Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดหมวดหมู่หนังสือ

การจัดหมวดหมู่หนังสือ

Published by Parichat Lairat, 2023-08-03 16:19:57

Description: การจัดหมวดหมู่หนังสือ

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 การบริหารงานจัดหมหู นังสอื งานจดั หมหู นงั สอื งานจัดหมูหนังสือเปนงานทีส่ าํ คญั ของหอ งสมดุ และเปน งานทต่ี อ งการคุณภาพ ในการปฏบิ ัติงาน ผูปฏบิ ัตงิ านตอ งมคี ณุ วฒุ ิโดยตรง และสามารถปฏิบัตงิ านเพ่อื ใหบ รกิ าร กบั ผใู ชไ ดอยา งมีประสิทธิภาพ ดงั นน้ั การบริหารงานจัดหมูหนงั สือตองเปน ระบบและมี หลกั การ ข้ันตอนการดําเนนิ งานที่ชัดเจน เพอ่ื ใหก ารปฏิบตั งิ านบรรลตุ ามวัตถุประสงคข อง การจัดหมู การบริหารงาน การบรหิ ารงานหอ งสมุด สวนมากจะแบง ระบบงานหลักหรือมีการจัดโครงสราง งานของหอ งสมุดออกเปน 3 งาน คอื งานบรหิ าร งานเทคนิค และงานบรกิ าร ในแตล ะงานจะมี ระบบงานยอยทส่ี มั พนั ธก ันอกี (วาณี ฐาปณวงศศ านติ 2543: 24) สว นหองสมดุ ขนาดเล็ก เชน หอ งสมดุ โรงเรียน อาจแบงการบริหารงานของหอ งสมดุ เปน 2 งาน คอื งานเทคนิค และ งานบริการก็ได (Budd 1998: 168) ซึง่ แลว แตนโยบายการบรหิ ารงานของหองสมุดแตล ะแหง หองสมดุ งานบริหาร งานเทคนิค งานบรกิ าร งานสารบรรณ งานจัดหาทรัพยากร งานยมื -คนื งานบุคคล งานวเิ คราะหท รพั ยากร งานบริการ งานการเงิน งานจดั เตรียมทรัพยากร ชวยคนควา งานวัสดุอปุ กรณ ครภุ ัณฑ งานบาํ รุงรกั ษาทรัพยากร งานสง เสริม งานอาคารสถานท่ี งานสํารวจทรพั ยากร งานประชาสมั พนั ธ งานจําหนายออกทรัพยากร การใช งานบรกิ ารพเิ ศษ งานกิจกรรม แผนภมู ิที่ 2.1 โครงสรา งงานหองสมุดโดยแบง ออกเปน 3 งาน ทม่ี า: วาณี ฐาปนวงศศานติ 2543: 24.

Director AD. Tech. Serv. AD. Pub. Serv. Cat. Acq. Serial ILL. Ref. Circ. แผนภูมทิ ่ี 2.2 โครงสรางระบบงานหองสมุดโรงเรียนขนาดเล็ก ทม่ี า: Budd 1998: 168. จากแผนภมู ทิ ้ัง 2 ภาพขางตน จะเห็นวา ไมว าจะแบงระบบงานหลกั ออกเปน ก่ีงาน ก็ตาม การบริหารงานจัดหมหู นังสอื จะเปนระบบงานยอยงานหนง่ึ ในงานเทคนิค โดยจะรวม งานจดั หมหู นงั สอื และทํารายการ (cataloging) ไวดวยกนั เน่ืองจากเปน งานท่ีสัมพนั ธก ัน ขั้นตอนการปฏบิ ัติงานตอเนือ่ งกัน แมว าเวลาจะผา นไปและมีการเปล่ยี นแปลงทางดา นการ ปฏบิ ัตงิ าน คือ จากการปฏิบัตงิ านดวยมือหรือทาํ เองทงั้ หมดทกุ ขนั้ ตอน เปลี่ยนเปน การใช เทคโนโลยสี ารสนเทศชว ยในการปฏบิ ัตงิ านก็ตาม แตก ารจัดระบบการบริหารงานหองสมุด ก็ยงั ไมม กี ารเปลยี่ นแปลงโครงสราง ยังไมแ ยกการบริหารงานจัดหมูหนังสือและทํารายการ ออกจากกัน (Intner and Wiehs 1996: 1) ดงั จะเห็นไดจาก ในคริสตศกั ราช 1876 ชารล เอ. คัตเตอร (Charls A. Cutter) ไดพ ิมพหนงั สอื ชือ่ Rules of a dictionary catalog มีเนือ้ หาท่เี สนอ วตั ถุประสงคทสี่ าํ คัญเกีย่ วกบั การทาํ รายการ ดงั น้ี (Intner and Wiehs 1996: 2) คอื 1. ชวยใหผ ูใชสามารถหาหนงั สอื ทต่ี องการได เมื่อทราบเกีย่ วกับ 1.1 ชือ่ ผแู ตง 1.2 ชื่อเรื่อง 1.3 หวั เร่ือง

2. หองสมดุ มหี นงั สือเลม นัน้ ๆ หรือไม โดยใหข อ มูลเกี่ยวกับ 2.1 ช่อื ผแู ตง 2.2 หัวเร่อื ง 2.3 ประเภทวรรณกรรม 3. เพ่อื ชวยในการคัดเลอื กหนงั สอื โดยมีขอมูลเกย่ี วกับ 3.2 ฉบบั ครงั้ ทพ่ี มิ พ 3.3 ประเภทวรรณกรรม หรอื สาขาวชิ า จากวตั ถุประสงคก ารทาํ รายการของ ชารล เอ. คัตเตอร ดังกลา ว จะเหน็ ไดว า รายการของหนงั สือจะตอ งมสี วนที่บอกใหท ราบถึงเนื้อหาของหนังสือ น่นั คือหัวเรือ่ ง ดังน้นั การกาํ หนดหัวเรือ่ งจึงเปน การบอกถึงสาขาวิชาของเนือ้ หา จาํ เปนตอ งมีขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงาน และคมู ือท่ใี ชใ นการกาํ หนดหัวเรื่อง (ซง่ึ จะกลาวถึงรายละเอียดในบทท่ี 3) และเม่อื กําหนด หวั เรอื่ งแลว กจ็ าํ เปน ตอ งกาํ หนดเลขหมู เพ่อื ความสะดวกในการจดั เก็บหนงั สอื ทมี่ ีเน้อื หา เดียวกันใหอ ยูรวมกนั ซง่ึ อาจกลาวไดวา รายการหรือบตั รรายการของหอ งสมุดจะไรประโยชน ถา ปราศจากเลขหมูและหวั เรื่อง ดังน้ันในการกําหนดขอบเขตหนาทค่ี วามรับผดิ ชอบของงาน ไมวาจะเปน หองสมุดประเภทใด ขนาดใด สวนใหญม ีการบรหิ ารระบบงานหอ งสมดุ โดยจัดงาน จัดหมูหนังสือใหเปนงานเดียวกับงานทํารายการ และจัดเปน ระบบงานยอ ยของงานเทคนคิ ครอบคลมุ ภารงานเกย่ี วกบั การทํารายการ กําหนดหัวเร่ือง จดั หมู และกําหนดแหลง จัดเกบ็ ตัวเลม หนงั สือกอนทีจ่ ะนําออกใหบรกิ าร (Intner and Wiehs 1996: 27) ปจจุบันมีการเรยี กช่อื หนวยงานทที่ ําหนาทด่ี ังกลาวแตกตา งออกไป เชน ฝา ยวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ หนวยวิเคราะหท รัพยากรสารสนเทศ สวนพฒั นาทรัพยากรสารสนเทศ งานจัดหมูแ ละ ทาํ รายการ หรือ งานวิเคราะหเลขหมูและทํารายการ ดงั แผนภมู ิการดําเนินงานหอสมดุ แหงชาติ หองสมุดมหาวิทยาลัยโดยทว่ั ไป และสาํ นักวิทยบริการ สถาบนั ราชภัฏเทพสตรี

สาํ นักหอสมดุ แหง ชาติ งานบรหิ ารทัว่ ไป งานบริการหนังสือ วารบริการสาร น.ส.พ งานจดั หาหนังสือ งานบรกิ ารหนังสอื ภาษาโบราณ . งานกิจกรรมหอ งสมุด งานจัดหมู ทาํ รายการ งานหอสมุดแหง ชาติสาขา งานไมโครฟล ม งานซอมและบูรณะหนังสอื แผนภูมทิ ี่ 2.3 โครงสรา งระบบงานหอสมดุ แหง ชาตขิ องไทย ทีม่ า: หอสมดุ แหงชาติ ม.ป.ป. : ไมปรากฏเลขหนา.

ผูอาํ นวยการ รองผอู าํ นวยการ ฝายพัฒนา ฝายวเิ คราะห ฝา ยเอกสาร ฝายบรกิ าร สาํ นักงาน ทรพั ยากรสารนิเทศ ทรพั ยากรสารนเิ ทศ และวารสาร สารนเิ ทศ เลขานกุ าร -งานคัดเลอื กและ -งานวิเคราะหสารนิเทศ -งานคดั เลอื ก -งานยมื -คนื -งานบรหิ าร -งานตอบคาํ ถาม บคุ คล จดั ซ้ือ -งานทาํ รายการ และจัดซ้อื และคน ควา -งบประมาณ -งานบรกิ ารยมื และการเงนิ -งานขอและ -งานสหรายการ -งานบรหิ ารวารสาร ระหวางหองสมุด -งานอาคาร แลกเปลี่ยน และเอกสาร สถานที่ ครภุ ัณฑ -งานจัดทาํ รายช่ือ -งานกฤตภาค -งานสถิติ -งานประชา ทรพั ยากรสารนเิ ทศท่ไี ดรับใหม และจลุ สาร สมั พนั ธ แผนภูมทิ ่ี 2.4 โครงสรา งระบบงานหอ งสมุดมหาวทิ ยาลยั ทมี่ า: เอกสารการสอนชุดวิชาการวางแผนและการบรหิ ารระบบสารนเิ ทศ 2535 : 463.

หนา ทีค่ วามรับผิดชอบของหนวยงานจดั หมูห นงั สอื เพื่ออาํ นวยความสะดวกในการปฏิบัติงานและใหห นังสือทจ่ี ัดหาเขามาในหอ งสมดุ มกี ารจดั เก็บเปน ระบบ กอ ใหเกิดประโยชนตอ ผูใ ชบริการ ดังนน้ั หนาที่ความรบั ผดิ ชอบ ของหนว ยงานทที่ าํ หนาที่จดั หมูหนงั สือ จึงมดี งั น้ี 1. กาํ หนดนโยบายการจัดหมหู นงั สอื และการกาํ หนดหัวเรอ่ื ง ใหเหมาะสมกับ ประเภทของหองสมุด 2. สํารวจหนังสอื ใหมท ีไ่ ดรบั เขา หอ งสมดุ กับรายการหนงั สือของหองสมุดทีม่ ี เพื่อ ไมใหป ฏิบตั ิงานซํ้าซอ น หรอื เกดิ การผิดพลาดในการวเิ คราะหเ นอ้ื หา 3. วเิ คราะหเนอ้ื หา จัดหมวดหมู และกําหนดหวั เรื่องหนังสอื โดยดําเนินการตาม กระบวนการจนกระท่ังนําหนงั สือออกใหบ ริการ 4. พฒั นางานใหท นั สมัยเปนปจจุบันมากที่สดุ คอื แกไ ขดัดแปลง ตรวจสอบงาน ใหถ กู ตอง 5. นาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาชวยในการปฏบิ ัติงาน เพอื่ ใหสามารถปฏบิ ัติงานได อยางมปี ระสิทธภิ าพ 6. จัดทาํ เครอื่ งมอื การสบื คน ในหองสมดุ เชน บตั รรายการ สรางฐานขอ มลู บรรณานกุ รม เพ่ือผใู ชบ รกิ ารสามารถสบื คน ไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ ตามหลกั เกณฑที่เปน มาตรฐานสากล 7. ทาํ รายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัตงิ านเสนอตอ ผูบ ังคบั บัญชาเปน ประจาํ เชน รายงาน ประจําเดือน และรายงานประจําป ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน เพอ่ื ใหการจดั เก็บหนงั สือของหอ งสมุดเปนระบบ และสามารถสรา งเครอ่ื งมอื ชว ยคนท่มี ีคุณภาพ ซง่ึ จะเปนประโยชนตอผใู ชบรกิ าร จงึ มีข้ันตอนการปฏิบัติงาน ดงั น้ี 1. ตรวจสอบรายการหนังสอื ใหมทีไ่ ดรับจากงานจัดหาทรัพยากรกบั ตัวเลม ท่ีไดรับ วา ถกู ตอ งตรงกนั หรอื ไม 2. จดั แยกประเภทหนังสืออยางครา วๆ เชน หนงั สือท่ัวไป หนังสอื อา งอิง นวนยิ าย หรือหนงั สือสําหรับเดก็ และเยาวชน

3. หนังสอื ที่แยกแลว แตละประเภท จะจดั แยกหมวดหมูอยา งกวางๆ ตามระบบ ทห่ี อ งสมุดเลือกใช เชน สังคมศาสตร วทิ ยาศาสตร ภาษา วรรณคดี หรอื ความรทู ั่วไป พรอ มทัง้ จัดเรียงขึ้นช้ัน รอการจดั หมวดหมแู ละทํารายการตอ ไป 4. ตรวจสอบตวั เลมหนังสอื ที่จะจัดหมวดหมูก ับรายการหนังสือของหอ งสมุด วา เคยมหี นังสอื ชื่อเรอ่ื งนั้นแลวหรือไม โดยตรวจสอบกับบตั รรายการหรือฐานขอ มลู ทรพั ยากร สารสนเทศของหอ งสมุด 5. ถาพบวาเคยมหี นงั สือนนั้ แลวและเปน รายการเดยี วกนั สามารถเตมิ เลขทะเบยี น ทาํ ฉบับซ้าํ หรอื สรางระเบยี นรายการฉบับซา้ํ (item) ในระบบหอ งสมุดอัตโนมัติ 6. ถา พบวาเปนรายการที่ใกลเ คยี งกนั เชน ชอ่ื เรือ่ งและผแู ตง เดมิ แตเ ปน ฉบบั พิมพใหม ตองทํารายการใหม แตส ามารถใชเลขหมแู ละหัวเร่อื งเดมิ ได โดยการคัดลอก รายการทเี่ หมือนกัน ลงในบตั รรา งหรอื แผน งาน (worksheet) หรือคัดลอกรายการ(copy catalog) ลงฐานขอ มลู รายการทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุด และแกไขเปล่ียนแปลงขอมูล บางรายการใหต รงกับตัวเลมใหม เชน คร้ังที่พิมพ ปพมิ พ จํานวนหนา เปน ตน 7.ในกรณีที่ตรวจสอบแลวพบวา เปนหนังสอื ทไ่ี มเ คยมีในหอ งสมุด ตอ งกาํ หนด เลขหมู หัวเรื่อง และทํารายการใหม (original catalog) โดยเขียนลงในบัตรรางหรือแผนงาน ผูป ฏิบัติงานอาจจะปฏิบัตเิ องโดยอาศัยคมู อื ตา งๆ รวมทัง้ อาศยั เทคโนโลยสี ารสนเทศชวยก็ได เพือ่ เปนการประหยัดเวลาและคา ใชจายในการปฏิบัตงิ าน ซ่งึ จะกลา วถงึ รายละเอยี ดในบทท่ี 8 8. กําหนดเลขเรียกหนงั สอื ใหก ับหนงั สือแตล ะเลม 9. สงหนงั สอื พรอมกบั บัตรรา ง หรอื แผน งาน เพื่อพมิ พบ ัตรรายการครบชดุ หรือ บันทึกขอ มูลลงฐานขอ มลู คอมพิวเตอรใ นระบบหอ งสมุดอัตโนมตั ิ และสงตัวเลม หนังสือไป ดําเนินการเตรยี มตวั เลม เพ่ือนาํ ออกใหบ รกิ ารตอ ไป เชน เย็บเลมทาํ ปกแข็ง พิมพส นั ซองบัตร บตั รยมื บัตรกําหนดสง เทปแมเ หล็ก เปน ตน 10. ตรวจสอบการพิมพบัตรรายการ หรือการบนั ทกึ รายการในฐานขอมูล 11. กรณจี ัดทํารายการในรปู บัตรรายการ ตองนาํ บตั รรายการเรียงเขา ตบู ตั รรายการ ใหถูกตอง เพอ่ื ท่ผี ูใ ชบรกิ ารใชเปน เครอ่ื งมือในการคน คนื สารสนเทศตอ ไป จากขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ านดงั กลา ว สามารถแสดงขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงานเพื่อให เหน็ ความสมั พันธของงานแตล ะขั้นตอนไดด ังนี้

Start YES Is cataloging copy NO available? Perform copy Perform descriptive cataloging cataloging Perform subject cataloging Update database Perform classification Update database Stop แผนภมู ทิ ี่ 2.6 ข้ันตอนการปฏิบัติงานจัดหมู กาํ หนดหัวเรื่อง และทํารายการโดยภาพรวม ท่มี า: Osborne and Nakamura 2000 : 81.

รับหนงั สือจากงานจัดหา แยกประเภทหนังสอื และ แยกหมวดหมูกวา งๆ ตรวจสอบรายการ บรรณานกุ รมกับบัตรรายการ ใช ไมใช ชอ่ื เร่อื งเดิม ไมใ ช รางบัตรรายการ ฉบับซาํ้ ฉบบั พิมพใหม ใช พบขอมูล ตรวจสอบกับคูมอื ตางๆ ไมพ บขอมูล คดั ลอกเลขหมูแ ละหัวเรื่อง กําหนดเลขหมู ตรวจสอบเลขหมู หัวเรอื่ ง และหัวเรือ่ ง กําหนดเลขเรยี ก รางบตั รรายการ ใชเลขหมู กําหนดเลขเรียกหนงั สอื หนังสือฉบับซ้าํ และหัวเรอ่ื งเดิม สงบตั รรา งพมิ พบัตร สงตัวเลม หนงั สือไปพมิ พส ัน รายการครบชุด ซองบัตร บัตรยมื ตรวจสอบความถกู ตอ ง ตรวจสอบความถกู ตอ ง การพมิ พบัตรรายการครบชดุ ติดสัน ซองบัตร บตั รยมื เรยี งบตั รรายการ บตั รกําหนดสงท่ตี ัวเลม เขา ตูบัตรรายการ สิน้ สดุ การทํางาน แผนภูมทิ ี่ 2.7 ขั้นตอนการปฏิบตั งิ านจดั หมู กาํ หนดหัวเรอื่ ง และทาํ รายการในระบบเดิม ทมี่ า: สถาบันราชภฏั เทพสตรี. สํานักวทิ ยบรกิ าร ม.ป.ป. : ไมป รากฎเลขหนา .

รับหนังสอื จากงานจดั หา แยกประเภทหนังสอื และ แยกหมวดหมูกวา งๆ ตรวจสอบรายการบรรณานุกรม กับฐานขอ มูลของหอ งสมดุ ตรวจสอบกบั ฐานขอมลู ใช ไมใช ช่ือเรือ่ งเดมิ ไม ใช ออนไลน / ซดี รี อม / ไมพ บขอมลู ฉบบั ซํา้ ฉบับพิมพใ หม เครอื ขา ยอนิ เตอรเ น็ต (Telnet / WWW) ใช พบขอมลู ทาํ รายการ คัดลอกรายการ ถา ยโอนระเบยี นลง ลงแผน งาน เลขหมู และหัวเรื่อง ฐานขอมูล หรือคดั ลอก กําหนดเลขหมู ลงแผนงาน รายการ เลขหมู และ และหัวเรอื่ ง หวั เรือ่ ง ลงแผนงาน พรอ มทั้งตรวจสอบ เลขหมู และหัวเร่อื ง กําหนดเลขเรยี กหนังสอื บนั ทึกระเบยี นขอมูลในฐานขอมูล พรอมทงั้ ตรวจสอบความถูกตอง จดั ทาํ itemในระเบียนขอมลู ติด Barcode ทต่ี ัวเลม จัดเกบ็ พมิ พส นั ติดสัน ตรวจสอบ ระเบยี นขอ มูล พรอมบตั รกําหนดสง ความถกู ตอง ลงฐานขอมลู ทตี่ วั เลม หนังสือ ทีต่ วั เลม แผนภมู ทิ ี2่ .8 ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงานจัดหมู กาํ หนดหัวเร่อื ง ส้ินสุดการทาํ งาน และทาํ รายการในระบบหอ งสมุดอตั โนมตั ิ (ปจจุบนั ) ที่มา: สถาบันราชภฏั เทพสตรี. สํานกั วิทยบรกิ าร ม.ป.ป. : ไมปรากฎเลขหนา.

Start Take book Search database NO Is record found? Place book in YES \"rejects\" pile Compare author, title and date Agree? NO YES Add barcode and Coppy and modify call number record to match book Save record to database YES More books? NO Stop แผนภูมทิ ี่ 2.9 ขั้นตอนการปฏิบัติงานจัดหมู หัวเร่อื ง และทํารายการหนงั สอื เฉพาะหนงั สอื ทพี่ บรายการจากฐานขอ มูลทเี่ ปน ฉบบั ซ้าํ หรือเปนรายการท่ีใกลเ คยี งกนั ทมี่ า: Osborne and Nakamura 2000 : 241.

บุคลากรท่ที ําหนาทจ่ี ดั หมูหนังสือ จากหนาทค่ี วามรบั ผิดชอบ และข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน จะเห็นวา การจัดหมูและ กาํ หนดหัวเรอ่ื งใหกบั หนังสอื จาํ เปน ตอ งใชบคุ ลากรท่ีมคี วามรู ความสามารถหลายดาน ทงั้ ทางดานบรรณารกั ษศาสตร และในสาขาวิชาตา งๆ จงึ จะชว ยใหการจดั หนังสือของ หองสมุดพรอมทจี่ ะนาํ ไปใชประโยชนไ ดทั้งผใู ชแ ละผปู ฏิบัติงาน บคุ ลากรทีท่ าํ หนาทีจ่ ัดหมู หนงั สอื โดยทั่วไป ประกอบดวยบคุ ลากรประเภทตางๆ และบุคลากรตอ งมีคณุ สมบัติ ดังตอไปน้ี 1. ประเภทบุคลากรทปี่ ฏิบัตงิ าน ตองประกอบไปดวยบุคลากรประเภทตางๆ ดังนี้ 1.1 หวั หนา งาน ตองมวี ฒุ ิทางบรรณารกั ษศาสตร หรอื บรรณารกั ษศาสตร และสารสนเทศศาสตร มคี วามรูค วามชํานาญทางการจดั หมูแ ละทํารายการ รูกระบวนการ ทาํ งานทงั้ ในระบบทปี่ ฏบิ ัตดิ วยมอื และระบบหองสมดุ อตั โนมัติ รวมทง้ั มคี วามรูค วามสามารถ ดา นการบริหารงานและเปน ผูน าํ ทดี่ ี 1.2 บรรณารกั ษผูปฏิบตั ิงาน ตอ งเปนบรรณารักษว ิชาชีพ และ/หรือมคี วามรูใ น สาขาวชิ าอื่นๆ ซง่ึ จะชวยใหสามารถจัดหมแู ละทํารายการหนังสือไดอยา งมีประสิทธิภาพ 1.3 ผูชวยบรรณารักษ หรอื พนักงานพมิ พด ีด/พนักงานบันทึกขอ มลู มคี วามรู ทางดา นบรรณารักษศาสตรบ าง มคี วามสามารถดานการพมิ พด ีดหรอื การใชค อมพิวเตอร ทํา หนา ท่ีพิมพบัตรรายการ หรอื บันทึกขอมูลลงฐานขอ มลู 2. คณุ สมบตั ิของผปู ฏิบัติงาน ผปู ฏบิ ัตงิ านตองมที ้ังความรูและทักษะเกีย่ วกบั เรอ่ื งตา งๆ ดังน้ี 2.1 มคี วามรู ผปู ฏบิ ตั งิ านจัดหมูหนงั สอื จําเปนตองมคี วามรูดานตา งๆ ดงั นี้ (อัมพร ทขี ะระ 2535: 2-4) 2.1.1 มีความรใู นสาขาวิชาทท่ี ําหนา ที่จัดหมู และรจู กั วรรณกรรมของ สาขาวชิ าเหลา นั้น อนั เปน พื้นฐานที่จะนาํ ไปสูความกระจางในการตดั สินปญหาการวิเคราะห เน้อื หา 2.1.2 รจู ักประเภทของวสั ดหุ อ งสมุด โดยเฉพาะหนังสือ เชน ประเภท ของหนังสืออา งอิง เน่ืองจากในระบบการจัดหมวดหมมู ีการใชตารางแสดงวธิ เี ขยี น (form division) เพือ่ ชวยจําแนกการจดั หมูใ หละเอยี ดมากข้ึน

2.1.3 รูนโยบายหองสมุดวา เนนบริการท่ัวไป หรอื เนนบรกิ ารเพอ่ื การ คน ควา วิจยั รูจักสงั เกตวา ผใู ชห อ งสมดุ จะเลือกวัสดหุ อ งสมดุ ไปใชอยางไร หม่นั สาํ รวจหรือ ศกึ ษาสถติ ิของบริการตา งๆ ในหอ งสมดุ เพอื่ จะไดจัดวัสดุหอ งสมุดไวบริการใหไดประโยชน สงู สดุ 2.1.4 มีความรเู กยี่ วกับระบบการจัดหมู และคมู อื กําหนดหัวเรอ่ื งท่ีใช วา มี โครงสรา ง และขอ ดขี อเสยี อยา งไร เหมาะทจี่ ะใชกบั หอ งสมดุ ประเภทใด หรือหองสมุด สาขาวิชาใด โดยศกึ ษาจากคํานํา คาํ อธบิ ายวธิ ีใชโดยละเอยี ด 2.2 ทกั ษะ บคุ ลากรทปี่ ฏิบัติงานจัดหมูหนงั สือนอกจากมีความรแู ลว จาํ เปนตองมีทักษะในเรอื่ งตา งๆ คือ 2.2.1 ทักษะการสอื่ สาร ทง้ั ทักษะเกยี่ วกับการพูด การเขียน และภาษา ทาทางในการทจ่ี ะใชส ่อื สาร ทง้ั ระหวางผปู ฏิบตั ิงานดวยกันและผใู ชบรกิ าร เพราะการ สื่อสารทดี่ จี ะชวยใหการปฏิบัตงิ านเปน ไปอยางมีประสิทธิภาพ ผปู ฏิบัติงานจาํ เปนตอ งมกี าร สือ่ สารในระหวา งการปฏิบัตงิ าน เพราะทั้งในระบบการจดั หมูและการทํารายการ จะมกี ฎเกณฑ ท่ใี ชเปน มาตรฐาน และมกี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ซงึ่ ตอ งอาศัยการแสดงความคิดเห็น รวมกันเพอ่ื ใหไ ดขอ สรุปการปฏิบัติงานของหนว ยงาน และมกี ารบันทึกขอสรปุ เพอ่ื เปน แนวทาง การดาํ เนนิ งานใหตรงกัน อันจะมีผลตอ การใหบ รกิ าร เพอื่ การจัดทําเคร่อื งมือสําหรบั การ สืบคน และในบางครง้ั ผูใชบรกิ ารอาจไมเขา ใจวิธกี ารใช หรือตอ งการเหตุผลทตี่ อ งปฏิบัติ เชนนัน้ จาํ เปน ตองมกี ารช้แี จงท้ังดวยวิธีการพดู การเขียน การใชภ าษาทา ทาง รวมทั้งตองมี การเขียนรายงานสรปุ ผลการปฏบิ ัติงาน 2.2.2 ทกั ษะทางการเมืองภายในองคกร เปน ทักษะท่ีจาํ เปน ในการบริหาร จดั การประสานความเขาใจกบั ทกุ ฝา ย เพ่ือใหไ ดร ับการสนบั สนุนทงั้ ดานงบประมาณ และ บคุ ลากร รวมท้ังการตัดสินใจการบริหารงานในแนวทางที่จะชวยใหส ามารถพฒั นางานใหมี ประสิทธิภาพ เปนท่ีพงึ พอใจทัง้ ในระหวา งผปู ฏบิ ัติงานและตอผูใชบ ริการ 2.2.3 ทกั ษะทางดานการบริหารการเงิน การมที ักษะทางดา นการบริหาร การเงินใหเ ปนไปไดในสภาวการณต างๆ เปน สงิ่ ทจ่ี าํ เปนสาํ หรบั การวางแผนการเงนิ ของ หนวยงาน การตั้งงบประมาณอยา งมเี หตุผลสามารถอธิบายถงึ ความจําเปน และแสดงใหเห็น ผลลพั ธท จ่ี ะไดจ ากการใชงบประมาณ จะทาํ ใหผ ูบ รหิ ารเห็นความจําเปนทตี่ องจดั สรร

งบประมาณให เชน การจะนําระบบหองสมุดอตั โนมตั ิมาใช จําเปนตองใชง บประมาณมาก บคุ ลากรท่ีมคี ุณวฒุ ิ และใชเ วลาในการปฏิบัติงานมากในระยะเร่ิมตน แตถ าสามารถชแ้ี จง เหตุผลและความคมุ ทนุ ในระยะยาวได กจ็ ะทําใหผบู ริหารระดบั สูงเหน็ ความสําคัญได 2.2.4 ทกั ษะดานการเปน ผูน าํ ผทู ่ีมภี าวะการเปน ผนู ําสงู คือ มีวสิ ัยทศั น สามารถใชว จิ ารณญาณแยกออกวา อะไรถกู อะไรผิด จะสามารถสงั่ การเพื่อใหก ารปฏิบัตงิ าน ไปสูเ ปาหมายและบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคของหนวยงานได การดําเนินงานมีการพัฒนา เปล่ียนแปลงไปในทางกาวหนา พัฒนาจนประสบความสาํ เรจ็ ผูนาํ ท่ีมีประสบการณหรอื พบกับ ปญ หาตา งๆ ในเรอื่ งเดิมหลายครง้ั จะสามารถหาขอยตุ ทิ ีด่ ีไดหรือสามารถตัดสินใจแกป ญหา ในครงั้ ตอ ๆ ไปไดดมี ากขนึ้ นอกจากความรแู ละทักษะท่กี ลา วแลวบุคลากรทีป่ ฏิบัติงาน ควรมีคุณสมบตั อิ ่ืนๆ ประกอบอีก เชน มีความรู เชย่ี วชาญ ละเอียดรอบคอบในการวเิ คราะหเ นือ้ หาของหนงั สือ รูปแบบของรายการ และการสรางฐานขอ มลู รูว ธิ ีใชคมู ือ เชน แผนการจัดหมวดหมูหนังสอื หรอื คูมือกําหนดหวั เรอ่ื งอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปนผทู มี่ คี วามจําดี สนใจหนังสือทุกประเภท กระตือรอื รนในการปฏบิ ัติงานใหส าํ เร็จอยา งรวดเรว็ มคี วามคิดริเรม่ิ สรางสรรค อดทน ขยนั ทีจ่ ะปฏิบัติงานไมใ หค าง เพอ่ื พฒั นางานใหมคี ณุ ภาพ สนองความตอ งการของผใู ชบ ริการ สรปุ หองสมดุ สว นใหญมีการบรหิ ารงานจัดหมหู นังสอื โดยเปน ระบบงานยอยของ งานเทคนิค และจะรวมงานจดั หมูไ วเ ปนงานเดยี วกับการทาํ รายการ มีการกาํ หนดขัน้ ตอนการ ปฏิบัติงานไวอยา งชดั เจนท้ังในระบบท่ีปฏิบัตดิ วยมอื และระบบหองสมดุ อัตโนมัติ การ ปฏิบัติงาน ตอ งมผี ูรบั ผิดชอบปฏบิ ัติงานเปนประจาํ และตอเนือ่ ง ผปู ฏบิ ัติงานตองมที ้ังความรู และทักษะในการปฏบิ ัตงิ านอยา งครบถวน ซ่งึ จะสง ผลใหก ารปฏบิ ัตงิ านมีประสทิ ธิภาพและ เกดิ ประโยชนกบั ผใู ชบริการมากที่สดุ

แบบฝก หดั จงตอบคําถามตอ ไปนีพ้ อสังเขป 1. หองสมุดสว นมากมกี ารบรหิ ารงานจัดหมูหนังสืออยา งไร 2. งานจัดหมูหนงั สอื มีความสัมพนั ธกบั งานทํารายการอยางไร 3. จงกลา วถงึ หนาทคี่ วามรับผิดชอบของงานจดั หมหู นงั สอื มาพอสงั เขป 4. จงกลาวถงึ ข้ันตอนการจัดหมหู นังสอื มาพอสงั เขป 5. บุคลากรที่ปฏบิ ัติงานจัดหมูหนงั สอื ควรประกอบดวยบุคลากรประเภทใดบา ง 6. หัวหนา งานจัดหมหู นังสอื ควรมีคณุ สมบัติอยางไรบา ง 7. บรรณารกั ษผปู ฏิบัติงานจดั หมหู นงั สอื ควรมีความรูความสามารถอยางไรบาง 8. บคุ ลากรท่ีปฏบิ ัตหิ นาที่จัดหมูหนงั สือ ควรมีความรดู านใดบา ง 9. บคุ ลากรที่ปฏบิ ัติหนาท่ีจัดหมูหนังสือ ควรมที ักษะดานใดบา ง 10. นอกจากความรแู ละทกั ษะที่จําเปนแลว ผปู ฏิบัติงานจดั หมหู นงั สือควรมีคณุ สมบตั ิอะไร เพิ่มอกี อนั จะนาํ ไปสคู วามสําเร็จในการปฏบิ ัติงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook