet ในประเทศฝร่ังเศส ซึ่งนักประวัติศาสตรบางคน อางวามีอายุราว 32,000 ปเปนภาพทีส่ ลักและระบายสีดวยโคลนแดงและสียอมดํา แสดงรูปมา แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษยที่กําลังลาสัตว จิตรกรรม สามารถจําแนกไดตามลักษณะผลงาน และ วัสดุอุปกรณการสรางสรรคเปน 2 ประเภท คือ ภาพวาด และ ภาพเขยี น

22 จติ รกรรมภาพวาด (Drawing) เปนศัพททัศนศิลป คือ ภาพวาดเสน หรือบางทานอาจเรียกดวยคําทับศัพท วา ดรออ้งิ ปจจุบันไดมีการนําอุปกรณ และเทคโนโลยีทีใ่ ชในการเขียนภาพและวาดภาพ ทีก่ าวหนาและทันสมัย มากมาใช ผูเขียนภาพจึงจึงอาจจะใชอุปกรณตางๆมาใชในการเขียนภาพ ภาพวาดในสื่อสิ่งพิมพ สามารถแบง ออกไดเ ปน 2 ประเภท คอื ภาพวาดลายเสน และ การตูน จติ รกรรมภาพเขยี น (Painting)ภาพเขียนเปนการสรางงาน 2 มิติบนพืน้ ระนาบดวยสีหลายสี เชน สีน้าํ สี น้ํามัน สีฝุน สชี อลค หรอื สอี ะคริลคิ ซ่ึงผลงานทางดานจิตรกรรมภาพเขียนของสีแตละชนิดจะมีความแตกตางกัน เชน 1. การเขยี นภาพสนี ํา้ (Colour Painting) 2. การเขียนภาพสนี า้ํ มนั (Oil Painting)

23 3. การเขยี นภาพสีอะคริลิค (Acrylic Painting) งานประติมากรรม เปนผลงานดานศิลปทีแ่ สดงออกดวยการสรางรูปทรง 3 มิติ ท่ีมีปริมาตร มีน้าํ หนัก และกินเนื้อที่ในอากาศ โดยการใชวัสดุชนิดตาง ๆ วัสดุทีใ่ ชสรางสรรคงานประติมากรรม จะเปนตัวกําหนด วิธีการสรางผลงาน ความงามของงานประติมากรรม ทําได 4 วิธี คือ 1. การปน (Casting) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุ ที่มีความเหนียว ออนตัว และยึดจับตัวกันไดดี วัสดทุ ี่นยิ มนาํ มาใชป น ไดแ ก ดนิ เหนยี ว ดนิ นา้ํ มัน ปูน แปง ขีผ้ งึ้ กระดาษ หรอื ขเี้ ล่ือยผสมกาว เปนตน 2. การแกะสลัก (Carving) เปนการสรางรูปทรง 3 มิติ จากวัสดุที่ แข็ง เปราะ โดยอาศัย เครือ่ งมือ วัสดุ ท่นี ยิ มนาํ มาแกะ ไดแ ก ไม หนิ กระจก แกว ปนู ปลาสเตอร เปน ตน งานแกะสลกั ไม

24 3. การหลอ (Molding) การสรางรูปผลงานที่มีทรง 3 มิติ จากวัสดุทีห่ ลอมตัวไดและกลับแข็ง ตัวได โดยอาศัยแมพิมพ ซึง่ สามารถทําใหเกิดผลงานทีเ่ หมือนกันทุกประการตัง้ แต 2 ชิ้น ขึน้ ไป วัสดุทีน่ ิยมนํามาใช หลอ ไดแก โลหะ ปูน แกว ขผ้ี ง้ึ เรซ่นิ พลาสติก ฯลฯ 4. การประกอบขึ้นรูป (Construction) การสรางผลงานที่มีรูปทรง 3 มิติ โดยการนําวัสดุตาง ๆ มา ประกอบเขา ดวยกนั และยดึ ติดกันดวยวสั ดตุ า ง ๆ การเลือกวิธีการสรางสรรคงานประติมากรรม ขึ้นอยูก ับวัสดุที่ ตองการใช ในงานประติมากรรม ไมว า จะสรา งขนึ้ โดยวิธีใดผลงานทางดานประติมากรรม จะมีอยู 3 ลักษณะ คือ แบบนนู ตาํ่ แบบนนู สงู และแบบลอยตวั ผสู รา งสรรคงานประติมากรรม เรียกวา ประตมิ ากร ประเภทของงานประตมิ ากรรม 1. ประติมากรรมแบบนูนต่ํา ( Bas Relief ) เปนรูปปนท่ีนูนขึน้ มาจากพื้นหรือมีพื้นหลัง รองรับ มองเห็นไดชัดเจนเพียงดานเดียว คือดานหนา มีความสูงจากพืน้ ไมถึงครึง่ หนึ่งของรูป จริง ไดแกรูปนูนบน เหรยี ญ รูปนนู ทใี่ ชป ระดบั ตกแตง ภาชนะ รปู นนู ที่ใชประดบั ตกแตง บรเิ วณฐานอนุสาวรียา หรอื พระเครอ่ื งบางองค 2. ประติมากรรมแบบนูนสูง ( High Relief ) เปนรูปปนแบบตาง ๆ มีลักษณะเชนเดียวกับแบบ นูนต่าํ แตมีความสูงจากพื้นตัง้ แตครึ่งหนึ่งของรูปจริงขึน้ ไป ทําใหเห็นลวดลายทีล่ ึก ชัดเจน และ และเหมือนจริง มากกวาแบบนูนแตใ ชงานแบบเดียวกับแบบนูนต่ํา 3. ประติมากรรมแบบลอยตัว ( Round Relief ) เปนรูปปนแบบตาง ๆ ท่ีมองเห็นไดรอบดานหรือ ต้ังแต 4 ดา นข้ึนไป ไดแก ภาชนะตา ง ๆ รปู เคารพตา ง ๆ พระพทุ ธรปู เทวรปู รปู ตามคตนิ ยิ ม รปู บคุ คลสาํ คญั รูปสตั ว ฯลฯ สถาปตยกรรม (Architecture) หมายถึง การออกแบบผลงานทางทัศนศิลปทีเ่ ปนการกอสรางสิง่ ตาง ๆ คนทั่วไปอยูอาศัยไดและอยูอ าศัยไมได เชนสถูป เจดีย อนุสาวรียบานเรือนตาง ๆ เปนตน นอกจากนีย้ ังรวมถึง

25 การกําหนดผังบริเวณตาง ๆ เพือ่ ใหเกิดความสวยงามและเปนประโยชนแกการ ใชสอยตามตองการ งาน สถาปตยกรรมเปนแหลงรวมของงานศิลปะทางกายภาพเกือบทุกชนิด และมักมีรูปแบบแสดงเอกลักษณของ สงั คมนนั้ ๆ ในชวงเวลานัน้ ๆ เราแบงลักษณงานของสถาปตยกรรมออกไดเปน ๓ แขนง ดงั น้ีคอื 1. สถาปต ยกรรมออกแบบกอ สราง เชน การออกแบบสรางตึกอาคาร บานเรือน เปนตน 2. ภมู ิสถาปตย เชน การออกแบบวางผงั จัดบริเวณ วางผงั ปลกู ตนไม จดั สวน เปนตน 3. สถาปตยกรรมผังเมือง ไดแก การออกแบบบริเวณเมืองใหมีระเบียบ มีความสะอาด และถูกหลัก สุขาภิบาล เราเรียกผูสรางงานสถาปตยกรรมวา สถาปนิก องคประกอบสําคญั ของสถาปต ยกรรม จุดสนใจและความหมายของศาสตรทางสถาปตยกรรมนั้น ไดเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย บทความ De Architectura ของวิทรูเวียส ซึ่งเปนบทความเกีย่ วกับสถาปตยกรรม ทีเ่ กาแกทีส่ ุดทีเ่ รา คนพบ ไดกลาวไววา สถาปตยกรรมตองประกอบดวยองคประกอบสามสวนหลักๆ ทีผ่ สมผสานกันอยางลงตัว และสมดลุ อนั ไดแ ก ความงาม (Venustas) หมายถึง สัดสวนและองคกระกอบ การจัดวางที่วาง สี วัสดุและพื้นผิวของอาคาร ทผ่ี สมผสานลงตัว ท่ยี กระดับจิตใจ ของผูไดย ลหรือเยยี่ มเยือนสถานทีน่ ัน้ ๆ ความมั่นคงแข็งแรง (Firmitas) และ ประโยชนใชสอย (Utilitas) หมายถึง การสนองประโยขน และ การบรรลุประโยชนแหงเจตนา รวมถึงปรัชญาของสถานที่นั้นๆ

26 สถาปตยกรรมตะวนั ตก ตัวอยางเชน บานเรือน โบสถ วิหาร ปราสาท ราชวัง ซึง่ มีทัง้ สถาปตยกรรมแบบโบราณ เชน กอธิก ไบ แซนไทน จนถงึ สถาปต ยกรรมสมัยใหม ศิลปะภาพพมิ พ ( Printmaking) ภาพพิมพ โดยความหมายของคํายอมเปนทีเ่ ขาใจชัดเจนแลววา หมายถึงรูปภาพทีส่ รางขึน้ มา โดย วิธีการพิมพ แตส าํ หรบั คนไทยสว นใหญเม่ือพูดถึง ภาพพิมพอาจจะยังไมเปนทีร่ ูจ ักวาภาพพิมพ คืออะไรกันแน เพราะคาํ ๆน้ีเปน คาํ ใหมท เ่ี พิง่ เริ่มใชก นั มาประมาณเมือ่ 30 ป มานเ้ี อง โดยความหมายของคําเพียงอยางเดียว อาจจะชวนใหเขาใจสับสนไปถึงรูปภาพทีพ่ ิมพดวย กรรมวิธีการพิมพทางอุตสาหกรรม เชน โปสเตอร ภาพพมิ พท ีจ่ ําลองจากภาพถาย หรอื ภาพจาํ ลองจิตรกรรมอันท่ี จริงคําวา ภาพพิมพ เปนศัพทเฉพาะทางศิลปะทีห่ มายถึง ผลงานวิจิตรศิลปที่จัดอยูในประเภท ทัศนศิลป เชน เดียวกันกับจิตรกรรมและประติมากรรม ภาพพิมพท ่ัวไปมีลักษณะเชนเดยี วกบั จิตรกรรมและภาพถา ย คือตัวอยางผลงานมีเพียง 2 มิติ สวนมิติที่ 3 คอื ความลกึ ที่จะเกิดขึ้นจากการใช ภาษาเฉพาะของทศั นศลิ ป อนั ไดแก เสน สี นาํ้ หนกั และพื้นผิว สรางใหดูลวง ตาลึกเขาไปในระนาบ 2 มิติของผิวภาพ แตภาพพิมพมีลักษณะเฉพาะที่แตกตางจากจิตรกรรมตรงกรรมวิธีการ สรางผลงาน ท่ีผลงานจิตรกรรมนั้นศิลปนจะเปนผูส รางสรรคขีดเขียน หรือวาดภาพระบายสีลงไปบนผืนผาใบ หรอื กระดาษ โดยสรางออกมาเปนภาพทันที แตการสรางผลงานภาพพิมพศิลปนตองสรางแมพิมพขึน้ มาเปนสื่อ กอ น แลวจึงผานกระบวนการพิมพ ถายทอดออกมาเปนภาพที่ตองการได กรรมวิธีในการสรางผลงานดวยการพิมพนี้เอง ทีท่ ําใหศิลปนสามารถสรางผลงานที่เปนตนแบบ ( Original) ทีเ่ หมือนๆกันไดหลายชิน้ เชนเดียวกับผลงานประติมากรรม ประเภททีป่ น ดวยดินแลวทําแมพิมพ หลอผลงานชิน้ นั้นใหเปนวัสดุถาวร เชนทองเหลือง หรือสําริด ทุกชิ้นที่หลอออกมาถือวาเปนผลงานตนแบบ มิใชผลงานจําลอง ( Reproduction) ทัง้ นีเ้ พราะวาภาพพิมพนัน้ ก็มิใชผลงานจําลองจากตนแบบที่เปนจิตรกรรม หรือวาดเสน แตภาพพิมพเปนผลงานสรางสรรค ที่ศิลปนมีทัง้ เจตนาและความเชีย่ วชาญในการใชคุณลักษณะ

27 พิเศษเฉพาะของเทคนิควิธีการทางภาพพิมพ แตละชนิดมาใชในการถายทอดจินตนาการ ความคิด และอารมณ ความรูส ึกออกมาในผลงานไดโดยตรง แตกตางกับการทีน่ ําเอาผลงานจิตรกรรมทีส่ รางสําเร็จไวแลวมาจําลอง เปนภาพโดยผานกระบวนการทางการพิมพ ในการพิมพผลงานแตละชิน้ ศิลปนจะจํากัดจํานวนพิมพตามหลักเกณฑสากล ที่ศิลปสมาคมระหวาง ชาติ ซึง่ ไทยก็เปนสมาชิกอยูด วย ไดกําหนดไวโดยศิลปนผูส รางผลงานจะเขียนกํากับไวที่ดานซายของภาพเชน 3/30 เลข 3 ตัวหนาหมายถึงภาพที่ 3 สวนเลข 30 ตัวหลังหมายถึงจํานวนที่ พิมพทัง้ หมด ในภาพพิมพบางชิ้น ศิลปนอาจเซ็นคําวา A/P ไวแ ทนตวั เลขจาํ นวนพมิ พ A/Pนย้ี อ มาจาก Artist's Proof ซึง่ หมายความวา ภาพๆนี้เปน ภาพทีพ่ ิมพขึน้ มาหลังจากทีศ่ ิลปนไดมีการทดลองแกไข จนไดคุณภาพสมบูรณตามที่ตองการ จึงเซ็นรับรองไว หลังจากพิมพ A/P ครบตามจํานวน 10% ของจํานวนพิมพทัง้ หมด จึงจะเริม่ พิมพใหครบตามจํานวนเต็มที่ กาํ หนดไว หลังจากนั้นศิลปนจะทําลาย แมพ ิมพท ิ้งดว ยการขูดขีด หรือวิธีการอืน่ ๆ โดยจะพิมพภาพสุดทายนี้ไว เพือ่ เปนหลักฐาน เรียกวา Cancellation Proof สุดทายศิลปนจะเซ็นทัง้ หมายเลขจํานวนพิมพ วันเดือนป และ ลายเซ็นของศิลปนเอง ไวดานลางขวาของภาพ เพือ่ เปนการรับรองคุณภาพดวยทุกชิน้ จํานวนพิมพนีอ้ าจจะมาก หรอื นอ ยขึ้นอยูกับความนิยมของ “ ตลาด ” และปจจัยอื่นๆอีกหลายประการ สําหรับศิลปนไทยสวนใหญจะจํากัดจํานวนพิมพไวคอนขางต่าํ ประมาณ 5-10 ภาพ ตอ ผลงาน 1 ชิ้น กฎเกณฑที่ศลิ ปนทัว่ โลกถือปฏิบตั ิกันเปน หลักสากลนีย้ อมเปน การรกั ษามาตรฐานของภาพพิมพ ไว อันเปนการ สงเสรมิ ภาพพิมพใหแพรหลายและเปน ทย่ี อมรับกนั โดยทว่ั ไป รูปแบบของศิลปะภาพพิมพในดานเทคนิค 1. กรรมวิธีการพิมพผิวนูน (Relief Process) 2. กรรมวิธกี ารพมิ พรอ งลกึ (Intaglio Process ) 3. กรรมวธิ ีการพมิ พพ นื้ ราบ (Planography Process 4. กรรมวธิ ีการพมิ พผ านชองฉลุ (Serigraphy) 5. กรรมวิธีการพิมพเทคนิคผสม (Mixed Tecniques)

28 6. การพมิ พวิธพี นื้ ฐาน (Basic Printing) รูปแบบของศิลปะภาพพิมพในทางทฤษฎีสุนทรียศาสตร 1. รูปแบบแสดงความเปนจริง (Figuration Form) 2. รูปแบบผันแปรความเปนจริง (Semi - Figuration Form) 3. รูปแบบสัญลักษณ (Symbolic Form) 4. รูปแบบที่ปราศจากเนื้อหา (Non - Figuration Form) ความสาํ คญั ของเน้อื หา 1. กระบวนการสรางแมพิมพ ในงานศิลปะภาพพิมพ มีหลายลักษณะและแตละลักษณะจะมีความเปน เอกลักษณเฉพาะของเทคนิค ซึ่งแตละเทคนิคสามารถตอบสนองเนือ้ หาในทางศิลปะไดตามผลของเทคนิคนัน้ ๆ เชน กรรมวิธีการพมิ พรองลึกสามารถถายทอดเนือ้ หาในเรือ่ งพื้นผวิ (TEXTURE) ไดอยา งมีประสิทธิภาพท่สี ดุ 2. ในทฤษฎีทางสุนทรียศาสตรทําใหแยกแยะถึงรูปแบบในทางศิลปะในแบบตาง ๆ เพือ่ ใหทราบถึง วิธีการแสดงออกในรูปแบบตาง ๆ ของศิลปนได กจิ กรรม 1. ใหนกั ศึกษาทดลองเขยี นภาพจิตรกรรมดว ยสีน้ํา หรือสตี าง ๆ ในการเขียนภาพระบายสี โดยอาจเปน ภาพทิวทัศน ภาพผักหรอื ผลไมก ไ็ ด 2. ใหน กั ศกึ ษานาํ ดนิ เหนยี วหรือดนิ นํา้ มนั มาปน เปน รปู คน สตั ว หรอื ผลไม โดยมสี ว นสูงไมต่ํากวา 20 เซนตเิ มตร 3. ใหนําผลงานจากขอ1และขอ 2 มาแสดงในชนั้ เรียนและใหอาจารยและเพ่อื นนักศกึ ษารว มกันอภิปราย

29 เรือ่ งที่ 3 การวิพากษวจิ ารณงานทัศนศลิ ป ความหมาย การวิเคราะหงานศลิ ปะ หมายถึง การพิจารณาแยกแยะศึกษาองคประกอบของผลงานศิลปะออกเปน สว นๆ ทีละประเด็น ทั้งในดานทัศนธาตุ องคประกอบศิลป และความสัมพันธตางๆ ในดา นเทคนคิ กรรมวธิ ี การสรางสรรคผลงาน เพ่ือนําขอมูลทไ่ี ด มาประเมินผลงานศิลปะ แตละชิ้นวามีคุณคาทางดานความงาม ทางดาน สาระ และทางดานอารมณ และความรสู กึ อยา งไร การวิจารณงานศิลปะ หมายถึง การแสดงออกทางดานความคิดเห็นตอผลงานทางศิลปะที่ศิลปน สรางสรรคขึ้น โดยผูวิจารณใหความคิดเห็นตามหลักเกณฑและหลักการของศิลปะ ทั้งในดานสุนทรียศาสตร และสาระอน่ื ๆ ดวยการติชมเพื่อใหไดขอคิดนําไปปรับปรุงพัฒนาผลงานศิลปะ หรือใชเปน ขอมลู ในการ ประเมินตัดสินผลงาน เปรยี บเทยี บใหเห็นคุณคาในผลงานศลิ ปะช้ินนนั้ ๆ คณุ สมบตั ิของนักวจิ ารณ 1. ควรมีความรูเกี่ยวกับศิลปะทั้งศิลปะประจําชาติและศิลปะสากล 2. ควรมคี วามรเู กยี่ วกบั ประวัตศิ าสตรศิลปะ 3. ควรมีความรูเกย่ี วกบั สนุ ทรยี ศาสตร ชวยใหรูแงมุมของความงาม 4. ตองมีวสิ ยั ทัศนกวา งขวาง และไมคลอยตามคนอื่น 5. กลาที่จะแสดงออกทั้งที่เปนไปตามหลักวิชาการและตามความรูสึกและประสบการณ

30 ทฤษฎกี ารสรา งงานศิลปะ จัดเปน 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี 1. นิยมการเลียนแบบ (Imitationalism Theory) เปนการเห็นความงามในธรรมชาติแลวเลียนแบบไวให เหมอื นทง้ั รปู รา ง รปู ทรง สีสัน ฯลฯ 2. นยิ มสรา งรปู ทรงทส่ี วยงาม (Formalism Theory) เปนการสรางสรรครูปทรงใหมใหสวยงามดวยทัศน ธาตุ (เสน รปู ราง รูปทรง สี นา้ํ หนัก พืน้ ผิว บรเิ วณวา ง) และเทคนิควิธีการตางๆ 3. นิยมแสดงอารมณ (Emotional Theory) เปนการสรางงานใหดูมีความรูสึกตางๆ ท้งั ท่ีเปน อารมณอัน เนื่องมาจากเรื่องราวและอารมณของศิลปนที่ถายทอดลงไปในชิ้นงาน 4. นยิ มแสดงจนิ ตนาการ (Imagination Theory) เปนงานที่แสดงภาพจินตนาการ แสดงความคิดฝนที่ แตกตางไปจากธรรมชาติและสิ่งที่พบเห็นอยูเปนประจํา แนวทางการวิเคราะหและประเมินคุณคา ของงานศลิ ปะ การวิเคราะหและการประเมินคุณคาของงานศิลปะโดยทั่วไปจะพิจารณาจาก 3 ดา น ไดแ ก 1. ดานความงาม เปนการวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานทักษะฝมือ การใชทัศนธาตุทางศิลปะ และการจัด องคประกอบศิลปวาผลงานชิ้นนี้แสดงออกทางความงามของศิลปะไดอยางเหมาะสมสวยงามและสงผลตอผู ดใู หเ กิดความช่ืนชมในสนุ ทรียภาพเพยี งใด ลักษณะการแสดงออกทางความงามของศิลปะจะมีหลากหลาย แตกตางกันออกไปตามรูปแบบของยุคสมัย ผวู ิเคราะหและประเมินคุณคาจงึ ตอ งศึกษาใหมีความรู ความ เขาใจทางดานศิลปะใหมากที่สุด 2. ดานสาระ การวิเคราะหและประเมินคุณคา ของผลงานศลิ ปะแตล ะช้ินวา มีลกั ษณะสงเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนจุดประสงคตางๆ ทางจิตวิทยาวาใหสาระอะไรกับผูชมบาง ซง่ึ อาจเปน สาระเก่ยี วกับธรรมชาติ สังคม ศาสนา การเมือง ปญญา ความคิด จินตนาการ และความฝน เชน

31 3. ดานอารมณความรสู กึ เปนการคิดวเิ คราะหและประเมินคุณคา ในดา นคุณสมบัติท่สี ามารถกระตุนอารมณค วามรูสกึ และส่อื ความหมายไดอยางลึกซึง้ ของผลงาน ซึ่งเปนผลจากการใชเทคนิคทแี่ สดงออกถงึ ความคดิ พลงั ความรสู กึ ใน การสรางสรรคของศิลปนที่เปนผูสราง

32 เรื่องท่ี 4 ความงามตามธรรมชาติ ธรรมชาติ (Natural) หมายถึง สิ่งที่ปรากฏใหเห็นตามวัฏจักรของระบบสุริยะ โดยทีม่ นุษยมิไดเปนผู สรรคสรา งขนึ้ เชน กลางวนั กลางคนื เดอื นมดื เดือนเพ็ญ ภูเขา น้ําตก ถือวาเปนธรรมชาติ หรือปรากฏการณทาง ธรรมชาติ ตามความหมายทางพจนานุกรมของนักปราชญทางศิลปไดใหความหมายอยางกวางขวางตามแนวทาง หรอื ทศั นะสว นตวั ไวด ังน้ี คือ ศิลปะ(ART) คํานี้ ตามแนวสากล มาจากคําวา ARTI และ ARTE ซึง่ เปนคําทีน่ ิยม ใชกันในสมัยฟน ฟูศิลปวิทยา คําวา ARTI นัน้ หมายถึง กลุมชางฝมือในศตวรรษที่ 14, 15 และ 16 สวนคําวา ARTE หมายถึง ฝมือ ซึ่งรวมถึง ความรูของการใชวัสดุของศิลปนดวย เชน การผสมสีสําหรับลงพื้น การเขียน ภาพสีน้าํ มัน หรือการเตรียม และการใชวัสดุอื่น ศิลปะ ตามความหมายของพจนานุกรมไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถานสถาน พ.ศ. 2493 ไดอธิบายไววาศิลป (สิน ละ ปะ) น. หมายถึง ฝมือทางการชาง การแสดง ออกมาใหปรากฏขึ้นไดอยางนาพึงชม และเกดิ อารมณส ะเทอื นใจ ศาสตราจารยศิลป พีระศรี ใหความหมายไววา ศิลปะ หมายถึง งานทีต่ องใชความพยายามดวยฝมือและความคิด เชน ตัดเสือ้ สรางเครือ่ งเรือน ปลูกตนไม เปน ตน และเมื่อกลาวถึง งานทางวิจิตรศิลป (Fine Arts) หมายถึงงานอันเปนความพากเพียรของมนุษย นอกจากตอง ใชความพยายามดวยมือ ดวยความคิด แลวตองมีการพวยพุงแหงพุทธิปญญาและจิตออกมาดวย (INTELLECTURL AND SPIRITUAL EMANATION)ศิลปะ ตามความหมายของพจนากรุกรมศัพทศิลปะ อังกฤษ ไทย ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ.2530 ไดอธิบายไววา ART ศิลปะ คือ ผลแหงความคิดสรางสรรคของ มนุษยที่แสดงออกในรูปลักษณตางๆ ใหปรากฏซึง่ สุนทรียภาพ ความประทับใจ หรือความสะเทือนอารมณตาม อัจฉริยภาพ พุทธิปญญา ประสบการณ รสนิยมและทักษะของแตละคน เพือ่ ความพอใจ ความรืน่ รมย ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หรือความเชื่อในลัทธิศาสนา” องคป ระกอบท่สี ําคัญในงานศิลปะ 1. รูปแบบ (FORM) ในงานศิลปะ หมายถึง รูปรางลักษณะที่ศิลปนถายทอดออกมาใหปรากฏเปน รูปธรรมในงานศิลปะ อาจแบงออกไดเปน 3 ชนิดคือ1.1 รูปแบบธรรมชาติ (NATURAL FORM) ไดแก น้าํ ตก ภูผา ตนไม ลําธาร กลางวัน กลางคืน ทองฟา ทะเล 1.2 รูปแบบเรขาคณิต (GEOMETRIC FORM) ไดแก สี่เหลย่ี ม สามเหล่ยี ม วงกลม ทรงกระบอก 1.3 รูปแบบนามธรรม (ABSTRACT FORM) ไดแก รูปแบบที่ศิลปน ไดสรางสรรคขึ้นมาเอง โดยอิสระ หรืออาจตัดทอน (DISTROTION) ธรรมชาติ ใหเหลือเปนเพียงสัญลักษณ (SYMBOL) ที่สื่อความหมายเฉพาะตัวของศิลปนซึ่งรูปแบบที่กลาวมาขางตน ศิลปนสามารถที่จะเลือกสรรนํามา สรางเปนงานศิลปะ ตามความรูสึกที่ประทับใจหรือพึงพอใจในสวนตัวของศิลปน 2. เน้ือหา (CONTENT) หมายถึง การสะทอนเรื่องราวลงไปในรูปแบบดังกลาว เชน กลางวัน กลางคืน ความรัก การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง และคุณคาทางการจัดองคประกอบทางศิลปะ เปน ตน 3. เทคนคิ (TECHNIQUE) หมายถึง ขบวนการเลือกสรรวัสดุ ตลอดจนวิธีการสรางสรรค นํามาสราง ศลิ ปะช้นิ นนั้ ๆ เชน สนี า้ํ มนั สีชอลก สีนาํ้ ในงานจิตรกรรม หรอื ไม เหลก็ หิน ในงานประตมิ ากรรมเปนตน

33 4. สุนทรียศาสตร(AESTHETICAL ELEMENTS) ซึ่งมี 3 อยาง คือ ความงาม (BEAUTY) ความ แปลกหูแปลกตา (PICTURESQUENESS) และความนาทึง่ (SUBLIMITY)ซึง่ ศิลปกรรมชิน้ หนึง่ อาจมีทัง้ ความ งามและความนาทึ่งผสมกันก็ได เชน พระพุทธรูปสมัยสุโขทัย อาจมีทัง้ ความงามและความนาทึง่ รวมอยูด วยกัน การที่คนใดคนหนึ่งมีสุนทรียะธาตุในความสํานึก เรียกวา มีประสบการณทางสุนทรียศาสตร (AESTHETHICAL EXPERIENCE) ซึง่ จะตองอาศัยการเพาะบมทั้งในดานทฤษฎี ตลอดจนการใหความสนใจ เอาใจใสรับรูตอการเคลื่อนไหวของวงการศิลปะโดยสม่ําเสมอเชน การชมนิทรรศการที่จัดขึ้นในหอศิลป เปนตน เมื่อกลาวถึง งานศิลปกรรมและองคประกอบ ทีส่ ําคัญในงานศิลปะแลวหากจะยอนรอยจากความเปนมาในอดีต จนถึงปจจบุ นั แลว พอจะแยกประเภทการสรางสรรคของศิลปนออกไดเปน 3 กลุมดังน้ี 1. กลุมทีย่ ึดรูปธรรม (REALISTIC) หมายถึง กลุม ทีย่ ึดรูปแบบทีเ่ ปนจริงในธรรมชาติมาเปน หลักในการสรางงานศิลปะ สรางสรรคออกมาใหมีลักษณะคลายกับกลองถายภาพ หรือตัดทอนบางสิง่ ออกเพียง เล็กนอย ซึง่ กลุมนีไ้ ดพยายามแกปญหาใหกับผูดูทีไ่ มมีประสบการณทางศิลปะ และสามารถสือ่ ความหมาย ระหวา งศิลปะกบั ผดู ไู ดง า ยกวา การสรา งสรรคผ ลงานในลักษณะอ่ืนๆ 2. กลุมนามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลุม ทีย่ ึดแนวทางการสรางงานทีต่ รงขามกับกลุม รปู ธรรม ซึ่งศิลปนกลุมนีม้ ุง ที่จะสรางรูปทรง (FORM) ขึน้ มาใหมโดยทีไ่ มอาศัยรูปทรงทางธรรมชาติ หรือหาก นําธรรมชาติมาเปนขอมูลในการสรางสรรคก็จะใชวิธีลดตัดทอน (DISTORTION) จนในที่สุดจะเหลือแต โครงสรางที่เปนเพียงสัญญาลักษณ และเชนงานศิลปะของ มอนเดยี น (MONDIAN) 3. กลุม กึ่งนามธรรม (SEMI-ABSTRACT) เปนกลุมอยูกึง่ กลางระหวางกลุม รูปธรรม (REALISTIC) และกลุม นามธรรม (ABSTRACT) หมายถึง กลุม ทีส่ รางงานทางศิลปะโดยใชวิธีลดตัดทอน (DISTORTION) รายละเอียดที่มีในธรรมชาติใหปรากฏออกมาเปนรูปแบบทางศิลปะ เพือ่ ผลทางองคประกอบ (COMPOSITION) หรือผลของการแสดงออก แตยังมีโครงสรางอันบงบอกถึงทีม่ าแตไมชัดเจน ซึ่งเปนผลท่ี

34 ผูเขียนไดกลาวนําในเบือ้ งตนจากการแบงกลุม การสรางสรรคของศิลปนทัง้ 3 กลุม ที่กลาวมาแลวนั้น มี นักวิชาการทางศิลปะไดเปรียบเทียบเพือ่ ความเขาใจ คือ กลุม รูปธรรม (REALISTIC) เปรียบเสมือนการคัด ลายมือแบบตัวบรรจง กลุม นามธรรม (ABSTRACT) เปรียบเสมือนลายเซ็น กลุม กึง่ นามธรรม (SEMI- ABSTRACT) เปรียบเสมือนลายมือหวัด มนษุ ยก บั ศลิ ปะ หากกลาวถึงผลงานศิลปะทําไมจะตองกลาวถึงแตเพียงสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึ้นมาเทาน้ัน จอมปลวกรังผึ้ง หรือรังนกกระจาบ กน็ าท่จี ะเปน สถาปต ยกรรมชิน้ เยี่ยม ท่ีเกิดจากสัตวต างๆ เหลา นนั้ หากเราจะมาทําความเขาใจ ถึงที่มาของการสรางก็พอจะแยกออกไดเปน 2 ประเดน็ ประเด็นที่ 1 ทําไมจอมปลวก รังผึง้ หรือรังนกกระจาบ สรางขึ้นมาจึงไมเรียกวางานศิลปะ ประเด็นท่ี 2 ทําไมสงิ่ ที่มนุษยสรางสรรคข ้ึนมาถงึ เรยี กวา เปน ศลิ ปะ จากประเด็นที่ 1 เราพอจะสามารถวิเคราะหถึงสาเหตุทีเ่ ราไมเรียกวา เปนผลงานศิลปะเพราะปลวก ผึ้ง และนกกระจาบสรางรัง หรือจอมปลวกขึน้ มาดวยเหตุผลของสัญชาตญาณที่ตองการความปลอดภัย ซ่ึงมีอยูใ น ตัวของสตั วท กุ ชนิด ทีจ่ ําเปนตองสรางขึน้ มาเพือ่ ปองกันภัยจากสัตวรายตางๆ ตลอดจนภัยธรรมชาติ เชน ฝนตก แดดออก เปนตน หรืออาจตองการความอบอุน สวนเหตุผลอีกประการหนึง่ คือ จอมปลวก รังผึ้ง หรือรังนก กระจาบนัน้ ไมมีการพัฒนาในเรื่องรูปแบบ ไมมีการสรางสรรคใหปรากฏรูปลักษณแปลกใหมขึน้ มายังคง เปน อยแู บบเดมิ และตลอดไป จงึ ไมเ รียกวา เปน ผลงานศิลปะ แตใ นทางปจ จบุ นั หากมนุษยนํารังนกกระจาบหรือ รังผึ้งมาจัดวางเพื่อประกอบกับแนวคิดสรางสรรคเฉพาะตน เราก็อาจจัดไดวา เปนงานศิลปะ เพราะเกิดแรงจูงใจ ภายในของศิลปน (Intrinsic Value) ที่เห็นคุณคาของความงามตามธรรมชาตินํามาเปนสื่อในการสรางสรรค ประเด็นที่ 2 ทําไมสิง่ ทีม่ นุษยสรางสรรคขึน้ มาถึงเรียกวา ศิลปะ หากกลาวถึงประเด็นนี้ ก็มีเหตุผลอยู หลายประการซึง่ พอจะกลาวถึงพอสังเขป ดังนี้ 1. มนุษยสรางงานศิลปะขึ้นมาโดยมีจุดประสงคหรือจุดมุง หมายในการสราง เชน- ชาวอียิปต (EGYPT) สรางมาสตาบา (MASTABA) ซึง่ มีรูปรางคลายมาหินสําหรับนัง่ เปนรูปสีเ่ หลี่ยมแทงสูงขางบนเปน พนื้ ท่รี าบ มุมทั้งสี่เอียงลาดมาที่ฐานเล็กนอย มาสตาบาสรางดวยหินขนาดใหญ เปนทีฝ่ งศพขุนนาง หรือผูร ่าํ รวย ซึง่ ตอมาพัฒนามาเปนการสรางพีระมิด (PYRAMID) เพือ่ บรรจุศพของกษัตริยหรือฟาโรห (PHARAOH) มีการ อาบน้ํายาศพหรือรักษาศพไมใหเนาเปอยโดยทําเปนมัมมี่ (MUMMY) บรรจุไวภายใน เพื่อรอวิญญาณกลับคืนสู ราง ตามความเชือ่ เรือ่ งการเกิดใหมของชาวอียิปตการกอสรางพุทธสถานเชน สรางวัด สรางพระอุโบสถ พระ วิหาร ศาลาการเปรียญ ในพุทธศาสนา มีจุดประสงค เพือ่ ใชเปนทีป่ ระกอบพิธีกรรมทางศาสนา เพื่อเปนทีพ่ ํานัก ของสงฆ ตลอดจนใชเปน ที่เผยแพรศาสนา 2. มีการสรางเพือ่ พัฒนารูปแบบโดยไมสิ้นสุด จะเห็นไดจาก มนุษยสมัยกอนประวัติศาสตร (PRE HISTORICAL PERIOD) ไดหลบภัยธรรมชาติ ตลอดจนสัตวรายเขาไปอาศัยอยูใ นถ้ํา เมือ่ มีความเขาใจใน ปรากฏการณ อันเกิดขึ้นจากธรรมชาติและประดิษฐเครือ่ งมือ เพื่อใชเปนที่อยูอาศัยจนในสมัยตอมา มีการ พัฒนาการสรางรูปแบบอาคารบานเรือนในรูปแบบตางๆ ตามความเปลีย่ นแปลงของวัฒนธรรม และความเจริญ ทางเทคโนโลยีมีการใชคอนกรีตเสริมเหล็กและวัสดุสมัยใหมเขามาชวยในการกอสรางอาคาร บานเรือน และ

35 สิ่งกอสรางตางๆ ตลอดจนมีการพัฒนารูปแบบทางสถาปตยกรรมใหกลมกลืนกับธรรมชาติแวดลอม เชน สถาปตยกรรม “THE KAUF MANN HOUSE” ของแฟรงค ลอยด ไรท ที่รัฐเพนซลิ วาเนยี สหรฐั อเมรกิ า 3. ความตองการทางกายภาพทีเ่ ปนปฐมภูมิของมนุษยทุกเชื้อชาติและเผาพันธ เพือ่ นํามาซึ่งความ สะดวกสบายในการดําเนินชีวิตในสังคมปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากเครื่องอุปโภค บริโภคตลอดจนเครื่องใชไม สอยตางๆ ซ่ึงเปน ผลติ ผลทเ่ี กิดจากความคิดสรางสรรคของมนุษยทัง้ สิน้ ในทางศิลปะที่เชนเดียวกับ ศิลปนจะไม จาํ เจอยูก ับงานศลิ ปะท่มี ีรปู แบบเกา ๆ หรือสรางงานรูปแบบเดิมซ้ําๆ กันแตจะคิดคนรูปแบบ เนือ้ หา หรือเทคนิค ที่แปลกใหมใหกับตัวเอง เพือ่ พัฒนาการสรางงานศิลปะรูปแบบเฉพาะตนอยางมีลําดับขัน้ ตอน เพือ่ งายแกการ เขาใจจึงขอใหผูอานทําความเขาใจเกี่ยวกับการสรางสรรคในทางศิลปะเสียกอน กิจกรรม ใหนักศึกษาตอบคําถามตอไปนี้ 1. อธิบายความหมายของ”ธรรมชาติ” 2. องคประกอบทางศิลปะประกอบดวยอะไรบาง 3. เหตุใดมนษุ ยถ งึ เปน ผูสรางงานศลิ ปะเทา น้ัน

36 เรอ่ื งที่ 5 ความงามตามทัศนศิลปสากล การรับรคู วามงามทางศิลปะ สําหรับการรับรูความงามทางศิลปะของมนุษยนัน้ สามารถรับรูไ ด 2 ทาง คือ ทางสายตาจากการ มองเห็น และทางหูจากการไดยิน ซ่ึงแบง ได 3 รูปแบบดังนี้ 1. ทัศนศิลป (Visual Art) เปนงานศิลปะทีร่ ับสัมผัสความงามไดดวยสายตา จากการ มองเห็น งานศิลปะสวนใหญจะเปนงานทัศนศิลป ทั้งสิน้ ไดแก จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม มัณฑนาศิลป อตุ สากรรมศิลป พาณิชยศ ลิ ป 2. โสตศิลป (Audio Art) เปนงานศิลปะที่รับสัมผัสความงามไดดวยหู จากการฟงเสียง งานศิลปะ ทีจ่ ัด อยูใ นประเภทโสตศิลป ไดแก ดนตรี และ วรรณกรรม 3. โสตทัศฯศิลป (Audiovisual Art) เปนงานศิลปะทีร่ ับสัมผัสความงามทางศิลปะไดทัง้ สองทาง คือ จากการมองเห็นและจากการฟง งานศิลปะประเภทนี้ไดแก ศิลปะการแสดงนาฏศิลป การละคร การภาพยนตร ววิ ฒั นาการของทศั นศลิ ปส ากล ศิลปะของชาติตางๆ ในซีกโลกตะวันตกมีลักษณะใกลเคียงกัน จึงพัฒนาขึน้ เปนศิลปะสากล ความเชือ่ มี อิทธิพลตอพฤติกรรมมนุษยทั้งความคิด การแสดงออก และการดําเนินชีวิต โดยเฉพาะในงานศิลปกรรมมี รูปแบบความงามหลายแบบ ที่เกิดจากพลังแหงความศรัทธาจากความเชื่อถือในเรื่องตางๆ รูปแบบความงามอันเนือ่ งมาจากความเชื่อถือ จะปรากฏเปนความงามตามความคิดของชางในยุคนัน้ ผสมกับฝมือ และเครือ่ งมือทีย่ ังไมคอยมีคุณภาพมากนัก ทําใหงานจิตรกรรมในยุคกอนประวัติศาสตรดูไมคอย งามมากนักในสายตาของคนปจจุบัน 1. ศิลปะสมัยกลาง (Medieval Arts) ทศั นศลิ ปอ ันเนอ่ื งมาจากครสิ ตศ าสนา ความเชอ่ื ในสมัยกลาง ซึ่งเปนชวงเวลาที่ศาสนาคริสตเจริญรุงเรืองถึงขีดสุด มีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิต และการสรางสรรคงานศิลปกรรมของชาวตะวันตก โดยมีความเชือ่ วาความงามเปนสิง่ ทีพ่ ระเจาสรางขึน้ มาโดย ผานทางศิลปน เพื่อเปนการแสดงถึงความศรัทธาอยางยิ่งในพระเจา ศิลปนตองสรางผลงานโดยแสดงถึงเรือ่ งราว ของพระคริสต พระสาวก ความเช่ืออนั นี้มีผลตอ ทัศนศลิ ป ดงั น้ี สถาปตยกรรม เชน โบสถสมัยกอธิค เปนสถาปตยกรรมทีม่ ีลักษณะสูงชลูด และสวนทีส่ ูงทีส่ ุดของ โบสถจะเปนทีต่ ัง้ ของกางเขนอันศักดิส์ ิทธิ์ เพื่อใชเปนทีต่ ิดตอกับพระเจาบนสรวงสวรรค มีการแตงเพลงและ รองกันอยูใ นโบสถ Notre Dame อยูท ี่กรุงปารีส ประเทศฝรัง่ เศส ซึ่งเปนโบสถทีส่ รางแบบกอธิค ที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห ัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงโปรดใหถายแบบแลวนํามาสรางไวทีว่ ัดนิเวศ ธรรมประวตั ิ บางปะอิน จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จติ รกรรม ก็แสดงเนื้อหาของคริสตศาสนา รวมไปถึงทัศนศิลปแขนงอื่นๆ ดว ย

37 2. ศลิ ปะไบเซนไทร (Bizentine) ความเชือ่ ยุคแรกแหงศิลปะเพือ่ คริสตศาสนา เมือ่ อาณาจักรโรมันลมสลายลง ในยุโรปไดแยกเปน ประเทศตางๆและเปนชวงที่คําสอนของศาสนาคริสต ไดรับความเชือ่ ถือและใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต ของประชาชน โดยเฉพาะในยคุ สมัยไบเซนไทร ซึ่งถือวาเปนอาณาจักรแหงแรกของคริสตศาสนาศิลปนและชาง ทุกสาขาทํางานใหแกศาสนา หรือทํางานเพื่อสงเสริมความศรัทธาแหงคริสตศาสนา สถาปต ยกรรม สรางโบสถ วหิ าร เพื่อเปน สญั ลักษณ และสถานที่ปฏบิ ตั ิพิธีกรรมตางๆ ประตมิ ากรรม มีการแกะสลักรูปพระคริสตและสาวกดวยไม หนิ และภาพประดับหินสที เี่ รยี กวา โมเสก สถาปตยกรรมแบบไบเซนไทร

38 3. ฟน ฟูศลิ ปวิทยา (Renaissanee) ความเชือ่ เนือ่ งจากอาณาจักรไบเซนไทร เปนยุคของการฟน ฟูศิลปวิทยา (Renaissame) หมายถึง การนํา กลบั มาอีกคร้ังหนึ่ง เนือ่ งจากไดมีการคนพบซากเมืองของพวกกรีกและโรมันทําใหศิลปนหันกลับมานิยมความ งามตามแนวคิดของกรีกและโรมันอีกครั้งหนึ่ง กิจกรรม ใหนักศึกษาตอบคําถามตอไปนี้ 1. การรับรูความงามทางศิลปะของมนุษยนั้น สามารถรับรูได กี่ทาง และแบงเปนกี่รูปแบบอะไรบาง 2. ความเชื่อในการสรางผลงานของศิลปะสมัยกลาง(Medieval Arts)มคี วามเชือ่ เกยี่ วกับอะไร 3. ชางในสมัยศิลปะไบเซนไทร (Bizentine)ทํางานเพื่อใคร 4. ฟนฟูศิลปวิทยา (Renaissanee)หมายถึงอะไร

39 เร่อื งที่ 6 ธรรมชาติกบั ทศั นศิลป มนุษยเปน สว นหน่งึ ของธรรมชาติ ธรรมชาติ สามารถบอกถึงประสบการณ และส่งิ ตางๆทีผ่ า นมาในอดตี ได ซ่ึงถอื วา ”ธรรมชาติ” เปน”ครู” ของมนุษย เมื่อมนุษยมีความคิดสรางสรรค มนุษยก็จะพิจารณาสิ่งตางๆจากธรรมชาติที่ตนมีสวนรวมอยู แลวนํามา ดดั แปลงสรรคใหม โดยพยายามเลือกหาวิธีการอันเหมาะสมตามทักษะและความชํานาญทีต่ นมีอยู เพือ่ สรางเปน ผลงานของตนขึ้นใหม มนุษยอาศัยธรรมชาติในการดํารงชีวิต ผลผลิตสวนใหญทีใ่ ชในการดํารงชีวิตเกือบทัง้ หมดก็มาจาก ธรรมชาติทัง้ สิน้ วสั ดุจากธรรมชาติที่มนุษยนํามาสรางสรรคป ระกอบดว ย 1. พชื 2. หนิ กรวด 3. ทราย 4. ดนิ การนําธรรมชาติมาออกแบบผสมผสานกับงานศิลปะ (ผลงานจากถนนคนเดนิ ดอทคอม/เชยี งใหม)

40 กิจกรรม ใหนักศึกษา นําสิ่งทีเ่ กิดจากธรรมชาติ มาออกแบบสรางสรรค ใหเปนเครือ่ งประดับตกแตงรางกาย โดยใชวิธี ทางศิลปะเขามาชวย

41 เรอื่ งท่ี 7 ความคดิ สรา งสรรค การตกแตง รา งกาย ท่อี ยอู าศยั และผลติ ภณั ฑ มนุษยมีความคิดสรางสรรคอยูตลอดเวลา ตามแตประสบการณมากนอยของแตละบุคคล การออกแบบ เปนสวนหนึ่งของความคิดสรางสรรคทางศิลปะของมนุษย 1. ออกแบบตกแตงที่อยูอ าศัย เปนการออกแบบทุกอยางภายในและบริเวณรอบบานใหสวยงาม สะดวกแกการใชสอย โดยใชวัสดุทม่ี อี ยหู รอื จดั หามาโดยใชหลักองคประกอบศิลป 2. ออกแบบใหกับรางกาย เปนการออกแบบรางกายและสิง่ ตกแตงรางการใหสวยงาม เหมาะสม และ ถูกใจ เชนการออกแบบทรงผม เสือ้ ผา เครื่องประดับ การใชเครือ่ งสําอาง โดยอาศัยหลักการทางศิลปะและ ความคิดสรางสรรค 3. ออกแบบผลิตภัณฑ หมายถึง ความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับรูปรางลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ เพอื่ ใหเกิดรปู แบบทแ่ี ปลกใหมและเปนจุดสนใจในธุรกจิ ดา นอตุ สาหกรรม 4. ออกแบบสาํ นกั งาน การจดั หองทํางาน โตะ สํานักงาน เกาอี้ ในและนอกสถานทีท่ ํางานท่ีไดรับการ ออกแบบและสรางสรรคใหนาทํางานตลอดจนสะดวกในการใชสอยซึ่งแบงการออกแบบไดเปน 2 ประเภทคือ 1. ออกแบบตกแตงภายใน ไดแกการออกแบบตกแตงภายในอาคารทุกประเภททัง้ หมด เชนการ ออกแบบตกแตงภายในบาน ภายในสํานักงาน ภายในอาคารสาธารณะ แมนกระทั้งการออกแบบตกแตงภายใน ยานพาหนะเปน ตน การออกแบบตกแตงภายในท่พี กั อาศัย การออกแบบตกแตงหนา รา นคา

42 การออกแบบตกแตงภายในสาํ นักงาน การออกแบบตกแตงภายในยานพาหนะ

43 2. การออกแบบตกแตงภายนอก ไดแกการออกแบบตกแตงสวนและบริเวณภายนอกอาคาร รวมทัง้ การออกแบบภมู ิทศั นใ นสวนพ้ืนทส่ี าธารณะเชน สวนสาธารณะ ถนน สะพาน ฯลฯ การออกแบบตกแตง สวนขนาดใหญ การออกแบบสวนในบา นโดยใชว สั ดุหิน ตน ไม และนาํ้ รวมกัน การออกแบบสวนในบานโดยเลยี นแบบธรรมชาติ การตกแตงภายนอกโดยการจัด สวนท่ีเกาะกลางถนน กิจกรรม 1. ใหนักศึกษาจัดออกแบบภายใน หรือภายนอกในมุมใดมุมหนึง่ ในบานตนเอง แลวถายรูปมาเพือ่ รว มกันอภิปรายหนา ชั้นเรียน โดยมอี าจารยแ ละเพอ่ื นนกั ศึกษารว มอภปิ ราย 2. เก็บภาพถายที่จัดออกแบบไวในแฟมสะสมงานของตนเอง

44 บทที่ 2 ดนตรี สาระสําคัญ ความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา วิวัฒนาการรูปแบบเทคนิค วิธีการของดนตรีประเภทตางๆ คุณคา ความงาม ความไพเราะของดนตรีสากล ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเปนมา ของดนตรีสากล เขา ใจถงึ ตน กาํ เนิด ภมู ปิ ญญา และการถายทอดสืบตอกันมา ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 ดนตรสี ากล เร่อื งท่ี 2 ดนตรีสากลประเภทตาง ๆ เรอ่ื งท่ี 3 คุณคาความไพเราะของเพลงสากล เรื่องท่ี 4 ประวัติภูมิปญญาทางดนตรีสากล

45 เรอ่ื งท่ี 1 ดนตรสี ากล ดนตรีเกิดขึน้ มาในโลกพรอมๆกับมนุษยเรานั่นเอง ในยุคแรกๆมนุษยอาศัยอยูในปา ในถ้ํา และใน โพรงไม แตมนุษยก็รูจักการรองรําทําเพลงตามธรรมชาติ เชนรูจ ักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม เปาปาก เปาเขา และการเปลงเสียงรอง เชน การรองรําทําเพลงเพื่อออนวอนพระเจาใหชวยเพือ่ พนภัย บันดาลความสุขความ อุดมสมบรู ณต างๆใหแกตน หรือเปน การบูชาแสดงความขอบคุณพระเจาที่บันดาลใหตนมีความสุขความสบาย ในระยะแรก ดนตรีมีเพียงเสียงเดียวและแนวเดียวเทานั้นเรียกวา Melody ไมมีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษที่ 12 มนุษยเราเริ่มรูจักการใชเสียงตางๆมาประสานกันอยางงายๆ เกิดเปนดนตรีหลายเสียงขึ้นมา ยุคตางๆของดนตรี นกั ปราชญทางดนตรไี ดแ บงดนตรีออกเปนยุคตางๆดังน้ี 1. Polyphonic Perio( ค.ศ. 1200-1650 ) ยุคนี้เปนยุคแรก วิวัฒนาการมาเรือ่ ยๆ จนมีแบบฉบับและ หลกั วชิ าการดนตรขี ้ึน วงดนตรีอาชีพตามโบสถ ตามบานเจา นาย และมโี รงเรยี นสอนดนตรี 2. Baroque Period ( ค.ศ. 1650-1750 ) ยุคนีว้ ิชาดนตรีไดเปนปกแผน มีแบบแผนการเจริญดานนาฏ ดุริยางค มากขึ้น มีโรงเรียนสอนเกีย่ วกับอุปรากร ( โอเปรา) เกิดขึน้ มีนักดนตรีเอกของโลก 2 ทานคือ J.S. Bach และ G.H. Handen 3. Classical Period ( ค.ศ. 1750-1820 ) ยคุ นเ้ี ปน ยุคทีด่ นตรเี รม่ิ เขาสยู คุ ใหม มีความรุงเรืองมากขึ้น มี นกั ดนตรเี อก 3 ทา นคอื Haydn Gluck และMozart 4. Romantic Period ( ค.ศ. 1820-1900 ) ยุคนมี้ ีการใชเสยี งดนตรีทีเ่ นนถงึ อารมณอยางเดนชัดเปนยุคท่ี ดนตรีเจรญิ ถงึ ขีดสดุ เรียกวา ยคุ ทองของดนตรี นกั ดนตรีเชน Beetoven และคนอื่นอีกมากมาย 5. Modern Period ( ค.ศ. 1900-ปจจุบัน ) เปนยุคทีด่ นตรีเปลีย่ นแปลงไปมาก ดนตรีประเภทแจส (Jazz) กลับมามีอิทธิพลมากขึ้นเรื่อยๆจนถึงปจจุบันขนบธรรมเนียมประเพณีของแตละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะ ทางดนตรีตะวันตก นับวา มีความสัมพันธใกลชิดกับศาสนามาก บทเพลงทีเ่ กีย่ วกับศาสนาหรือเรียกวาเพลง วัดนั้น ไดแตงขึน้ อยางถูกหลักเกณฑ ตามหลักวิชาการดนตรี ผูแ ตงเพลงวัดตองมีความรูค วามสามารถสูง เพราะตองแตง ขึน้ ใหสามารถโนมนา วจิตใจผูฟงใหนยิ มเล่อื มใสในศาสนามากขน้ึ ดงั น้ันบทเพลงสวดในศาสนา คริสตจึงมีเสียงดนตรีประโคมประกอบการสวดมนต เมื่อมีบทเพลงเกี่ยวกับศาสนามากขึ้น เพื่อเปนการปองกัน การลืมจึงไดมีผูป ระดิษฐสัญลักษณตางๆแทนทํานอง เมือ่ ประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณดังกลาวคือ ตัวโนต ( Note ) นั่นเอง โนต เพลงทใี่ ชใ นหลักวิชาดนตรีเบื้องตนเปนเสียงโด เร มี นัน้ เปนคําสวดในภาษาละติน จึง กลาวไดวาวชิ าดนตรมี ีจุดกําเนดิ มาจากวดั หรือศาสนา ซึง่ ในยุโรปน้ันถือวาเพลงเกี่ยวกับศาสนาน้ันเปนเพลงช้ัน สูงสุดวงดนตรีทีเ่ กิดขึ้นในศตวรรษตนๆจนถึงปจจุบัน จะมีลักษณะแตกตางกันออกไป เคร่ืองดนตรีท่ีใช บรรเลงก็มีจํานวนและชนิดแตกตางกันตามสมัยนิยม ลักษณะการผสมวงจะแตกตางกันไป เมื่อผสมวงดวย เครอ่ื งดนตรีท่ตี า งชนดิ กนั หรอื จํานวนของผูบ รรเลงทตี่ างกนั ก็จะมชี ื่อเรียกวงดนตรีตา งกัน

46 เรอ่ื งที่ 2 ดนตรสี ากลประเภทตา งๆ เพลงประเภทตางๆ แบงตามลกั ษณะของวงดนตรสี ากลได 6 ประเภท ดงั นี้ 1. เพลงที่บรรเลงโดยวงออรเคสตรา ( Orchestra ) มดี ังนี้ - ซิมโฟนี่ (Symphony) หมายถึงการบรรเลงเพลงโซนาตา ( Sonata) ทัง้ วง คําวา Sonata หมายถึง เพลงเดี่ยวของเครือ่ งดนตรีชนิดตางๆ เชนเพลงของไวโอลิน เรียกวา Violin Sonata เครือ่ งดนตรีชนิดอื่น ๆ ก็ เชนเดียวกนั การนาํ เอาเพลง โซนาตาของเครอ่ื งดนตรีหลายๆชนิดมาบรรเลงพรอ มกนั เรียกวา ซมิ โฟนี่ - คอนเซอรโต ( Concerto) คือเพลงผสมระหวางโซนาตากับซิมโฟนี่ แทนทีจ่ ะมีเพลงเดี่ยวแต อยางเดียว หรือบรรเลงพรอมๆกันไปในขณะเดียวกัน เครื่องดนตรีทีแ่ สดงการเดีย่ วนัน้ สวนมากใชไวโอลิน หรอื เปย โน - เพลงเบด็ เตล็ด เปน เพลงทีแ่ ตงขึ้นบรรเลงเบ็ดเตล็ดไมมีเนอ้ื รอง วงออรเ คสตรา 2. เพลงทบ่ี รรเลงโดยวงแชมเบอรม วิ สิค ( Chamber Music ) เปนเพลงสัน้ ๆ ตองการแสดงลวดลาย ของการบรรเลงและการประสานเสียง ใชเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย คือไวโอลิน วิโอลา และเชลโล วงแชมเบอรมิวสิค

47 3. สําหรับเด่ยี ว เพลงประเภทน้แี ตงขนึ้ สําหรบั เครอ่ื งดนตรชี น้ิ เดยี วเรียกวา เพลง โซนาตา 4. โอราทอริโอ ( Oratorio ) และแคนตาตา ( Cantata) เปนเพลงสําหรับศาสนาใชรองในโบสถ จัดเปนโอเปรา แบบหนึง่ แตเ ปน เรอื่ งเกี่ยวกับศาสนา วงโอราทอริโอ 5. โอเปรา (Opera ) หมายถึงเพลงที่ใชประกอบการแสดงละครที่มีการรองโตตอบกันตลอดเรือ่ ง เพลงประเภทนี้ใชในวงดนตรีวงใหญบรรเลงประกอบ ละคร Operaทด่ี ังทีส่ ุดเร่ืองหนง่ึ ของโลกคอื เร่ือง The Phantom of the Opera 6. เพลงท่ีขับรองโดยท่ัวไป เชน เพลงที่รองเดีย่ ว รองหมู หรือรองประสานเสียงในวงออรเคสตรา วงคอมโบ ( Combo) หรอื วงชาโดว (Shadow ) ซ่งึ นยิ มฟงกนั ทงั้ จากแผนเสียงและจากวงดนตรีที่บรรเลงกันอยู โดยทวั่ ไป

48 ประเภทของเครอ่ื งดนตรีสากล เครือ่ งดนตรีสากลมีมากมายหลายประเภท แบงตามหลักในการทําเสียงหรือวิธีการบรรเลง เปน 5 ประเภท ดงั น้ี 1. เคร่ืองสาย เครอื่ งดนตรีประเภทนี้ ทําใหเกิดเสียงโดยการทําใหสายสัน่ สะเทือน โดยสายที่ใชจะเปนสายโลหะหรือ สายเอน็ เครอ่ื งดนตรีประเภทเครื่องสาย แบงตามวิธีการเลนเปน 2 จําพวก คอื 1) เครือ่ งดดี ไดแ ก กตี าร แบนโจ ฮารป แบนโจ 2) เครื่องสี ไดแ ก ไวโอลนิ วโิ อลา วโิ อลา 2. เคร่อื งเปา ลมไม เครอื่ งดนตรปี ระเภทนีแ้ บงตามวธิ ที าํ ใหเกดิ เสียงเปน 2 ประเภท คอื 1) จําพวกเปาลมผานชองลม ไดแ ก เรคอรเ ดอร ปคโคโล ฟลุต ปค โคโล

49 2) จาํ พวกเปา ลมผานลน้ิ ไดแ ก คลารเิ นต็ แซกโซโฟน คลารเิ นต็ 3. เครื่องเปา โลหะ เครือ่ งดนตรีประเภทนี้ ทําใหเกิดเสียงไดโดย การเปาลมใหผานริมฝปากไปปะทะกับชองที่เปา ไดแ ก ทรัมเปต ทรอมโบน เปนตน ทรัมเปต 4. เครอ่ื งดนตรีประเภทคยี บ อรด เครอ่ื งดนตรีประเภทนี้เลนโดยใชน ว้ิ กดลงบนลมิ่ นว้ิ ของเครอ่ื งดนตรี ไดแก เปยโน เมโลเดียน คียบอรดไฟฟา อิเล็คโทน เมโลเดยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook